Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นกแก้ว

นกแก้ว

Published by Patcharaphorn Heebrouy, 2020-01-24 04:26:40

Description: การศึกษา

Search

Read the Text Version

231 แผนบริหารการสอนประจาํ บทท่ี 6 เนือ้ หาประจาํ บท บทท่ี 6 การจัดการเลีย้ งดสู ัตว์ปี กสวยงาม 1. วงศ์นกแก้วและนกกระตวั้ 2. วงศ์นกปรอด 3. วงศไ์ ก่ฟ้ าและนกกระทา 4. วงศน์ กเอีย้ ง - กิง้ โครง วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. นกั ศกึ ษาสามารถอธิบายการจดั การเลีย้ งดสู ตั ว์ปี กสวยงามแตล่ ะชนิดได้ 2. นกั ศกึ ษาสามารถนําความรู้ที่ได้ประยกุ ต์ใช้กบั การเลีย้ งสตั ว์ปี กสวยงามได้ วธิ ีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ให้นกั ศกึ ษาศกึ ษาเอกสารประกอบการสอนบทท่ี 6 2. อาจารย์ผ้สู อนบรรยาย และกําหนดหวั ข้อให้นกั ศกึ ษาร่วมอภิปรายในชนั้ เรียน 3. ให้นกั ศกึ ษาค้นคว้าเนือ้ หาเพิม่ เตมิ เก่ียวกบั การจดั การเลีย้ งดสู ตั ว์ปี กสวยงาม และมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั ภายในชนั้ เรียน 4. มอบหมายงานการทํารายงานและฝึกการตอบคําถามท้ายบท ส่ือการเรียนสอน 1. เอกสารประกอบการสอนการบรรยาย วิชาการเลีย้ งสตั ว์ปี กสวยงาม 2. สื่อเพาเวอร์พอยน์ 3. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์/เวปไซต์ 4. เครื่องคอมพิวเตอร์/โปรเจคเตอร์/โทรทศั น์/เครื่องฉายวีซีดี 5. ขา่ ว/บทความ/งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องกบั เร่ือง การจดั การเลีย้ งดสู ตั ว์ปี กสวยงาม

232 การวัดผลและการประเมนิ ผล การวดั ผล 1. การทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 2. การตรวจรายงาน 3. การตอบคําถามประจําบท 4. การสงั เกตพฤตกิ รรมและร่วมกิจกรรมในชนั้ เรียน การประเมนิ ผล นกั ศกึ ษาทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน ทํารายงาน ตอบคําถาม และทําใบงาน ประจําบทได้ถกู ต้องตามเกณฑ์ท่ีกําหนดและตรงเวลา

233 บทท่ี 6 การจัดการเลีย้ งดสู ัตว์ปี กสวยงาม การจดั การเลีย้ งดู มีความสําคญั สําหรับการเลีย้ งสตั ว์ทกุ ชนิด ซงึ่ สตั ว์ปี กสวยงามการเลีย้ ง ดนู นั้ ผู้เลีย้ งจะต้องมีการเอาใจใส่ดแู ลอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อที่จะให้ได้สตั ว์ปี กสวยงามที่เลีย้ งมา สามารถที่จะดาํ รงอยไู่ ด้ตามต้องการ ซงึ่ วิธีการจดั การเลีย้ งดสู ตั ว์ปี กสวยงามแตล่ ะชนิดมีเทคนิคใน การเลีย้ งดงั ตอ่ ไปนี ้ ก. วงศ์นกแก้วและนกกระตวั้ การเลีย้ งและอนุบาลลกู นกแก้ว พ่อแม่นกในธรรมชาติจะวางไข่และฟักในโพรงไม้ ซึ่งมี ทางเข้า - ออกทางเดียว เม่ือลกู นกออกมาจากไข่จะขย้อนอาหารออกมาจากกระเพาะพกั ให้กิน โดยผลดั กนั เลีย้ ง ลกู นกท่ีอายนุ ้อยจะได้รับการป้ อนอาหารเกือบทกุ ชวั่ โมง และเม่ือลกู นกเติบโต ระยะเวลาระหวา่ งมือ้ จะห่างขนึ ้ จนถึงระยะเวลาหยดุ ป้ อนที่อายปุ ระมาณ 3 - 5 เดือน ซง่ึ ขึน้ กบั ชนิดของนกนนั้ ๆ ถ้านกแก้วขนาดเล็กจะหยดุ ป้ อนก่อนนกแก้วขนาดใหญ่ อาหารส่วนใหญ่จะเป็ น ผลไม้และเมล็ดพืชป่ าชนิดตา่ งๆ จากนนั้ ลกู นกจะปี นออกมาที่ปากรังเพื่อเร่ิมหดั บนิ โดยพ่อแม่นก จะหยดุ ป้ อนอาหารหรือป้ อนน้อยมาก จนลูกนกทนหิวไม่ไหว และต้องบินตามพ่อแม่ไปหากิน ตอ่ ไปจะกลา่ วถึงการดแู ลลกู นกแก้วและปัญหาที่พบได้บอ่ ย ในช่วงอายตุ งั้ แต่ 1 วนั ถึงหยดุ ป้ อน อาหาร ซงึ่ รัตนา สาริวงศ์จนั ทร์ (2555, หน้า 7 - 9) รายงานวา่ มีหลกั ในการดแู ลลกู นกแก้ว ดงั นี ้ 1. สิ่งแวดล้อม ที่สําหรับลกู นกอย่ไู ม่ว่าจะเป็ นในโพรงรังที่พอ่ แม่เลีย้ งวา่ มีการเปล่ียนสิ่งปู รองหรือไม่ เพราะรังท่ีสกปรกจะทําให้ลกู นกป่ วยได้ง่าย หรือรังที่พ่อแมน่ กใช้มานานจนเก่าผพุ งั นํา้ ร่ัว หรือมีแมลงสาบ หนบู ้านเข้าไปได้หรือไม่ เพราะเหล่านีจ้ ะพาโรคและอนั ตรายเข้าไปสลู่ กู นกได้ แต่ถ้าเก็บไข่มาฟักเองต้องดูความสะอาดของห้องเลีย้ งลูกนกว่าแออดั เกินไปหรือไม่ ทําความ สะอาดเป็นประจําหรือเคยมีโรคระบาดหรือไม่ ต้อู บลกู นกต้องมีการเช็ดทําความสะอาดหรืออบฆา่ เชือ้ อยา่ งน้อยปี ละ 3 ครัง้ กรงต้องมีการทําความสะอาดทกุ วนั อณุ หภูมิห้องเลีย้ งและต้อู บ ไมค่ วร ตํ่ากว่า 30 - 36 องศาเซลเซียส เพราะทําให้ลกู นกอบอนุ่ และเติบโตได้ดีไม่ป่ วยง่าย ความชืน้ ใน ต้อู บลกู นกต้องอ้างอิงตามสายพนั ธ์ุของนกชนิดนนั้ ๆ แตโ่ ดยปกตไิ ม่ตํ่ากวา่ 60% วนั ท่ีลกู นกจะเปิ ด เปลือกตาจะแตกตา่ งกนั ตามสายพนั ธ์ุ เชน่ ในนกแก้วมาคอว์ประมาณ 14 - 28 วนั นกกระตวั้ 10 -

234 21 วนั และนกแก้วอะเมซอล 14 - 21 วนั เป็ นต้น ส่วนชอ่ งหนู กสว่ นใหญ่จะเปิ ดมาตงั้ แตฟ่ ักจากไข่ แตใ่ นนกแก้วมาคอว์ผวิ หนงั บริเวณสว่ นหจู ะเปิดเม่ืออายปุ ระมาณ 23 วนั 2. ส่ิงปรู อง ต้องสะอาด สามารถดดู ซบั ของเสีย ความสะดวกในการซือ้ ต้องมีขายตลอดปี ลกู นกชอบหรือไมผ่ ้เู ลีย้ งต้องสงั เกตเอง ราคาต้องไมส่ งู มากเกินไป เพราะต้องใช้ตลอดปี 3. เครื่องมือในการเลีย้ ง เชน่ ถงั เลีย้ งต้องเป็ นพลาสตกิ เพราะทําความสะอาดได้ง่าย ช้อน สแตนเลสดีที่สดุ ไมแ่ นะนําพลาสตกิ เพราะจะเป็ นแหล่งสะสมของแบคทีเรีย กระบอกฉีดยาควร เตรียมไว้เป็ นจํานวนมาก เพราะต้องเปล่ียนใหมท่ กุ 1 - 2 สปั ดาห์ สายป้ อนอาหาร ท่ีนิยม คือ ใช้ยางไส้ไก่ จกั รยาน แตม่ กั หลดุ เข้าไปในกระเพาะพกั ของลกู นก ดงั นนั้ ต้องให้สตั วแพทย์ผ่าออก ในปัจจบุ นั มีสายป้ อนอาหารขนาดใหญ่ และสะดวกตอ่ การป้ อนอาหารลกู นกมาก เทอร์โมมิเตอร์ใช้ วดั ทงั้ อณุ หภูมิอาหารและอณุ หภูมิห้องเลีย้ งลกู นก นํา้ ยาฆ่าเชือ้ เลือกที่สามารถฆ่าได้ทงั้ แบคทีเรีย เชือ้ รา และไวรัส สามารถใช้สมั ผสั ตวั ลกู นกได้ ซึ่งมีให้เลือกหลายย่ีห้อ เคร่ืองทําความร้อนหรือกา ต้มนํา้ ร้อนไฟฟ้ า ใช้อนุ่ นํา้ ให้ร้อนอย่ตู ลอดเวลาไว้ชงอาหารลกู นก ตาชงั่ ใช้ชงั่ อาหารตามสดั สว่ น ความเข้มข้นที่กําหนดไว้และชงั่ ลกู นก เพื่อจดบนั ทกึ การเตบิ โตทกุ วนั 4. อาหาร โดยอาหารตา่ งประเทศดีกวา่ ของไทย ซ่งึ คณุ ภาพขนึ ้ กบั ราคา นํา้ ใช้นํา้ ประปา ต้ม เพื่อชงอาหารป้ อนลกู นก ถ้าใช้นํา้ บาดาลควรต้มหรือผา่ นเคร่ืองกรองก่อนนํามาใช้ สว่ นวิตามิน อาหารเสริมอ่ืนๆ เชน่ เป็นผลไม้หรือผกั สดชนิดตา่ งๆ สามารถนํามาป่ นและผสมกบั อาหารป้ อนลกู นกได้ (ตารางที่ 6.1 และ 6.2) ซงึ่ ได้กลา่ วไว้ในบทของอาหารและการให้อาหารแล้ว ตารางท่ี 6.1 ชว่ งของการให้อาหารของนกแก้วแตล่ ะชนิด ชนิดนก ขนขนึ ้ เตม็ ตวั หยดุ ป้ อน นกวยั รุ่น พร้อมสืบพนั ธ์ุ ชราภาพ อายมุ าก หงส์หยก 21 - 30 วนั 42 - 49 วนั 4 - 6 เดือน 1 ปี 6 - 12 ปี 18 ปี คอกคาเทล 21 - 45 วนั 49 - 77 วนั 4 - 7 เดอื น 1 ปี 12 - 18 ปี 32 ปี ซนั คอร์นอล 42 - 49 วนั 56 - 63 วนั 8 - 9 เดอื น 2 ปี 18 - 25 ปี 25 ปี เลิฟเบริ ์ด 21 - 45 วนั 50 - 77 วนั 7 - 8 เดอื น 1 ปี 10 - 12 ปี 12 ปี อเมซอล 70 - 90 วนั 84 - 126 วนั 4 - 6 ปี 6 - 7 ปี 25 - 45 ปี 80 ปี แอฟริกนั เกย์ 70 - 90 วนั 84 - 112 วนั 3 - 5 ปี 6 ปี 20 - 25 ปี 50 ปี มาคอร์ 70 - 90 วนั 98 - 154 วนั 4 - 6 ปี 8 ปี 35 - 40 ปี 50 ปี ท่มี า: รัตนา สาริวงศ์จนั ทร์ (2555, หน้า 9)

235 ตารางท่ี 6.2 อตั ราสว่ นของความเข้มข้น จํานวนมือ้ ตอ่ วนั ระยะหา่ งระหวา่ งมือ้ อณุ หภมู ิห้อง เลีย้ ง และความชืน้ สมั พทั ธ์ในห้องเลีย้ ง อายุ ความเข้มข้น จํานวนมือ้ ระยะหา่ งระหวา่ ง อณุ หภมู หิ ้อง ความชืน้ สมั พทั ธ์ อาหาร (%) ตอ่ วนั มือ้ (ชว่ั โมง) เลีย้ ง (°C) ในห้องเลีย้ ง (%) 1 - 2 วนั 14 8 2.50 34 - 36 50 - 60 3 34 - 36 50 - 60 3 วนั 16 7 3 34 - 36 50 - 60 3.50 30 - 32 50 - 60 6 วนั 25 7 4 30 - 32 50 - 60 5 28 50 - 60 10 - 20 วนั 25 6 6 อณุ หภมู หิ ้อง 50 - 60 12 อณุ หภมู ิห้อง 50 - 60 20 - 29 วนั 25 5 ให้เวลาค่ํา อณุ หภมู หิ ้อง 50 - 60 เร่ิมมีขนหนาม 25 4 ขนขนึ ้ เตม็ ตวั 25 3 เริ่มกินเองได้ 25 2 กินเองได้ดี 25 1 ท่มี า: รัตนา สาริวงศ์จนั ทร์ (2555, หน้า 9) นอกจากวิธีการข้างต้นที่แนะนํามาแล้ว ประยทุ ธ พาณิชนอก (2543, หน้า 69 - 78); พิมพ์ กานต์ เหลืองทองคํา (2543, หน้า 41 - 44); (2546, หน้า 88) และ นฤมล มานิพพาน(2549, หน้า 47 - 51) รายงานวา่ ยงั มีการฝึกพฤตกิ รรมของนกแก้วได้ดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. วิธีการฝึ กนกให้เชื่อง สําหรับลูกนกท่ีเลีย้ งในระยะแรกๆ มักมีอาการต่ืนกลวั และ หวาดระแวง ซึง่ เป็ นสญั ชาตญาณประจําตวั ไม่ว่าเป็ นสตั ว์ชนิดใดก็ตาม แตค่ วามค้นุ เคยระหว่าง คนกับสตั ว์ที่มีความรักและความเอ็นดตู อ่ สตั ว์ ความรู้สกึ นีย้ อ่ มทําให้เกิดความสมั พนั ธ์ต่อกนั โดย ไมย่ ากนกั ซงึ่ วิธีที่ผ้เู ลีย้ งนกทวั่ ไปนิยมใช้ปฏิบตั ิ เพื่อให้นกเชื่องมีกรรมวธิ ีและขนั้ ตอน ดงั นี ้ 1.1 เมื่อได้ลกู นกมาเลีย้ งในระยะ 2 - 3 วนั แรก ควรปลอ่ ยให้นกทําความค้นุ เคยกับ สถานท่ีและสิ่งแวดล้อมรอบตวั ก่อน ระยะนีต้ ้องให้ผู้ต้องผา่ นเข้า-ออกบริเวณท่ีนกอย่ใู ห้ผ่านด้วย ลกั ษณะอาการปกติ ไม่วิ่ง ไม่ตะโกน หรือยกมือยกไม้อย่างรวดเร็ว เพราะกิริยาเช่นนีจ้ ะทําให้นก ตืน่ ตระหนกและเกิดความรู้สกึ ไมไ่ ว้วางใจขนึ ้ มาได้

236 1.2 เมื่อปฏิบตั ิเชน่ นีไ้ ด้ 2-3 วนั จะเห็นว่านกคลายความหวาดกลวั ควรพยายามเข้า ใกล้ตวั นกให้มากท่ีสุด พูดเบาๆ กบั นกเหมือนกิริยาที่พูดและแสดงความเมตตาปราณีตอ่ เด็ก ในขณะท่ีกําลงั พดู เพ่ือให้นกสนใจในเรื่องเสียง ควรเอือ้ มมือมาจากกรงหรือคอนของนกอยา่ งช้าๆ เบาๆ ให้นกมีความเคยชนิ ตอ่ เสียงและส่ิงท่ีเคลื่อนไหวใกล้ๆ ตวั นก ทําเชน่ นีต้ ดิ ตอ่ กนั เพียงเวลาไม่ นาน นกจะเร่ิมเกิดความเคยชินค้นุ เคยและเช่ืองได้ง่าย 1.3 วิธียน่ ระยะเวลาการฝึ กให้สนั้ ท่ีนิยมกนั มากและได้ผลที่ดีที่สดุ ได้แก่ การปล่อยให้ นกหิว โดยนําท่ีใสอ่ าหารออกจากกรงหรือจากคอนก่อนเวลาให้อาหารในตอนเช้าหรือตอนเย็น เมื่อ นําอาหารออกไปหมด จะทําให้นกหิวเกิดความกระวนกระวาย ต้องปล่อยให้นกหิวอย่สู กั ครู่ แต่ อยา่ ให้นานเกิน แล้วจงึ คอ่ ยนําที่ใสอ่ าหารไปใสไ่ ว้ในที่เดมิ ทําเช่นนีซ้ ํา้ กนั หลายๆ วนั เมื่อนกค้นุ ตอ่ ผ้ใู ห้อาหารแล้ว ขนั้ ตอ่ ไปให้ถือที่ใสอ่ าหารนนั้ ไว้ในมือหรือหากมีเวลาวา่ ง ควรให้นกกินอาหารจาก มือโดยตรงบ้าง จะทําให้เกิดความค้นุ เคยระหวา่ งนกกบั ผ้ฝู ึกหรือเจ้าของย่งิ ขนึ ้ 1.4 บางครัง้ นกอาจจิกมือเล่นแรงๆ ไม่ควรตี เพราะนกจะจําและอาฆาตจนไม่ยอม เช่ือง ให้คอ่ ยๆ จับลูบคลําเล่นกบั นกด้วยความรัก และไม่ควรเอาไม้ไปแหย่หรือตบท่ีกรงของนก แรงๆ เพราะนกจะตกใจ นกจะเข้าใจวา่ จะทําร้าย นานไปจะเลีย้ งไม่เช่ือง และดรุ ้าย ในการฝึ กให้ นกเชื่องสิ่งสําคญั ท่ีสดุ คือ ผู้ฝึ กกบั นกต้องอย่ดู ้วยกันตามลําพงั หากทําการฝึ กไปแล้วมีบคุ คลอ่ืน ร่วมอยดู่ ้วย จะทําให้การฝึกนนั้ ลําบากมากขนึ ้ เพราะนกมีความหวาดระแวงตอ่ บคุ คลอ่ืนอยดู่ ้วย 1.5 นกท่ีฝึกจนเชื่องแล้ว ไมค่ วรนําไปขงั เลีย้ งรวมกบั นกที่ยงั ไม่ได้ฝึ กให้เชื่อง เพราะนก ดงั กล่าวจะหวาดระแวง กลวั และตื่นตกใจ ทําให้นกตวั ท่ีเช่ืองต่ืนตกใจไปด้วยตามสญั ชาตญาณ การระวงั ภยั และกลายเป็นนกที่ไมเ่ ชื่อง เม่ือเห็นวา่ นกมีความเช่ือง ควรปลอ่ ยให้นกออกมาเดนิ เลน่ ข้างนอกบ้างตามโอกาส อนึ่ง หากกลวั วา่ นกท่ีปล่อยออกมาเพื่อออกกําลงั กายจะบินหนี ควรตดั ปี กทงั้ 2 ข้าง ใต้ปี กใหญ่โดยตดั ให้เทา่ ๆ กนั เวลาบนิ จะได้สมดลุ กนั นกท่ีตดั ปี กแล้วไม่สามารถบนิ ได้ไกลๆ การตดั ปี กไมใ่ ชต่ ดั จนนกบนิ ไมไ่ ด้ แตต่ ดั แล้วนกต้องบนิ ได้แตบ่ นิ ไมไ่ กลจนเกินไป 1.6 ข้อควรระวัง ไม่ควรซือ้ นกตัวใหญ่มีอายุมากมาเลีย้ ง เพราะจะเลีย้ งไม่เชื่อง ขณะเดียวกันจะต่ืนตกใจอย่ตู ลอดเวลา เนื่องจากไม่ค้นุ เคยกบั สถานที่ๆ ถกู นํามาเลีย้ ง ดงั นนั้ ถ้า หากซือ้ นกที่มีอายมุ าเลีย้ งควรซือ้ นกท่ีผ่านการฝึ กให้เชื่องมาแล้วเทา่ นนั้ 2. วิธีปราบนกแก้วที่ดรุ ้าย ปกตินิสยั ของนกแก้วคอ่ นข้างดุ ถ้าไม่นํามาฝึ กให้เชื่องจะจิก หรือกดั ง่าย เพราะจะงอยปากคมมาก และไม่ยอมปล่อยหากมีโอกาสจิก โดยไม่รู้วา่ จิกจริงหรือจิก เลน่ ดงั นนั้ จงึ หาวธิ ีแก้ความดรุ ้าย โดยการอยอู่ ยา่ งใกล้ชิด แตน่ กแก้วบางตวั แม้พยายามลบู คลําให้ ความใกล้ชิด อาจยงั แสดงความดรุ ้ายอยู่ ดงั นนั้ การปราบนกแก้วท่ีดรุ ้ายให้ใช้ความดรุ ้ายรุนแรง

237 เชน่ เดียวกนั เพราะวิธีอ่อนโยนใช้ไมไ่ ด้ผล กลา่ วคือ ต้องหาเครื่องมือป้ องกนั เช่น สวมถงุ มือที่เป็ น ยาง เพื่อเวลานกจิกจะได้ไมเ่ จบ็ แล้วตีแรงๆ หลายๆ ครัง้ ในขณะที่แสดงความโหดร้าย เมื่อทําอะไร ไม่ได้และเจ็บ จากการท่ีถูกนํามาเลีย้ งในขณะที่นกโตแล้ว หากเลีย้ งตงั้ แต่นกมีขนาดเล็กและ ใกล้ชิดกบั นกอยเู่ สมอๆ นิสยั ของนกจะไมด่ รุ ้าย นกแก้วเป็ นสตั ว์ท่ีมีความสามารถในการจดจําได้ดี ถ้าหากโกรธหรือเกลียดแล้วจะจํา นอกจากจะปราบให้อยู่และเปลี่ยนนิสยั เสียใหม่ไม่ให้ดุร้ าย นกแก้วมีความหยิ่ง ดรุ ้ายพอๆ กบั ความงามและนา่ รัก ลกั ษณะเชน่ นีพ้ บได้กบั นกแก้วตวั ผ้มู ากกว่า นกแก้วตวั เมีย เพราะนกตวั ผ้มู ีนิสยั ชอบเลน่ มากกว่า และมีความดรุ ้ายชอบรังแกเพื่อนฝงู เมื่ออยู่ รวมกนั เป็นจํานวนมาก แตน่ กแก้วตวั ผ้มู กั พดู เก่งกวา่ นกแก้วตวั เมีย แม้วา่ จะดรุ ้ายกวา่ ก็ตาม 3. วิธีฝึ กให้นกแก้วพดู นกแก้วบางชนิดมีสีสวยงดงาม เป็ นนกแก้วพนั ธ์ุดีมีคนนิยมเลีย้ ง มาก แตไ่ มม่ ีความเฉลียวฉลาด แตกตา่ งกบั นกแก้วบางชนิดเป็ นพนั ธ์ุไม่ดีสีไมส่ วย คนส่วนใหญ่ไม่ นยิ ม แตม่ ีความสามารถพดู ภาษาคนได้คลอ่ ง มีความเฉลียวฉลาด ดงั นนั้ ราคาสงู กวา่ นกแก้วที่พดู ไมไ่ ด้ การสอนให้นกแก้วพดู ได้ นอกจากจะเป็ นการเพ่ิมราคาของนกแก้วแล้ว ยงั ทําให้ผ้เู ลีย้ งเกิด ความรักใคร่เอน็ ดู ดงั นนั้ การสอนให้นกแก้วพดู ได้จึงจําเป็ นอยา่ งย่ิง ถ้าเป็ นไปได้ควรจะสอนให้พดู ตงั้ แต่นกยังมีขนาดเล็ก จึงพูดได้คล่องและจําได้ง่ายกว่าการจับนกที่โตแล้วมาสอน ซึ่งขนั้ ตอน เร่ิมต้นในการฝึ กสอนนกแก้ว มีเทคนิคโดยให้นกกินอาหารอ่ิมก่อน และเวลาค่ําหลังอาหารเย็น คอ่ ยทําการฝึกโดยฝึกจนถึงก่อนเวลานอนของนก โดยมีวิธีการดงั นี ้ 3.1 ทําความค้นุ เคยกับนกแก้วท่ีเลีย้ งก่อน ตามวิธีการฝึ กให้นกเช่ือง จนสามารถลบู คลําและจบั เล่นได้ ทงั้ นีเ้ พ่ือมิให้นกแก้วแปลกใจ เป็ นกันเองกบั ผู้ฝึ ก และพร้ อมท่ีจะปฏิบตั ิตาม ผ้สู อนทกุ อยา่ ง 3.2 ทกุ ครัง้ ท่ีพบนกหรือให้อาหาร ต้องเรียกชื่อของนกเสมอจนจําได้ ตามปกตนิ กแก้วมี สญั ชาตญาณในการจดจําและชอบเปลง่ เสียงเลียนคําพดู ของคนอย่แู ล้ว เม่ือพดู ออกมาแตล่ ะครัง้ ถ้าพดู ได้ควรจะให้รางวลั คือ ให้กินอาหารที่ชอบครัง้ ละน้อยๆ ถ้าไมย่ อมพดู ก็ไม่ต้องให้ จนกวา่ จะ พดู ตามที่สอนจงึ จะให้กิน ทําเชน่ นีน้ านๆ นกจะเข้าใจ จนเกิดความเคยชิน จากนนั้ นกจะทําตาม 3.3 คําพดู ที่ฝึ กสอนให้นกพดู ควรเป็ นคําพยางค์เดียวหรือสองพยางค์เป็ นอย่างมาก เชน่ แก้วหรือแก้วจา๋ เชญิ คะ และเชญิ ครับ เป็นต้น การพดู ช้าๆ ซํา้ ๆ นกจะพดู ตามทนั ที และไม่ควร จะสอนให้พดู ครัง้ แรกด้วยประโยคยาวๆ จะทําให้นกเบ่ือ หลงั จากที่นกสามารถพดู คําสนั้ ๆ ได้แล้ว จึงสอนให้นกพดู ประโยคยาวๆ คําสอนให้นกพดู ควรเป็ นคําท่ีดีและมีมงคล หรือเป็ นคําที่เตือนใจ เด็กๆ เพราะสามารถใช้นกแก้วเป็ นเคร่ืองมือได้ นกแก้วเหมือนคนเมื่อยงั เด็กๆ โดยสญั ชาตญาณ ของนกแก้วเป็นนกที่หดั พดู ได้ ดงั นนั้ ถ้าผ้สู อนเอาใจใสแ่ ละสอนอยเู่ สมอ นกจะสามารถพดู ตามได้

238 3.4 ควรทบทวนความจําทกุ วนั จนจําได้แมน่ ยํา เพราะถ้าปลอ่ ยทิง้ ไว้นานอาจทําให้นก ลืมได้ พูดถามจนแน่ใจว่านกจําได้ แล้วทิง้ ระยะเวลาหลายๆ วนั แล้วลองทวนดู เพื่อไม่ให้นกลืม แล้วจึงสอนคําพดู อื่น สําหรับสถานท่ีท่ีฝึ กนนั้ ต้องให้ปราศจากส่ิงรบกวนและส่ิงเคล่ือนไหว ผู้ฝึ ก บางคนนิยมให้นกเกาะอย่ใู นลงั ซ่ึงปิ ดสนิททกุ ด้าน แล้วเว้นด้านหน้าไว้ให้เห็นเฉพาะผ้ฝู ึ กเท่านนั้ เม่ือนกแก้วท่ีฝึกพดู ได้แล้ว การเลีย้ งดตู ้องแยกเลีย้ งไว้อย่างอิสระ ไม่ควรจะขงั รวมกนั หรือปล่อยให้ อยู่รวมกันในกรงขนาดใหญ่ เพราะนิสยั ของสตั ว์เม่ืออย่รู วมกัน ที่พูดได้แล้วได้ยินคําพูดหยาบๆ ซํา้ ๆ เพราะเม่ือได้ยินบอ่ ยๆ จะเกิดความจําได้ เมื่อจําได้จะไม่มีทางแก้ไข อาจต้องเสียนกจนต้อง ปลอ่ ยทิง้ ไป นกแก้วไมใ่ ช่จะพดู ได้เฉพาะภาษาของคนเทา่ นนั้ ยงั สามารถออกเสียงสตั ว์ชนิดอื่นได้ อีกด้วย เชน่ เสียงสนุ ขั เหา่ เสียงแมวกดั กนั เมื่อนกได้ยนิ บอ่ ยๆ สามารถจดจําและร้องได้เชน่ กนั 4. วิธีฝึ กให้นกแก้วเล่นเกมอ่ืนๆ ซ่ึงนกในตระกูลนกแก้วนัน้ มีผู้นิยมเลีย้ งกันอย่าง กว้างขวาง นอกจากมีสีสวย เลีย้ งให้เช่ือง และฝึกให้พดู ได้ง่ายแล้ว ยงั มีนสิ ยั รักสนกุ ในการแกล้งทํา หรือการเล่นอย่างอ่ืนๆ เช่น หัดให้แกล้งตาย และหัดจับมือสวัสดี เป็ นต้น ทัง้ นีข้ ึน้ อยู่กับความ ต้องการของผ้ฝู ึก นอกจากนีน้ กแก้วสามารถเล่นเกมตา่ งๆ ได้ดี เชน่ เดียวกบั สตั ว์เลีย้ งชนิดอื่นๆ วิธี ฝึ กโดยทั่วไปท่ีใช้ปฏิบัติกันอยู่ ใช้วิธีฝึ กสอนเหมือนกับการสอนสุนัข คือ การหัดหรือจัดท่าท่ี ต้องการ เมื่อเสร็จแล้วให้อาหารที่นกชอบมากที่สดุ เป็นการตอบแทน ซง่ึ วิธีนีเ้ป็นวธิ ีที่ดีท่ีสดุ อย่างไรก็ตาม ชาติ ไชยณรงค์ (2543, หน้า 34 - 62); ธนากร ฤทธิ์ไทสง (2546, หน้า 9 - 108); พิมพ์กานต์ เหลืองทองคํา (2543, หน้า 27 - 29) และ นฤมล มานิพพาน (2549, หน้า 52 - 53) รายงานวา่ รายละเอียดปลีกยอ่ ยในการจดั การเลีย้ งดขู องวงศ์นกแก้วและนกกระตวั้ มีดงั นี ้ 1. นกเลิฟเบริ ์ด การเลีย้ งดลู กู นกเลิฟเบิร์ดทกุ สายพนั ธ์ุ ซึ่งเป็ นนกท่ีนา่ รัก น่าเอ็นดู เหมาะ แก่การนํามาเลีย้ งไว้ดเู ล่น แต่ก่อนที่จะนํานกมาเลีย้ งต้องพิจารณาก่อนว่า ถ้าจะเลีย้ งไว้ดคู วาม สวยงามเพียงอย่างเดียว โดยไม่ต้องการจะเลีย้ งไว้ฟังเสียงพดู ไมจ่ ําเป็ นจะต้องคํานึงถึงอายขุ อง นก สามารถซือ้ มาเลีย้ งได้ทนั ที แตถ่ ้าต้องการจะเลีย้ งไว้ดเู ล่น และฟังเสียงพดู เสียงร้องอนั ไพเราะ จําเป็นต้องคาํ นงึ ถงึ อายดุ ้วย โดยมีหลกั ในการพจิ ารณาดงั นี ้ 1.1 อายทุ ี่นํามาเลีย้ ง ควรเลือกซือ้ หาลกู นกอายุ 1 ½ - 2 เดือน มาเลีย้ ง ซ่งึ ถ้าเป็ นนกท่ี โตหรือเป็ นนกแก่มีอายมุ าก (ภาพท่ี 6.1) การสอนให้พดู อาจจะทําได้ยากกว่าลกู นก นอกจากนีไ้ ม่ วา่ จะเลีย้ งไว้นานเพียงไรมกั ถกู จกิ มือ เพราะปากแข็งและคมมาก ดงั นนั้ วธิ ีท่ีดที ี่สดุ จงึ ควรเอาลกู นก เล็กๆ มาเลีย้ ง ลกู นกที่เริ่มเลีย้ งด้วยความเมตตา ทําให้เกิดความนา่ รักนา่ เอน็ ดู แตใ่ นระยะท่ียงั เป็ น

239 ลกู นกนีไ้ มค่ วรเลีย้ งในกรง เพราะวา่ อาจถกู ลมโกรกมากเกินไปทําให้หนาวสน่ั เป็ นหวดั และขาของ ลกู นกอาจตกลงไปในซ่ีกรงทําให้นกขาหกั ได้ นอกจากนีย้ ุงอาจกดั ลกู นก ทําให้ผิวหนงั ของลกู นก เป็นตมุ่ ปดู บวมและอกั เสบ เพราะผวิ หนงั ลกู นกออ่ นมาก ภาพท่ี 6.1 ลกั ษณะลกู นกแก้วเม่ือแรกเกิดและวิธีการป้ อนอาหารให้ลกู นก ท่มี า: รัตนา สาริวงศจ์ นั ทร์ (2555, หน้า 7 - 8) อย่างไรก็ตามลูกนกเลิฟเบิร์ดเลีย้ งไม่ยาก เม่ือนําลูกนกมาเลีย้ งแล้ว ควรหากล่อง กระดาษเลก็ ๆ มา ใช้กระดาษปทู ี่พืน้ กล้องแล้วหาเศษฟางแห้งหรือฉีกกระดาษให้เป็ นเส้นฝอยใส่ลง ในกลอ่ ง เพ่ือให้ลกู นกสามารถซุกตวั หาความอบอ่นุ ได้ ถ้าไมม่ ีเศษฟางหรือกระดาษปรู องพืน้ เลีย้ ง ไว้บนพืน้ กล่องที่โล่งๆ จะทําให้ลกู นกยืนขาถ่างและเท้าอาจจะเสียได้ ดงั นนั้ จําเป็ นต้องมีฟางหรือ กระดาษปรู องพืน้ ด้วย เพื่อให้ลกู นกสามารถใช้เท้ายดึ เกาะได้หรือให้ลกู นกกํากระดาษหรือฟางเป็ น การออกกําลังกายอีกวิธีหนึ่ง กระดาษหรือฟางใช้รองพืน้ ควรเปลี่ยนให้ 2-3 วันต่อครัง้ และทํา ความสะอาดกลอ่ งอยเู่ สมอ 1.2 อาหารสําหรับลกู นก เชน่ อาหารท่ีเป็ นแป้ งท่ีมีวางขายอย่ตู ามร้านขายอาหารสตั ว์ สามารถใช้เลีย้ งได้ควรตงั้ ไฟเคีย่ วให้สกุ ก่อน แล้วปล่อยให้เย็นจึงคอ่ ยป้ อนใส่ปากให้ลกู นกกิน หรือ จะเอาอาหารที่เคี่ยวแล้วใส่ขวดท่ีหยดนํา้ มนั หล่อล่ืน ขวดขาว ฝาแดง ปลายแหลมค่อยๆ บีบใส่ ปากลูกนกให้กินทีละน้อย แต่ควรทิง้ ช่วงเวลาหน่ึง รอลูกนกขยอกลงไป อาหารจะถูกเก็บไว้ใน กระเพาะอาหาร (อย่ใู กล้กบั บริเวณอกของลกู นก) จึงบีบให้กินต่อ แตค่ วรสงั เกตว่าอย่าให้กินจน กระเพาะอาหารโป่ งมากเกินไป เพราะอาจทําให้ระบบการย่อยอาหารของลกู นกทํางานหนกั เกินไป เมื่อป้ อนอาหารเรียบร้อยแล้ว ควรเอานํา้ ป้ อนตามเข้าไปด้วย และใช้ผ้าชบุ นํา้ เช็ดท่ีปาก และมุม ปากของลกู นกให้สะอาด เน่ืองจากเวลาลกู นกกินอาหารที่ป้ อนให้ และขยอกอาหารเข้าไปจะมีเศษ อาหารติดอย่ขู ้างๆ มมุ ปากของลกู นก ถ้าทิง้ ไว้จะแห้งกรังเกาะท่ีมมุ ปากทําให้ลูกนกเจ็บปากเวลา อ้าปากไม่คอ่ ยขนึ ้ กินอาหารได้น้อยลง ทําให้ไมเ่ ติบโต และอาจทําให้ไม่สบายได้ นอกจากนีก้ าร

240 ป้ อนอาหารไมค่ วรให้บอ่ ยเกินไป ควรป้ อนเป็นเวลา คือ เช้า กลางวนั เย็น และกลางคืน เพราะเวลา กลางคืนจะนานมาก ลกู นกจะหิวในตอนกลางคืนได้ เมื่อป้ อนช่วงกลางคืนแล้วลูกนกจะหลบั ถึง เช้า อาหารที่ใช้ป้ อนลกู นกควรทําวนั ตอ่ วนั ไม่ควรค้างคืน และสงั เกตวา่ อาหารบดู หรือไม่ ถ้าหาก อาหารบดู จะทําให้ลกู นกไมส่ บายและตายได้ เม่ือลกู นกโตขนึ ้ 1 - 2 สปั ดาห์ ควรฝึ กให้ลกู นกหดั กิน อาหารเอง อาหารที่ให้ในระยะนีเ้ป็ นพวกปลายข้าว ข้างฟ่ าง ข้าวโพดบด และถวั่ เขียวบด นํามาแช่ นํา้ ร้อนแล้วรินนํา้ ร้อนท่ีแชใ่ นอาหาร จะทําให้อาหารออ่ นน่มุ มีนํา้ แฉะบ้างเล็กน้อยใสถ่ ้วยวางไว้ให้ ลกู นกกินอาหารเอง จากนนั้ เม่ืออายุ ถึง 1½ - 2 เดือน ลกู นกจะเติบโตขนึ ้ พร้อมกินอาหารได้อ่ิม เตม็ ท่ี เมื่อลกู นกมีขนขนึ ้ เต็มตวั ย้ายจากกล่องกระดาษมาขงั กรงเลีย้ งหรือปล่อยเกาะคอนเลีย้ ง การนําลกู นกมาเลีย้ งภายในบ้านหรือบริเวณมมุ ใดมมุ หนงึ่ ของบ้าน ให้ลกู นกมีความรู้สกึ เหมือนกบั เป็นสมาชิกหนงึ่ ของครอบครัว ลกู นกสามารถเรียนรู้และจดจําสถานท่ีอยไู่ ด้เวลาเพียง 3 - 4 วนั 1.3 การท่ีจะให้นกท่ีเลีย้ งไว้มีโอกาสออกกําลงั กายนนั้ ต้องมีกรงเลีย้ งขนาดใหญ่ให้กบั นก ต้องสามารถหากรงใหญ่ท่ีสดุ ได้ แตก่ รงเล็กๆ ที่ใช้เลีย้ งอาจมีวธิ ีให้นกได้ออกกําลงั กายบ้างตาม ต้องการ ซงึ่ นกชนดิ นีเ้หมือนนกชนดิ อื่นในตระกลู นกแก้ว คือ ใช้เวลาสว่ นมากไตก่ ระโดดไปมาตาม คอนและขึน้ ๆ ลงๆ ตามลวดกรง การออกกําลงั กายจึงอย่ใู นขอบเขต เพราะได้แตก่ ระโดดในระยะ สนั้ ๆ จากคอนหนงึ่ ไปยงั อีกคอนหนงึ่ ดงั นนั้ ควรนํามาปล่อยไว้ในห้องกว้างๆและให้บนิ เล่นบ้างเมื่อ มีโอกาส จะทําให้นกได้ออกกําลงั กายเต็มท่ี ก่อนปล่อยนกออกจากกรงส่หู ้องควรระมดั ระวงั ถ้า เลีย้ งแมวไว้ อย่าให้แมวอย่ใู นห้องเดียวกนั นอกจากนนั้ ประตู หน้าตา่ ง ช่องลม หรือทางระบาย อากาศ ต้องปิ ดให้ดี ซ่ึงถ้าไม่ระมดั ระวงั อาจทําให้เสียนกไปได้ ถ้านกนนั้ ไม่เคยได้รับการปล่อยให้ อยู่ในห้องมาก่อน จะต้องยืนอยู่ใกล้ๆ กระจก กนั้ ประตหู น้าต่าง เพื่อป้ องกันไม่ให้บินชนกระจก จนกวา่ นกจะเรียนรู้วา่ กระจกที่เหน็ ใสบางนนั้ เป็นของแข็งไมใ่ ช่อากาศที่วา่ งเปล่า ตามความเข้าใจ ของนก ไม่ช้านกจะเรียนรู้ และยืนเกาะดดู ้วยความสนกุ สนาน สําหรับการเอานกเข้ากรงตามเดิม เมื่อได้เวลาแล้วนนั้ ครัง้ แรกต้องเสียเวลา การชกั ชวนให้นกบนิ ลงมานนั้ ต้องใช้ความพยายาม โดย มีวิธีการดงั ตอ่ ไปนี ้ 1.3.1 ต้องทําให้นกเห็นว่ากรงนีเ้ป็ นประโยชน์ เป็ นเขตแดนจริงๆ ทําให้นกจะคืน เข้าสกู่ รงเพื่อจะกินอาหารหรือหนีภยั อนั ตราย 1.3.2 เนื่องจากนกเป็ นสตั ว์ปี กขนาดเล็กที่ต้องการอาหารบอ่ ย เชื่อได้ว่านกจะเร่ิม หิวหลงั จากท่ีออกจากกรงได้ไม่นาน จึงสามารถดําเนินการฝึ กได้รวดเร็ว โดยเอาภาชนะใส่อาหาร ออกไปจากกรงประมาณคร่ึงชว่ั โมงจงึ ปลอ่ ยนก ตอ่ จากนนั้ ต้องทําให้เห็นว่าเตรียมอาหารไว้ให้ใหม่

241 แล้ว ซ่ึงไมน่ านจะกลบั เข้ามากินอาหาร สําหรับอาหารที่จะเตรียมจะต้องเหมาะกบั นก เชน่ หวั ผกั และเมลด็ พืช ผลไม้หน่ั เป็นชนิ ้ บางๆ ท่ีแนใ่ จวา่ นกชอบเป็นพเิ ศษ จะทําให้นกกลบั คนื เข้าสกู่ รง อยา่ งไรก็ตาม อาจมีนกบางชนิดที่ไมเ่ ตม็ ใจยอมเข้ากรง หากกรงนนั้ มีประตทู างเข้าที่ไม่ มีชาน มีเฉพาะทางโปร่งๆ เข้าไป จึงควรทําชานชาลาไว้ด้านนอกประตู หากไมม่ ีควรทําชานพิเศษ แล้วมาตดิ ไว้ที่ปากประตชู วั่ คราวเสียบไว้หน้าประตู เมื่อนกได้เรียนรู้การออกจากกรงและเข้าส่กู รง เรียบร้อยแล้ว ตอ่ ไปจะได้ไมต่ ้องยาก ในการไลจ่ บั ให้นกตกใจกลวั และเสียสขุ ภาพจิต แตจ่ ะเห็นได้ วา่ อายขุ องนกนีข้ นึ ้ อยกู่ บั การออกกําลงั กาย เหมือนกบั นกที่อยใู่ นป่ า ออกกําลงั กายสม่ําเสมอ อายุ ยืนยาวเหมือนกบั คนท่ีมีร่างกายแขง็ แรง การออกกําลงั กายอยา่ งสมํ่าเสมออายจุ ะยืนยาว 1.4 การนํานกเข้าประกวด ในการประกวดนกเลิฟเบิร์ด ผู้ส่งนกเข้าสนามแข่งต้อง เข้าใจในมาตรฐานนกเป็ นเบือ้ งต้นว่าส่วนประกอบท่ีดีได้มาตรฐานนนั้ มีอะไรบ้างดงั รายละเอียด ตอ่ ไปนี ้ 1.4.1 สว่ นหวั ต้องใหญ่กลมและกว้างได้สว่ น และโค้งกลมกบั สว่ นท้ายทอย 1.4.2 กะโหลกท้ายทอย โค้งเตม็ รับกบั สว่ นหวั 1.4.3 จะงอยปาก จะต้องไมม่ ีรอยแตกหรือลอก ไมง่ ้มุ เข้าไปในระหว่างขนข้างแก้ม และไมง่ อกยาวเกินไป 1.4.4 นยั น์ตา ต้องกลมและแจม่ ใส และอยใู่ นตาํ แหนง่ ก่ึงกลาง ของวงใบหน้า 1.4.5 หน้ากากหรือวงใบหน้า ขาวสะอาด ลกึ และกว้าง 1.4.6 สว่ นหน้าอก ต้องนนู ออกแตพ่ องาม และไมม่ ีร่องอก 1.4.7 ต้นคอ ควรเป็นเส้นตรงจากท้ายทอยจนจรดปลายหาง ไมค่ วรมีโหนกหลงั 1.4.8 ลายหลงั และปี ก จะต้องชดั เจน 1.4.9 เส้นหลงั สว่ นมากจะตรงไมเ่ ว้าหรือนนู สว่ นใดสว่ นหนง่ึ 1.4.10 ปี ก แนบชิดลําตัว ไม่ห้อยตก ปลายปี กจะต้องมีขนปี ก 7 เส้น ยาวได้ สดั สว่ นเรียงกนั ตามลําดบั แกนขนจะต้องไมห่ กั หรือเส้นขนแตก 1.4.11 หาง จะต้องเรียวตรงแนบกนั สนิท ปลายหางต้องไมห่ กั หรือเส้นขนแตก 1.4.12 การยืน ของนกจะต้องเชดิ หน้าชคู อ ไมห่ ดหอ่ ตวั 1.4.13 ขา จะต้องตรงแข็งแรง ประกอบด้วยนิว้ 2 นิว้ หน้า และ 2 นิว้ หลงั เกาะ คอนด้วยความมนั่ คงและค้มุ คอนทงั้ สองด้าน เลบ็ ต้องยาวพอดี ไมพ่ ิการหรือกดุ ไปเลบ็ ใดเลบ็ หนง่ึ 1.4.14 ขน จะต้องมนั และเรียบเสมอกนั ตลอดทงั้ ตวั 1.4.15 สี จะต้องเข้มและสดใสเสมอกนั ตลอดทงั้ ตวั

242 ขนั้ ตอนการเตรียมตวั นกที่จะเข้าประกวดนนั้ นอกจากการเตรียมทวั่ ไปในด้านตา่ งๆ แล้ว สิง่ ท่ีสําคญั ท่ีอาจเกิดขนึ ้ ได้อีก คอื การผลดั ขนชว่ งประกวด หรือใกล้วนั ประกวด ซ่ึงไม่สามารถ นํานกเข้าประกวดได้ ดังนัน้ ต้องทําให้นกผลัดขนและขนใหม่งอกออกมาทดแทนทันการเข้า ประกวดพอดี ระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการเตรียมตวั นี ้ไม่ควรตํ่ากว่า 2 เดือน เพ่ือรอให้ขนเส้นที่ ยาวงอกขนึ ้ ใหมจ่ นเรียบร้อยก่อน การให้อาหารในระหวา่ งกําลงั เตรียมนก ต้องระวงั เป็ นพิเศษและ ต้องสงั เกตเกี่ยวกบั ตวั นกเป็นหลกั ในการพจิ ารณาต้องการเร่งให้นกผลดั ขน ให้นกสมบรู ณ์ขนึ ้ หรือ ต้องการลดไขมนั ลดความอ้วนลง สิ่งเหลา่ นีอ้ าหารมีสว่ นชว่ ยได้มาก เชน่ ถ้าต้องการเร่งให้นกผลดั ขน เม่ือเริ่มการกกั นกเพ่ือเตรียมนกนี ้สว่ นผสมของอาหารควรใช้เมล็ดปอผสมลงไปประมาณ 12 - 15% ระยะเวลา 1 สปั ดาห์ หลงั จากนนั้ ควรเลิกให้ เพราะการใช้เมลด็ ปอผสมลงไปในอาหารจะเป็ น การไปเร่งให้ตวั นกผลดั ขน เมื่อให้ครบ 7 วนั ควรหยุดเพราะถ้าให้ตลอดจะทําให้การผลดั ขนนาน ต่อไปอีก การบํารุงนกให้สมบูรณ์ไม่ได้หมายความว่า ทําให้อ้วน แต่ให้มีอกยื่นออกมานิดๆ เปรียบเสมือนนกั กล้ามท่ีมีอกอดุ มไปด้วยกล้ามเนือ้ เม่ือยืนยืดอกจะดสู ง่างามสมบรู ณ์ขนึ ้ ควรให้ อาหารเสริมจําพวกขนมปังชุบนม ข้าวโพดฝักสด เมล็ดทานตะวัน และถั่วแช่นํา้ ซึ่งมีโปรตีนสูง ส่วนใหญ่นกที่จับคู่ผสมพันธ์ุจะค่อนข้างอ้วน เมื่อต้องการนําเข้าประกวดต้องแยกคู่ และลด สว่ นเกินลงให้สมสว่ น ถ้านกอ้วนจะทําให้สว่ นหวั เล็ก การลดส่วนเกินของนกจะต้องงดอาหารเสริม ที่ทําให้อ้วน และผสมข้าวฟ่ างญี่ป่ นุ ลงไปในสว่ นผสมให้มากกว่าปกติ 10 - 15% และที่สําคญั ต้อง ปล่อยให้บินในกรงขนาดใหญ่ โดยกรงที่เหมาะสมกบั การเลีย้ งนกไว้ประกวด ขนึ ้ กบั สภาพของตวั นกเป็ นหลกั เชน่ หากนกมีลกั ษณะป้ อม สนั้ หนา จะเป็ นนกที่มีสภาพอ้วนง่าย ต้องเลีย้ งไว้ในกรง ขนาดใหญ่ เพ่ือป้ องกนั ไมไ่ ห้อ้วน ทําให้นกมีพืน้ ท่ีในการบนิ ออกกําลงั กาย เพราะนกลกั ษณะนีเ้มื่อ อ้วนแล้ว ทําให้สนั้ ส่วนนกท่ีผอม ยาวชะลูด จะทําให้อ้วนยาก ควรเลีย้ งไว้ในกรงผสมพนั ธ์ุ ซ่ึงมี ขนาดไมก่ ว้างใหญ่มาก เพ่ือลดการบินของมนั เองให้น้อยลง การฉีดนํา้ อปุ กรณ์การฉีดนํา้ นก อาจ ใช้กระป๋ องฉีดนํา้ รีดผ้า การฉีดนํา้ ตวั นกจะสามารถทําได้ 2 แบบ คือ ฉีดนํา้ ในขนาดท่ีนกอยใู่ นกรง ใหญ่ หรือออกมาใส่กรงลวดขนาดเล็กแล้วคอ่ ยฉีด ควรเลือกในวนั ท่ีอากาศแจม่ ใสไม่มีฝนตก การ ฉีดนํา้ นกควรฉีดให้เปี ยกทวั่ ตวั ไมต่ ้องฉีดทกุ วนั ประมาณ 2 - 3 วนั คอ่ ยฉีดอีกครัง้ หนงึ่ ก็เพียงพอ การฝึ กให้นกยืนบนคอนในกรงประกวด นกบางตวั เม่ือไม่ค้นุ กับกรงประกวด ทําให้ไม่ ยอมยืนคอน และไม่ยอมอยู่น่ิง จะเดินไป - มา ทําให้เสียโอกาสไป เพราะการท่ีนกไม่ยอมยืน กรรมการผู้ตดั สินจะให้โอกาสเบือ้ งต้น โดยใช้ไม้เข่ียหรือไลใ่ ห้ขึน้ คอนเพ่ือจะได้พิจารณาสดั ส่วนที่ แท้จริง เมื่อนกไม่ยอมยืนคอนกรรมการจะผ่านนกตวั นีไ้ ปโดยไม่ตดั สิน จึงต้องมีการฝึ กเพ่ือไม่ให้ เหตุการณ์นีเ้ กิดขึน้ การฝึ กทําได้โดยนําตัวนกที่เตรียมใส่กรงประกวด หากนกไม่ยอมยืนคอน

243 คอ่ ยๆ เอาก่ิงไม้ไลใ่ ห้ยืนบนคอนพยามทําแบบนีบ้ อ่ ยๆ ไมช่ ้าจะค้นุ เม่ือนําเข้าประกวดจะขนึ ้ ยืนเอง เป็นเวลานานๆ การฝึ กควรทําเสมอๆ การเสริมสวยตกแตง่ ตวั นก หรือทําความสะอาดขนที่สกปรก ควรทําเมื่อสปั ดาห์สุดท้ายก่อนเข้าประกวด วนั ประกวดเป็ นช่วงสดุ ท้ายก่อนส่งนกเข้าประกวด ความงามต้องมีการเตรียมตวั นกให้พร้อมท่ีสดุ เมื่อถึงวนั ประกวดต้องเอาอาหารและนํา้ ให้นกที่จะ นําเข้างานตงั้ แตเ่ ช้า อาหารเสริมท่ีนกชอบเป็ นพิเศษต้องให้กินเต็มท่ี เพราะเม่ือนํานกเข้าประกวด จะไม่คอ่ ยได้กินอาหารและนํา้ อยา่ รบกวนจนถึงแปดโมงเช้า คอ่ ยจบั นกใส่กรงลวดเล็ก นํามาฉีด นํา้ อีกครัง้ หนงึ่ ให้เปี ยกทว่ั ตวั แล้วนําไปผ่งึ แดดออ่ นๆ ให้ขนแห้งสนิท ซงึ่ ใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที ดกู รงประกวด อปุ กรณ์ใส่อาหารและนํา้ ให้พร้ อม เตรียมนํา้ และอาหารให้เรียบร้อย เม่ือถึง บริเวณงาน ตรวจดสู ภาพกรงประกวดวา่ เรียบร้อยหรือไม่ เอาอาหารและนํา้ วางใสภ่ าชนะในกรงให้ พร้อม แล้วจบั นกใสก่ รง ก่อนใส่ควรลบู หวั และหางเพื่อให้ขนท่ีแตกไม่เป็ นระเบียบเข้ารูปทรง เม่ือ เสร็จแล้วตรวจประตกู รงปิ ดให้เรียบร้อย จึงนํานกไปสมคั ร เม่ือเตรียมมาถึงขนั้ ตอนนีแ้ ล้วท่ีเหลือ ควรให้กรรมการเป็ นผ้ตู ดั สิน และการตดั สินนนั้ ถือเป็ นสิน้ สดุ สําหรับหลกั เกณฑ์การประกวด โดย ชมรมนกเลฟิ เบริ ์ดแหง่ ประเทศ ทงั้ ชนดิ ที่มีขอบตาและไมม่ ีขอบตา มีกตกิ าดงั นี ้ (1) ความสมบรู ณ์ของนก โครงสร้างของนก ขนของนกต้องเรียบเป็ นเงา ปากของ นกต้องไมย่ าวเกินธรรมชาติ ไมบ่ น่ิ หรือแตก เล็บต้องมีครบ นวิ ้ ต้องไมด่ ้วน แววตาต้องสดใส (2) นกนําเข้า (นกนอก) จะไมร่ ับเข้าประกวด (3) การยืนของนกต้องสง่างาม ไมย่ อ่ ตวั หากมาจากด้านข้างของตวั นก นบั จาก ส่วนหวั จนถึงหางต้องเป็ นเส้นตรง ปลายปี กทงั้ 2 ข้าง แนบบรรจบกนั พอดีจะไมไ่ ขว้กนั หางไมต่ ก ปลายปี กไมช่ ีข้ นึ ้ (4) สีของนกจะต้องชดั เจนตามสีและสายพนั ธ์ุ (5) นกต้องเกาะคอน เม่ือกรรมการมาทําการตัดสิน หากนกไม่เกาะคอน กรรมการสามารถใช้ไม้หรืออปุ กรณ์เพ่ือชว่ ยให้นกเกาะคอนไม้ โดยสามารถแยกประเภทของนกตามลกั ษณะได้ดงั นี ้ สีฟ้ ากรมทา่ , อบเชย, ทองเชอร่ี, เงินเชอร่ี, หน้าส้ม, หน้าพีช, ลตู โิ น่, สีเหลืองลาย, สีนํา้ เงินลาย, หน้าขาว - ม่วงดํา (มีขอบตา), สแปงเกิล้ (มีขอบตา), พาสเทลปากขาว (มีขอบตา), พาสเทลปากแดง (มีขอบตา), ขาวตาแดง (มีขอบตา), เหลืองตาแดง (มีขอบตา), หน้าแดง (มีขอบตา), หน้าขาว (มีขอบตา), หวั ดําปากขาว (มีขอบตา), หวั ดาํ ปากแดง (มีขอบตา) และจะมีการตดั สินประเภทยอดเย่ียมชนิดไมม่ ีขอบตา และ มีขอบตาอีก 2 รางวลั (ธนากร ฤทธ์ิไทสง, 2546, หน้า 9-108; พิมพ์กานต์ เหลืองทองคํา (2543, หน้า 27-29) และ นฤมล มานพิ พาน (2549, หน้า 52-53)

244 2. นกหงส์หยก มีหลกั ในการดแู ลจดั การตงั้ แตก่ รงนก โดยมีการจดั วางกรงนกไว้ท่ีตา่ งๆ การวางกรงนกไว้ท่ีหน้าตา่ งเป็นสิง่ ที่ไมถ่ กู ต้อง ไมค่ วรแขวงกรงนกในที่ลมโกรกเพราะจะเป็ นสาเหตุ ให้นกเจบ็ ป่ วย นอกจากนีน้ กยงั ไมช่ อบแสงแดดท่ีแรงจ้าเกินไป นกหงส์หยกชอบอากาศปลอดโปร่ง สดชื่น มีแสงแดดออ่ นๆ และกรงเลีย้ งนกที่ดคี วรเป็ นกรงที่สามารถย้ายที่ได้สะดวก เป็ นต้น อยา่ งไร ก็ตาม ธนากร ฤทธิ์ไทสง (2546, หน้า 9-108) รายงานวา่ มีหลกั ในการเลีย้ งนกหงส์หยกดงั ตอ่ ไปนี ้ 2.1 การออกกําลงั กาย นกหงส์หยกจําเป็ นต้องออกกําลงั กาย บางครัง้ ต้องปลอ่ ยออก จากกรงเพ่ือให้นกบินอย่ใู นห้องเพื่อออกกําลงั ควรปิ ดประตหู น้าตา่ งก่อนปล่อยออกมาเพื่อกนั นก หลดุ หรือบนิ หนี ไม่ควรปล่อยให้นกบินอย่ลู ําพงั ในห้องท่ีมีแจกนั ดอกไม้ท่ีใส่นํา้ ไว้เต็มแจกนั ก้นลึก เพราะนกจะจมนํา้ ตายเม่ือมนั ต้องการอาบนํา้ นอกจากนีต้ ้องมีการตรวจเชค็ ในเรื่องตา่ งๆ ดงั นี ้ 2.1.1 ควรให้อาหารบอ่ ยแคไ่ หน ควรตรวจเช็คอย่ทู กุ วนั เม่ือเห็นว่าอาหารและนํา้ เหลือน้อยแล้ว จงึ ใสเ่ พ่ิมให้มนั 2.1.2 ควรทําความสะอาดกรงบอ่ ยแคไ่ หน ปกติควรทําความสะอาดกรงทกุ ๆ 7 วนั แตถ่ ้ากรงและอปุ กรณ์ตา่ งๆ ดแู ล้วสกปรกเกินไป ควรทําความสะอาดได้บอ่ ยตามที่เห็นวา่ สมควร 2.1.3 เคร่ืองปรับอากาศ ถ้าไมป่ ล่อยให้นกโดนความเย็นโดยตรงก็ไม่เป็ นอนั ตราย แตค่ วรระวงั เร่ืองการเปล่ียนอณุ หภมู ิโดยฉบั พลนั 2.1.4 เร่ืองแสงไฟตอนกลางคืน ควรเปิ ดไฟสลวั ๆให้นกตอนกลางคืน เพื่อให้นกที่ เลีย้ งลกู นกได้นําอาหารไปป้ อนให้แกล่ กู นกได้ในตอนกลางคนื 2.2 การอาบนํา้ นก นกหงส์หยกเป็ นนกที่ชอบอาบนํา้ เพียงนําภาชนะที่ตืน้ พอท่ีนกจะ ยืนได้มาใสน่ ํา้ แล้วไปวางไว้ในกรงเทา่ นีน้ กจะลงมาเลน่ นํา้ เอง 2.3 การฝึกนก นกเพศผ้จู ะฝึกได้ดีกวา่ เพศเมีย แตอ่ ยา่ งไรก็ตามนกบางชนิดไม่สามารถ ดเู พศจากลูกนกได้ วิธีฝึ กให้ได้ผล คือ ไม่ว่าจะให้นกทําอะไรให้นกหิวก่อน เม่ือทําสําเร็จแล้วให้ รางวลั ท่ีนกชอบแตอ่ ยา่ ให้มาก สว่ นใหญ่นกจะชอบขนมปัง โดยเฉพาะพวกแยมโรลตา่ งๆ อยา่ งไรก็ ตามไม่ควรให้กินมาก เพราะจะทําให้นกอ้วนและเป็ นโรคหวั ใจได้ง่าย หากนกเกิดอาการดรุ ้าย ไม่ ควรทําโทษด้วยการตี เพราะนกจะจําและจะเกลียด ให้ดโุ ดยการพูดเสียงดงั ๆ เช่น อย่า เป็ นต้น แล้วนํานกไปเก็บไว้ท่ีกรง แล้วนําออกมาฝึกใหม่ นกหงส์หยกเป็ นนกฉลาดจดจําอะไรได้ นกท่ีเลือก มาฝึกนนั้ ต้องให้ยดึ ตดิ กบั คนสอน ควรเป็ นเพียงคนเดียว อยา่ นํากลบั ไปเลีย้ งปนกบั นกหงส์หยกใน กรงเดิม เพราะจะทําให้นกสบั สนและไม่เช่ือง ไม่ควรมีของเล่นในกรง เช่น กระจก จะทําให้นกเขว เชน่ กนั กบั การได้มองนกในกระจก การฝึ กนกต้องอดทน ไม่ว่าจะเป็ นการฝึ กอะไรก็ตามให้ทําซํา้ ๆ ซากๆ และให้รางวลั ทกุ ครัง้ ควรฝึ กอย่างน้อย 15 นาที วนั ละ 4 - 5 ครัง้ เวลาที่นกจดจําดีท่ีสดุ คือ

245 ตอนเช้าและตอนเย็น การเริ่มต้นฝึ ก ต้องตดั ปี กออกส่วนหน่ึงและนําออกมาฝึ กนอกกรง อาจ สกปรกจากการปลอ่ ยของเสีย แตเ่ ลก็ น้อยเพราะของเสียของนกหงส์หยกจะแห้งง่ายและไมส่ ง่ กลิ่น เหมน็ เหมือนนกกินแมลงอื่นๆ กรงให้เปิดประตไู ว้เพ่ือให้นกรู้จกั เข้าและออกกรงเอง จงั หวะไม่มีคน อยู่จึงปิ ดประตกู รง ต่อมาให้นกหดั ยืนที่นิว้ โดยเอานิว้ มือเตะเบาๆ ท่ีต้นขานกอย่าลืมพูดทกุ ครัง้ เช่น มา หรือ ยืน เป็ นต้น พยายามทําซํา้ ๆ หลายครัง้ อย่างน้อย 10 นาที การฝึ กส่ิงตอ่ ๆ ไปให้ทํา เชน่ เดียวกนั สว่ นการฝึกพดู โดยเริ่มต้นท่ีคาํ พดู สนั้ ๆ ก่อน ให้พดู ซํา้ ๆ เช่น แก้วจ๋า แมจ่ ๋า และพ่อจ๋า เป็ นต้น แล้วค่อยพูดคําที่ยาวขึน้ อย่าให้นกฝึ กคําหยาบ เพราะนกจะไม่ลืมคําพูดทงั้ หมด อาจใช้ เทปเปิ ดซํา้ ๆ ตลอดเวลา เมื่อไม่ได้สอนด้วยคําพูด อย่างไรก็ตามนกจะมองเวลาพดู ะสงั เกตการ ขยบั ปาก แตท่ กุ ครัง้ ที่นกพดู ควรให้รางวลั ทกุ ครัง้ 2.4 การสอนนกหงส์หยกให้เช่ือง นกหงส์หยกเหมือนกบั สตั ว์เลีย้ งชนิดอ่ืนๆ ท่ีต้องการ ให้เชื่อฟังและง่ายตอ่ การออกคําสงั่ ตา่ งๆ ไมว่ ่าจะเป็ นการสอนให้พูด สอนให้บิน สอนให้เกาะมือ แตก่ ารที่จะสอนต้องมีวิธีท่ีดแี ละเหมาะสมพอ ซง่ึ มีขนั้ ตอนการฝึกนกหงส์หยกให้เชื่อง0ดงั นี ้ 2.4.1 การสร้างความมนั่ ใจ เม่ือนํานกหงส์หยกมาเลีย้ ง ควรปล่อยให้ได้ค้นุ เคยกบั กรงและสถานท่ีใหม่ๆ จากนนั้ จงึ สร้างความมนั่ ใจและไว้วางใจ โดยอาจเริ่มให้อาหารด้วยการให้ นอกกรงกอ่ น แล้วคอ่ ยๆ เอือ้ มมือให้ในกรง นกจะเรียนรู้วิธีการตา่ งๆ เอง ไม่ช้าจะเข้ามาใกล้ๆ เพื่อ จิกอาหารกินเอง การฝึ กพูด สามารถทําได้โดยหมน่ั พดู ช่ือที่จะให้เรียกซํา้ กนั หลายๆ ครัง้ พดู ชดั ๆ คอ่ ยๆ ตรวจดสู ิ่งเคลื่อนไหวรอบๆ กรง อยา่ ทําให้นกตกใจ วิธีนีจ้ ะทําให้นกมนั่ ใจและค้นุ เคยกบั ชื่อ ท่ีเรียก และทกุ ๆ ครัง้ ท่ีเข้าใกล้ เรียกช่ือ และให้อาหารกบั นก 2.4.2 การฝึกให้นกเกาะมือ เมื่อค้นุ เคยตอ่ ไปเร่ิมให้นกมาเกาะที่นวิ ้ ยื่นมือเข้าไปใน กรง โดยถืออาหารไว้ ปิดประตกู รงช้าๆ นกจะเข้ามาใกล้มือ เพ่ือจิกอาหาร ทีแรกจะจิกและกระโดด หนีไป เม่ือเห็นว่าไม่มีอะไรเกิดขึน้ จะกล้าเข้ามาจิกอาหารไป ถ้าฝึ กเช่นนีแ้ ละเห็นว่านกกล้าเข้ามา เกาะมือโดยไม่หวาดกลวั แล้ว ค่อยๆ ชกั มือออกจากกรง แล้วเอือ้ มมือปิ ดประตกู รงโดยท่ีไม่ให้นก ตกใจ วิธีนีต้ ้องทํากนั นาน 2.4.3 การปล่อยให้นกออกมาบินในร่ม การฝึ กแบบนีไ้ มค่ วรรีบร้อน ให้เวลากบั นก ค้นุ เคยกบั มนษุ ย์ เม่ือเรียนรู้การเกาะมือโดยไม่หวาดกลวั ทงั้ ในและนอกกรงแล้ว นกจะชอบบนิ อยู่ ในห้องแล้วกลบั มาเกาะท่ีมือหรือหลงั คากรง และรู้จกั เข้ากรงเองได้ จากนนั้ เร่ิมเปิ ดประตทู ิง้ ไว้ นก จะบินออกมาข้างนอกได้เอง แตค่ วรอย่ใู นห้องด้วย ควรให้นกได้ออกมาบนิ นอกกรงทกุ วนั จะช่วย ให้นกมีสขุ ภาพดี ไมอ่ ้วนเกินไป การฝึ กแบบนีถ้ ้ามีนกหลายตวั จะยงุ่ ยากกวา่ ตวั เดียว แตถ่ ้ามีเวลา

246 มากควรฝึ กเป็ นกลมุ่ เล็กๆได้ นกท่ีพดู ได้และเชื่อฟังคําสงั่ จะทําให้เจ้าของพอใจ ทงั้ นีต้ ้องฝึ กให้ดี ด้วยวธิ ีการท่ีเหมาะสม สง่ิ สําคญั ต้องไมท่ ําให้นกตกใจ 2.5 การประกวด (Exhibition) การเลีย้ งนกตวั เดียวหรือเลีย้ งเป็ นกลมุ่ สี สามารถนํานก ไปแสดงนิทรรศการหรือประกวดได้ แตต่ ้องเป็ นนกหงส์หยกพนั ธ์ุองั กฤษหรือพนั ธ์ุเยอรมนั เพราะมี โครงสร้างที่ใหญ่และมีขนท่ีละเอียดสวยงามกวา่ นกพนั ธ์ุสายฮอลแลนด์ สิ่งท่ีต้องเตรียมก่อนนํานก เข้าไปประกวด คือ กรงโชว์นกหรือบล็อกประกวด ผ้เู ลีย้ งที่ชํานาญจะมีบล็อกประกวดเป็ นของ ตวั เอง เพื่อนํามาฝึ กนกที่เข้าประกวดให้เคยชินกับบล็อกประกวด และควรศกึ ษาหลกั เกณฑ์การ ตดั สิน รายละเอียดตา่ งๆ ว่ามีการประกวดประเภทใด ปกตแิ ล้วจะแบง่ ประเภทตามสีนกและเพศ ของนก การประกวดมี 3 ระดบั คือ (1) เริ่มต้น (Beginner) (2) แบบเดก็ วยั รุ่น (Young Birds) และ (3) มืออาชีพ (Intermediate) โดยหลกั เกณฑ์การตดั สินและประเภทการประกวด มีดงั นี ้ 2.5.1 ความสมบรู ณ์สวยงามและโครงสร้างโดยรวม 2.5.2 กะโหลกใหญ่คล้ายรูปทรงสี่เหลี่ยม 2.5.3 พ้อยท์ (สร้อยคอ) อยใู่ นตาํ แหนง่ ที่เรียงกนั และครบถ้วน 2.5.4 นกโอไพริน ลายหลงั ต้องชดั เจน 2.5.5 นกแฟนซี พิจารณาได้จากลายหลงั ต้องมีความคมชดั และความสมดลุ ของ ลายปี กทงั้ 2 ข้าง 2.5.6 การยืน เป็นลกั ษณะ 30 องศา วดั ระหวา่ งเส้นดง่ิ กบั หลงั นก 2.5.7 นกต้องเกาะคอนด้วยความมนั่ คง ประกอบด้วย นิว้ หน้า 2 นิว้ และหลงั 2 นวิ ้ นวิ ้ ต้องไมก่ ดุ หรือพิการเลบ็ ต้องยาวพอดี 2.5.8 พฤตกิ รรมของนกในขณะเกาะคอนหรือเคล่ือนไหวมีลกั ษณะสดชื่น แจม่ ใส 2.5.9 ปี กทงั้ 2 ข้างแนบชดิ ลําตวั เสมอกนั ไมไ่ ขว้ (cross wing) ในการประกวดนกครัง้ แรก อาจไมพ่ อใจเกี่ยวกบั การเลีย้ งนกของตนเอง อาจจะปรึกษา ปัญหาได้กบั เพื่อนในชมรม เพ่ือแลกเปล่ียนความรู้หรือแลกเปลี่ยนซือ้ ขายนกได้ 2.6 การเลีย้ งนกหงส์หยกเพ่ือการประกวด สําหรับการเลีย้ งนกหงส์หยกเพ่ือการเข้า ประกวดนนั้ นอกเหนือจากแข่งขันเพื่อชัยชนะ นํามาซึ่งความภูมิใจของผู้เป็ นเจ้าของแล้ว ยงั มี วตั ถปุ ระสงคด์ งั นี ้ 2.6.1 เพื่อพฒั นาพนั ธ์ุ ควรนํานกของตนมาเข้าประกวด เพื่อฟังทศั นะคติของคน อื่นๆ บ้าง โดยเฉพาะกรรมการในแต่ละสนามว่ามีข้อบกพร่องอย่างไรในตัวนกนัน้ ๆ และจะมี

247 วิธีแก้ไขอย่างไร (ทัง้ นีไ้ ม่จําเป็ นต้องเช่ือทงั้ หมดเพราะเป็ นนานาทัศนะ) และจะเข้าค่เู พื่อแก้ไข อยา่ งไรตอ่ ไป 2.6.2 เพื่อมีโอกาสเปรียบเทียบนก ขณะที่ดนู กสองตวั แต่คนละครัง้ และคนละ เวลา จะรู้สึกว่าสวยทงั้ คู่ ตวั ไหนสวยกว่ากันแยกยาก แตเ่ มื่อนํานกสองตวั มาเปรียบเทียบกัน จะ เห็นได้ชดั เจนวา่ นกตวั ไหนสวยกวา่ กนั อยา่ งชดั เจน 2.6.3 สร้างความมงุ่ มนั่ และเป้ าหมาย ถ้าเพาะพนั ธ์ุนกออกมาเพื่อใช้คนเดียว และ คดิ ว่านกที่ได้นนั้ สมบรู ณ์แบบ จะทําให้การพฒั นาพนั ธ์ุนกหมดลง หากได้เปรียบกบั นกคนอื่นบ้าง จะได้ทราบวา่ สงิ่ ใดที่นกขาดอยมู่ ีอะไรบ้าง และนําไปสกู่ ารพฒั นาตอ่ ไป 2.6.4 เพื่อพบผ้มู ีจิตใจและรักนกเหมือนกนั ซง่ึ ผ้เู ลีย้ งแตล่ ะท่านตา่ งมีภาระหน้าท่ี ในชีวติ ประจําวนั ตา่ งๆ กนั ไป จะมีโอกาสได้เจอสงั สรรคก์ นั ในงานประกวดปี ละไมก่ ี่ครัง้ เทา่ นนั้ ปัจจบุ นั ชมรมจดั การประกวดอยู่ 2 ระดบั คือ มืออาชีพ และเริ่มต้น เพ่ือแยกกล่มุ นกั เลีย้ งที่มีศกั ยภาพใกล้เคียงกนั แข่งขนั กนั อย่างไรก็ตามทางชมรมต้องการท่ีจะประกวดเพ่ิมขึน้ ใน ระดบั ท่ี 3 คือ ในกลมุ่ นกั เลีย้ งท่ีไม่เคยประกวดนกมาก่อน แตต่ ้องมีผ้สู นใจเข้าร่วมโครงการไมต่ ํ่า กว่า 12 คน และแตล่ ะท่านต้องช่วยส่งนกเข้าประกวดทกุ งานที่ทางชมรมฯ จดั ขึน้ ไมน่ ้อยกวา่ งาน ละ 3 ตวั โครงการดงั กลา่ วจงึ ดําเนนิ การได้ ทางชมรมได้เตรียมโครงการไว้ โดยมีรายละเอียดดงั นี ้ 1) จดั ให้มีการประกวดทงั้ หมด 6 ประเภท ได้แก่ (1) นกเขียวเทา เพศผู้ (2) นกเขียวเทา เพศเมีย (3) นกฟ้ าครามม่วงหลังนํา้ ตาล เพศผู้ (4) นกฟ้ าครามม่วงหลงั นํา้ ตาล เพศเมีย (5) นกสแปงเกิล้ หน้าเหลืองแฟนซีวิงเคลียบอดขี ้ าวเหลือง เพศผู้ และ (6) นกสแปงเกิล้ หน้าเหลือง แฟนซีวิงเคลียบอดีข้ าวเหลือง เพศเมีย โดยจดั ให้มีรางวลั ประเภทละ 3 รางวลั รวมเป็ น 18 รางวลั ดงั นนั้ ถ้ามีผ้สู ง่ นกเข้าประกวด 12 ทา่ นๆ ละ 3 ตวั มีนกทงั้ สิน้ 36 ตวั ซ่ึงจะมีนกได้รางวลั คร่ึงหนง่ึ ไม่ได้ครึ่งหน่งึ หลงั จากนนั้ นกที่ชนะท่ี 1 ในแตล่ ะประเภททงั้ 6 ประเภท นํามาชิงถ้วยโชว์ที่ดีท่ีสดุ (Best in show) ของรุ่นนี ้1 รางวลั 2) เก็บคา่ สมคั รครึ่งราคาเหลือ 100 บาทตอ่ ตวั 3) อนญุ าตและจดั หากรงประกวดราคาถกู ไมเ่ กินกรงละ 80 บาท มาจําหนา่ ยให้หรือ อาจเก็บคา่ ประกวด 150 บาท แล้วแถมกรงประกวดให้ในการประกวดครัง้ แรก และพอครัง้ ตอ่ ไป สามารถสมคั ร 100 บาท โดยไมต่ ้องเอากรง (เป็นกรงชนดิ ซ่ีลวด) 4) จดั ให้นกั เลีย้ งในระดบั ท่ี 1 และ 2 อยา่ งละ 1 สําหรับทา่ นท่ีมีบ้านหรือฟาร์มอยใู่ กล้ๆ เป็ นที่ปรึกษาให้ เช่น จะส่งนกตัวไหนประกวด การเตรียมนกท่ีจะประกวดอย่างไร และเข้าคู่ เพาะพนั ธ์หุ รือรักษานกป่ วยอยา่ งไร เป็นต้น

248 3. นกคอกคาเทล เมื่อนํานกมาถึงบ้าน กรงของนกที่จดั เตรียมไว้จะต้องอย่ใู นตําแหน่งท่ี เหมาะสม พร้อมทงั้ อาหาร นํา้ และอปุ กรณ์ตา่ งๆ รวมถึงของเล่นของนก จะต้องจดั เตรียมไว้พร้อม สําหรับให้นกสามารถเข้าอย่ไู ด้เลย เพราะการเคลื่อนย้ายนกจากร้าน และเดนิ ทางมาถึงบ้านใหม่ เป็ นประสบการณ์ที่ไม่น่าจําสําหรับนก นกจะมีความรู้สึกหวาดกลวั และอยากจะหลบซอ่ นตวั อยู่ ในต้นไม้หรือที่ที่ปลอดภยั เม่ือนํานกเข้ากรงแล้ว พยายามอย่าเข้าไปรบกวน ควรสงั เกตดปู ฏิกิริยา ของนกอยู่ห่างๆ โดยไม่ต้องเข้าไปใกล้ พูดกับนกด้วยเสียงที่แสดงถึงความรัก (ควรเป็ นเสียงท่ีมี ความอ่อนโยนและนุ่มนวล) อย่าทําอะไรให้นกตกใจ หรือเคลื่อนไหวตวั เองด้วยความรวดเร็วใน เวลาท่ีจะทําอะไร เพราะจะทําให้นกตกใจได้ พยายามให้ทุกส่ิงท่ีอยู่รอบตวั นกอย่ใู นความสงบ ตําแหนง่ ของกรงควรมีแสงสวา่ งเพียงพอ เพื่อให้นกมองเหน็ ถึงความเป็ นไปรอบๆ ตวั ในชว่ งเริ่มต้น เป็ นส่ิงสําคญั ท่ีไม่ควรจะไปปรับเปล่ียนส่ิงที่อยู่รอบๆ ตัวนก เพ่ือท่ีจะเป็ นการสร้ างความมัน่ ใจ ให้กับนก ทุกครัง้ ท่ีเข้าหาให้เข้าทางด้านหน้า และควรพูดคุยกับนกโดยการเรียกช่ือนกบ่อยๆ เพื่อให้นกรู้สกึ ถึงความรักที่มีให้นก เม่ือไหร่ที่จะเข้าไปเปลี่ยนนํา้ และอาหารให้นก ให้ปฏิบตั ิตวั กบั นกดงั ท่ีได้กลา่ วมาแล้ว ไมว่ า่ นกจะมีปฏิกิริยาอยา่ งไรก็ตาม เม่ือนกคอกคาเทลจะนอน ให้เปิ ดไฟขนาด 15 วตั ต์ ในช่วง 2-3 คืนแรก ในบ้านใหม่ของ นก การเปิ ดไฟทิง้ ไว้ช่วยในการลดความเครียดจากเสียง เช่น เสียงของคอมเพรสเซอร์แอร์ ต้เู ย็น หรืออาจจะเป็ นเสียงรถที่แล่นอย่บู นถนนนอกบ้านในเวลากลางคืน เพราะการมองเห็นช่วยให้นก เกิดความมน่ั ใจวา่ ไม่มีอะไรท่ีจะเข้ามาทําร้ายได้ หลงั จากที่นกปรับตวั ได้ อาจชว่ ยนกให้นอนหลบั ได้สนิทขนึ ้ โดยการใช้ผ้าคลมุ กรง แตอ่ ย่างไรก็ตามควรสงั เกตดปู ฏิกิริยาของนกว่ามีอาการอยา่ งไร เพราะนกบางตวั จะรู้สกึ ปลอดภยั เม่ืออยภู่ ายใต้ผ้าคลมุ กรง แตใ่ นทางกลบั กนั นกบางตวั จะรู้สกึ ตื่น กลวั ที่คลมุ ผ้าให้นก เมื่อพบวา่ นกกําลงั ตื่นตกใจจากบางส่ิงบางอย่าง ซงึ่ สงั เกตได้จากการบินแบบ ไม่ดูทิศทาง ควรเปิ ดไฟและพูดคุยกับนก เพื่อให้นกสงบอาการเหล่านัน้ ลง ควรคอยสังเกตดู พฤติกรรมของนกในระยะแรกท่ีนํากลบั บ้าน พยายามหลีกเล่ียงจากส่ิงตา่ งๆ ท่ีจะทําให้นกตกใจ เชน่ เสียงดงั การเคล่ือนไหวของกรงนก การเคล่ือนไหวของผ้เู ลีย้ งท่ีอาจรวดเร็วเกินไป แสงสว่างท่ี มากเกินไปในเวลากลางคืน แสงและเสียงจากโทรทศั น์ที่อยใู่ กล้กรงนกจนเกินไป การใส่เสือ้ ผ้าที่มี สีสดหรือเข้มจนเกินไป การรบกวนนกในช่วงเวลาที่นกนอนตอนกลางคืน สิ่งที่ควรจําไว้เสมอ คือ ถ้าไม่ต้องการให้นกหมดความมั่นใจในผู้เลีย้ ง ไม่ควรจับนกโดยใช้มือรวบตวั นก เพราะนกจะ รู้สกึ ตวั วา่ หมดทางตอ่ สู้ และเหมือนวา่ มนั กําลงั ตกอย่ใู นอนั ตราย วิธีการจบั นกดงั กลา่ วยงั จะทําให้ นกรู้สกึ ตน่ื กลวั ด้วย

249 ในชว่ งระหวา่ ง 2 - 3 วนั แรก ถ้าได้ปฏิบตั ติ วั กบั นกอยา่ งที่ได้กลา่ วมาแล้วข้างต้น นกจะเร่ิม รู้สกึ ชินกบั การที่มีผ้เู ลีย้ งอย่ใู กล้ๆ และจะเร่ิมค้นุ เคยมากขึน้ จะสงั เกตได้จากการกินอาหาร ไซ้ขน เล่นของเล่น เม่ือเวลาที่เข้าใกล้ โดยนกไม่แสดงท่าทีตกใจอย่างแต่ก่อน อาจจะทําความค้นุ เคย ตอ่ ไปกบั นกได้ โดยการนําผกั หรือผลไม้ย่ืนให้นกผา่ นซี่กรง การกระทําดงั กลา่ วจะช่วยให้นกสนใจ อาหารหลายๆ แบบ เพราะถ้าให้อาหารเพียงอย่างเดียวเร่ือยไป จะทําให้นกไม่สนใจท่ีจะลอง อาหารแบบใหม่ อีกวิธีที่สามารถสร้างความค้นุ เคยกับนกได้ คือ ควรสงั เกตว่านกชอบกินเมล็ด พนั ธ์ุพืชหรืออาหารชนิดใดเป็ นพิเศษ และให้ลองใช้มือย่ืนให้นก โดยครัง้ แรกที่ยื่นให้ระยะห่างของ นกอาจยงั ไกลก่อน พอในครัง้ ถดั ไปควรย่ืนอาหารให้กบั นกโดยให้นกเช้ามาใกล้ตวั ให้มากขนึ ้ และ ทําเชน่ นีเ้ร่ือยไปจนรู้สึกว่านกเร่ิมมีความค้นุ เคย ไว้ใจ และในท่ีสดุ จะขนึ ้ มายืนบนมือได้ ส่ิงที่กล่าว มาข้างต้นนีถ้ ือเป็นวิธีหนง่ึ ในหลายๆ วิธี ที่จะทําให้นกมีความเช่ืองและไว้ใจมากขนึ ้ ควรให้นกบนิ ในห้องเม่ือเข้ามาอย่ไู ด้ประมาณ 6 สปั ดาห์ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามอาจไม่ต้องรอ ถึง 6 สัปดาห์ก็ได้ เพียงให้ดูความพร้ อมที่ตวั นกว่ามีความค้นุ เคยและเชื่องมากแค่ไหน ถ้านกมี ความค้นุ เคย เชื่อง และมีความไว้วางใจในแล้ว ประมาณ 1-2 สปั ดาห์ สามารถให้เริ่มบินในห้องได้ แล้ว โดยท่ีต้องคอยดแู ลอย่างใกล้ชิด การบินนนั้ ถือเป็ นการท่ีนกจะได้เคลื่อนไหวร่างกาย และยงั เป็ นการออกกําลงั กายท่ีดีที่สดุ สําหรับนก การที่นกได้บินจะทําให้สขุ ภาพของนกแข็งแรง และเป็ น การยืดอายขุ องนกให้ยืนยาวด้วย ก่อนท่ีจะนํานกออกจากกรงมาเพ่ือบินนนั้ ควรจะตรวจดคู วาม เรียบร้อยของประตู หน้าตา่ งภายในห้องว่าปิ ดสนิทแล้ว และควรมีผ้าม่านกนั้ กระจกไว้ด้วย เพ่ือ ป้ องกนั นกบนิ ชนกระจก เพราะอาจทําให้นกคอหกั หรือได้รับบาดเจ็บได้ อาจเรียกชื่อโดยให้บินมา หา เมื่อบนิ มาหาให้พูดชมและให้รางวลั ซ่งึ อาจเป็ นเมล็ดพนั ธ์ุพืชท่ีชอบเป็ นพิเศษ ทําเชน่ นีบ้ ่อยๆ จะทําให้นกค้นุ เคย โดยนกอาจจะบนิ มาเกาะที่ไหลแ่ คเ่ รียกชื่อนกเทา่ นนั้ การคอยสอดส่องดแู ลความเป็ นไปของลูกนกอย่างสมํ่าเสมอถือว่าเป็ นการดี เพราะเมื่อ เกิดปัญหากับลูกนก จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที เช่น เมื่อพบว่าลูกคอกคาเทลตวั ท่ีเล็ก ท่ีสุดโตช้ากว่าตวั อื่นๆ ในครอกเดียวกันหรือไม่ค่อยมีการพัฒนา สามารถท่ีจะให้อาหารเสริม เพ่ิมเติมแก่ลูกนกตวั นัน้ ได้ โดยการป้ อนด้วยมือวันละ 2 ครัง้ ในเวลาเช้าและเย็น การกระทํา ดงั กล่าวจะช่วยให้ลกู นกมีชีวิตรอดได้ การป้ อนลกู คอกคาเทล ควรเตรียมอาหารให้เสร็จเรียบร้อย กอ่ นที่จะนําลกู นกออกมาจากกล่องฟักเพ่ือนํามาป้ อน เพ่ือท่ีจะใช้เวลาที่สนั้ ที่สดุ ในการที่จะนํามนั มาป้ อนอาหาร เพราะถ้าใช้เวลานานเกินไป เม่ือนําลกู นกกลบั เข้าไปในกลอ่ งฟัก พอ่ แม่อาจจะคิด ว่าไม่ใช่ลูกของตวั เองได้ การป้ อนอาหารควรใช้ช้อนลกั ษณะคล้ายกรวย เพ่ือสะดวกในการท่ี อาหารจะเข้าปากลกู นกโดยตรงไม่ทําให้เปรอะเปื อ้ น ไม่ควรใช้หลอดฉีดยาป้ อนลูกนก เนื่องจาก

250 หลอดฉีดยาจะต้องใช้แรงดนั เวลาท่ีฉีดอาหารเข้าไป แรงดนั อาจจะดนั อาหารเข้าไปมากเกินไป ซ่ึง จะทําให้ลกู นกเกิดการสําลกั อาหาร ทําให้ลกู นกได้รับอนั ตรายจนถงึ ตายได้ ลูกนกจะได้รับอาหารโดยการกลืนอาหารด้วยตัวเอง โดยไม่ได้ไปบงั คับเหมือนการใช้ หลอดฉีดยา เมื่อกินอาหารเสร็จให้เช็ดปากลกู นกให้สะอาด ถ้าปล่อยให้อาหารแห้งเกรอะกรังตรง บริเวณเนือ้ เย่ือบางๆ ที่อยู่ตรงด้านซ้ายและขวาทัง้ 2 ด้านของจะงอยปากจะทําให้จะงอยผิด รูปแบบไปจากเดมิ และอาจทําให้เกิดการหมกั หมมของเศษอาหาร อาจนํามาซ่งึ เชือ้ โรคได้ กระพ้งุ เก็บอาหารจะเป็ นตวั บง่ บอกที่ดีของสําหรับผ้เู ลีย้ งว่าลูกนกได้รับอาหารที่เพียงพอแล้วหรือยงั ลกู นกที่หิวมีลกั ษณะกระพ้งุ ท่ีหย่อนยาน (อกไม่เต็ม) แต่เมื่อลกู นกตวั นนั้ ได้รับอาหารท่ีเพียงพอแล้ว บริเวณกระพ้งุ เก็บอาหารจะเต็มใสจนสามารถมองเห็นอวยั วะภายในได้ เมื่อเทียบกบั บริเวณอื่นๆ ควรให้อาหารจนเมื่อคณุ เห็นวา่ บริเวณช่วงอกนนั้ เตม็ ดงั ที่ได้กลา่ วมาแล้วข้างต้น ไม่ควรให้อาหาร มากจนเกินไป ลูกนกจะต้องได้รับการป้ อนทุกๆ 3 ช่ัวโมง ในช่วงเวลากลางวัน สําหรับเวลา กลางคืนอาจเว้นระยะได้นานกว่านนั้ ไม่ควรให้กระพุ้งเก็บอาหารของลูกนกแห้ง โดยเม่ือเห็นว่า บริเวณเก็บอาหารของลกู นกยบุ ลง ให้เตมิ อาหารอยา่ งสม่ําเสมอ ลกู นกแก้วโดยส่วนใหญ่เวลาท่ีหิว อาหารจะอ้าปากรออาหารจากแม่ แตส่ ําหรับลกู คอกคาเทลแล้วจะอ้าปากแล้วผงกหวั ถี่ๆ เพื่อจะ ดงึ อาหารออกมาจากปากของแม่ เมื่อผู้เลีย้ งยงั ไม่มีความเคยชินกบั การป้ อนอาหาร ในเวลาท่ีลกู นกอ้าปากผงกหวั ถ่ีๆ อยา่ งคอกคาเทลนีอ้ าจจะเป็นเรื่องที่ยากพอสมควร ถ้าพ่อแม่นกได้เลีย้ งดเู องจะเป็ นสิ่งท่ีดีที่สุด แตใ่ นบางครัง้ ผู้เลีย้ งอาจต้องเป็ นคนที่คอย เลีย้ งดลู ูกนกทงั้ หมด เน่ืองจากพ่อแม่ไม่ยอมเลีย้ งดูลูกเอง โดยต้องนําลูกนกไปใส่ไว้ในต้อู บเพื่อ ความสร้างอบอนุ่ ให้กบั ลกู นก ลกู นกแรกเกิดจะต้องอยใู่ นต้อู บที่มีอณุ หภูมิ 37 องศาเซลเซียส และ คอ่ ยๆ ลดอณุ หภูมิลงจนกระทงั่ เหลือที่ประมาณ 27 องศาเซลเซียส เมื่อลกู นกอายุได้ 2 สปั ดาห์ ต้องนําลกู นกใสไ่ ว้ในกลอ่ งพลาสตกิ ท่ีมีขนาดพอดกี บั ตวั นก ในกลอ่ งพลาสตกิ ต้องมีกระดาษรองไว้ ด้วย เพื่อจะได้รู้สกึ อบอนุ่ เมื่อนกโตขนึ ้ ให้เปลี่ยนขนาดของกลอ่ งพลาสติกให้ใหญ่ตามขนาดของตวั นก หลงั จากการป้ อนอาหารในแตล่ ะครัง้ ให้เปลี่ยนกระดาษท่ีใช้รองในกลอ่ งพลาสตกิ ด้วย จากท่ีได้ เคยกลา่ วมาแล้วว่าถ้าไมน่ ํากลอ่ งเพาะพนั ธ์ุท่ีใส่ไว้ในกรงออกมา นกจะผสมพนั ธ์ุตอ่ ไปเร่ือยๆ ควร ให้มีลกู ได้ 2 ครัง้ เพราะถ้าปลอ่ ยไว้นานจะไม่ได้ผลเป็ นท่ีนา่ พอใจ หลงั จากช่วงฤดผู สมพนั ธ์ุผ้เู ลีย้ ง ควรถ่ายพยาธิให้นก และควรทําความสะอาดกรงอย่างละเอียดเพื่อกําจดั เชือ้ โรคและไรแดง ควร ซอ่ มแซมกรงในสว่ นที่ชํารุด การท่ีต้องทําความสะอาดกรงอยา่ งละเอียดนี ้เพ่ือเป็ นการเตรียมจะใส่ กล่องเพาะพันธ์ุ เพื่อทําการผสมพันธ์ุนกในครัง้ ต่อไป ลูกนกที่ออกมาจะได้ไม่ติดเชือ้ ต่างๆ ได้ อยา่ งไรก็ตามมีพฤตกิ รรมบางอยา่ งของนกคอกคาเทล ซง่ึ มีรายละเอียดดงั นี ้

251 3.1 เป็ นนกที่ชอบอาบนํา้ ถ้าเป็ นไปได้ควรอาบนํา้ ให้สปั ดาห์ละ 2 - 3 ครัง้ ควรให้เลน่ นํา้ ในชว่ งเช้าของแตล่ ะวนั เพราะชว่ งเช้าจะมีแสงแดดออ่ นๆ ทําให้หลงั จากอาบนํา้ แล้ว จะได้นําไป ตากแดดเพื่อทําให้ขนแห้ง และแสงแดดช่วยในการฆ่าเชือ้ โรคด้วย การอาบนํา้ ให้นกอาจให้ได้เล่น นํา้ ในอ่างล้างหน้า ขนั นํา้ ซึ่งความสงู ของนํา้ ประมาณ 1 นิว้ หรือวางอ่างนํา้ ไว้ในกรง และควรใช้ นํา้ อนุ่ อาบให้ หรือเพ่ือเป็ นการสะดวกอาจใช้กระบอกฉีดนํา้ โดยการฉีดพ่นนํา้ ไปบนตวั นก ควรพน่ ห่างจากตัวประมาณ 1 ฟุต เพราะละอองนํา้ ท่ีออกมาจะเปรียบได้กับสายฝน ซึ่งนกจะรู้สึก เหมือนว่ากําลงั ได้เล่นนํา้ กลางสายฝน (กระบอกฉีดนํา้ ควรมีไว้สําหรับนกโดยเฉพาะ ไม่ควรใช้ ปะปนกบั งานอ่ืนๆ เพื่อป้ องกนั อนั ตรายที่อาจเกิดกบั นกได้) นกคอกคาเทลจะมีความสขุ เมื่อได้อยู่ ใกล้เจ้าของ อาจให้ยืนอยบู่ นไหล่ และใช้เวลาร่วมกนั ในการนง่ั ดโู ทรทศั น์หรือทํากิจกรรมอ่ืนๆ จาก การกระทําดงั กลา่ วจะทําให้นกมีความสขุ ซง่ึ จะนําพาไปสสู่ ขุ ภาพจติ ท่ีดีและร่างกายท่ีแขง็ แรง 3.2 ชอบของเลน่ ที่มีสว่ นประกอบเป็นกระดง่ิ โดยเฉพาะนกท่ีถกู เลีย้ งตวั เดียว เพราะจะ รู้สึกว่ากระด่ิงเป็ นเพื่อน โดยกระด่ิงจะส่งเสียงดงั ทําให้นกไม่รู้สกึ เหงาหรืออย่เู พียงลําพงั กระจก เป็นของเลน่ ชนิ ้ หนงึ่ ที่คอกคาเทลชอบ เพราะมองเห็นตวั ของนกเอง เปรียบเสมือนว่ามีเพ่ือนอย่ดู ้วย และเป็นการเหมาะในชว่ งฤดทู ่ีนกผสมพนั ธ์ุ เพราะในชว่ งนีน้ กจะมีความรู้สกึ หงดุ หงิดและโดดเดี่ยว เม่ือเวลาท่ีมนั สอ่ งกระจกจะทําให้ความหงดุ หงิดนนั้ เบาบางลงได้ ในบางทีจะทําทา่ ทีในการเรียกคู่ ของนกจากกระจก ซงึ่ ของเหลา่ นีเ้มื่อนํามาไว้ในกรงจะเป็นสง่ิ ที่ชว่ ยนกให้ผอ่ นคลายความเครียดได้ 3.3 การตงั้ ชื่อ ควรตงั้ ช่ือเตรียมไว้สําหรับนกตวั ใหม่ เมื่อนกมาอย่กู บั ผ้เู ลีย้ ง สามารถ เรียกชื่อได้ทนั ที ชว่ ยให้นกเรียนรู้ช่ือได้เร็วขนึ ้ ชื่อควรสนั้ และง่ายต่อการออกเสียง เพราะนกชอบท่ี จะเรียกชื่อของตวั นกเอง เน่ืองจากนกได้ยินเสียงเรียกช่ือนัน้ บ่อยๆ โดยส่วนใหญ่นกสามารถ เรียกชื่อตวั เองได้ก่อนที่จะเรียนรู้คําพูดอื่นๆ และเป็ นพืน้ ฐานในการพูดของนกต่อไป โดยจาก ประสบการณ์ของผ้เู ลีย้ ง ชื่อท่ีออกเสียง อะ-อา-อี-โอ จะเป็นเสียงท่ีง่ายตอ่ การพดู ของนก (ชาติ ไชย ณรงค,์ 2543, หน้า 34 - 62 และ ธนากร ฤทธ์ิไทสง, 2546, หน้า 9 - 108) ข. วงศ์นกปรอด นกกรงหวั จกุ เมื่อพ่อแมพ่ นั ธ์ุได้ผสมพนั ธ์ุ แมพ่ นั ธ์ุจะทําการฟักไข่ โดยใช้เวลากกไข่ 12 - 14 วนั ลกู นกจะเจาะเปลือกไขอ่ อกเป็นตวั ซงึ่ วิวฒั นาการตงั้ แตแ่ รกเกิดจนถึงลกู นกมีอายปุ ระมาณ 2 - 3 สปั ดาห์ (ภาพที่ 6.2) อยา่ งไรก็ตามควรจบั ลกู นกแยกมาเลีย้ ง ไมค่ วรให้ลกู นกอยกู่ บั พอ่ แม่ นานเกินความต้องการของผู้เลีย้ ง เพราะเป็ นช่วงเวลาปลูกฝังความจํา จากการช่วยเหลือโดย

252 มนุษย์เป็ นพ่ีเลีย้ งให้ เป็ นระยะเวลาการสร้างความค้นุ เคยระหว่างคนกบั นก นกเม่ืออย่ใู กล้ชิดคน ทกุ วนั จะเคยชินจนโต ข้อดีของการแยกลกู นกออกมาตงั้ แตเ่ ล็ก คือ พ่อแมน่ กจะได้มีเวลาพกั ผอ่ น เตรียมร่างกายให้แข็งแรง และพร้อมจะผสมพนั ธ์ุเพ่ือให้ลูกครอกใหม่ได้ในไม่ช้า และลูกนกจะได้ ค้นุ เคยกบั เจ้าของ และเช่ืองไม่ต่ืนกลวั คน ซ่ึงหลกั ในการจดั การเลีย้ งดนู ก ซ่ึง ธนากร ฤทธิ์ไทสง (2546, หน้า 159 - 195) และ บญุ รอด สมหวงั (2550, 151 - 367) รายงานวา่ มีรายละเอียดดงั นี ้ (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) (ซ) (ฌ) ภาพท่ี 6.2 การเลีย้ งลกู นกกรงหวั จกุ (ก) ลกั ษณะของรังนกกรงหวั จกุ (ข) นกกรงหวั จกุ วางไข่ ประมาณ 3 ใบ (ค) ลกู นกกรงหวั จกุ ที่เพิง่ ฟักเป็นตวั (ง) ลกู นกกรงหวั จกุ อายแุ รกเกิด (จ) ลกู นกเริ่มแทงขนหนามจะเร่ิมหวิ (ฉ) แมน่ กกรงหวั จกุ ขณะเตรียมป้ อนอาหาร (ช) ลกู นกเม่ือได้ยินเสียงแมจ่ ะอ้าปากคอยอาหาร (ซ) แมน่ กกรงหวั จกุ ขณะป้ อน อาหารลกู นก และ (ฌ) ลกู นกเมื่อมีอายปุ ระมาณ 2 - 3 สปั ดาห์ ท่มี า: ธนากร ฤทธิ์ไทสง (2546, หน้า 171-172)

253 1. การดแู ลนกออ่ น ควรใช้อาหารอ่อนป้ อนลกู นก เช่น โดยเอาอาหารผสมนํา้ เล็กน้อยแล้ว ใช้ไม้หรือวสั ดลุ กั ษณะแบบคล้ายช้อนไอครีมบีใ้ ห้ละเอียด อ่อนนมุ่ พอเหมาะ ตกั ให้ลกู นกกินจนอิ่ม ลกู นกจะนง่ั น่ิง ไมร่ ้อง การให้อาหารให้สลบั กบั กล้วยนํา้ ว้าและมะละกอ เพ่ือให้ลกู นกได้ค้นุ เคยกบั รสชาติอาหารแต่ละชนิด หลังจากป้ อนอาหารลูกนกประมาณ 5 - 10 วัน ให้นํากล้วยนํา้ ว้า มะละกอ และอาหารลกู ไก่เล็กใสใ่ ห้ลกู นกหดั กิน ลกู นกจะเริ่มจิกอาหารกินเองได้ ประมาณ 45 วนั ให้แยกลกู นกไปเลีย้ งในกรงแบบเลีย้ งเด่ยี ว กรงละ 1 ตวั ระยะแรกของการพรากคลู่ กู นกจะต่ืนกลวั ควรแขวนกรงลกู นกใกล้กนั และให้อยใู่ กล้คนมากๆ นําอาหารมาป้ อนเป็ นครัง้ คราว ชว่ งนีต้ ้องป้ อน หนอนให้ลกู นก เพ่ือให้ลกู นกสร้างความอบอนุ่ ค้นุ เคย และจะเช่ือง ไมต่ ื่นกลวั 2. การดแู ลลกู นกอายุน้อย หลงั จากแยกลูกนกไปเลีย้ งในกรงเด่ียวแล้ว ลกู นกจะคอ่ ยๆ พฒั นาขนึ ้ เร่ือยๆ เร่ิมจากขนหน้าอก และบริเวณใบหน้าจะมีลายสีเทาออ่ น แก้มยงั ไม่แดงรวมถึง บวั ใต้หางมีสีเทาจางๆ อยู่ จนกระทง่ั ลกู นกอายปุ ระมาณ 90-120 วนั จะเริ่มผลดั ขนทวั่ ตวั เป็ นครัง้ แรก เรียกว่า ผลดั ขนลกู นกออก และขนนกระยะที่ 2 หรือขนนกวยั รุ่นจะขึน้ มาแทนท่ี โดยสีขนทวั่ ตวั จะเปล่ียนไป ขนหน้าอกท้องจะขาวขนึ ้ สีขนทวั่ ไปจะเข้มขนึ ้ ขนหดู ําจะเปลี่ยนเป็ นหแู ดง หวั เคย มีสีเทาจางๆ จะเปล่ียนเป็นสีแดง หมกึ จะเป็นแถบสีดําชดั เจนขนึ ้ 3. การเตรียมความพร้อมสนู่ กใหญ่ท่ีดี มีวธิ ีการปฏิบตั ดิ งั นี ้ 3.1 ระหว่างที่เลีย้ งลูกนกอ่อน อย่าผิวปาก เพราะลูกนกจะจําเสียงที่ผิวปากเล่นเป็ น เพลงร้อง ซง่ึ เป็นเพลงเสียและไมน่ ิยม 3.2 ในกรงเลีย้ งต้องมีการเตรียมส่ิงเหล่านี ้ได้แก่ (1) ใส่ถ้วยนํา้ และถ้วยอาหาร ไว้ทงั้ สี่ มมุ ของกรง และเตมิ นํา้ อาหารให้ครบทงั้ สี่ใบ เพ่ือให้นกมีความค้นุ เคยกบั การกระโดดเกาะถ้วยทงั้ ส่ีใบ (อาจจะใสห่ ว่ งไว้ปากถ้วยทงั้ สี่ใบเพ่ือให้นกเกาะได้สะดวก) และ (2) ใต้เพดานกรงควรขงึ เชือก เป็นตารางหรือตดิ แผน่ พลาสตกิ ใสเอาไว้ ป้ องกนั ไมใ่ ห้นกขนึ ้ ไปเกาะเพดานกรง ซ่ึงจะทําให้นกไมม่ ี นิสยั เกาะเพดานกรง (การเกาะเพดานกรงจนเป็นนสิ ยั อาจทําให้นกตีลงั กาได้ในภายหลงั ) 3.3 ระหว่างเลีย้ งลูกนกอ่อน (ก่อนท่ีหูจะแดง) ต้องแขวนกรงลูกนกเอาไว้ข้างๆ นก ต้นแบบ (นกครูฝึก) ลกู นกจะจดจําเพลงร้อง และเสียงร้องของนกต้นแบบท่ีร้องให้ฟังทกุ วนั และจะ เลียนเสียงไปเอง เม่ือลูกนกโตขึน้ มีความพร้ อมเติบโตเป็ นนกใหญ่จะมีเสียงร้ องและเพลงร้ องที่ ชัดเจนเหมือนนกต้นแบบมากท่ีสุด แต่ถ้ากรณีท่ีเพ่ิงหัดเลีย้ งยังไม่มีนกที่ดี และเก่งพอจะเป็ น ต้นแบบได้ให้ซือ้ ม้วนเทปเสียงร้ องของนกกรงหัวจุกมาเปิ ดให้ฟังทุกๆ วัน สามารถจะให้ลูกนก เลียนแบบได้เหมือนกนั เมื่อเลีย้ งนกกรงหวั จุกตงั้ แต่เร่ิมแรกจนกระทงั่ ลกู นกแตล่ ะครอกโตขนึ ้ เป็ น นกใหญ่ท่ีสมบรู ณ์ พร้อมทําการแข่งขันได้ ถือว่าประสบความสําเร็จในการอนุรักษ์นกกรงหัวจุก

254 เหมือนกนั (ปกตินกพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ 1 คู่ สามารถให้กําเนิดลกู นกได้ 6 - 8 ครอกตอ่ ปี 1 ครอก มีลกู นก จํานวน 2 - 3 ตวั ) ถ้าผ้เู ลีย้ งนกสว่ นใหญ่เห็นถึงความสําคญั ของการดํารงคงไว้ของสายพนั ธ์ุนกกรง หวั จกุ และชว่ ยกนั แพร่ขยายพนั ธ์ุ ประเทศไทยจะมีนกกรงหวั จกุ เลีย้ งตลอดไป อย่างไรก็ตามการดแู ลนกกรงหวั จุกเม่ือโตมีวิธีการเลีย้ ง ได้แก่ การให้อาหารในตอนเช้า เปิ ดผ้าคลมุ กรงนกออก แล้วเปลี่ยนอาหารให้นกกินใหม่ โดยการผ่ากล้วยนํา้ ว้าสกุ มะละกอสกุ มะเขือเทศสกุ ลูกตําลึงสุก แตงกวา และบวบ ออกครึ่งลูก หรือทําเป็ นชิน้ ๆ การให้อาหารควร สลบั กนั วนั ละ 2 ชนดิ เพื่อไมใ่ ห้นกเบ่ืออาหาร สําหรับอาหารเมด็ ให้ใสไ่ ว้ในถ้วยอาหาร อาจไม่ต้อง ให้ทุกวนั สงั เกตอจุ จาระนก นอกจากนีใ้ นตอนเช้า เม่ือเปิ ดกรงนกหวั จกุ ให้สงั เกตอจุ จาระ หาก เป็ นแบบอจุ จาระจิง้ จก คือ เป็ นเม็ดสีขาวดํา แสดงวา่ นกเป็ นปกติ แตถ่ ้าอจุ จาระเหลว หรือเป็ นนํา้ แสดงว่านกเป็ นโรค ควรรักษาทนั ที สําหรับนํา้ ดื่ม ให้เทนํา้ เก่าทิง้ แล้วใสน่ ํา้ ใหมใ่ ห้เกือบเต็มถ้วย เพราะนํา้ เกา่ อาจสกปรก นํานกกรงหวั จกุ ไปตากแดด ในตอนเช้าผ้ทู ี่เลีย้ งนกกรงหวั จกุ ต้องรู้วิธีการ ยกกรงนกไปแขวน วิธีการยก คือ มือหนึ่งจะต้องหิว้ ที่ตะขอกรงนก เมื่อไปถึงชายคาบ้านหรือราวที่ จะแขวนกรงนกหรือก่ิงไม้ หรือราวที่ฝึ กซ้อม และราวท่ีจะแขวนนกประกวดแข่งขนั แล้ว ใช้มือข้างท่ี ถนดั จบั ท่ีมุมกรงมุมใดมุมหนึ่งที่เป็ นเสากรง เพราะซี่ลูกกรงจะบอบบางไม่แข็งแรงและหักได้ จากนนั้ ยกกรงนกขึน้ ชู โดยดทู ่ีตะขอแขวนว่าตรงกบั ท่ีแขวนหรือราวแล้วหรือยงั ถ้าตรงกบั ท่ีแขวน และราวให้ปลอ่ ยมือลง อยา่ แขวนนกที่มีอายนุ ้อยใกล้กบั นกท่ีมีอายมุ าก นกท่ีมีอายมุ ากจะข่มข่นู ก ท่ีมีอายนุ ้อยกวา่ เพราะนกสามารถจําเสียงได้และตื่น การนํานกไปแขวนไว้ เพื่อให้นกได้ออกกําลงั กาย และร้อง จนถึงตอนบา่ ยจึงจะเก็บนกไว้ในที่ร่มตอ่ ไป ถ้าเป็ นลกู นกและนกหน่มุ คอ่ ยๆ เพิ่ม เวลาแขวนตากแดดวนั ละ 1 ชว่ั โมง เป็นวนั ละ 2 ชว่ั โมง และตากแดดนานขนึ ้ จนเคยชิน เพราะเวลา ประกวดแขง่ ขนั ต้องใช้เวลา 5 - 6 ชวั่ โมง กว่าจะประกวดเสร็จ นกต้องตากแดดตลอดการประกวด การเก็บนกไว้ในท่ีร่ม หลงั จากให้นกตากแดดตงั้ แตต่ อนเช้าจนถึงตอนบา่ ย ให้เก็บนกและกรงนกไว้ในท่ีร่ม ให้ทํา ความสะอาดกรง โดยเปลี่ยนตวั นกกรงหวั จกุ ไปไว้กรงอ่ืนเป็นการสอนนกไม่ให้เลือกกรงและเคยชิน ตอ่ การเปลี่ยนกรง จากนนั้ ให้ทําความสะอาดกรงนกที่เห็นวา่ สกปรก ถ้ากรงนกสะอาดไม่ต้องทํา ความสะอาด ทําความสะอาดตะขอท่ีเก่ียวอาหาร ถ้วยใส่นํา้ และถ้วยใสอ่ าหารเม็ด ล้างถาดรอง อจุ จาระนกใต้กรง ให้อาหารและนํา้ นกเหมือนเดมิ จากนนั้ ให้นกอาบนํา้ เม่ือนํานกไปเก็บไว้ในท่ีร่ม ให้นํากล่องพลาสตกิ หรือขนั อาบนํา้ ใสไ่ ว้ในกรงใสน่ ํา้ ลงไป นกจะอาบนํา้ เอง ถ้านกตวั ไหนไมช่ อบ อาบนํา้ จะใช้ขวดแบบสเปรย์ฉีดนํา้ เป็ นฝอยให้ทว่ั ตวั นก จากนนั้ นกจะเคยชินและอาบนํา้ เองได้ เม่ือนกอาบนํา้ เสร็จจะไซ้ขน เพ่ือทําให้ขนสะอาดและแห้งไม่คนั ตวั แล้วเทนํา้ ที่ขนั อาบนํา้ นกทิง้ ไป

255 แล้วควํ่าขนั ลง ทิง้ ขนั อาบนํา้ นีไ้ ว้ในกรง นกเมื่อได้อาบนํา้ แล้วจะมีความสขุ มีอารมณ์ดีแจ่มใส และ ร้องเพลงได้ดี นํานกไปแขวนที่ชายคาบ้าน ราว หรือกิ่งไม้เหมือนเดิม ในช่วงเวลาประมาณ 15.00 - 16.00 นาฬิกา ซ่ึงจะเป็ นแดดอ่อนๆ ไม่แรงมากนกั ให้นกได้ตากแดดในชว่ งเช้าและเย็น เพราะ แสงแดดมีวติ ามินดี ชว่ ยทําให้กระดกู ของนกแข็งแรง และเพ่ือให้นกขนแห้งสนิทเม่ือได้ตากแดดขน จะฟูสวยงามเป็ นเงาและไม่คนั ตวั กรงนกจะแห้งและไม่ขึน้ รา อายุการใช้งานของกรงนานขึน้ หลงั จากเวลา 16.00 นาฬิกา ในชว่ งใกล้ค่าํ ให้เก็บนกเข้าบ้าน ปิดผ้าคลมุ กรงนกจะได้หลบั พกั ผอ่ น เวลานกนอนจะชอบความสงบ ไมช่ อบให้มีเสียงรบกวน นอกจากนีย้ งั มีวิธีการเลีย้ งนกกรงหวั จุกอีกหลายประการที่จะเตรียมความพร้ อมในการ ประกวดแขง่ ขนั ซงึ่ ธนากร ฤทธิ์ไทสง (2546, หน้า 177 - 192) รายงานวา่ มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. การฝึ กซ้อมนก เป็ นเร่ืองสําคญั สําหรับผู้ท่ีต้องการส่งนกเข้าประกวดนกสนามจริง เหมือนกับนกั ร้องหรือนักกีฬา ซึ่งนกอาจจะเก่งอยู่เฉพาะในบ้าน โดยไม่รู้ว่าสงั คมภายนอกเป็ น อย่างไร เมื่อไปสนามแข่งอ่ืน และมีกองเชียร์เสียงดงั อาจทําให้ตื่นเต้นทําอะไรไม่ถกู ก็เป็ นได้ การ ฝึกซ้อมนกมีผลดี คือ 1.1 เป็ นการทดสอบว่านกท่ีเลีย้ งอย่สู ้แู ค่ไหน เพราะหลงั จากท่ีได้นกมาเลีย้ งและดแู ล รักษาอยา่ งดีตามสตู รแล้ว เริ่มไปซ้อม โดยต้องคอ่ ยเป็ นคอ่ ยไปเมื่อแขวนแล้วต้องสงั เกตด้วยว่านก ตวั นัน้ เริ่มสู้หรือยงั ถ้ายังไม่สู้ให้ยกนกออกมาจากราวไปแขวนตรงอ่ืนที่ไกลไปก่อน เพราะถ้ายงั แขวนไว้ นกตวั นนั้ จะแพ้ และไมส่ ้นู กตวั อื่นอีก 1.2 ทราบถึงลีลาท่าทางที่แท้จริงของนก หลงั จากท่ีแขวนนกบนราว หากนกตวั นนั้ มีใจ สู้ ต้องสงั เกตลีลาท่าทางที่นกแสดงออกมา นกทุกตวั จะแสดงอาการออกมาไม่เหมือนกนั ต้องดู พฤตกิ รรมให้ออก เชน่ นกชอบว่ิงรอบถ้วย หรือชอบกระโดดเกาะข้างกรง จะมีผลอยา่ งมากเมื่อเอา นกไปแขง่ เพราะจะได้เตรียมกรงแขง่ ได้เหมาะสม หวั ใจของการฝึกซ้อมนก คอื ต้องสงั เกตวา่ นกตวั นนั้ ส้หู รือยงั ถ้ายงั ไมส่ ้ตู ้องรีบย้ายนกออก จากราวทนั ที แนะนําวา่ ให้เริ่มจากแขวนนกจากบริเวณท้ายราวที่มีนกแขวนน้อยๆ ก่อน เมื่อนกเริ่ม ดีแล้วค่อยๆ เล่ือนเข้าไป หากล่มุ นกมากขึน้ เร่ือยๆ อีกอย่างที่ต้องสงั เกต คือ นกชอบต่อส้บู นราว แถวนอกหรือแถวใน จากท่ีกล่าวมาจะมีผลเมื่อเอานกไปแข่ง เพราะถึงตอนนนั้ ถ้าไม่สู้แล้วจะตก รอบได้

256 2. การเตรียมความพร้อมนกเข้าแข่งขนั มีหลกั การง่ายๆ แต่ต้องใช้ความพยายามมาก พอสมควร มีขนั้ ตอนดงั นี ้ 2.1 พยายามเปลี่ยนกรงนกใหมบ่ ่อยๆ เพ่ือให้นกค้นุ เคยกบั การเปลี่ยนท่ีอย่ใู หม่ จะได้ ไม่ตื่นตกใจกลวั เพราะไม่เคยสภาพกรงท่ีแปลกไปจากเดิม นกจะได้มีความพร้อมอย่ตู ลอดเวลา (การเปล่ียนกรงนกบอ่ ยๆ ไมไ่ ด้หมายความวา่ ซือ้ กรงใหมใ่ ห้เสมอ แตห่ มายถึง สลบั เปลี่ยนกรงกบั นกตวั อื่นบอ่ ยๆ) ในการเปลี่ยนกรงนกแตล่ ะครัง้ ต้องทําด้วยความระมดั ระวงั เป็ นพิเศษ เพราะนก อาจหลดุ ออกจากกรงไปได้ สําหรับผ้เู ลีย้ งไมช่ ํานาญ 2.2 ต้องใช้ผ้าคลมุ กรงนกทกุ ครัง้ ก่อนท่ีจะพานกไปเที่ยวหรือไปสนามซ้อม เพ่ือให้นก ต่ืนตกใจน้อยที่สดุ 2.3 ต้องขยนั หิว้ นกไปเที่ยว และต้องซ้อมบ่อยๆ การซ้อมควรซ้อมสัปดาห์ละ 1 ครัง้ ช่วงเวลาการซ้อมถ้านกสู้ ควรซ้อมตัง้ แต่เวลาเก้าโมงเช้าถึงบ่ายโมง แต่ถ้าเป็ นนกใหม่ ซ้อม เลก็ น้อยเพื่อให้เคยชินกบั สนาม แล้วแยกออกไปแขวนหา่ งๆ เพ่ือให้นกเกิดความคกึ คะนอง ซึ่งนกที่ หิว้ ไปเท่ียว หรือซ้อมบอ่ ยๆ จะคกึ เร็วกวา่ 2.4 ในวนั ปกติให้แขวนนกแตล่ ะตวั ให้ห่างกนั หรือถ้าเป็ นไปได้ พยายามไม่ให้เห็นกนั ดี ท่ีสดุ ให้ได้ยินแคเ่ สียงร้องก็พอ เพราะนกจะได้คกึ คกั พร้อมตอ่ ส้ตู ลอดเวลาไมเ่ บ่ือหน้ากนั กลางคืน ถ้าไมม่ ีท่ี ควรแขวนหา่ งๆ กนั โดยใช้ผ้าคลมุ กรงคลมุ ปิด เพื่อให้นกได้พกั ผอ่ นเตม็ ท่ี และไมต่ อ่ ส้กู นั 2.5 ในขณะที่แขวนนกเกง่ หรือตวั ท่ีมีลกั ษณะคกึ ให้เอานกล่อ (นกที่ไมส่ ้หู รือไมค่ กึ ) ไป เทียบเคียงบอ่ ยๆ ให้ห่างกนั เล็กน้อย เพ่ือให้นกมีอาการคกึ คกั พร้อมจะตอ่ ส้แู ละภูมิใจว่าตวั เองขู่ ตวั อ่ืนๆ ได้ นกจะมีความกล้าและเก่งขึน้ เรื่อยๆ เม่ือเอาไปแขวนท่ีราวซ้อม นกจะตอ่ ส้กู บั ตวั อื่นได้ ตลอดเวลาโดยไมก่ ลวั อีกตอ่ ไป 2.6 ช่วงบา่ ยหรือเย็นประมาณสามถึงห้าโมงเย็นให้นกอาบนํา้ แต่งตวั และตากขนให้ แห้งสนิทดีก่อนจะเก็บไว้ทกุ วนั เพื่อเพ่ิมความสวยงามและสบายใจแก่นก เพราะนกกรงหวั จกุ เป็ น นกท่ีชอบความสะอาด ดแู ลความเรียบร้อยของตวั เอง ต้องเปลี่ยนนํา้ ในถ้วยนํา้ กินและนํา้ อาบทุก วนั พร้อมกบั ล้างถาดรองขีน้ กทุกวัน กรงจะสะอาด นกจะสดชื่นและคกึ คกั ขึน้ ขอให้ผู้เลีย้ งลอง สงั เกตดวู า่ หากมีชว่ งไหนท่ีไมใ่ ห้นกอาบนํา้ และล้างทําความสะอาดกรงหลายๆ วนั นกจะมีอาการ ซมึ พร้อมทงั้ สลดั ขนออ่ นบริเวณลําตวั ออก 2.7 ก่อนถึงวนั ซ้อมหรือแข่ง 1 - 2 วนั ให้เปลี่ยนกรงนกเป็ นกรงแข่งที่สวยงามที่เตรียม ไว้โดยเฉพาะ เพื่อความสวยงามและภูมิฐานขึน้ อย่าพยายามเปล่ียนกรงนกตอนเช้าวนั ที่มีการ แขง่ ขนั เพราะนกไมค่ ้นุ เคยกบั กรงใหมแ่ ละไมก่ ล้ากระโดดได้

257 3. การแขง่ ขนั นกกรงหวั จกุ ประวตั กิ ารแขง่ ขนั ดงั้ เดมิ เร่ิมเลีย้ งเพ่ือไว้ฟังเสียงร้องอย่กู บั บ้าน ตอ่ มามีการเอามาจิกกนั เมื่อมีการเลีย้ งนกกรงหวั จกุ จํานวนมากขนึ ้ จงึ มีการนํานกมาร้องแข่งขนั กันว่าตวั ไหนร้ องได้ไพเราะกว่า รูปร่างลีลาสวยงาม จึงได้คิดค้นวิธีการแข่งขนั ขึน้ มา โดยกลุ่มผู้ เลีย้ งนกอําเภอหาดใหญ่จังหวดั สงขลา ได้ริเริ่มจัดการแข่งขึน้ มาเป็ นครัง้ แรกเมื่อปี พ.ศ. 2519 ณ บริเวณที่วา่ งหลงั สถานีรถไฟ อําเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา มีการจดั ทําราวแขง่ ขนั โดยใช้เสา เหล็กปักลงในดินก่อนตามขนาดความกว้างยาวของพืน้ ที่ ท่ีจะทําสนามแล้วใช้ลวดสลิงขึงให้ตึง และผูกเชือกเป็ นปมไว้ไม่ให้กรงนกเลื่อนไปกระทบกัน จากนนั้ นํานกขึน้ แขวนให้นกร้องต่อสู้กัน และจบั เวลาแบง่ เป็ นยก ยกละ 25 - 30 นาที เมื่อหมดยก กรรมการจะคดั นกตวั ท่ีไม่ร้องหรือไมส่ ู้ ออกจากสนามไปเร่ือยๆ ทกุ ยก จนกว่าจะเหลือนกเท่ากับจํานวนของรางวลั ที่ตงั้ ไว้ วิธีการแข่งขัน พฒั นากนั มาเรื่อยๆ รวมถึงราวแขวนนก จากเมื่อก่อนใช้ลวดสลิงหรือไม้ไผ่ทําเป็ นราวแขวน ซึ่งถ้า ปลอ่ ยเป็ นเวลานานจะเกิดการผุกร่อน จึงพฒั นามาเป็ นราวเหล็กแป๊ บ ซงึ่ มีความทนทาน นํา้ หนกั ไม่มาก เคล่ือนย้ายสะดวก การจัดการแข่งขนั แพร่หลายเป็ นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะ ปัจจบุ นั มีการแขง่ ขนั นกกรงหวั จกุ ทกุ ภาคทว่ั ประเทศ เกือบทกุ จงั หวดั ปัจจบุ นั มีการเลีย้ งนกกรงหวั จกุ และแข่งขนั ทวั่ ไป เช่น จงั หวดั ตรัง กระบี่ สตลู สงขลา และยะลา เป็ นต้น ปัจจุบนั มีการก่อตงั้ ชมรมนกกรงหวั จกุ ตา่ งๆ มากกวา่ 10 แหง่ 4. กติกามารยาทในการแข่งขัน สําหรับกติกามารยาทการจัดแข่งขนั นกกรงหัวจุก โดยท่ัวไป บางครัง้ เวลาทําการแข่งขันจะเป็ นไปตามสภาวะ ไม่มีกฎเกณฑ์ท่ีแน่นอนแต่เดิม กําหนดเวลานกเข้าประกวดแข่งขนั ถ้าเป็ นช่วงฤดหู นาวเร่ิมทําการตงั้ แต่ 9.30 นาฬิกา ฤดูร้ อน กําหนดเวลาทําการตดั สินเวลาประมาณ 9.00 นาฬิกา โดยประมาณ เนื่องจากวนั เวลาของฤดู ดงั กล่าวไม่เหมือนกันฤดหู นาวมีหมอกนํา้ ค้างแรงปกคลมุ ทําให้บรรยากาศพืน้ ที่บางสนามไม่ดี แสงแดดมีความสําคญั อย่างย่ิงกบั การจดั การประกวดเสียงนกกรงหวั จกุ แสงแดดต้องส่องหรือรอ ให้อากาศทัศนวิสัยท่ัวไปในสนามแข่ง มีความอบอุ่นจากแสงแดดพอประมาณจึงควรทําการ แขง่ ขนั ได้ และให้ยืดถือปฏิบตั ติ ามทวั่ กนั ต่อมาระยะหลัง ทราบว่าบางชมรมหรือบางพืน้ ที่กําหนดเวลาทําการแข่งขันให้ตัดสิน คะแนนเริ่มเวลา 10.00 นาฬิกา ถึงเวลา 14.00 - 15.00 นาฬิกา แตท่ ี่สําคญั ควรทราบ คือ เมื่อถึง กําหนดเวลาของสนามนนั้ ๆ ให้สมาชิกนํานกขนึ ้ แขวนรางรอกตามท่ีกรรมการจดั เตรียมไว้ก่อน ขึน้ แขวนก่อนเลือกตําแหน่งได้ตามสมควร และควรเตรียมตวั มาช่วงเช้าๆ เพราะบรรยากาศการ แข่งขนั จะได้ไม่ร้อน หลงั จากสมาชิกสง่ นกเข้าประกวดขนึ ้ แขวนนกเสร็จแล้ว ให้ไปลงทะเบียนรับ เบอร์อกหรือใบสมคั รเข้าแข่งขนั เก็บหางบตั รคปู องไว้ทอ่ นหนึง่ เพื่อนําไปแลกอาหาร เคร่ืองด่ืมฟรี

258 สว่ นอีกทอ่ นสําหรับเอาไว้ล้นุ จบั ฉลากรางวลั พิเศษอื่นๆ เชน่ รถจกั รยานยนต์ ต้เู ย็น และพดั ลม เป็ น ต้น ด้านคา่ ธรรมเนียมสมคั รเข้าแขง่ ขนั นกหรือกรงละ 150 – 200 - 300 บาท โดยประมาณ แล้วแต่ ฤดูกาลของประเภทงานแมตซ์เล็กหรือใหญ่ พอได้เวลาตดั สินให้คะแนน เจ้าของนกต้องเปิ ดผ้า คลมุ ชนั้ นอกออก เพื่อให้นกร้องส้รู บกนั ประชนั เสียงกนั กรรมการจะกําหนดระยะห่างกรงนกคแู่ ขง่ ตอ่ กรงนกด้วยกนั ขนาดความห่าง 2 ฟตุ ตอ่ กรง เป็ นระยะเรียงรายตามราวรอกเทา่ ๆ กนั เป็ นวิธี ปฏิบตั ิเพ่ือให้นกเผชิญหน้า ส้รู บกนั คล้ายกบั ไก่ชนท่ียืนระยะห่างกัน จ้องหน้า ข่มขวญั คตู่ อ่ สู้ใน เชิงลีลา รูปแบบของการต่อสู้ทวั่ ไป การแข่งขนั นกกรงหวั จุกแต่ละรอบหรือยก กรรมการจะมีการ สบั เปล่ียนค่แู ข่งหรือเปลี่ยนตําแหน่งจากเดิมไป วิธีนีน้ กไม่ร้องหรือร้องไม่เก่ง ไม่ไพเราะ พอสบั คแู่ ขง่ พบตวั ใหม่ หรือคปู่ รับเชิงตา่ งกนั หรือเชิงเดียวกนั หมายถึง นกอาจได้เพื่อนถกู ใจ พดู คยุ ร้อง ส้กู ันไม่หยดุ ทําให้นกไม่เก่งบางตวั อาจเป็ นนกเก่งได้ แต่ไมใ่ ช่ทุกตวั ซึ่งขนึ ้ กับส่วนอ่ืนๆ ด้วย การ แข่งขนั ตามกติกาใช้ระบบวิธีปลดนกท่ีไม่ร้องภายในจํานวน 3 ยก อยา่ งไรก็ตามขึน้ อยกู่ บั จํานวน นกวา่ มีมากหรือน้อย ถ้ามีนกมากควรเพมิ่ จํานวนยกไปอีก 5. ลกั ษณะการตดั สินให้คะแนน ในการแข่งขนั ยกหน่งึ ๆ กรรมการตดั สินทกุ คนจะเดิน วนรอบสนาม เพ่ือพิจารณาให้คะแนนนก ถ้าเดินได้ครบรอบสนามหมด กรรมการรวมคะแนนให้ เป็น 1 ยก ยกละ 20 นาที โดยประมาณ กรรมการคนใดคนหนง่ึ จะเดนิ เข้าไปดนู กระยะหา่ งจากกรง นกประมาณ 3 วา จะใช้เวลาให้คะแนน 2 นาที ใน 2 นาที กรรมการจะกวาดสายตาไปท่ีกรงนก 4 - 8 กรง หรือมากกว่า พิจารณาว่านกกรงไหนร้องดี แต่ถ้าช่วงนาทีสําคญั ที่นกตวั ใดไม่ส่งเสียงร้อง หรือร้องน้อยไป ถ้าเป็ นระบบวิธีปลดนกออก เบอร์นนั้ จะสิน้ สดุ การตดั สินในรอบนนั้ ถูกปลดออก ถ้าเป็ นวิธีให้คะแนนจะได้ลดน้อยตามส่วนหลังจากครบหนึ่งยก กรรมการจะให้คะแนนไว้บน กระดานตามตารางการให้คะแนน สําหรับกรณีท่ีนกไม่ร้องหรือได้คะแนนน้อย นกกรงนนั้ จะถกู ตดั ทิง้ ไป แล้วคดั นกท่ีตกรอบหรือคะแนนน้อยในยกแรกออกไปให้คงเหลือ นกท่ีร้องได้คะแนนมาก รอชิงชยั ในยกท่ี 2 ต่อไป และทําอย่างนีไ้ ปจนครบ 3 ยก จากนนั้ นํามาจดั วดั คะแนนใหม่ นกที่ได้ คะแนนสงู จะจดั อนั ดบั รางวลั แรกๆ รองรับไว้และลดหลน่ั กนั จนครบทุกรางวลั ตอ่ มาโฆษกสนาม จะประกาศผลรางวลั มอบให้ผ้ชู นะ จนกวา่ ครบทกุ รางวลั ถือเป็ นสิน้ สดุ นดั สดุ ท้ายการแข่งขนั อยา่ ง สมบรู ณ์ และการตดั สินให้คะแนน แตม่ ีบอ่ ยครัง้ ท่ีนกชนะท้ายๆ ได้คะแนนเท่ากนั กรณีนีก้ รรมการ ตดั สินจะใช้วิธี โดยให้จบั ฉลากอนั ดบั ตามระเบยี บท่ีปฏิบตั กิ นั มา ถือว่าเป็ นสิทธิ์ของคณะกรรมการ ตดั สินที่พงึ กระทําได้ เพ่ือผลการตดั สนิ ออกมาที่รวดเร็วเป็นธรรมกบั ทกุ คน กฎระเบียบลกั ษณะการ ตดั สินท้ายสุดนี ้ หากสมาชิกท่านใดไม่เห็นด้วยจะท้วงติงให้มีการแก้ไขเข้ากับยุคสมัย ควรทํา หนังสือแจ้งไปยังสถาบันทุกชมรม และความเป็ นไปได้อาจได้รับการพิจารณาในคราวต่อไป

259 อยา่ งไรก็ตามวาระการแขง่ ขนั ทกุ ครัง้ อาจไมเ่ ป็นไปตามท่ีคิด ดงั นนั้ ผ้เู ลีย้ งนกไม่ควรวิตกกงั วล หรือ คิดว่ากรรมการตัดสินโดยไม่เป็ นธรรม สมาชิกผู้ส่งนกเข้าแข่งขัน ต้องวางใจเป็ นกลางไม่ว่า เหตกุ ารณ์จะออกมาในรูปใด และต้องทําความเข้าใจกฎกตกิ า การตดั สินให้คะแนนท่ีวางไว้ ค. วงศ์ไก่ฟ้ าและนกกระทา 1. ไก่ฟ้ า วิธีการอนบุ าลลกู ไก่ฟ้ าแรกเกิด หลกั จากลกู ไก่ฟ้ าฟักออกมาเป็ นตวั แล้ว ให้ทิง้ ไว้ ในต้ฟู ัก 2 - 24 ชวั่ โมง ในสองวนั แรกลกู ไก่ฟ้ ายงั ไม่ต้องการอาหาร เพราะยงั มีอาหารสํารองอยใู่ น ร่างกาย เมื่อนําลกู ไก่ฟ้ าออกจากต้ฟู ักแล้ว ต้องให้ความอบอ่นุ ประมาณ 3 - 4 สปั ดาห์ ขนึ ้ กบั สภาพอากาศภายนอก ถ้าอากาศหนาวหรือมีฝนต้องใช้เวลากกนานขึน้ อุณหภูมิในการกกช่วง สปั ดาห์แรกประมาณ 37.8 องศาเซลเซียส ซ่ึงจะใกล้เคียงกบั อุณหภูมิในต้ฟู ัก จากนัน้ ค่อยปรับ ลดลงสปั ดาห์ละ 15 องศาเซลเซียส จนเลิกกกไฟ สิ่งที่ต้องระวงั เป็ นอย่างมาก คือ อย่าให้ถกู ลม โกรก หรือได้รับความอบอนุ่ ไมเ่ พียงพอ ซง่ึ จะทําให้ลกู ไกเ่ กิดใหม่ตายได้ง่ายๆ ในทางปฏิบตั ขิ องนกั เลีย้ งไก่ฟ้ าโดยท่ัวไป จะใช้กล่องกระดาษ หรือลังไม้เลีย้ งลูกไก่ฟ้ าในระยะสัปดาห์แรกๆ กล่อง กระดาษหรือลงั ไม้ จะมีขนาดประมาณกล่องเบียร์หรือใหญ่กวา่ เล็กน้อยที่ซือ้ ได้ตามร้านทวั่ ไปแล้ว รองพืน้ กล่องด้วยผ้าดิบหรือผ้าเช็ดรถหรือเศษผ้าท่ีไม่ทําให้พืน้ ลื่นหรือเคล่ือนตวั ได้ง่าย จากนนั้ แขวนหลอดไฟขนาด 5 วตั ต์ ไว้มมุ ใดมมุ หน่งึ ถ้าหาซือ้ ไม่ได้จะใช้ขนาด 15 วตั ต์ แทนได้ แตไ่ มค่ วร ใช้หลอดท่ีมีกําลังวัตต์สูงจนเกินไป เพราะถ้ากล่องไม้ใหญ่พอลูกไก่จะไม่มีท่ีหลบ และถ้าร้ อน เกินไปอาจจะทําให้ลกู ไกต่ ายได้ ส่วนภาชนะท่ีใส่นํา้ หรืออาหาร ควรเลือกภาชนะที่มีขนาดเล็ก และนํา้ หนกั มาก เช่น ฝา ขวดกาแฟ แก้วหรือถาด เพ่ือใส่นํา้ หรืออาหาร แต่ภาชนะท่ีนํามาใช้ไม่ควรมีความลึกมากเกินไป เพราะลกู ไก่อาจจะตกลงไปจมนํา้ ตาย หรือบาดเจ็บ ขณะที่ด้านบนกล่องควรทําตะแครงลวดทํา เป็ นฝาปิ ดไว้ เพ่ือป้ องกนั ลกู ไก้ฟ้ าบินหรือกระโดดออกจากกลอ่ งลงั ได้ง่าย ท่ีใส่อาหารอาจใช้ที่รอง แก้ว และโรยอาหารไว้บนผ้าดิบท่ีรองพืน้ ด้านบนของกล่องต้องมีตระแกรงลวดปิ ด เพราะลกู ไก่ฟ้ า อาจบนิ ขึน้ ได้กลอ่ งหรือลงั นีค้ วรไว้ในบ้านเพื่อกนั ยงุ และลม วิธีการดแู ลความสะอาดขณะที่เลีย้ ง ลูกไก่ในกล่องแบบง่ายๆ คือ หม่ันเปล่ียนทําความสะอาดภายในกล่อง เช่น เก็บสิ่งปฏิกลู มลู ไก่ เวลามีเศษอาหารตกหลน่ นํา้ ควรเปลี่ยนทําความสะอาดทกุ วนั จะสกปรกเร็วมาก สว่ นหลอดไฟท่ี แขวนไว้บนกลอ่ งนนั้ สามารถปรับระดบั ให้สงู ต่าํ จากพืน้ ได้ โดยการสงั เกตจากการปรับตวั ของลกู ไก่ กบั สภาพอากาศภายนอก ถ้าหากลกู ไก่เข้ามาสมุ อย่ใู กล้ๆ หลอดไฟ แสดงวา่ ความร้อนไมพ่ อ ต้อง

260 หาหลอดไฟให้ต่ําลง แตถ่ ้าลกู ไก่อย่ตู ามมมุ หรือหนีจากหลอดไฟ แสดงว่าอณุ หภูมิความร้อนมาก เกินไปควรขยบั หลอดไฟให้สงู ขนึ ้ สําหรับกล่องที่ใช้เลีย้ งอนุบาล สามารถนําลูกไก่ฟ้ าท่ีเกิดวนั ใกล้เคียงกันมาเลีย้ งรวมใน กลอ่ งเดียวกัน แต่ต้องดชู นิดของไก่ฟ้ าและขนาดด้วย ไก่ฟ้ าบางชนิดเกิดผิดวนั สามารถใส่รวมกนั ได้ เช่น ไก่ฟ้ าสีทอง โกลเด้น แต่บางชนิด เช่น นกแว่น และไก่จกุ ถ้าเกิดผิดวนั จะใส่รวมกันไม่ได้ หรือถ้าเกิดวนั เดียวกนั ต้องคอยดแู ลระวงั เป็นพิเศษ เพราะลกู ไก่ฟ้ าบางชนิดมีสญั ชาตญาณการหา อาหารที่รุนแรงอาจจะจิกนิว้ จิกตวั จิกตา หรือจิกขนตวั อ่ืนๆ จนถึงตาย เพราะเข้าใจวา่ เป็ นอาหาร ลกู ไก่ฟ้ าบางชนิดดแุ ละก้าวร้ าวกว่า เช่น ลูกไก่ฟ้ ารีฟ ฉะนนั้ ต้องคอยดแู ลเอาใจใส่ในระยะแรกๆ โดยทวั่ ไปการเลีย้ งลกู ไก่อย่ใู นกล่องดงั กล่าว จะใช้เวลาประมาณหนึง่ สปั ดาห์จงึ จะย้ายลกู ไก่ไป เลีย้ งตอ่ ในกรงอนบุ าล แต่ถ้าเป็ นประเภทนกแว่นและไก่จกุ ต้องใช้เวลานานถึง 2-3 สปั ดาห์ จะ ย้ายได้ เพราะลกู นกแวน่ และไกจ่ กุ จะออ่ นแอตายงา่ ย ต้องใช้เวลาดแู ลมากกวา่ ไก่ฟ้ าชนิดอื่นๆ กรง อนุบาลจะมีลกั ษณะคล้ายตู้กับข้าว มีขนาดกว้าง 100 เซนติเมตร สูง 150 เซนติเมตร ลึก 40 เซนตเิ มตร แบง่ เป็ น 3 ชนั้ แตล่ ะชนั้ ปพู ืน้ ด้วยลวดตาข่ายตาถ่ีขนาด 0.5 × 0.5 เซนตเิ มตร ผนงั ใช้ ตาข่ายขนาดคร่ึงนิว้ ปิ ดทบั ด้วยมุ้งลวดอีกชนั้ หนึ่งเพื่อกันยงุ แต่ละชนั้ จะมีแผ่นรองขยะและมูล ลกู ไกท่ ่ีหลน่ ผา่ นตะแกรงลงมา แผน่ รองพืน้ นีส้ ามารถชกั ออกไปทําความสะอาดได้ สําหรับกรงอนบุ าลมีผ้ทู ํากนั หลายขนาด แตส่ ําหรับผ้เู ลีย้ งใหม่หรือมีไก่ฟ้ าน้อยไม่จําเป็ น จะมีกรงอนุบาล แต่แก้ไขโดยใช้กล่องให้มีขนาดใหญ่ขนึ ้ หรือจะดดั แปลงกรงนกมาใช้เลีย้ งลกู ไก่ ซึ่งข้อดีของกรงอนบุ าล คือ ถ้ามีลูกไก่ตวั ใดตวั หน่ึงป่ วยและมีเชือ้ โรคปนออกมากบั มลู มูลจะตก ผา่ นตะแกรงลงมาข้างลา่ ง ลกู ไกต่ วั อื่นๆ จะไมส่ มั ผสั หรือจิกมลู ที่มีเชือ้ ดงั กลา่ วได้ ทําให้โรคไมแ่ พร่ เชือ้ ไปยงั ลกู ไก่ตวั อื่นๆ อีกทงั้ ยงั ไมท่ ําให้พืน้ กรงสกปรกอีกด้วย ในกรงอนบุ าลควรแขวนหลอดไฟ ขนาด 5 วตั ต์ หรือ 10 วตั ต์ ไว้ในแตล่ ะชนั้ เช่นเดียวกนั เพราะแม้ว่าทฤษฏีกลา่ วว่าต้องการความ อบอ่นุ ลดลงสปั ดาห์ -15 องศาเซลเซียส แต่แนวทางปฏิบตั ิจะใช้ไฟกกอย่ตู ลอดเวลา โดยเฉพาะ ช่วงอุณหภูมิข้างนอกเย็นหรือมีฝนตกมาก แตถ่ ้าอาการปกติไม่เปลี่ยนแปลงมากเม่ือลูกไก่มีอายุ ประมาณ 3 สปั ดาห์ ให้ทดลองปิ ดไฟดไู ด้ถ้าลกู ไก่ไมน่ อนสมุ กนั แสดงวา่ ลกู ไก่สามารถปรับตวั เข้า กบั สภาพอากาศภายนอกได้แล้วสามารถเลิกใช้ไฟกกได้ทนั ที การทําทะเบียนประวตั ลิ กู ไก่ฟ้ าแต่ละตวั ควรใช้สายฝอยของโทรศพั ท์ซ่งึ มีสีตา่ งๆ กนั ทํา เป็ นห่วงขาชวั่ คราว ห่วงนีม้ ีลักษณะนิ่มและเบาทําให้ลูกไก่ไม่รําคาญ จากนัน้ จดบนั ทึกประวัติ ลกู ไก่วา่ ห่วงสีอะไร เกิดวนั ไหน ชนิดของลกู ไก่ พอ่ แม่พนั ธ์ุอยกู่ รงใด เบอร์กําไลขาไก่เท่าใด (ถ้ามี) หลงั จากลกู ไก่ฟ้ าอายไุ ด้ประมาณ 100 วนั จะมีขนาดโตพอที่จะใสก่ ําไลแบบถาวรได้ จดบนั ทึกใน

261 ใบประวตั อิ ีกครัง้ วา่ ลกู ไกฟ่ ้ าตวั นีม้ ีเบอร์กําไลเทา่ ใด การใส่กําไลแบบถาวรนีจ้ ะชว่ ยให้ทราบประวตั ิ ตา่ งๆ ของไก่ได้เป็นอยา่ งดี การให้อาหาร อาหารของลกู ไก่ฟ้ าอายุ 1 - 30 วนั ส่วนมากจะให้อาหารเล็กแบบสําเร็จรูป แตอ่ าหารท่ีให้จะมีวิตามนิ ไมเ่ พียงพอ จงึ ให้วิตามนิ ละลายนํา้ และให้อาหารเสริมพวกนกขนุ ทองแช่ นํา้ จนนิ่มคลกุ กบั หนอนนกเป็ นอาหารเสริม ในระยะ 2 - 3 วนั แรก ต้องสงั เกตดวู ่าลกู ไก่ฟ้ ากิน อาหารและนํา้ หรือไม่ ถ้าไมแ่ ตะต้องเลยต้องคอยป้ อนบ้าง เพ่ือให้รู้จกั อาหารและนํา้ ท่ีจะกิน ผ้เู ลีย้ ง บางรายใช้ลกู ไก่แจ้หรือลกู ไก่ฟ้ าท่ีกินอาหารเป็ นแล้วมาเป็ นพ่ีเลีย้ ง ซ่ึงลกู ไก่ฟ้ าที่เกิดใหมจ่ ะเรียนรู้ และกินอาหารเป็ นเองโดยอัตโนมัติ การให้นํา้ มันตับปลาและวิตามินแก่ลูกไก่จะช่วยให้มีภูมิ ต้านทานโรคและเจริญเติบโตได้ดี มีอตั รารอดชีวิตสงู ขึน้ เม่ือลูกไก่อายเุ กิน 4 สปั ดาห์ขึน้ ไปแล้ว ควรเพิ่มอาหารจําพวกเมล็ดข้าวโพด ถว่ั เขียว ข้าวฟ่ าง ข้าวกล้อง เป็นอาหารเสริมอีกอยา่ งหนงึ่ การย้ายลกู ไก่ฟ้ า เม่ือลกู ไก่ฟ้ าอายไุ ด้ 6 - 8 สปั ดาห์ ย้ายลงไปเลีย้ งในกรงที่ใช้เลีย้ งไก่ฟ้ า ทว่ั ไป ในการย้ายลงในกรงใหญ่ต้องสงั เกตวา่ ลกู ไก่ปรับตวั ให้เข้ากบั สภาพกรงใหม่ได้หรือไม่ ลกู ไก่ อาจเครียดและไม่เคยชินตอ่ สภาพแวดล้อม อาจมีบางตวั ซุกอย่ทู ี่มมุ กรงเป็ นเวลานาน บางครัง้ ถึง ครึ่งวนั โดยไมก่ ินอาหารและนํา้ ควรเอากลบั มาไว้ในกรงอนบุ าลสกั พกั จึงคอ่ ยย้ายลงไปใหม่ ลกู ไก่ อาจมีการจิกกนั บ้างต้องคอยดแู ลและจบั แยกตวั ท่ีเกเรออก และเอาตวั ที่บาดเจ็บแยกไปรักษา ถ้า เห็นว่ามีตวั ไหนชอบจิกขนตวั อ่ืนกินต้องแยกออก มิฉะนนั้ ตวั อื่นๆ จะถกู กินขนหมด เม่ือลกู ไก่อายุ ได้ 3 เดือนขนึ ้ ไป จะเร่ิมเป็ นไก่รุ่น บางชนิดตวั ผ้จู ะเริ่มมีสีสามารถแยกเพศได้ แต่บางชนิดต้องใช้ เวลานานกว่าจึงจะแยกเพศได้ และจากไก่รุ่นลูกไก่ฟ้ าจะเจริญเติบโตเป็ นไก่ฟ้ าเต็มวยั จากนนั้ ผู้ เลีย้ งจะจบั คแู่ ยกออกไปเลีย้ งเป็นกรงๆ เพื่อให้ผสมพนั ธ์ุผลติ ลกู หลานตอ่ ไป การเลีย้ งลูกไก่ฟ้ าให้เชื่อง ช่วงเวลาที่จะเลีย้ งไก่ฟ้ าให้เชื่องดีที่สดุ คือ ช่วงที่ลูกไก่ฟ้ าเกิด ใหม่ โดยให้เลีย้ งลกู ไกใ่ นกรงนกและเลีย้ งตงั้ แตน่ ําลกู ไก่ออกจากต้ฟู ัก แตไ่ มค่ วรเลีย้ งรวมกนั หลาย ตวั กรงนกควรตงั้ ไว้ในบ้านบริเวณท่ีใกล้คนเพ่ือท่ีลกู ไก่จะได้เห็นคนบอ่ ยๆ เอาหนอนนกให้กินเป็ น อาหารเสริมวนั ละ 4 - 5 ตวั แรกๆ วางไว้ท่ีพืน้ กรงก่อน เมื่อชินแล้วจงึ ให้จิกหนอนบนมือลกู ไก่จะ ค้นุ เคยกบั คน และสามารถเอาออกมาเลน่ นอกกรงได้ ไก่ฟ้ ามาเลย์ไร้หงอน ไก่ฟ้ าบอร์เนียว และไก่ ป่ าเขียว ซงึ่ จดั วา่ เป็ นไก่ฟ้ าที่คอ่ นข้างตื่น เมื่อเอาหนอนใส่ฝ่ ามือไว้ ลกู ไก่ที่เอาออกมาเลน่ นอกกรง จะบนิ มาเกาะบนมือ และจะเช่ืองไปจนโต แม้ย้ายลงดินแล้วจะไมไ่ ด้ใกล้ชิดคนเหมือนตอนแรก จะ ยงั เชื่อคนมากกวา่ ไก่ฟ้ าตวั อื่นๆ (พงษ์ศกั ด์ิ พลเสนา, 2541, หน้า 23 - 40; จําเนียร ทองพนั ชง่ั , 2545, หน้า 63 - 68; จิตรกร บวั ปลี, 2547, หน้า 120 - 121)

262 2. ไก่แจ้ มีการผสมพนั ธ์ุและแม่พนั ธ์ุพร้อมที่จะออกไข่ ซึ่งไก่แจ้ส่วนใหญ่พอไข่หมดชุด ประมาณ 10 - 20 ฟอง จะมีนิสยั อยากฟัก โดยหมอบอย่ใู นลกั ษณะกกไข่ตลอดเวลา เม่ือมีส่ิงอื่น เข้าใกล้แม่ไก่ ไก่บางตวั จะดุ หวงไข่ ส่งเสียงขู่ ร้อง และจิก เมื่อฟักไขอ่ อกมาเป็ นตวั ลกู ไก่ นิสยั ฟัก จะเป็ นนิสยั เลีย้ งลกู ส่งเสียงร้ องเรียกกุ๊กๆ เวลาพาลกู ไปหากินจะสอนลูกไก่กินอาหาร สอนให้รู้ สญั ญาณภยั ส่งเสียงเรียกลกู เข้าใต้หน้าอกให้ความอบอ่นุ เมื่ออากาศหนาวเย็นหรือมีภยั นิสยั จะ หมดไปเม่ือลกู ไก่อายุ 4 - 6 สปั ดาห์ ควรเลือกแม่ไก่ที่อยากฟักไข่ และมีร่างกายสมบรู ณ์ โดยหารัง ไม้ รังเบียร์ หรือป๊ี บนํา้ มนั ก๊าด เปิ ดด้านยาวออกด้านหนึ่ง ถ้ารังฟักเป็ นรังเดียวกับท่ีแม่ไก่ออกไข่ ควรทําความสะอาดให้ทวั่ ใส่ฟางสบั ท่อนสนั้ ๆ แกลบ ซงั ข้าวโพด ขีก้ บ หรือวสั ดรุ องรังออ่ นๆ ปลู ง ในรังฟักตรงกลางให้เป็ นแอ่ง ยึดตรึงรังให้แน่นหนา ในท่ีเงียบสงบมุมใดมุมหนึ่ง ไก่ท่ีกําลงั ฟัก ต้องการความเงียบสงบและชอบฟักไข่ในท่ีเคยไข่ ซ่ึงเป็ นความรู้สึกปลอดภยั ตามสัญชาตญาณ ย้ายแม่ไก่มาใสใ่ นตอนกลางคืน โดยมีไข่ของไก่ตวั อ่ืนหรือไข่หลอกวางไว้สกั 2 - 3 ฟอง สงั เกตให้ แนใ่ จวา่ แมไ่ กอ่ ยากฟัก เว้นแตแ่ ม่ไก่แจ้ที่เลีย้ งเพ่ือประกวดเมื่อไข่แล้วผ้เู ลีย้ งจะหาแม่ไก่มือปื น (ไก่ แทน) มากกไข่ เพ่ือให้แมไ่ กท่ ่ีนําไปประกวดได้พกั ผอ่ น สงั เกตให้แน่ใจ 1 - 2 วนั จนฟักได้จงึ นําไขท่ ี่ จะฟักจริงมาใสแ่ ทนท่ี เอาไข่ท่ีให้ลองฟักออกจํานวนไข่ตอ่ แมไ่ ก่ 1 แม่ ตงั้ แต่ 5 - 10 ฟอง ตาม ขนาดของแม่ไก่ที่จะกกไขม่ ิดโดยรอบ เพ่ือเป็ นการฟักอย่างตอ่ เน่ืองและสงบ ควรตรวจดแู ม่ไก่ให้ เรียบร้อยก่อนท่ีจะเริ่มให้ฟัก ตรวจดหู มดั เหา ไร ตามตวั แม่ไก่ในเวลากลางคืน หากมีควรจดั การ ทําลาย 2 - 3 วนั กอ่ นเริ่มให้ฟัก โดยใช้ผงยาสบู หรือยาฆ่าเหาไรโรยตวั ไก่ แล้วลบู ย้อนขนให้ยาเข้า ทวั่ ตวั ระหวา่ งที่แม่ไก่กกฟักไข่ ควรจดั หานํา้ และอาหาร วางใกล้ๆ แม่ไก่ เพ่ือที่แมไ่ ก่จะได้ไมท่ ิง้ รัง กกไปหากินอาหารนาน ควรระวงั ไมค่ วรให้แมไ่ กอ่ ดอาหาร เพราะอาจเป็นเหตใุ ห้แมไ่ ก่เลิกฟักได้ อาหารแม่ไก่ควรผสมเมล็ดข้าวต่างๆ ให้มาก นอกจากนนั้ ควรให้แคลเซียม แร่ธาตุ กรวด และทรายเมด็ ใหญ่ ควรงดผกั และอาหารนงึ่ เพ่ือป้ องกนั อจุ จาระเหลว ซึ่งจะเปรอะเปื อ้ นรัง และทํา ให้ไข่สกปรกติดเชือ้ รางอาหาร และท่ีให้นํา้ ต้องล้างให้สะอาดทุกวนั ๆ ละ 1 หรือ 2 ครัง้ หาก จําเป็ นต้องนําแม่ไก่ออกไปข้างนอกเพื่อกินอาหาร ขบั ถ่าย หรือพกั ผ่อนคลกุ ดินทราย ให้จบั แม่ไก่ อยา่ งน่ิมนวลด้วยมือทงั้ สองข้าง โดยใช้มือข้างหนึ่งรองที่หน้าอก อีกข้างหน่งึ วางบนหลงั ในระยะนี ้ สิ่งท่ีจะบง่ บอกถึงสขุ ภาพของแม่ไก่ท่ีดี คือ มลู ก้อนโตเป็ นรูปร่าง นอกจากนีจ้ ะออกทา่ ทางวิ่งไปว่ิง มา หวั ขนฟู หรือทําให้ปี กชมุ่ เพ่ือให้ร่างกายกลบั สภาพที่ดี เมื่อฟักไข่ได้ครบ 1 และ 2 สปั ดาห์ ควร ส่องไข่เพ่ือตรวจดู จะอาศยั แสงแดดหรือแสงไฟก็ได้ โดยม้วนกระดาษเป็ นรูปกรวยกระบอกตอน ปลายเล็กกว่าไข่ หนั ทํามมุ ตกหรือตรงกบั แสงสว่างไข่อายุ 7 วนั ท่ีเป็ นไขท่ ่ีดี จะเห็นเส้นเลือดเป็ น ร่างแหแดงสดใส ตรงกลางเคล่ือนไหวได้ ร่างแหเส้นโลหิตสีแดงมีขนาดใหญ่โตขึน้ เกือบเตม็ ทงั้ ฟอง

263 ไข่ท่ีเสียหรือเชือ้ ตายมานาน เวลาส่องดจู ะเห็นเป็ นนํา้ เหลวหรือดําภายในไข่ ไข่ท่ีเชือ้ ตายภายใน อาทติ ย์แรกจะเห็นเป็ นลกั ษณะวงแหวน ไมม่ ีร่างแหสีแดงของเส้นโลหิตหรือมีสีซีดผิดปกติ หรือจดุ ดําติดเปลือกไข่ ถ้าภายในอาทิตย์ที่ส่องเห็นในแบบเดียวกัน แต่ขนาดใหญ่กว่าและไม่มีการ เคล่ือนไหว ไขเ่ ชือ้ ตายและไขเ่ สียควรคดั ทงิ ้ เมื่อสอ่ งพบ เพราะจะเนา่ เหม็นและทําให้ไข่ดีเสียไปด้วย เมื่อวนั ท่ี 20 ลกู ไก่โตเต็มที่จะเริ่มออกจากไข่ อยา่ รีบย้ายลกู ไก่ลงมา ควรรอให้ลกู ไก่ออกหมดและ ขนแห้งหรือถึงวนั ท่ี 22 ก่อน จึงเอาลงมาครอบส่มุ มีนํา้ และอาหารเม็ดเล็กๆ หรืออาหารป่ นใส่ ภาชนะตงั้ ไว้ในสมุ่ ให้ตลอดเวลา 2 - 3 วนั จึงเร่ิมเปิ ดสมุ่ ให้แม่ไก่พาลกู ออกเท่ียวได้ วนั ละ 2 - 3 ชวั่ โมง คอ่ ยเพ่ิมเวลาจนปล่อยได้ตลอดวนั ในปลายสปั ดาห์ท่ี 1 อย่างไรก็ตามควรระวงั อยา่ ปลอ่ ย ให้แม่ไก่พาลกู ออกไปลานหญ้าขณะที่ยงั เช้า เพราะอาจมีนํา้ ค้างทําให้ลกู ไก่เปี ยกนํา้ หนาวตายได้ ฟาร์มไก่แจ้ทว่ั ไป ที่ต้องการให้มีลูกไก่แจ้จํานวนมาก เพื่อจําหน่ายจะมีแม่พนั ธ์ุไว้หลายตวั เพ่ือ เตรียมไว้สําหรับเป็ นแม่ไก่กกไข่เพียงอย่างเดียว เพราะไม่ต้องการให้แม่พนั ธ์ุดีกกไข่เอง ป้ องกัน สขุ ภาพทรุดโทรมเน่ืองจากไมก่ ินอาหาร เม่ือลกู ไก่ฟักหมดแล้ว จะไมใ่ ห้แมไ่ ก่มือปื นลงจากรังฟักมา กกลกู ไก่ แต่จะนําไข่รุ่นตอ่ ไปมาให้แม่ไก่มือปื นฟักตอ่ ทนั ทีเป็ นครัง้ ท่ี 2 หากแม่ไก่ลงมากกลูกไก่ แล้วจะไมข่ ึน้ ไปกกไขอ่ ีก ลกู ไก่ที่นําออกมาจากรังฟักจะเลีย้ งไว้ในกลอ่ ง ให้ความอบอนุ่ ด้วยหลอด ไฟฟ้ าแทนการกกไขด่ ้วยแม่ไก่ ถ้าฟักไข่เพียง 5 - 10 ฟอง และไมเ่ ร่งผลิตลกู ไก่ ควรฟักและกกด้วย แมไ่ ก่จะสะดวกกวา่ แมไ่ ก่ท่ีเลีย้ งลกู รุ่นตอ่ ไป จนลกู ไก่เติบโตแข็งแรง วิธีนีเ้ป็ นวิธีท่ีง่ายสดุ ผ้ดู แู ลไม่ ต้องทําอะไร นอกจากหาวสั ดรุ องรังท่ีสะอาดและสะดวกที่แม่ไก่จะพาลกู ไก่เข้าออกได้ ควรเตรียม อาหารและนํา้ ให้แม่ไก่ก่อนที่จะเอาลกู ไก่ออกจากรังฟัก และควรมีท่ีกนั้ กนั ศตั รูที่จะมาทําอนั ตราย เช่น สนุ ขั แมว และหนู เป็ นต้น นํา้ และอาหารต้องวางไว้ใกล้ท่ีไก่กินได้สะดวก อาหารลกู ไก่ 1 - 2 วนั แรก ควรมีข้าวโพดบดหยาบหรือปลายข้าวโปรยให้ครัง้ ละน้อย อาหารหยาบเหล่านีจ้ ะให้วนั ละ 3 - 5 มือ้ มีอาหารป่ นใสร่ างตงั้ ไว้ให้กินตลอดเวลา หาทางให้กินอาหารผสมให้มาก ธรรมชาตขิ อง แมไ่ ก่จะเลีย้ งดลู กู ไก่จนเตบิ โตแข็งแรง แมไ่ กบ่ างตวั มีนิสยั เลีย้ งลกู ดี เอาใจใสด่ แู ล บางตวั นิสยั ไมด่ ี มกั ทิง้ ลูกหรือทบั ลูกในเวลากก หรือเลีย้ งลูกรอดน้อยตวั แม่ไก่เช่นนีไ้ ม่ควรให้ฟักไข่อีก พอลกู ไก่ อายุ 4 - 6 สปั ดาห์ จะเร่ิมออกไปหากินหา่ งจากแมไ่ ก่และอยอู่ ย่างอิสระหรือที่เรียกว่า หย่านม ผู้ เลีย้ งควรแยกแมไ่ ก่ออกเลีย้ งตา่ งหากเพ่ือให้แมไ่ ก่ตงั้ ต้นไขต่ อ่ ไป การกกลกู ไก่ ระยะแรกส่ิงท่ีจําเป็นมากท่ีธรรมชาตขิ องลกู ไก่ต้องการความอบอนุ่ จากแม่ไก่ แตก่ ารฟักด้วยเครื่องไมส่ ามารถกกด้วยแมไ่ ก่ได้ จําเป็ นต้องหาสิ่งมาทดแทนแมไ่ ก่เพ่ือแทนความ อบอุ่นที่ได้รับจากแม่ไก่ตามธรรมชาติและเพ่ือให้ลูกไก่ปลอดภัยต้านทานโรคในลูกไก่ ถ้าเลีย้ ง จํานวนน้อยหรือสําหรับผ้เู ริ่มต้นใหม่ควรใช้กล่องกระดาษใหญ่เล็กตามจํานวนลูกไก่ ใช้หลอดไฟ

264 ธรรมดาขนาด 5 - 20 วตั ต์ แขวนไว้กลางกล่อง กล่องพืน้ ที่แคบใช้ไฟ 5 - 10 วตั ต์ หากต้องการใช้ 20 - 25 วตั ต์ แล้วแตเ่ นือ้ ที่แต่ไม่เกิน 40 วตั ต์ ใช้หนงั สือกระดาษรองก้น ให้นํา้ และอาหารกิน ตลอดเวลา เมื่อกล่องสกปรกควรเปลี่ยนใหม่ ลกู ไก่โตควรลดไฟเหลือ 5 - 10 วตั ต์ การกกลกู ไก่ จํานวนมาก ควรกกพืน้ หรือกรงใช้ไฟขนาด 40 แรงเทียน ติดไว้หลายๆ ดวงมีสวิทซ์ปิ ดเปิ ด เพื่อเพ่ิม ความอบอนุ่ ได้ตามความต้องการ ก่อนนําลกู ไก่ลงควรมีวสั ดรุ องพืน้ ให้นํา้ และอาหารตลอดเวลาตอ่ ลกู ไก่ 8 - 10 ตารางนิว้ หรือตามสมควร อาหาร 1 - 2 มือ้ แรก อาจโปรยปลายข้าวโพดบดหยาบให้ ลูกไก่จิก อาหารป่ นต้องตงั้ ไว้ตลอด ผกั หญ้าให้กินบางโอกาส ความอบอุ่นสําหรับลูกไก่อยู่ท่ี 35 องศาเซลเซียส ในสปั ดาห์แรกแล้วค่อยๆ ลดความอบอ่นุ ทีละน้อย ประมาณสัปดาห์ละ 5 องศา เซลเซียส จนเหลือ 26.7 - 29.4 องศาเซลเซียส เมื่อสปั ดาห์ที่ 4 หรือรักษาความอบอ่นุ ในต้รู ะหวา่ ง 32.2-35 องศาเซลเซียส ถ้าลกู ไก่อย่สู บาย กินอิ่ม จะนอนเรียงตวั สงบเงียบใต้กก อาจมีเสียงจิ๊บๆ บ้างแสดงวา่ ลกู ไกก่ ําลงั อบอนุ่ ดี ถ้าร้องเสียงแหลมโหยหวนหรือเบียดสมุ ทบั กนั แสดงวา่ ลกู ไก่หนาว นํา้ สําหรับลูกไก่กิน ควรสะอาด จืดเย็น ใส่ภาชนะวางไว้ให้กินได้ทว่ั ถึง ถาดอาหารวนั แรกควรให้ แบบถาดแบนหรือกระดาษท่ีไม่ลื่น นอกจากนีแ้ ล้ววิธีที่จะให้ไก่โตเร็วช่วยลดจํานวนไก่ตายหรือ อ่อนแอ คือ การรักษาความสะอาด พืน้ กก ลานกก ภาชนะใส่นํา้ อาหาร และกันฝนสาด เป็ นต้น (สเุ ทพ ศภุ มงคล, 2543, หน้า 54-64; ธนากร ฤทธ์ิไทสง, 2545, หน้า 96-106) สําหรับการเลีย้ งดไู ก่แจ้ หมายถึง การดแู ลเอาใจใส่และการให้อาหารที่ดี ซ่ึงต้องมีความ สนใจเป็นพิเศษ เน่ืองจากไก่แจ้ไมส่ ามารถชว่ ยเหลือตวั เองได้มาก มีขาสนั้ และบนิ ไม่เก่งจงึ ไมอ่ าจ หลบหลีกศตั รูได้ สขุ ภาพร่างกายออ่ นแอกวา่ ไก่พืน้ เมืองชนิดอ่ืนๆ การเลีย้ งดจู งึ ไม่ใช่เพียงแต่ มีข้าว มีนํา้ ให้กินเท่านัน้ ยงั รวมไปถึงการจดั อุปกรณ์ การให้ยา การจดั สถานที่ การเอาใจใส่และดแู ล อยา่ งสม่ําเสมอ ทงั้ นีเ้พื่อที่จะให้ได้ไก่แจ้ท่ีสวยงามตามความต้องการ อยา่ งไรก็ตาม ชีวิตของไก่แจ้ ปัจจบุ นั แม้จะเริ่มต้นถกู เลีย้ งด้วยความชอบความนิยม แตไ่ ม่ได้หมายความวา่ ต้องเป็ นภาระเลีย้ ง ไก่แจ้ทุกตวั ที่เกิดมาจากไข่ หรือปล่อยให้แพร่พนั ธ์ุเพิ่มปริมาณ นักเลีย้ งไก่แจ้ต้องคิดกําจัดไก่ ลกั ษณะที่ไมพ่ ึงประสงค์ ป้ องกันไม่ให้แพร่พนั ธ์ุเพิ่มจํานวน ทําให้มีเวลาบํารุง คดั พนั ธ์ุและเลีย้ งดู ไก่ตวั ท่ีมีลกั ษณะดี เพ่ือได้ไก่ลกั ษณะใกล้เคียงกบั ไก่แจ้ตามลกั ษณะที่ดีได้ โดย ธนากร ฤทธิ์ไทสง (2545, หน้า 96 - 106) รายงานวา่ การเลีย้ งดมู ีการจดั การดแู ลไกแ่ จ้อายตุ า่ งๆ จําแนกได้ดงั นี ้ 2.1 การเลีย้ งดไู ก่เล็ก (0 - 6 หรือ 0 - 9 สปั ดาห์) หมายถึง ลกู ไก่ตงั้ แตแ่ รกเกิด จนถึง ก่อนวยั รุ่นอยใู่ นระหวา่ งการกก ถ้ามีจํานวนน้อยและปลอ่ ยให้แมไ่ กเ่ ลีย้ ง ในชว่ งแรกยงั ไมค่ วรให้แม่ ไก่นําลกู ไก่ออกเดินเท่ียวค้ยุ เข่ียอาหาร ต้องขงั แมไ่ ก่เอาไว้จนกระทง่ั ลกู ไก่อายุ 7 วนั ไปแล้ว จึงจะ

265 ปลอ่ ยให้แมไ่ กน่ ําเดนิ เที่ยวค้ยุ เขี่ยได้บ้างตามโอกาส แตไ่ มค่ วรปลอ่ ยเวลาเช้าตรู่ขณะที่นํา้ ค้างยงั ไม่ แห้ง หรือยามฝนตกเพราะอาจทําให้ลกู ไก่หนาวตายได้ แตพ่ ออายุ 4 สปั ดาห์ ปล่อยให้ออกหากิน อสิ ระได้ สว่ นการเลีย้ งดลู กู ไก่ออ่ นที่ซือ้ หามา โดยไม่มีไก่กกหากมีหลายตวั ต้องใช้เครื่องกกแทนแม่ ไก่ เคร่ืองกกอยา่ งง่าย คือ กลอ่ งกระดาษขนาด 2 - 3 ตารางฟตุ เจาะรูให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก ใสล่ กู ไก่กล่องละไม่เกิน 5 ตวั ใช้หลอดไฟขนาด 20 - 25 วตั ต์ เพื่อให้ความอบอนุ่ ใช้ผ้าขาวบาง หรือมุ้งครอบกันยุง คอยสังเกตความเป็ นอยู่ของลูกไก่ทุกระยะ ถ้าลูกไก่เกาะกลุ่มกัน แสดงว่า อากาศข้างนอกเย็น หากกระจายอยู่ห่างกนั แสดงว่าอากาศร้อนควรเล่ือนหลอดไฟสงู จากระดบั เดมิ หรือปิดไฟ จากท่ีกลา่ วมาแล้ววา่ ลกู ไก่ต้องการอณุ หภมู ทิ ี่อบอนุ่ ขณะท่ีร่างกายมีความสามารถ ในการปรับให้เข้ากบั สภาพแวดล้อมได้ตํ่า ดงั นนั้ ควรดแู ลลกู ไก่อย่างใกล้ชิด ลูกไก่ต้องการความ อบอนุ่ ระหวา่ ง อายุ 0 - 2 สปั ดาห์ อยา่ งไรก็ตามตงั้ แตอ่ ายุ 1 สปั ดาห์ เป็ นต้นไป ควรลดอณุ หภมู ิ ลงเรื่อยๆ จนอณุ หภมู ิเท่ากบั สภาพแวดล้อม (ประมาณวนั ละ 0.51 - 1 องศาเซลเซียส) ข้อควร ระวงั คอื พยายามอยา่ ให้อณุ หภูมิกลางวนั และกลางคืนตา่ งกนั มาก กรงกกไก่ควรไว้ที่ลมไมโ่ กรก มีนํา้ อาหาร ให้กินตลอดทงั้ วนั และควรเปล่ียนอาหารที่เหลือออกทกุ วนั อาหารลกู ไก่ในระยะนีค้ วร เป็นอาหารสําเร็จรูปสําหรับลกู ไกเ่ ลก็ ขยายกลอ่ งออกไปเพ่ือไมใ่ ห้แออดั อาหารท่ีให้ควรเป็ นอาหาร ที่มีคณุ ภาพดี คือ 19 - 21% โปรตีนมีพลงั งานท่ีใช้ประโยชน์ได้ 2,900 - 3,100 กิโลแคลอรีตอ่ กิโลกรัมอาหาร เม่ือลกู ไก่อายุได้ 7 วัน ต้องทําวคั ซีนนิวคลาสเซิลและหลอดลมอกั เสบ โดยการ หยอดตา หรือจมกู และทําซํา้ อีกครัง้ เม่ืออายคุ รบ 4 สปั ดาห์ หากก้นกล่องกระดาษสกปรกมีมลู มาก ควรเปลี่ยนกลอ่ งให้สะอาดและแห้งอยเู่ สมอ 2.2 การเลีย้ งไก่รุ่น (6 - 12 หรือ 6 - 19 สปั ดาห์) ลกู ไก่แจ้สามารถเลีย้ งในกล่อง หรือใน กรงกกได้จนอายุ 2 - 3 เดือน เริ่มเข้ากรงท่ีเตรียมไว้ ส่วนกล่องเดิมควรเผาทิง้ เพื่อป้ องกนั โรค อยา่ งไรก็ตามลกู ไก่เม่ือมีอายปุ ระมาณ 2 เดอื น ควรจะแยกออกมาเลีย้ งจากฝงู การแยกหรือย้ายไก่ ควรให้วิตามินคลายเครียดและควรย้ายเวลากลางคืน อย่าเลีย้ งไว้ต่างขนาดกนั ตวั ท่ีใหญ่มกั จะ รังแกตวั เล็กเสมอ แยกท่ีกินท่ีนอน ไก่แจ้จะสมบูรณ์ท่ีสุดเมื่ออายุ 8 เดือน ไก่ผลดั ขนครัง้ แรกจะ สวยงามมาก ตวั ผู้จะเร่ิมผลดั ขนเม่ืออายุ 1 ปี ตวั เมียประมาณ 6 เดือน หลงั จากนนั้ ไก่จะถ่ายขน ครัง้ ใหญ่ในชว่ งเดือนสิงหาคมถึงพฤศจิกายน ส่วนเดือนอ่ืนจะถ่ายขนเป็ นแห่งๆ และมีจํานวนน้อย อายเุ ฉลี่ยของไก่แจ้ตวั ผ้ไู มเ่ กิน 7 ปี ตวั เมีย 8 - 9 ปี การเลีย้ งดรู ะหว่างนีค้ วรปลอ่ ยออกมาเดนิ เลน่ บ้างประมาณวนั ละ 1 ชวั่ โมง เพ่ือให้ไก่ร่าเริงและมีโอกาสได้เดนิ ดนิ กินหญ้าและอาหารธรรมชาติ เป็นการทนุ่ คา่ ใช้จ่ายในการเลีย้ งดอู ีกสว่ นหนงึ่ ชว่ งนีผ้ ้เู ลีย้ งจะมีความใกล้ชิดสนิทสนมกบั ไก่ ดแู ล การเจริญเตบิ โตและความเปลี่ยนแปลงของลกู ไก่ทกุ วนั ตลอดจนสงั เกตอาการของไก่ด้วย ซึ่งอาจ

266 ตดิ โรค หากตวั ไหนมีอาการเซ่ืองซึม ไม่กินอาหาร ให้รีบแยกออกจากฝงู ทนั ที แล้วทําการรักษาฉีด วคั ซีน ไมใ่ ห้โรคตดิ ตอ่ ไปยงั ตวั อื่น ในขณะปล่อยให้ไก่เดินเลน่ นี ้ควรโปรยข้าวเปลือกหรือข้าวสาร เม็ดเล็กให้กินบ้าง ขณะเดียวกนั ควรหาโอกาสจบั เลน่ ฝึ กให้ไก่เชื่อง หลงั จากนนั้ ปลอ่ ยให้แยกย้าย กนั ไปหาเล้านอน ลกู ไก่จะเจริญพนั ธ์ุไปตามธรรมชาติ จนกระทง่ั เป็ นหนมุ่ สาวใช้เวลาเพียง 6 - 7 เดือน ไก่ระยะนีม้ ีการเจริญเติบโตรวดเร็วกว่าไก่ระยะอ่ืนๆ และสามารถปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมได้ดี ดงั นนั้ คณุ ภาพของอาหารจะลดลง คือ โปรตีน 16 - 17% และพลงั งานที่ใช้ ประโยชน์ได้ประมาณ 2,700 - 2,800 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมอาหาร แตค่ วรเสริมแร่ธาตแุ ละ วิตามนิ เพราะมีความสําคญั ตอ่ การพฒั นาโครงสร้างกระดกู และขนให้สมส่วน วคั ซีนที่ให้ควรเป็ น อหวิ าต์โดยฉีดเข้ากล้ามเนือ้ และนวิ คาสเซิลโดยการแทงปี ก และทําซํา้ ทกุ ๆ 6 เดือน 2.3 การเลีย้ งไก่ใหญ่ ไก่ระยะนีม้ ีอายอุ ย่รู ะหวา่ ง 19 - 24 หรือมากกวา่ 24 สปั ดาห์ ซึ่งการเจริญเติบโตจะหยุดแล้ว (ขน กล้ามเนือ้ หรือโครงสร้ างกระดูก) แต่ระบบสืบพันธ์ุยังคง พัฒนาเพ่ือความพร้ อมในการสืบพันธ์ุ ดังนัน้ คุณภาพของอาหารจะลดลงได้อีก คือ มีโปรตีน ประมาณ 14% และพลงั งานท่ีให้ประโยชน์ได้ คือ 2,700 - 2800 กิโลแคลอรีตอ่ กิโลกรัมอาหาร ขณะท่ีไม่จําเป็ นต้องให้แร่ธาตเุ พิ่ม แตค่ วรให้วิตามินโดยเฉพาะวิตามินอี ไก่ระยะนีจ้ ะมีขนขนึ ้ เต็ม ไกจ่ ะมีพฤตกิ รรมในการดแู ลขนของตวั เองมากขนึ ้ โดยการไซ้ขนซึ่งต้องใช้ไขมนั ที่ตอ่ มไขมนั บริเวณ ก้นมาเพ่ือชว่ ยในการจดั การความเป็นระเบียบของขน และทําให้ขนเป็ นเงาหากต้องการให้ไก่เจริญ พนั ธ์ุเร็วขึน้ ควรให้ไก่ได้รับความยาวของแสงประมาณ 15 - 16 ชว่ั โมงตอ่ วนั แตค่ วรระวงั ไมใ่ ห้มี ความเข้มของแสงเกินไป เพราะจะทําให้ไก่เครียด และจิกขนกันเองได้ ในช่วงนีอ้ าจแยกไก่ที่จะ นําไปเป็นพอ่ -แมพ่ นั ธ์กุ บั ไก่ที่ต้องการนําไปประกวดเลีย้ งแยกกนั เพราะไก่ท่ีต้องการนําไปประกวด ต้องได้รับอาหารอย่างเต็มท่ี หากต้องการให้แม่ไก่แจ้เพื่อผลิตลกู ไมค่ วรให้แมไ่ ก่อ้วนเกินไป ซ่ึงจะ ทําให้ไก่ไข่ได้น้อยกว่าที่ควรเป็ น และเม่ือไก่ใกล้จะให้ไข่ ควรเปล่ียนสตู รอาหารให้มีโปรตีนสงู ขึน้ เป็น 16% พลงั งานที่ใช้ประโยชน์ได้ คือ 2,800 กิโลแคลอรีตอ่ กิโลกรัมอาหาร เสริมด้วยเปลือกหอย บด และฟอสฟอรัสเพื่อใช้ในการสร้างไข่ และเปลือกไข่ สําหรับการนําไก่แจ้เข้าประกวด เป็ นความมุ่งหมายท่ีสําคัญของผู้เลีย้ งไก่แจ้ เพราะ นอกจากจะเลีย้ งเพื่อความสวยงามแล้ว ยงั มีโอกาสเปรียบเทียบไก่แจ้กบั ผ้อู ่ืน แสดงถึงความสําเร็จ ในการผสมพนั ธ์ุ สามารถสร้างสรรค์ลกั ษณะท่ีดีเดน่ ได้ ทราบถึงลกั ษณะท่ีถูกต้องของไก่แจ้เป็ น อย่างไร เป็ นโอกาสท่ีจะแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เป็ นจุดนัดพบ และทราบข่าวความ เคล่ือนไหวในวงการ จากการที่มีผ้นู ิยมเลีย้ งไก่แจ้เป็ นจํานวนมาก จึงมีการรวมตวั กนั เป็ นสมาคม ชมรม และมีการจดั ประกวดไกแ่ จ้ในโอกาสตา่ งๆ อยตู่ ลอดเวลา ผ้เู ลีย้ งหรือผ้สู นใจสามารถเข้าร่วม

267 กิจกรรม เพื่อเป็นจดุ เริ่มต้นสําหรับการเลีย้ งไกแ่ จ้ในโอกาสตอ่ ไปได้ ซึ่งการประกวดไก่แจ้ของชมรม ต่างๆ ที่จัดขึน้ เป็ นการแสดงผลงานการผสมพันธ์ุไก่แจ้ของผู้เลีย้ ง และเป็ นการส่งเสริมการ ปรับปรุงพนั ธ์ุไก่แจ้ให้ใกล้เคียงลกั ษณะตามมาตรฐานตลอดเวลา ซ่งึ การเตรียมไก่แจ้เข้าประกวด ธนากร ฤทธิ์ไทสง (2545, หน้า 107-142) ได้อธิบายรายละเอียดไว้ดงั นี ้ 1. คดั เลือกลกู ไก่ท่ีมีลกั ษณะดีที่จะส่งเข้าประกวดตงั้ แตล่ กู ไก่อายุ 1 เดือน โดย คดั เลือกตวั ท่ีมีลกั ษณะกลม ขาสนั้ และใหญ่ หางแผ่สวยงาม นํามาแยกเลีย้ งไว้ในกรงเดี่ยว เพื่อ ป้ องกนั ไมใ่ ห้ไก่ตวั อ่ืนจิกขน และป้ องกนั ไมใ่ ห้ไก่สกปรก 2. คดั ไก่ที่มีลักษณะสมบูรณ์ แข็งแรง ขนทุกส่วนของร่างกายขึน้ ครบตามอายุ ลกั ษณะทา่ ทางการเดนิ ได้ตามมาตรฐาน หงอนหนาจกั ได้สดั สว่ น และหางเตม็ 3. ดูแลไก่ที่จะคดั หรือส่งเข้าประกวดให้อยู่ในสายตา ให้กินอาหารครบถ้วน สมบรู ณ์เตม็ กระเพาะ ป้ องกนั ไมใ่ ห้ไกต่ วั อื่น โดยเฉพาะตวั เมียท่ีชอบจกิ ขนตวั ผู้ 4. ไก่สาวอายปุ ระมาณ 6 เดือน เป็ นระยะท่ีกําลงั สดใสสวยงาม เพราะเป็ นระยะ วางไข่ หงอนจะแดงสด สว่ นตวั ผ้มู ีอายุ 1 ปี ขนึ ้ ไป สามารถสง่ เข้าประกวดได้ 5. ควรเตรียมการก่อนประกวดประมาณ 3 เดือน โดยจบั ไก่อาบนํา้ 2 สปั ดาห์ตอ่ ครัง้ ถอนหางเตรียมขน ดงึ ขนท่ีสกปรกออกให้ขนขนึ ้ ใหม่ เมื่อเข้าเดือนสดุ ท้ายจงึ อาบนํา้ ทกุ สปั ดาห์ ล้างหงอน ขดั ขีไ้ คลตามหงอน หากใกล้วนั ประกวดควรเก็บแยกไก่ไว้ไม่ให้สกปรก นอกจากนีค้ วร กําจดั เหา ไร ออกให้หมด แปรงเกลด็ ขาและเท้าให้สะอาด ตดั เลบ็ ให้เรียบร้อย 6. การอาบนํา้ ควรเลือกเวลาที่อากาศอบอนุ่ มีแดดจดั เพ่ือสะดวกในการตากขน ให้แห้ง ใช้นํา้ อ่นุ ผสมแชมพสู ระผมในอา่ งตีให้เป็ นฟอง จบั ไก่จ่มุ ลงไป ใช้ผ้าขนหนผู ืนเล็กๆ ชบุ นํา้ เช็ดขนตามลําตวั เพ่ือขจดั สิ่งสกปรก ถไู ปตามทางขน ไม่ย้อนขนจะฉีกขาดหรือขนเสีย ทําความ สะอาดเช็ดถูส่วนต่างๆ ที่หงอน ขา และแข้ง จากนนั้ จ่มุ ล้างตวั ไก่ในอ่างอีกใบท่ีมีนํา้ สะอาด ล้าง แชมพอู อกโดยใช้มือหรือผ้าแห้งเช็ดซบั นํา้ ใช้เครื่องเป่ าผมหรือตากไก่กลางแดดให้แห้ง 7. การถอนขน ควรทําตงั้ แตแ่ รก เพื่อให้ขนใหมข่ นึ ้ มาแทนขนเก่า ขนใหม่ท่ีขนึ ้ ใหม่ จะสวยงามสะอาดตา ซง่ึ เป็ นสว่ นหน่ึงท่ีจะชว่ ยเสริมคะแนนไก่ท่ีเข้าประกวด หางขยั ต้องถอนก่อน วนั ประกวด 4 เดือน จงึ จะขนึ ้ ขนมาเตม็ เหมือนเดมิ สว่ นหางพดั ใช้เวลา 3 เดือน ขนตามลําตวั จะขนึ ้ ในเวลา 2 เดือน วิธีการดงึ ขนจะต้องกระตกุ เบาๆ ให้มีจงั หวะ ไก่จะไม่รู้สกึ เจ็บปวด คอ่ ยๆ ถอนออก ภายใน 2 - 3 วนั ไก่ท่ีมีสีขาวระวงั อยา่ ตากแดดนานเกินไป เพราะจะทําให้ขนมีสีออกเหลือง หรือ อาหารท่ีมีแคโรทีนสงู เชน่ ข้าวโพด อาจทําให้ขนไกเ่ หลืองได้

268 8. สําหรับไก่ตวั ผู้ ควรจัดให้อย่ตู วั เดียวในคอก หรือขงั เดี่ยว ไก่จะคกึ มีความ องอาจ หากเลีย้ งรวมหรือยใู่ กล้กบั ไกต่ วั ผ้อู ื่น หงอนจะซีด ขนลีบ 9. ควรฝึ กให้ไก่เชื่องไม่ต่ืนตกใจง่าย ไก่ที่ต่ืนตกใจขณะเข้าประกวดท่าทางจะไม่ สง่า หรืออาจดนิ ้ จนทําให้ขนหกั ฉีกขาด หรือเกิดความสกปรกไมส่ วยงามได้ การประกวดไก่แจ้จะแบ่งออกตามประเภทของไก่โดยยึดสีเป็ นหลกั เช่น ประเภทไก่แจ้สี ขาว สีดํา แฟนซี 1 แฟนซี 2 ปัจจุบันไก่แจ้แฟนซี 1 จะแยกประกวดออกไปตามสี เช่น ไก่แจ้สี ดอกหมาก สีทอง เป็ นต้น นอกจากนีย้ งั ประกวดแยกเพศด้วย การพิจารณาตดั สินรางวลั ในการ ประกวดไก่แจ้สวยงาม มีเกณฑ์การให้คะแนนแบบสากล ดงั นี ้ 1. ลกั ษณะรูปร่าง (Type) หมายถึง รูปร่างรวมทงั้ หมด มีความสมดลุ ทงั้ ตวั ตงั้ แต่ สว่ นหวั ลําตวั หาง ความเตยี ้ ตลอดจนทา่ ทางการเดนิ และการยา่ งก้าว เป็นต้น 2. ขนาด (Size) หมายถึง ขนาดของไก่แจ้ที่นํามาเปรียบเทียบกัน หากรูปร่าง ลกั ษณะดี แตม่ ีขนาดตวั เล็กกวา่ จะได้เปรียบ มีโอกาสได้คะแนนดกี วา่ 3. ความพร้ อม (Condition) หมายถึง ความพร้อมของไก่แจ้ในวนั เข้าประกวด ได้แก่ อายุ ความสมบรู ณ์ของร่างกาย เชน่ ขนขนึ ้ สดุ หรือไม่ 4. สี (Color) หมายถึง สีประจําประเภทมีความถกู ต้องหรือไม่ มีสีอื่นแซมหรือไม่ รวมถึงความสะอาดสดใสของสีด้วย การตดั สินใช้กรรมการประมาณ 3 - 4 คน ตอ่ 1 สีหรือประเภท กรรมการจะดสู ี ลกั ษณะตา่ งๆ เช่น ท่าการเดิน ใช้วิธีเปรียบเทียบไก่ทกุ ตวั ท่ีเข้าประกวดในสีนนั้ ว่าตวั ใดเดน่ ตวั ใด รองมา เรียงลําดบั ตามจํานวนรางวลั ท่ีมีในการแขง่ ขนั สําหรับหลกั เกณฑ์ในการให้คะแนนมีดงั นี ้ รูปร่างลกั ษณะ 60 คะแนน ขนาด 15 คะแนน ความพร้ อม 15 คะแนน สี 10 คะแนน ในช่วง 1 ปี มีการประกวดไก่แจ้ 5 หรือ 6 ครัง้ หรือมากกว่านนั้ ในช่วงระหว่าง เดือนธนั วาคมถึงกรกฎาคม เพราะเป็นชว่ งท่ีไก่แจ้มีขนสวยที่สดุ ในรอบปี

269 3. ไก่ชนหรือไกพ่ ืน้ เมือง ไชยา อ้ยุ สงู เนนิ (2541, หน้า 35 - 52); วิเชียร สนั ตคีรี (2542, หน้า 99 - 105); มนตรี แสนสขุ (2545, หน้า 71 - 77) ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วิจยั และบํารุงพนั ธ์สุ ตั ว์ เชียงใหม่ (2555) รายงานวา่ มีวิธีการจดั การเลีย้ งดดู งั นี ้ 3.1 การเลีย้ งไก่ท่ีอายุ 0 - 6 สปั ดาห์ ลกู ไก่ที่จะเลีย้ งขายส่งตลาด หรือเลีย้ งไว้ทําพนั ธ์ุ ต้องมีการดแู ลเลีย้ งดอู ย่างดี เร่ิมจากลกู ไก่ออกจากต้ฟู ักทําการตดั ปากบนออก 1 ใน 3 แล้วนําไป กกด้วยเคร่ืองกกลกู ไก่ เพ่ือให้ไก่อบอุ่นด้วยอณุ หภูมิ 95 องศาเซลเซียส ในสปั ดาห์ที่ 1 แล้วลด อณุ หภมู ลิ งสปั ดาห์ละ 5 องศาเซลเซียส กกลกู ไก่เป็ นเวลา 3 - 4 สปั ดาห์ ลกู ไก่ 1 ตวั ต้องการพืน้ ท่ี ในห้องกกลกู ไก่ 0.5 ตารางฟุต หรือเท่ากบั 22 ตวั ตอ่ ตารางเมตร การกกลกู ไก่ให้ดแู ลอยา่ งใกล้ชิด ถ้าหากอากาศร้อนเกินไปให้ดบั ไฟกก เชน่ กลางวนั ใกล้เที่ยงและบา่ ย สว่ นกลางคืนจะต้องให้ไฟกก ตลอดทงั้ คืน ในระหวา่ งกกจะต้องมีนํา้ สะอาดให้กินตลอดเวลา และวางอยู่ใกล้รางอาหาร ทํา ความสะอาดภาชนะใสน่ ํา้ วนั ละ 2 ครัง้ คือ เช้าและบา่ ย ลกู ไก่ 100 ตวั ต้องการรางอาหารท่ีกินได้ ทงั้ 2 ข้าง ยาว 6 ฟุต และขวดนํา้ ขนาด 1 แกลอน จํานวน 3 ขวด ทําวคั ซีนป้ องกนั โรคนิวคาสเซิล โรคหลอดลมอกั เสบติดตอ่ และฝี ดาษ เม่ือลกู ไก่อายุ 1 - 7 วนั ทําวคั ซีน 3 ชนิด พร้อมกนั จากนนั้ หยดวคั ซีนป้ องกนั โรคนิวคาสเซิลซํา้ เม่ืออายุ 21 วนั การให้อาหารลกู ไก่ระยะกก (1 - 14 วนั แรก) ควรให้บอ่ ยครัง้ ใน 1 วนั อาจแบง่ เป็นตอนเช้า 2 ครัง้ บา่ ย 2 ครัง้ และคํ่า 1 ครัง้ การให้อาหารบอ่ ย จะช่วยกระต้นุ ให้ไก่กินอาหารดีขนึ ้ อาหารจะใหม่ จํานวนอาหารท่ีให้ต้องไม่ให้เหลือราง ซึ่งเป็ น สาเหตทุ ี่ทําให้ตกหล่น ปริมาณอาหารท่ีให้ในแต่ละสปั ดาห์ และนํา้ หนกั ไก่ โดยเฉลี่ยแสดงดงั ตารางที่ 6.3 อาหารผสมที่ให้ในระยะ 0 - 6 สปั ดาห์ มีโปรตีน 18% พลงั งานใช้ประโยชน์ได้ 2,900 กิโลแคลอรี่ตอ่ กิโลกรัม แคลเซียม 0.8% ฟอสฟอรัส 0.40% เกลือ 0.5% และมีกรดอะมิโนครบตาม ความต้องการ ดงั ตารางที่ 6.4 3.2 การเลีย้ งลกู ไก่ท่ีอายุ 7 - 16 สปั ดาห์ เมื่อครบวยั อนบุ าลจะเข้าสวู่ ยั ประถม ไก่จะโต ขึน้ อาหารและการสขุ าภิบาลมีความสําคญั เพ่ือการเจริญเติบโตสคู่ วามเป็ นหนุ่มสาวตอ่ ไป การ เลีย้ งไก่ระยะเจริญเติบโต 7 - 16 สปั ดาห์ เป็ นการเลีย้ งบนพืน้ ดินปลอ่ ยฝงู ๆ ละ 100 - 200 ตวั ใน อตั ราส่วนไก่ 1 ตวั ตอ่ พืน้ ท่ี 1.4 ตารางฟุต หรือไก่ 8 ตวั ตอ่ ตารางเมตร พืน้ คอกรองด้วยแกลบหรือ วสั ดุดูดซบั ความชืน้ ได้ดี การเลีย้ งไก่ระยะนีไ้ ม่ต้องแยกไก่ตวั ผู้ออกจากไก่ตวั เมีย การเลีย้ งท่ีมี วตั ถปุ ระสงค์เพื่อขายเป็ นไก่เนือ้ พืน้ เมือง จะต้องเลีย้ งแบบให้อาหารกินเต็มท่ี มีอาหารในถงั และ รางอาหารตลอดเวลา เพื่อเร่งการเจริญเติบโตให้ได้นํา้ หนักตามท่ีตลาดต้องการ ดงั ตารางที่ 6.5 และ 6.6 ให้นํา้ สะอาดกินตลอดเวลาทําความสะอาดขวดนํา้ วนั ละ 2 ครัง้ คือ เช้าและบ่าย ลูกไก่ ระยะนีต้ ้องการรางอาหารท่ีมีลกั ษณะยาวท่ีกินได้ทงั้ สองข้าง ยาว 4 นิว้ ตอ่ ไก่ 1 ตวั หรือรางอาหาร

270 ชนิดถงั ที่ใช้แขวนจํานวน 3 ถงั ตอ่ ไก่ 100 ตวั ต้องการรางนํา้ อตั โนมตั ิยาว 4 ฟตุ หรือนํา้ 24 - 32 ลติ รตอ่ ไก่ 100 ตวั ฉีดวคั ซีนป้ องกนั โรคนิวคาสเซิลตวั ละ 0.10 ซีซี ฉีดเมื่อลกู ไกอ่ ายุ 10 สปั ดาห์ ตารางท่ี 6.3 นํา้ หนกั และจํานวนอาหารผสมที่ใช้เลีย้ งลกู ไก่พืน้ เมืองอายุ 0 - 6 สปั ดาห์ อายลุ กู ไก่ นํา้ หนกั ตวั จํานวนอาหารท่ีให้ อตั ราแลกเนือ้ การจดั การอื่นๆ (กรัม/ตวั ) (กรัม/ตวั ) (กิโลกรัม) สปั ดาห์ 1 49 7 0.86 - หยดวคั ซีนป้ องกนั โรคนวิ คาส สปั ดาห์ 2 76 11 1.46 เซลิ หลอดลมอกั เสบติดตอ่ สปั ดาห์ 3 115 21 2.18 ฝี ดาษเม่ืออายุ 1-7 วนั สปั ดาห์ 4 185 30 2.45 - อตั ราการตายไมเ่ กิน 3% สปั ดาห์ 5 250 32 2.46 - ชงั่ นํา้ หนกั เฉลี่ยสนิ ้ สปั ดาห์โดย สปั ดาห์ 6 370 33 2.48 สมุ่ ตวั อยา่ ง 10% เพ่ือหาคา่ เฉล่ีย เปรียบเทียบกบั ตารางมาตรฐาน ท่มี า: ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วิจยั และบาํ รุงพนั ธ์ุสตั ว์เชียงใหม่ (2555)

271 ตารางท่ี 6.4 สว่ นประกอบของอาหารลกู ไกพ่ ืน้ เมืองอายุ 0 - 6 สปั ดาห์ สว่ นประกอบในอาหาร % ในอาหารผสม สตู รอาหารผสม (กิโลกรัม) วตั ถดุ บิ 1 2 โปรตีน 18 ข้าวโพด 63.37 56.75 กรดอะมิโนที่จําเป็ น รําละเอียด 10.00 15.00 ไลซีน 0.95 กากถว่ั เหลือง 10.88 21.00 เมทไธโอนีน+ซีสตนิ 0.63 ใบกระถินป่ น 4.00 - ทริปโตเฟน 0.20 ปลาป่ น (55%) 10.00 5.00 ทริโอนีน 0.69 เปลือกหอย 1.00 0.50 ไอโซลซู ีน 0.80 ไดแคลเซ่ียม 1.00 อาร์จินีน 1.15 เกลือ 0.50 0.50 ลซู ีน 1.65 พรีมิกซ์ลกู ไก่ 0.25 0.25 เฟนิลอะลานี+ไทโรซีน 1.55 สมนุ ไพร (กรัม) 180.00 180.00 อิลติดนิ 0.46 รวม 100.00 100.00 เวลีน 0.94 หมายเหต:ุ 1. ข้าวโพด ข้าวฟ่ าง และปลาย ไกลซีน+เซรีน 0.70 ข้าว ใช้แทนกนั ได้ คณุ คา่ ทางโภชนะ 2. ถว่ั พมุ่ ถว่ั เขียว ถวั่ เหลือง กอ่ น พลงั งานใช้ประโยชน์ได้ 2,900 ใช้แชน่ ํา้ เดือนนาน 15-20 นาที ตากแดด และ (กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม) บดผสมอาหารตอ่ ไป แคลเซียม 0.80 3. สมนุ ไพร 180 กรัมผสมจากฟ้ า ฟอสฟอรัส 0.40 ทลายโจร 144 กรัม + ขมนิ ้ 2 กรัม + ไพล 29 เกลือ 0.50 กรัม เป็นนํา้ หนกั แห้ง ไวตามิน-แร่ธาตุ ++ ท่มี า: ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วิจยั และบาํ รุงพนั ธ์สุ ตั ว์เชียงใหม่ (2555)

272 ตารางท่ี 6.5 นํา้ หนกั มีชีวิตและจํานวนอาหารท่ีใช้เลีย้ งไกร่ ุ่นพืน้ เมืองอายุ 7 - 16 สปั ดาห์ อายลุ กู ไก่ นํา้ หนกั ตวั จํานวนอาหารท่ีให้ อตั ราแลกเนือ้ การจดั การอื่นๆ (กรัม/ตวั ) (กรัม/ตวั ) (กิโลกรัม) สปั ดาห์ 7 443 38 2.50 - ตดั ปากไก่ 1/3 สปั ดาห์ 8 363 55 2.56 - ฉีดวคั ซีนเอม็ พี และอหวิ าต์ไก่ สปั ดาห์ 9 676 50 2.62 พร้อมหยอดวคั ซีนหลอดลม สปั ดาห์ 10 872 55 2.75 อกั เสบตดิ ตอ่ สปั ดาห์ 11 901 57 2.79 - ให้แสงสวา่ งไมเ่ กินวนั ละ 12 สปั ดาห์ 12 1,146 64 2.80 ชวั่ โมง สปั ดาห์ 13 1,248 66 2.97 - เปลี่ยนวสั ดรุ องพืน้ ทกุ ๆ รุ่นที่นํา สปั ดาห์ 14 1,386 69 3.21 ไกร่ ุ่นใหมเ่ ข้ามาเลีย้ ง สปั ดาห์ 15 1,490 73 3.46 สปั ดาห์ 16 1,689 80 3.50 ท่มี า: ฟาร์มเครือข่ายศนู ย์วิจยั และบํารุงพนั ธ์สุ ตั ว์เชียงใหม่ (2555) สําหรับเกษตรกรที่มีพืน้ ที่กว้าง เช่น ไร่นา หรือท่ีสวนปลูกไม้ผลหรือมีแปลงหญ้ า สามารถเลีย้ งแบบปลอ่ ยให้หากินเองตามธรรมชาติ เสริมอาหารผสมในเวลาเย็นใกล้คํ่า และงดให้ อาหารเช้าเพ่ือบงั คบั ให้ไก่ไปหากินเอง ถ้าให้อาหารเช้าไก่จะไม่หากิน ดงั นนั้ จึงเปลี่ยนให้อาหาร เวลาเย็นเวลาเดียวให้กินจนอิ่มเต็มกระเพาะ ส่วนนํา้ จะต้องมีให้กินตลอดเวลา ทําการป้ องกนั โรค ระบาดนิวคาสเซิล โดยการฉีดวคั ซีนเพียงครัง้ เดียวเข้าที่กล้ามเนือ้ หน้าอกหรือโคนปี ก วคั ซีนที่ฉีด เป็นวคั ซีนชนิดเชือ้ เป็น เรียกวา่ วคั ซีนป้ องกนั โรคนิวคาสเซิล เอม็ พี วคั ซีน 1 หลอดผสมนํา้ กลน่ั 10 ซีซี แล้วแบง่ ฉีดตวั ละ 0.1 ซีซี ดงั นนั้ จะฉีดไก่ได้ 100 ตวั การฉีดให้ผลดีกวา่ การแทงปี กและสามารถ ค้มุ โรคได้นานกว่า 1 ปี ในวันเดียวกันให้ฉีดวัคซีนป้ องกันโรคอหิวาต์ไก่ตวั ละ 2 ซีซี หลงั จากฉีด วคั ซีน เอ็ม พี แล้วให้หยอดวคั ซีนป้ องกนั โรคหลอดลมอกั เสบซํา้ อีกครัง้ หนง่ึ โดยการหยอดจมกู

273 ตารางท่ี 6.6 สว่ นประกอบของอาหารผสมสําหรับไกร่ ุ่นพืน้ เมืองเพศผ้แู ละเพศเมียอายุ 7 - 16 สปั ดาห์ สว่ นประกอบในอาหาร % ในอาหาร วตั ถดุ บิ สตู รอาหารผสม (กิโลกรัม) ผสม 1 23 โปรตีน 14.40 ข้าวโพด 73.00 63.75 - กรดอะมิโนท่ีจําเป็ น รําละเอียด 5.00 18.00 - ไลซีน 0.69 กากถวั่ เหลือง 44% 12.25 11 - เมทไธโอนีน+ซีสตนิ 0.54 ใบกระถิน 4.00 - - ทริปโตเฟน 0.15 ปลาป่ น (55%) 3.00 5 - ทริโอนีน 0.54 เปลือกหอยป่ น 1.00 0.5 - ไอโซลซู ีน 0.62 ไดแคลเซียมฯ 1.00 1.0 - อาร์จินีน 0.87 เกลือป่ น 0.5 0.5 - ลซู ีน 1.42 พรีมิกซ์ 0.25 0.25 - เฟนิลอะลานี+ไทโรซีน 1.24 สมนุ ไพร (กรัม) 180.00 180.00 - อิลตดิ นิ 0.38 รวม 100.00 100.00 100.00 เวลีน 0.76 หมายเหต:ุ 1. ปลายข้าวโพด และข้าวเปลือกแทน ไกลซีน + เซรีน 0.58 กนั ได้ คณุ คา่ ทางโภชนะ 2. ถว่ั เหลืองเม็ดต้องต้มสกุ กอ่ นใช้ พลงั งานใช้ประโยชน์ได้ 2,900- 3. สมนุ ไพรมีสว่ นผสมเชน่ เดียวกบั ท่ีใช้ (กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม) 3,000 เลีย้ งลกู ไกพ่ ืน้ เมือง แคลเซียม 0.85 ฟอสฟอรัส 0.53 เกลือ 0.50 ไวตามิน-แร่ธาตุ ++ ท่มี า: ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วิจยั และบํารุงพนั ธ์สุ ตั ว์เชียงใหม่ (2555)

274 3.3 การเลีย้ งไก่สาวอายุ 17 - 26 สปั ดาห์ ควรเลีย้ งบนพืน้ ดนิ และเลีย้ งปล่อยฝงู ๆ ละ 100 - 150 ตวั พืน้ ท่ี 1 ตารางเมตร เลีย้ งไก่สาวได้ 5 - 6 ตวั มีการให้ยาถ่ายพยาธิภายใน ประเภท พิพเพอราซนิ ชนิดเมด็ ทกุ ตวั ๆ ละ 1 เม็ด ควรมีการอาบนํา้ ยาให้ฆา่ เหาและไรไก่ โดยใช้ยาฆา่ แมลง ชนดิ ผง เซฟวิน 85 ตวงยา 3 ช้อนแกงตอ่ นํา้ 20 ลิตร หรือใช้ยาอาชนุ โทนหรือนกู าวอน นําไก่ลงจมุ่ นํา้ ใช้มือถใู ห้ขนเปี ยกจนทว่ั ลําตวั และกอ่ นนําไก่ขนึ ้ จากนํา้ ยา ให้จบั หวั ไกจ่ มุ่ ลงในนํา้ ก่อนหนง่ึ ครัง้ การเลีย้ งไก่สาวต้องมีการควบคมุ จํานวนอาหารที่ให้กิน สุ่มชั่งนํา้ หนักทุกสปั ดาห์ เปรียบเทียบ ตารางมาตรฐาน ให้นํา้ กินตลอด คดั ไก่ป่ วยออกจากฝงู เมื่อแสดงอาการผิดปกติ ทําความสะอาด และกลบั แกลบหรือวสั ดรุ องพืน้ เม่ือพืน้ คอกเปี ยกชืน้ ควรรักษาพืน้ คอกไม่ให้ชืน้ และแห้งอยเู่ สมอ เป็นการป้ องกนั ไมใ่ ห้เกิดโรคไก่ ไกจ่ ะแขง็ แรง เลีย้ งง่าย ตายยาก เป็ นเทคนิคง่ายๆ ท่ีผ้เู ลีย้ งควรเอา ใจใสเ่ ป็นพิเศษและไมจ่ ําเป็นต้องใช้ยามาก ดงั นนั้ ควรสร้างคอกไก่ให้สามารถระบายอากาศได้ดี มี ลมผา่ นพดั ความชืน้ ออกไปและมีอากาศเย็น และสดช่ืนมาแทน ไมค่ วรมืดทบึ อบั ลม และแสง สําหรับผ้เู ลีย้ งท่ีมีพืน้ ท่ีเลีย้ งกว้าง เชน่ ไร่นา สวน สามารถปลอ่ ยไก่ได้ แนะนําให้ปล่อย หากินเองตามธรรมชาติ จะชว่ ยลดคา่ ใช้จ่ายอาหารลงมาก ควรเสริมอาหารเฉพาะในเวลาเย็นครัง้ เดียวประมาณ 70 - 75%ของอาหารท่ีเลีย้ งแบบขงั คอก แต่ต้องมีนํา้ ใส่ภาชนะให้ไก่ได้กิน ตลอดเวลา การเลีย้ งปลอ่ ยแปลงไกจ่ ะแข็งแรง และไมจ่ กิ ขนกนั ไก่ดสู วยงามขนเป็นมนั เลีย้ งปล่อย แปลงไปจนกวา่ แมไ่ ก่เร่ิมไข่ จงึ เปลี่ยนสตู รอาหารเป็ นอาหารไก่ไขไ่ ก่พนั ธ์ุ การให้แสงสว่างแก่ไก่ใน เล้าระยะนีจ้ ะต้องให้ไม่เกิน 11 - 12 ชว่ั โมง ถ้าให้แสงสว่างมากกว่านีจ้ ะทําให้ไก่ไข่เร็วขึน้ ก่อน กําหนดและอตั ราการไขท่ งั้ ปี ไมด่ ีแตจ่ ะดีเฉพาะใน 4 เดือนแรก ดงั นนั้ แสงสวา่ งจึงต้องเอาใจใส่และ จดั การให้ถูกต้อง กล่าวคือในเดือนท่ีเวลากลางวนั ยาว เช่น เดือนมีนาคม-ตลุ าคมไม่ต้องให้แสง สว่างเพิ่มในเวลาหวั คํ่าหรือกลางคืน โดยหลกั การแล้วแสงสวา่ งธรรมชาติ 8 - 12 ชว่ั โมง ไม่ต้อง เพิ่มไฟฟ้ า ส่วนฤดหู นาวจะมืดเร็ว จําเป็ นต้องให้แสงสว่างเพิ่ม แตร่ วมแล้วไม่ให้เกิน 11 - 12 ชวั่ โมงตอ่ วนั ความเข็มของแสงสว่างท่ีพอเหมาะ คือ 1 ฟตุ แคนเดิล้ ที่ระดบั ตวั ไก่ การให้อาหารไก่ สาวแบบขังคอก ต้องจํากัดให้ไก่สาวกินตามตารางท่ี 6.7 พร้ อมทัง้ ตรวจสอบนํา้ หนักไก่ทุกๆ สปั ดาห์ ให้อาหารวนั ละ 2 ครัง้ เช้า เวลา 07.00 - 08.00 นาฬิกา และบา่ ยเวลา 14.00 - 15.00 นาฬิกา ให้นํา้ กินตลอดเวลา และทําความสะอาดรางนํา้ เช้าและบ่ายเวลาเดียวกับท่ีให้อาหาร อาหารท่ีใช้เลีย้ งไก่สาวเป็ นอาหารท่ีมีโปรตีน 12% พลงั งานใช้ประโยชน์ได้ 2,900 กิโลแคลอร่ีตอ่ กิโลกรัม แคลเซียม 0.9% ฟอสฟอรัส 0.45% เกลือ 0.55% และแร่ธาตไุ วตามินท่ีต้องการ ดงั ตาราง ที่ 6.8

275 ตารางท่ี 6.7 นํา้ หนกั ไก่สาว จํานวนอาหารที่จํากดั ให้กิน และวิธีการจดั การอื่นที่เกี่ยวข้องสําหรับ ไกส่ าวอายุ 17 - 26 สปั ดาห์ อายไุ กส่ าว นํา้ หนกั ตวั (กรัม/ตวั ) จํานวนอาหารที่ให้ การจดั การอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง (สปั ดาห์) (กรัม/ตวั /วนั ) 17 1,662 68 - ถ่ายพยาธิและอาบนํา้ ฆา่ เหาไรไก่ 18 1,737 70 กอ่ นแมไ่ กเ่ ร่ิมไข่ 19 1,784 70 - ให้แสงสวา่ งไมเ่ กิน 11-12 ชว่ั โมง 20 1,861 70 - แมไ่ กเ่ ร่ิมไข่ 21 1,870 70 22 1,880 70 23 1,889 80 - จํากดั อาหารให้กินไมเ่ กินตวั ละ 80 24 1,898 80 กรัม/ตวั /วนั 25 1,980 80 26 1,981 80 ท่มี า: ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วิจยั และบํารุงพนั ธ์สุ ตั ว์เชียงใหม่ (2555) 3.4 การเลีย้ งไก่พอ่ แมพ่ นั ธ์ุอายุ 26 - 72 สปั ดาห์ มีหลกั ในการเลีย้ งดดู งั นี ้ 3.4.1 ไก่สาวจะเร่ิมไข่ฟองแรกเมื่ออายปุ ระมาณ 6 - 7 เดือน เมื่อไก่เร่ิมไข่ให้ เปล่ียนสตู รอาหารใหม่ ให้มีโภชนะเพ่ิมขนึ ้ เพื่อไก่นําไปสร้างไขร่ วมทงั้ เพ่ิมแร่ธาตแุ คลเซียม จาก เดมิ 0.90% เป็ น 3.75% ฟอสฟอรัสใช้ประโยชน์ 0.35% เพื่อนําไปสร้างเปลือกไข่ (ตารางที่ 6.9) สว่ นไก่พนั ธ์ุให้อาหารเช่นเดียวกบั แม่ไก่ แตม่ ีธาตแุ คลเซียมตํ่ากว่า คือ 0.90% และฟอสฟอรัส 0.45% เทา่ กบั อาหารไก่รุ่นหนมุ่ สาว ทงั้ นีเ้พราะไก่พอ่ พนั ธ์ุไม่ไข่ จงึ ไมจ่ ําเป็ นต้องให้แคลเซียมและ ฟอสฟอรัสสงู และอีกประการหนงึ่ การให้ธาตแุ คลเซียมสงู เชน่ เดียวกบั ไก่แมพ่ นั ธ์ุหรือให้อาหารสตู ร เดียวกบั ไก่แมพ่ นั ธ์ุนนั้ จากการวิจยั พบวา่ ทําให้การผสมพนั ธ์ุของพ่อแมไ่ ก่ไมด่ ี มีนํา้ เชือ้ น้อย และ ผสมไมค่ อ่ ยตดิ ดงั นนั้ การจดั การที่ดี จงึ ควรแยกสตู รอาหารให้ไก่พอ่ แมพ่ นั ธ์ุ กินจํานวนอาหารที่ให้ แมไ่ ก่กินอย่รู ะหว่าง 70 - 80 กรัมตอ่ ตวั ตอ่ วนั การให้อาหารมากกวา่ นี ้ เชน่ วนั ละ 90 - 100 กรัม จะลดไขล่ งและแมไ่ กจ่ ะอ้วน จงึ ควรให้อาหารแบบจํากดั อย่ทู ่ี 80 กรัม ตามตารางที่ 6.10

276 ตารางท่ี 6.8 สว่ นประกอบของอาหารไก่สาวอายุ 17 - 26 สปั ดาห์ และสตู รอาหาร สว่ นประกอบในอาหาร % ในอาหาร วตั ถดุ บิ สตู รอาหารผสม (กิโลกรัม) ผสม 1 23 โปรตนี 12.00 ข้าวโพด 73.00 63.75 - กรดอะมโิ นที่จําเป็น รําละเอียด 5.00 18.00 - ไลซีน 0.53 กากถวั่ เหลือง 44% 12.25 11 - เมทไธโอนีน+ซีสตนิ 0.48 ใบกระถิน 4.00 - - ทริปโตเฟน 0.12 ปลาป่ น (55%) 3.00 5 - ทริโอนีน 0.45 เปลือกหอยป่ น 1.00 0.5 - ไอโซลซู ีน 0.49 ไดแคลเซียมฯ 1.00 1.0 - อาร์จนิ ีน 0.68 เกลือป่ น 0.5 0.5 - ลซู ีน 1.27 พรีมิกซ์ 0.25 0.25 - เฟนิลอะลานี+ไทโรซีน 1.04 สมนุ ไพร (กรัม) 180.00 180.00 - อิลติดนิ 100 รวม 100.00 100.00 100.00 เวลีน 0.64 หมายเหต:ุ 1. ปลายข้าวโพด และข้าวเปลือกแทน ไกลซีน + เซรีน 0.047 กนั ได้ คณุ คา่ ทางโภชนะ 2. ถว่ั เหลืองเมล็ดต้องต้มสกุ ก่อนใช้ พลงั งานใช้ประโยชน์ได้ 2,900 - 3. สมนุ ไพรมีสว่ นผสมเชน่ เดียวกบั ที่ใช้ (กิโลแคลอร่ี/กิโลกรัม) 3,000 เลีย้ งลกู ไกพ่ ืน้ เมือง แคลเซียม 0.90 ฟอสฟอรัส 0.45 เกลือ 0.50 ไวตามิน-แร่ธาตุ ++ ท่มี า: ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วิจยั และบํารุงพนั ธ์สุ ตั ว์เชียงใหม่ (2555)

277 ตารางท่ี 6.9 อาหารแมไ่ กผ่ สมพนั ธ์ุ วตั ถดุ บิ สตู รอาหาร โภชนะในอาหาร ต้องการ 123 โภชนะ 1. ข้าวโพด 60.50 63.50 66.06 1. โปรตนี 15 - 16 2. กากถวั่ เหลือง (44%) 24.00 21.00 14.63 2. พลงั งานใช้ประโยชน์ 2,900.0 (กิโลแคลอร่ีตอ่ กิโลกรัม) 3. ใบกระถิน 4.00 4.00 4.00 3. ไขมนั 3-4 4. ปลาป่ น (55%) - - 5.00 4. เยื่อใย 4-5 5. เปลือกหอย 8.50 8.50 8.50 5. แคลเซียม 3-75 6. ไดแคลเซียม (P/18) 2.10 2.10 1.00 6. ฟอสฟอรัสใช้ได้ 0.35 7. เกลือ 0.50 0.50 0.50 7. ไลโนลิอิค 1.00 8. DL - เมทไธโอนิน 0.10 0.10 0.06 8. ไลซีน 0.71 9. พรีมิกซ์แมไ่ ก่ไข่ 0.30 0.30 0.25 9. เมท + ซีส 0.61 10. สมนุ ไพร (กรัม) 180.00 180.00 180.00 10. ทริปโตเฟน 0.15 หมายเหตุ: - อาหารท่ีไกพ่ ่อพนั ธ์ไุ ด้ลดเปลือกหอย และไดแคลเซียมลงเหลือ 1.0 กิโลกรัม และเพมิ่ ข้าวโพดขนึ ้ แทน นอกนนั้ คงเดมิ - สมนุ ไพร 180 กรัม ผสมจากฟ้ าทะลายโจร 144 กรัม + ขมนิ ้ 7 กรัม + ไพล 29 กรัม เป็นนํา้ หนกั แห้ง ท่มี า: ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วิจยั และบํารุงพนั ธ์ุสตั ว์เชียงใหม่ (2555) 3.4.2 สิ่งที่ต้องการปรับนอกจากเรื่องอาหาร คือ แสงสว่าง เพราะมีผลกระทบ โดยตรงกับอตั ราไข่ การให้แสงสว่างตอ่ วนั ไม่เพียงพอแม่ไก่จะลดไข่ลง แม้ว่าจะให้อาหารอุดม สมบรู ณ์ครบทกุ หมแู่ ละการจดั การเรื่องอื่นๆ แสงเก่ียวข้องกบั การสร้างฮอร์โมนที่ใช้ในกระบวนการ ผลิตไข่ของแม่ไก่ แสงสวา่ งที่เพียงพอควรมีความเข้ม 1 ฟตุ ในระดบั ตวั ไก่ และต้องให้แสงสว่างวนั ละ 14 - 15 ชวั่ โมงติดตอ่ กนั การให้แสงสว่างมากกว่านีไ้ ม่ดี เพราะทําให้ไก่ไขเ่ ป็ นเวลากระจดั กระจาย บางครัง้ ไข่กลางคืน ไก่จะจิกกนั ตื่นตกใจง่าย และมดลกู ทะลกั ออกมาข้างนอก การ จดั การแสงสวา่ งให้เป็ นระบบตดิ ตอ่ เนื่องกนั วนั ละ 14 - 15 ชวั่ โมง แม่ไก่จะไข่ก่อนเวลา 14.00 นาฬิกาทกุ วนั จากการเลีย้ งไก่หนมุ่ สาวอายุ 15 - 20 สปั ดาห์ จํากดั เวลาการให้แสงสว่างเพิ่มขึน้

278 สปั ดาห์ละ 1 ชวั่ โมง จนถึงวนั สดุ ท้ายวนั ละ 14 - 15 ชวั่ โมง แล้วหยดุ เพ่ิมและรักษาระดบั นี ้ ตลอดไปจนกวา่ แมไ่ ก่จะหยดุ ไขแ่ ละปลดวาง การให้แสงด้วยหลอดไฟนีออนให้ผลดีกว่าหลอดไฟที่ มีไส้ทงั สเตนที่ใช้กนั ในบ้านทว่ั ๆ ไป เพราะใช้งานได้ทนและประหยดั ไฟกวา่ ไม่สิน้ เปลืองคา่ ไฟฟ้ า มากเท่ากับหลอดท่ีมีไส้ดงั กล่าว สําหรับสีของแสงควรให้เป็ นสีขาวเพราะหาได้ง่ายราคาถูกและ ให้ผลดกี วา่ สีอ่ืนๆ ตารางท่ี 6.10 มาตรฐานปริมาณอาหารท่ีกินตอ่ วนั และอตั ราการไขข่ องแมไ่ กท่ ่ีอายตุ า่ งๆ กนั เริ่ม จากแมไ่ ก่ไขฟ่ องแรกของไก่พืน้ เมือง อตั ราการไข่ (เดือนที่) อตั ราการไขต่ อ่ เดอื น (ฟอง) กินอาหาร (กรัมตอ่ ตวั ตอ่ วนั ) 1 5 70 2 10 70 3 11 70 4 12 80 5 12 80 6 10 80 7 9 70 8 9 70 9 9 70 10 8 70 11 8 70 12 8 70 รวมไข่ 111 ฟองตอ่ ตวั ตอ่ ปี 28.2 กิโลกรัมตอ่ ปี ตอ่ ตวั ท่มี า: ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วิจยั และบาํ รุงพนั ธ์สุ ตั ว์เชียงใหม่ (2555) การคํานวณความเข้มของแสงเทา่ กบั 1 - 2 ฟตุ ในระดบั กรงไก่หรือตวั ไกค่ ํานวณ ได้จากสตู รดงั นี ้ ความเข้มของแสง = แรงเทียนของหลอดไฟ x ระยะทางเป็ นฟตุ จากหลอดไฟถงึ ระดบั หวั ไก่ (ฟตุ )

279 โดยสรุปใช้หลอดนีออน 40 วตั ต์ตอ่ พืน้ ที่ 200 ตารางฟตุ ติดหลอดไฟสงู จากพืน้ ระดบั เพดานคอก และวางหลอดไฟหา่ งกนั 10 - 14 ฟุต สําหรับเปิ ดไฟเสริมจากเวลา 18.00 - 21.00 นาฬิกา ของทกุ คนื เพ่ือให้ได้แสงสวา่ งตดิ ตอ่ กนั 14 - 15 ชวั่ โมง 4. นกยงู ซ่ึง จิตรกร บวั ปลี (2547, หน้า 120 - 121) และ ยงู ไทยฟาร์ม (2557) รายงานว่า มีการจดั การเลีย้ งดนู กดงั นี ้ 4.1 การเลีย้ งดลู กู นกยงู อายุ 0 - 4 สปั ดาห์ อปุ กรณ์ตา่ งๆ ที่จําเป็ นสําหรับการเลีย้ งลกู นกยงู ระยะนี ้คือ อปุ กรณ์สําหรับให้นํา้ ให้อาหารเครื่องกกลกู นก และวสั ดรุ องพืน้ เป็ นต้น ซึ่งผ้เู ลีย้ ง จะต้องเตรียมไว้ให้พร้อมกอ่ นท่ีจะทําการกกนอกจากนีอ้ ปุ กรณ์ดงั กลา่ วต้องผา่ นการฆ่าเชือ้ โรคแล้ว การเลีย้ งและการจดั การในระยะนีม้ ีความสําคญั มาก เพราะเป็ นชว่ งที่นกยงู มีการเจริญเตบิ โตเร็ว มาก ซงึ่ มีนํา้ หนกั ตวั ไมส่ อดคล้องกบั ขานกที่มีขนาดเล็ก จึงมกั เกิดปัญหาเกี่ยวกบั ขารับนํา้ หนกั ไม่ ไหวหรือขาผิดปกติ ดงั นนั้ เพื่อให้ได้นกยูงท่ีดีจึงต้องเอาใจใส่เป็ นอย่างมาก สําหรับข้อควรปฏิบตั ิ เก่ียวกบั การจดั การและเลีย้ งดลู กู นกยงู ระยะนีม้ ีดงั นี ้ 4.1.1 ตดิ ไฟเคร่ืองกกก่อนที่จะกกลกู นกยงู 3 - 4 ชว่ั โมงโดยตงั้ ไว้ท่ีอณุ หภูมิ 32.2 - 35 องศาเซลเซียส 4.1.2 เตมิ วิตามินในนํา้ สําหรับเลีย้ งลกู นกยงู ก่อนกกลกู นก 1 - 2 ชว่ั โมง เพ่ือปรับ อณุ หภมู นิ ํา้ ที่มีความแตกตา่ งจากสภาพแวดล้อมไมม่ ากนกั และให้กินนํา้ ผสมวติ ามิน 10 - 14 วนั 4.1.3 ลกู นกยงู อายุ 2 - 3 วนั แรก อาจไม่ต้องให้อาหาร เพื่อให้ลกู นกยงู ดดู ซึมและ ยอ่ ยไขแ่ ดงให้หมดก่อน จากนนั้ ให้อาหารข้นท่ีมีโปรตีน 20 - 22% พลงั งาน 2,700 กิโลแคลอรี่ แคลเซียม 1.4% ฟอสฟอรัส 0.7% หลงั จาก 7 - 10 วนั อาจให้หญ้าสดท่ีสบั เป็ นชิน้ เล็กๆ ช่วยให้ อจุ จาระมีกากการขบั ถา่ ยลกู นกยงู จะดขี นึ ้ และควรตงั้ หนิ เกล็ดไว้ให้กินชว่ ยในการบดยอ่ ยอาหาร 4.1.4 ระยะแรกลกู นกยูง ยงั ไม่รู้ท่ีให้นํา้ และอาหาร ให้นําลกู นกไปท่ีให้นํา้ แล้วจบั ปากจมุ่ นํา้ 2 - 3 ครัง้ เน่ืองจากนกยงู เป็นสตั ว์ชอบเลน่ ดงั นนั้ ในภาชนะให้อาหารอาจจะใส่ลกู บอล พลาสตกิ ลกู ปิ งปอง หรือลกู กอล์ฟ เพื่อให้ลกู นกยงู เล่นไปด้วยจิกกินอาหารไปด้วย ซ่งึ จะทําให้ลกู นกยงู กินอาหารได้มากย่งิ ขนึ ้ 4.1.5 ควรขยายวงล้อมกกออกทกุ ๆ 3 - 4 วนั การขยายกกออกมากหรือน้อยขนึ ้ กบั สภาพอากาศ และควรลดอณุ หภมู ิในการกกลงครัง้ ละ 5 องศาเซลเซียส โดยจะใช้เวลากกลกู นกยงู นานประมาณ 8 สปั ดาห์ ทงั้ นีใ้ ห้สงั เกตความสมบรู ณ์ของลกู นกด้วย

280 4.1.6 อตั ราส่วนของรางอาหารและรางนํา้ 4 เซนตเิ มตรต่อลกู นกยูง นํา้ หนกั 1 กิโลกรัม 4.1.7 อตั ราการเจริญเติบโตระยะแรกประมาณเดือนละ 3 - 5 นิว้ จนนกยงู สงู ถึง 1.5 - 2 ฟตุ อตั ราการเจริญเตบิ โตจะน้อยกวา่ เดือนละ 1 นวิ ้ 4.1.8 ให้แสงสวา่ งในโรงเรือนตลอด 24 ชวั่ โมงในระยะ 4 สปั ดาห์แรก หลงั จากนนั้ ให้แสงสวา่ งลดลงเหลือ 20 – 23 ชวั่ โมง 4.1.9 ควรตรวจดวู สั ดรุ องพืน้ จะต้องไมช่ ืน้ แฉะหรือแข็งเป็ นแผน่ หรือมีกล่ินของก๊าซ แอมโมเนีย ถ้ามีต้องรีบแก้ไขทนั ที 4.1.10 ควรสงั เกตอจุ จาระของนกยงู ตลอดเวลา นกยงู ที่ปกติจะถ่ายอจุ จาระออ่ น ไมแ่ ข็งแห้งหรือเป็นเมด็ อจุ จาระ ควรมีสีนํา้ ตาลดํา ถ้าพบวา่ แข็งอาจต้องเพ่ิมผกั และนํา้ แตถ่ ้าเหลว เป็ นนํา้ และเป็ นสีขาวถ่ายบอ่ ย แสดงว่ามีการตดิ เชือ้ ในลําไส้ ปัสสาวะต้องเป็ นนํา้ ใสไม่เหนียวหรือ ขนุ่ ข้น 4.1.11 ควรเข้มงวดเรื่องสุขาภิบาล เม่ือนกยงู แสดงอาการผิดปกติ ต้องรีบหา สาเหตเุ พ่ือหาทางแก้ไขโดยดว่ นตอ่ 0ไป 4.2 การเลีย้ งนกยงู เล็ก (อายุ 1 - 3 เดือน) เมื่อครบกําหนดกกลกู นกยงู หรือเห็นวา่ ลกู นกแข็งแรงดีแล้ว ให้ยกเคร่ืองกกออกแต่ต้องทําด้วยความระมัดระวัง อย่าให้ต่ืนตกใจโดยมีการ จดั การดงั นี ้ 4.2.1 ยกเครื่องกกออกและสงั เกตอาการของลกู นกยงู หากพบอาหารผิดปกติให้ รีบหาสาเหตแุ ละแก้ไขโดยทนั ที 4.2.2 ภาชนะท่ีให้อาหารควรทําความสะอาดอยา่ งน้อยวนั ละ 1 ครัง้ และให้อาหาร นกยงู เล็กครัง้ ละน้อยๆ วนั ละ 4 - 5 ครัง้ สว่ นภาชนะที่ให้นํา้ ควรทําความสะอาดอยา่ งน้อยวนั ละ 2 ครัง้ และมีนํา้ ให้นกยงู กินตลอดเวลาด้วย 4.2.3 เมื่อลกู นกยงู สมบรู ณ์แข็งแรงดีแล้ว ควรปลอ่ ยให้ลกู นกออกไปเดินเลน่ เพื่อ ไมใ่ ห้ลกู นกเกิดความเครียด ซงึ่ จะทําให้ลกู นกแขง็ แรงและกินอาหารได้มากยิ่ง0ขนึ ้ 4.2.4 ตรวจสุขภาพของลูกนกยูงเป็ นประจําทุกวนั ตลอดจนสภาพแวดล้อม การ ระบายอากาศและสภาพของวสั ดุ รองพืน้ ให้อยใู่ นสภาพที่เหมาะสม 4.2.5 บนั ทึกอตั ราการตาย การกินอาหาร การให้ยาหรือวัคซีน การเจริญเติบโต ตลอดจนข้อมลู ตา่ งๆ ที่จะเป็นประโยชน์ในการพจิ ารณาแก้ไขเม่ือเกิดปัญหา 4.3 การเลีย้ งนกยงู รุ่น (อายุ 4 - 23 เดอื น) มีแนวทางการเลีย้ งดดู งั นี ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook