Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือพิมาย V2

หนังสือพิมาย V2

Published by wittaya.mo, 2020-10-16 08:00:53

Description: หนังสือพิมาย V2

Search

Read the Text Version

นำ ช ม อุ ท ย ำ น ป ร ะ วั ติ ศ ำ ส ต ร์ พิ ม ำ ย พมิ าย

กำรพฒั นำหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ บบปฏิสมั พนั ธด์ ้วยเทคโนโลยีควำมจรงิ เสรมิ พหภุ ำษำ เพอื่ ส่งเสรมิ กำรท่องเทย่ี วเชงิ ประวัติศำสตร์ในจงั หวดั นครรำชสีมำ มหำวิทยำลยั เทคโนโลยี กรมศิลปำกร พระจอมเกลำ้ พระนครเหนือ นครรำชสมี ำ พมิ ำย ก มรดกชำติ

ค่มู ือกำรใช้หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์แบบปฏสิ ัมพนั ธด์ ้วยเทคโนโลยคี วำมจรงิ เสริมพหุภำษำ เพอื่ ส่งเสรมิ กำรทอ่ งเที่ยวเชงิ ประวัตศิ ำสตรใ์ นจังหวดั นครรำชสีมำ 12 3 ดำวนโ์ หลดแอพพลเิ คชนั่ แสกนโค้ด Zappar ปรำกฏภำพซอ้ นขึ้นมำ Zappar ฟรี ซง่ึ รองรับท้งั ระบบ โดยแสกนภำพรวมของรูปภำพ สำมำรถเลือกรำยกำรทีต่ ้องกำร android และระบบ iOS แบบปฏิสัมพนั ธ์ได้ทันที พมิ ำย ข มรดกชำติ

คำนำ กรมศิลปากรได้ปฏิบัติภารกิจหลักด้านอนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติมาอย่างต่อเน่ือง ตั้งแต่แรกสถาปนาเมื่อพุทธศักราช 2454 จนย่างเขา้ สู่ 100 ปี ในพทุ ธศกั ราช 2554 มโี บราณสถานสาคัญไดร้ บั การอนรุ กั ษ์ และพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้แหละแหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมของประเทศ กระจายอย่ทู ่วั ราชอาณาจักร ปราสาทหินพิมาย เปน็ มรดกทางศิลปวฒั นธรรมของชาติประเภทโบราณสถานในคติพุทธศาสนาลัทธิมหายานที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สร้างขึ้น ราวปลายพุทธศตวรรษท่ี 16-17 และได้มีการก่อสร้างเพ่ิมเพ่ิมในพุทธศตวรรษที่ 18 เมืองพิมายได้รับการประกาศเป็นโบราณสถานของ ชาติ ในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 53 ตอนท่ี 34 ลงวันท่ี 17 กันยายน พุทธศกั ราช 2479 และกรมศิลปากรได้ดาเนินงานอนุรักษ์และทางศิลปวัฒนธรรม จนประกอบพิธี เปิดอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย เมื่อวันท่ี 12 เมษายน พุทธศักราช 2532 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดาเนินทรงเป็นประธาน อุทยานประวัติศาสตร์พิมายได้ดาเนินงานในการกิจด้านเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม โดยให้บริการข้อมูลทาง การศึกษาการจัด วิทยากรบรรยายนาชม การแจกเอกสารแผน่ พับและการพมิ พ์เผยแพร่ หนงั สือนาชมอุทยานประวตั ิศาสตรพ์ มิ าย ไดจ้ ัดพมิ พเ์ ผยแพร่ครัง้ น้นี บั เปน็ ครั้งท่ี 5 กรมศิลปากรหวังว่า หนังสือเล่มน้ีคงเป็นประโยชน์แก่นักท่องเท่ียวและประชาชนโดยท่ัวไปอันจะก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และ สร้างความร่วมมือใน การอนุรักษ์มรดกทางศลิ ปวฒั นธรรมของชาตใิ ห้ดารงอยสู่ บื ไป โสมสดุ า ลียะวณชิ อธิบดีกรมศิลปากร พิมำย ค มรดกชำติ

คำนำผู้พัฒนำหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ การพัฒนาหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์แบบปฏิสัมพันธด์ ้วยเทคโนโลยีความจริงเสรมิ พหุภาษาเพอ่ื ส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครราชสีมา จัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นผลงานระหว่างศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อ การศึกษา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ ในรายวชิ าระเบียบวิธวี ิจยั โดยบรู ณาการองค์ความรู้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศึกษาท่ีได้ศึกษามาตลอดภาคเรียนท่ี 2/2560 มาพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ซึง่ สามารถนาไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์แก่นกั ทอ่ งเทยี่ วและประชาชนทั่วไป และพรอ้ มนาไปใช้ในดา้ นการศึกษาตอ่ ไป วทิ ยา มนตรี พมิ ำย ง มรดกชำติ

สำรบญั 2 4 6 8 การเดนิ ทางส่พู ิมาย ปราสาทพมิ าย บริเวณที่ต้งั ของปราสาทพทิ าย ลักษณะทางสถาปตั ยกรรม 10 13 15 17 การดาเนินงานของกรมศิลปากร แผนผงั เมอื งพิมายและแผนผงั ปราสาทพมิ าย ทา่ นางสระผม ประตูและกาแพงเมอื ง 19 21 23 25 พลับพลาเปล้ืองเคร่ือง สะพานนาคราช ซ้มุ ประตูและกาแพงแก้ว ชาลาทางเดนิ พิมำย จ มรดกชำติ

27 29 31 33 บรรณาลยั สระน้า ซุ้มประตแู ละระเบยี งคด ปราสาทประธาน 35 37 39 41 ปรางค์หนิ แดง หอพราหมณ์ ปรางค์พรหมทตั พลบั พลา 43 45 47 49 เมรพุ รหมทตั อโรคยาศาล (กฏุ ิฤๅษ)ี สระนา้ โบราณ บาราย พมิ ำย ฉ มรดกชำติ



กำรเดนิ ทำงส่พู มิ ำย จดุ เร่ิมต้นท่ีกรุงเทพมหำนครสำมำรถเดินรถไปได้หลำยวิธี 1. รถ ปร ะจ ำท ำง จำก สถ ำนี ขน ส่ง สำ ย ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสารรถประจาทางสาย กรุงเทพ–นครราชสีมา มีท้ังรถโดยสารธรรมดาและรถ ประจาทางปรับอากาศ มีรถบริการตลอด 24 ช่ัวโมง และต่อรถโดยสารประจาทางสายนครราชสีมา–พิมาย –ชุมพวง ซ่ึงมีรถถงึ เวลาประมาณ 22.00 น. 2. รถไฟจำกสถำนีรถไฟหัวลำโพง โดยสาร รถไฟสายกรุงเทพ–อุบลราชธานี หรือ สุรินทร์ ลงท่ี สถานีนครราชสีมา และต่อรถโดยสารประจาทางสาย นครราชสีมา–พิมาย–ชุมพวง 3. เคร่ืองบิน จากสนามบินดอนเมืองไปลงท่ี สนามบินอาเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครราชสีมา และ ต่ อ ร ถ โ ด ย สา ร ข อ ง สน า ม บิน เ ข้ า ตั วเ มื อ ง นครราชสีมา แล้วโดยสารรถประจาทางสาย นครราชสีมา–พิมาย–ชมุ พวง 4. รถยนตเ์ ดนิ ทำงจำกกรงุ เทพฯ ตามทางหลวง หมายเลข 1 (พหลโยธิน) และทางหลวงหมายเลข 2 (มิตรภาพ) ระยะทาง 259 กิโลเมตร ถึงจังหวัด นครราชสีมา เดินทางต่อตามทางหลวงหมายเลข 2 (มิตรภาพ) ระยะทาง 50 กิโลเมตร ถึงทางแยกตลาด แคเล้ียวเข้าทางหลวงหมายเลข 206 อีก 10 กิโลเมตร รวมระยะทางถงึ อาเภอพิมาย 319 กโิ ลเมตร พิมำย 2 มรดกชำติ



ปรำสำทพิมำย ปราสาทพิมาย ต้ังอยู่ในอาเภอพิมาย จังหวัด นครราชสีมา ห่างจากตัวเมืองนครราชสีมา ประมาณ 60 กิโลเมตร เป็นศาสนสถานท่ีสร้างขึ้นในพุทธศาสนา ลัทธมิ หายาน ชื่อ “พิมำย” นั้น น่าจะเป็นคาเดียวกันกับช่ือ “วิมำย” ที่ปรากฏอยู่ในจารึกอักษรขอมโบราณภาษา สนั สกฤต บนแผ่นหินกรอบประตูระเบียงคดด้านทิศใต้ ของปราสาทพิมาย คาว่า “พิมำย” น้ัน ปรากฏเป็นช่ือเมืองในศิลา จารึกพบในประเทศสาธารณรัฐกัมพูชาประชาธิปไตย หลายแห่ง แม้รูปคาจะไม่ตรงกันทีเดียวนัก แต่เป็นท่ี เช่ือกันว่าหมายถึง เมืองพิมายอันเป็นที่ต้ังของ ปราสาทพมิ าย โดยเรียกว่าเมืองวิมาย หรือวิมายะปุระ (จารึกปราสาทพระขรรค์ พุทธศตวรรษท่ี 18) โดยเฉพาะข้อความในจารึกปราสาทพระขรรค์ท่ีกล่าว ว่า พระเจ้าชยั วรมนั ท่ี 7 โปรดให้สร้างท่ีพักคนเดินทาง จากราชธานีมาเมืองพิมาย รวม 17 แห่ง แสดงถึง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ อั น ใ ก ล้ ชิ ด ร ะ ห ว่ า ง เ มื อ ง พิ ม า ย กั บ อาณาจักรเขมร และแสดงว่าเป็นเมอื งสาคญั ไม่นอ้ ย พิมำย 4 มรดกชำติ



บรเิ วณท่ีต้ังของปรำสำทพมิ ำย เมื่อดูจากภาพถ่ายทองอากาศจะเห็นได้ชัดว่า เป็น  ภาพถ่ายมุมสงู เมอื งพิมาย เมืองโบราณขนาดใหญ่มีผังเป็นรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า มีคูและ กาแพงเมืองลอ้ มรอบ มีศาสนสถานอยู่กลางเมืองแวดล้อม ชุมชนใหญ่น้อยรายรอบเป็นกลุ่มใหญ่ ตัวเมืองพิมายเอง ต้ังอยู่ท่ีทาเลที่ดีและอุดมสมบูรณ์ เพราะมีลาน้าไหลผ่าน รอบเมือง ได้แก่ แม่น้ามูลไหลผ่านทางด้านทิศเหนือ และ ทิศตะวันออก ด้านทิศใต้มีลาน้าเค็ม ทางด้านทิศตะวันตก มี ล า น้ า จั ก ร า ช ไ ห ล ผ่ า น ไ ป บ ร ร จ บ กั บ แ ม่ น้ า มู ล ที่ ท่ า สงกรานต์ บริเวณโดยรอบเป็นท่ีราบลุ่มสามารถทาการ กสิกรรมได้ดี มีแหล่งน้าเพ่ืออุปโภคบริโภคภายในเมือง ได้แก่ สระแก้ว สระพลุ่ง สระขวัญ สระน้าท่ีขุดขึ้น ภายนอกเมือง คือสระเพลงทางทิศตะวันออก สระโบสถ์ และสระเพลงแห้งทางทิศตะวันตกและอ่างเก็บน้า (บา ราย) ขนาดใหญอ่ ยูท่ างทิศใต้ พมิ ำย 6 มรดกชำติ



ลกั ษณะทำงสถำปัตยกรรม สิ่งก่อสร้าง ท่ีประกอบกันข้ึนเป็นปราสาทพิมาย นั้น มีแผนผังเป็นระเบียบได้สัดส่วนสัมพันธ์ตาม กฎเกณฑ์ที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา ซ่ึงต้องใช้กาลังคน เวลา และความอุตสาหะเป็นอย่างสูง ส่ิงก่อสร้าง ท่ียิ่ง ใหญ่เ หล่าน้ีแสด ง ถึง พลัง แ ห่ง ศรัทธา อัน แรง กล้ า ทมี่ ีตอ่ ศาสนา พรอ้ มกนั นนั้ ก็ยังแสดงถึงบารมีอันย่ิงใหญ่ ของผู้สร้าง ท่ีสามารถนาเอาแรงงานมนุษย์มากมาย มหาศาลมาเนรมิตศาสนสถานซ่ึงเปรียบเสมือนจักวาล จาลองขึ้นไว้ในโลกมนุษย์ สิ่งท่ีค่อนข้างจะพิเศษต่างไป ปราสาทพิมาย คงจะเร่ิมสร้างมาตั้งแต่ปลาย จากปราสาทอื่นๆ คือในขณะที่ปราสาทอื่นส่วนใหญ่ พุทธศตวรรษท่ี 16 –พุทธศตวรรษท่ี 17 และได้มี หันหน้าไปทางทิศตะวันออก แต่ปราสาทพิมายกลับ การก่อสร้างเพิ่มเติมอีกในพุทธศตวรรษท่ี 18 ท้ังน้ี สร้างหันหน้าไปทางทิศใต้ ท้ังน้ีสันนิษฐานกันว่าคงจะ โดยกาหนดอายุจากหลักฐานต่างๆ เช่น ศิลาจารึก สร้างหนั หน้าไปสู่เมืองพระนครเมืองหลวงของอาณาจักร ลักษณะทางสถาปัตยกรรม และภาพจาหลักประดับ เขมรหรอื เป็นคติทางศาสนาทคี่ วรศึกษากันตอ่ ไป สถาปัตยกรรม ซ่ึงในปราสาทแบบศิลปกรรมเขมร นิยมแกะสลักลงในเน้ือหินต่างๆ ของอาคาร เช่น หน้าบัน เสาประดับกรอบประตู และเสา ประดับผนัง ภาพจาหลักเหล่านี้นอกจากจะแสดง ลักษณะทางศิลปะท่ีช่วยให้กาหนดอายุสมัยได้แล้ว ยังสามารถศึกษาคติทางศาสนาขนบธรรมเนียม ประเพณี ตลอดจนชีวติ ความเปน็ อยู่ของผูค้ นในสมัย นน้ั ๆ พมิ ำย 8 มรดกชำติ



กำรดำเนินงำนของกรมศลิ ปำกร  ปราสาทพมิ ายก่อนบูรณะ พ.ศ. 2479 ประกาศข้ึนทะเบียนเมืองพิมายใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 53 ตอนท่ี 34 ลงวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2507-2512 ได้รับความช่วยเหลือจาก รัฐบาลฝร่ังเศส ผ่านทางองค์การสนธิสัญญาป้องกัน ร่วมกัน แห่งเอ เชียตะ วันออ กเฉียง ใต้ (ส.ป.อ ) ดาเนินการบูรณะปราสาทพิมายด้วยวิธีอนัสติโลซิส (Anastylosis) โดยมี นายแบร์นาร์ค โกรส์ลิเยร์ (Bernard Phillip Groslier) นักโบราณคดีชาวฝร่ังเศส และศาสตราจารย์หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ เป็น ผอู้ านวยการบรู ณะ  ศาสตราจารย์หมอ่ มเจ้ายาใจ จติ รพงศ์ และ ผเู้ ชยี วชาญชาวฝร่งั เศสเมื่อคร้งั บูรณะ ปราสาทพิมาย  ปราสาทพมิ ายเม่อื คร้ังยังบรู ณะไม่แล้วเสรจ็ พมิ ำย 10 มรดกชำติ



พ.ศ. 2519-2532 กรมศิลปากรไดจ้ ดั ตงั้ โครงการ อุทยานประวัติศาสตร์พิมายขึ้น ทาการ บูรณะ และปรับปรุงเมืองพิมายจนแล้วเสร็จ และเปิดเป็น อุทยานประวัติศาสตร์ให้ประชาชนท่ัวไปได้เข้าชมโดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ พระราชดาเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเมื่อ วนั ท่ี 12 เมษายน 2535 ปจั จบุ ันอุทยานประวัติศาสตร์พิมายสังกัดสานัก ศิลปากรที่ 12 นครราชสีมา เป็นหน่วยงานหลักใน การดูแลบารุงรักษาโบราณสถานโดยรอบเมืองพิมาย ใหม้ สี ภาพมั่นคงแข็งแรงสวยงามและสะอาดเหมาะสม แก่ ก าร ท่อ ง เท่ียว ตลอ ดจน บริก าร ข้อ มูล ทา ง ด้ า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ โ บ ร า ณ ค ดี ข อ ง เ มื อ ง พิ ม า ย แ ก่ นักทอ่ งเที่ยวและประชาชนผู้สนใจโดยท่ัวไป  สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ เป็นองคป์ ระธานในพิธีเปิดอุทยานประวัตศิ าสตรพ์ มิ าย เมอื่ วันท่ี 12 เมษายน 2532 พมิ ำย 12 มรดกชำติ

แผนผงั เมืองพิมำย และแผนผังปรำสำทหนิ พมิ ำย แผนผังเมอื งพมิ ำย ในเมอื ง นอกเมือง 1.ปราสาทพมิ าย ดำ้ นตะวันออก 2.ประตูทศิ ใต้ (ประตูชยั ) 3.ประตเู มืองทศิ เหนือ 15.บา้ นส่วย 4.ประตูเมืองทิศเหนอื 16. สระเพลง 5.ประตเู มืองทศิ ตะวนั ตก 17.ดันดินโบราณ 6.สระรึ 18.กุฏิฤๅษี 7.สระมะคา่ 19.คันดนิ โบราณ 8.สระแมว 20.คันดนิ โบราณ 9.สระขวัญ 21.คันดนิ โบราณ 10.สระพล่งุ 22.สระช่องแมว 11.สระยาง 23.คดั ดินโบราณ 12.สระแกว้ 24.บารายใหญ่ และวดั โคก 13.เมรุน้อย 14.เมรุพรหมทัต ดำ้ นตะวันตก 25.สระโบสถ์ 26.สระเพลงแห้ง 27.คนั ดินโบราณ พมิ ำย 13 มรดกชำติ

แผนผงั เมอื งพมิ ำย ประกอบดว้ ย 1.พลับพลาเปล้ืองเคร่อื ง 2.สะพานนาคราช 3.กาแพงช้ันนอก(กาแพงแกว้ ) 4.โคปุระชนั้ นอกท้ัง 4 ทิศ 5.ชาลาทางเดนิ 6.กาแพงชั้นใน (ระเบยี งคด) 7.โคปุระช้นั ในทั้ง 4 ทศิ 8.บรรณาลยั 9.ปรางค์หนิ แดง 10.หอพราหมณ์ 11.ปรางค์พรหมทัต 12.ปราสาทประธาน 13.พลบั พลา พมิ ำย 14 มรดกชำติ



ชื่อโบรำณสถำน ทา่ นางสระผม ทำ่ นำงสระผม เป็นโบราณสถานทอ่ี ยู่นอกกาแพงเมืองพิมายด้าน ทิศใต้ ริมฝ่ังลาน้าเค็มจากการขุดแต่งและบูรณะพบว่า มี ลักษณะเป็นฐาน อาคารสร้างด้วยศิลาแลงก่อข้ึนเป็นฐาน รูปกากบาท มีบันไดข้ึนลงได้ 3 ด้าน คือด้านริมน้าและ ด้านขา้ ง 2 ดา้ น ทพี่ นื้ ของท่าน้ามีร่องรอยหลุมเสาอยู่ที่มุม ทุกด้าน ระหว่างการขุดแต่งพบกระเบื้องดินเผาจานวน มากแสดงว่ารูปทรงของอาคารน้ีคือ ศาลาจัตุรมุข หลังคา แบบเครือ่ งไม้ มงุ กระเบ้อื งดินเผาสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นใน ราวพุทธศตวรรษที่ 18  ท่านางสระผมรมิ ล้านา้ เค็ม พิมำย 16 มรดกชำติ



ช่ือโบรำณสถำน ประตูและกาแพงเมือง ประตแู ละกำแพงเมือง กาแพงเมือง ทาเป็นแนวคันดินสูง แผนผังรูป  ประติมากรรมเศียรพระโพธิสตั วอ์ วโลกิเตศวร ส่เี หลย่ี ม มปี ระตกู อ่ เปน็ ซุ้มด้วยศิลาแลงและหนิ ทราย ด้าน ละ 1 ประตู ปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 3 ด้าน คือ ด้านทิศ เหนือ มีช่ือว่า “ประตูผี” ด้านทิศใต้ มีช่ือว่า “ประตูชัย” ด้านทิศตะวันตก มีช่ือว่า “ประตูหิน” จากการขุดแต่ง ประตูเมืองด้านทิศใต้ โดยหน่วยศิลปกรท่ี 6 ในปี พ.ศ. 2530 พบโบราณวัตถุที่สาคัญ คือ เศียรพระโพธิสัตว์ อวโลกิเตศวรทาจากหินทราย และประติมากรรมรูปนาง ปรชั ญาปารมติ า จาจากสาเริด ประติมากรรมทั้งสองชิ้นนี้ ปรากฏลักษณะของศิลปกรรมเขมรแบบบายน และเมื่อ ประกอบกับลักษณะการก่อสร้างซุ้มประตูที่ก่อด้วยศิลา แลงแล้ว จึงอาจกล่าวได้ว่าซมุ้ ประตูเมืองนี้สร้างขึ้นในพุทธ ศตวรรษที่ 18 นอกจากนีแ้ นวกาแพงเมอื งดา้ นทิศใต้ยังพบ ร่องรอยแนวถนนโบราณเดิมคงเป็นเส้นทางซ่ึงอาณาจัก เขมรใช้เป็นเส้นทางคมนาคม เพื่อประโยชน์ทางการค้า และเผยแพร่วัฒนธรรมส่ดู นิ แดนแถบนี้  ประตมิ ากรรมนางปรชั ญาปารมิตา ส้าริด พมิ ำย 18 มรดกชำติ



ชอ่ื โบรำณสถำน พลับพลาเปลอ้ื งเคร่อื ง พลับพลำเปลอ้ื งเคร่ือง ต้ังอยู่บริเวณด้านซ้ายมือของทางเดินเข้าสู่ตัว ปราสาท เปน็ อาคารรปู ส่ีเหลย่ี มผืนผา้ ขนาดกว้าง 26 เมตร ยาว 35.10 เมตร หันหนา้ ไปทางทศิ ตะวันออก จากการขุด แต่งบริเวณน้ีเมื่อ พ.ศ. 2511 พบกระเบ้ืองมุงหลังคา จานวนมาก นอกจากนี้ยังพบรูปเคารพเคร่ืองประดับและ เหรียญสาริดจานวนหนึง่ ภายในอาคาร จึงเป็นเหตุให้เรียก กันว่า “คลังเงิน” อยู่ระยะหนึ่ง จากตาแหน่งท่ีต้ัง สันนิษฐานว่าอาคารหลังน้ี คงใช้เป็นสถานที่พักเตรียม พระองค์สาหรับกษัตริย์หรือเจ้านายช้ันสูงที่เสด็จมา ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา รวมทั้งเป็นสถานที่พักจัด ขบวนส่งิ ของถวายต่างๆ  ภายในพลับพลาเปล้ืองเครอ่ื ง พิมำย 20 มรดกชำติ



ช่ือโบรำณสถำน สะพานนาคราช สะพำนนำครำช ต้ังอยู่บริเวณด้านทางเข้าโคปุระด้านทิศใต้ สร้าง ด้วยหินทราย มีผังเป็นรูปกากบาท กว้าง 4 เมตร ยาว 31.70 เมตร ยกพ้ืนสูงจากพ้ืนดินประมาณ 2.50 เมตร ราวสะพานทาเป็นลาตวั นาค ทปี่ ลายราวสะพานทาเป็นรูป นาคราชชูคอแผ่พังพานเป็นรูปนาค 7 เศียร อันเป็น ลักษณะท่ีนิยมในศิลปะเขมรแบบนครวัด ราวกลางพุทธ ศตวรรษที่ 17 สะพานน้ีถือเป็นจุดเร่ิมต้นในการเดิน ทางเข้าสู่ศาสนสถานอันศักด์ิสิทธิ์ ตามคติความเชื่อเรื่อง จกั รวาลเช่ือว่าเป็นเสน้ ทางเชือ่ มระหว่างโลกมนุษย์กับโลก สวรรค์ คตนิ สี้ บื ตอ่ กันมาในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ  สะพานนาคราช พมิ ำย 22 มรดกชำติ



ช่ือโบรำณสถำน ซุ้มประตแู ละระเบียงแกว้ ซุ้มประตูและกำแพงแก้ว ซุ้มประตูหรือโคปุระ มีลักษณะเป็นรูปกากบาท ตัง้ อยู่ทีก่ ่ึงกลางของแนวกาแพงแก้วทั้ง 4 ด้าน กาแพงแก้ว ก่อด้วยหินทราย สูงประมาณ 8 เมตร มีแผนผังเป็นรูป สีเ่ หล่ียมผืนผา้ ขนาดกวา้ ง 220 เมตร ยาว 275.5เมตร ถัด จากกาแพงแก้วเขา้ มาถอื ว่าเปน็ การเขา้ สู่ดนิ แดนสวรรค์อัน เปน็ ที่อยู่ของเทพเจ้า แ  ซมุ้ ประตหู รือโคปรุ ะ ช้ันนอก พมิ ำย 24 มรดกชำติ



ชื่อโบรำณสถำน ชาลาทางเดนิ ชำลำทำงเดิน เมื่ อ ผ่ าน ซุ้ ม ปร ะ ตู ด้า น ทิ ศใ ต้เ ข้า มา จะ เป็ น ล า น ช้ันนอกของปราสาท ปรากฏแนวทางเดินทอดไปยังซุ้ม ประตรู ะเบยี งคดด้านทิศใต้ แนวทางเดินน้กี ่อด้วยหินทราย ยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร แบ่งเป็นสามช่องทางเดิน จาก การบูรณะพบเศษกระเบื้องมุงหลังคาและบราลีดินเผา จานวนมาก เป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ทางเดินมี ลกั ษณะเป็นระเบยี งโปร่ง หลังคามุงกระเบื้อง รองรับด้วย เสาไมซ้ ึ่งผุพังไปหมดแลว้  ชาลาทางเดินตอ่ เช่อื มกบั ซ้มุ ประตู หรือโคปุระดา้ นทศิ ใต้ พิมำย 26 มรดกชำติ



ช่อื โบรำณสถำน บรรณาลยั บรรณำลยั ต้ังอยบู่ รเิ วณลานชัน้ นอกระหว่างซุ้มประตูกาแพง แกว้ และซุ้มประตูระเบียงคดด้านทิศตะวันออก มีลักษณะ เปน็ อาคารรูปสเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ผกพน้ื สูงก่อด้วยหินทราย กั้น เป็นห้องยาวตลอดแนว บริเวณพ้ืนห้องพบร่องรอยหลุม เสารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ระหว่างการขุดแต่งพบกระเบื้องมุง หลังคาดินเผาเป็นจานวนมาก สันนิษฐานว่าเดิมคงมี หลังคาเคร่ืองไม้มุงกระเบ้ือง อาคารทั้งสองหลังน้ีเป็น อาคารขนาดใหญ่ เช่ือกันว่าเป็นบรรณาลัยซ่ึงหมายถึง สถานทเ่ี กบ็ รกั ษาคัมภีรต์ ่างๆ ทางศาสนา  ภายในบรรณลยั พมิ ำย 28 มรดกชำติ



ชอ่ื โบรำณสถำน สระน้า สระน้ำ ตั้งอยู่ท่ีมุงท้ัง 4 ทิศ ของลานกาแพงปราสาท ช้ันนอก ภายในสระพบว่ามีการนาวัสดุจากชิ้นส่วน สถาปตั ยกรรม เชน่ เสาประดบั กรอบประตู นามาวางเรียง กันอย่างไม่เป็นระเบียบ เดิมบริเวณน้ีเคยเป็นท่ีตั้งของวัด ต่างๆ ซึ่งได้ย้ายไปตั้งใหม่นอกปราสาทแล้ว เช่น วัดสระ เพลง วัดพระปรางใหญ่ วัดโบสถ์ และวัดพระปรางน้อย สระเหลา่ นค้ี งขดุ ขึ้นเพ่ือประโยชน์ของวัดในการใช้อุปโภค บริโภค ในราวสมัยอยุธยาตอนปลายอย่างไรก็ตาม จาก การขุดพบค้นทางโบราณคดี เมื่อปี พ.ศ. 2558 พบ หลกั ฐานว่าสระนา้ ทีม่ มุ ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือน่าจะ สร้างรว่ มสมัยกบั ปราสาทประธาน  สระน้า 1 ใน 4 ทศิ ของลานก้าแพงปราสาทช้นั ใน พิมำย 30 มรดกชำติ



ช่อื โบรำณสถำน ซุ้มประตแู ละระเบยี งคด ซมุ้ ประตแู ละระเบียงคด ระเบียงคด ก่อด้วยหินทราย เป็นระเบียงทางเดิน  แผน่ ทองรปู ดอกบัว 8 กลีบ หลังคาซมุ้ โคง้ มแี ผนผังรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้าล้อมรอบปราสาท  จารึกบนกรอบประตู ประธาน มีซุ้มประตูอยู่กึ่งกลางทั้ง 4 ด้าน โดยมีตาแหน่ง ทตี่ ง้ั ตรงกบั แนวของประตูเมืองและประตูทางเข้าปราสาท ประธานปรากฏ หลักฐานสาคญั ทีซ่ ้มุ ประตูระเบียงคดด้าน ทศิ ใต้ คอื จารึกบริเวณกรอบประตูด้านทิศตะวันออกของ หอ้ งกลาง จารึกดว้ ยอักษรขอมโบราณภาษาเขมร ระบุช่ือ “กมรเตงชคตวิมาย” และกล่าวถึงการสร้างรูปเคารพ สาคัญ ชื่อ “กมรเตงชคตเสนาบดีไตรโลกยวิชัย” ตรงกับ พ.ศ. 1651 ตลอดจนปรากฏพระนามของขุนนางช้ันสูง และพระนามพระมหากษัตริย์ คือ พระเจ้าธรณีนทรวรมัน ที่ 1 จากการบูรณะบริเวณระเบียงคดในปี พ.ศ. 2532 ได้ พบแผน่ ทองดนุ ลายรูปดอกบวั 8 กลบี บรรจไุ ว้ในช่องที่ทา ไว้เฉพาะ ท่ีพื้นห้องของซุ้มประตูระเบียงคดเกือบทุกด้าน แผน่ ทองเหลา่ น้ีฝังไวเ้ พ่ือความเป็นศิริมงคล ตามประเพณี การสร้างปราสาทดังท่ีพบในปราสาทอ่ืนๆ อีกหลายแห่ง เช่น ปราสาทเมืองธม จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทพนมรุ้ง จังหวดั บรุ ีรัมย์ และปราสาทเมืองต่า จงั หวดั บรุ ีรัมย์  หลมุ บรรจุวตั ถมุ งคล พิมำย 32 มรดกชำติ



ปรำสำทประธำน ชอื่ โบรำณสถำน ปราสาทประธาน ภายในลานชั้นในซึ่งเป็นที่ตั้งของอาคารศาสน  ประดษิ ฐานพระพุธรปู นาคปรก สถานหลายหลัง ที่ตั้งอยู่ตรงกลางคือปราสาทประธาน เป็นศูนยก์ ลางและสาคัญท่ีสุด ปราสาทประธานสร้างด้วย หินทรายสีขาว สูง 28 เมตร หันหน้าไปทางทิศใต้ ซึ่ง แตกต่างจากศาสนสถานเขมรในท่อี น่ื ๆ ซึ่งมักจะหนั หนา้ ไป ทางทิศตะวันออก สร้างข้ึนราวพุทธศตวรรษที่ 16–17 ประกอบด้วยสว่ นสาคญั 2 ส่วน คือ มณฑป และเรือนธาตุ มีการสลักลวดลายประดับ ตามส่วนต่างๆ เช่น หน้าบัน ทับหลัง ด้านนอกสลกั เป็นภาพเล่าเรื่องรามเกียรติ์ ด้านใน สลักภาพเก่ียวกับพระพุทธศาสนาคติมหายาน ภายใน เรือนธาตุเป็นส่วนสาคัญที่สุดเรียกว่า “ห้องครรภคฤหะ” เปน็ ทปี่ ระดิษฐานพระพธุ รปู นาคปรก บริเวณพ้ืนห้อง ตรง มุมดา้ นทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีร่องน้ามนต์ต่อลอดผ่าน พ้ืนห้องไปทางดา้ นนอก เรียกว่า “ทอ่ โสมสูตร”  รอ่ งน้ามนต์ พิมำย 34 มรดกชำติ



ปรำงค์หนิ แดง ช่อื โบรำณสถำน ปรางค์หนิ แดง ก่อสร้างด้วยหินทรายสีแดงฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม  ทบั หลังตอนกรรณะล่าหมูป่า จัตุรัส ย่อมุมขนาดกว้าง 11.40 เมตร สูงประมาณ 15  ภายในปรางค์หนิ แดง เมตร มีประตูเข้าก่อเป็นมุขย่ืนออกไปทั้ง 4 ทิศ เนื่องจาก หินทรายสีแดงเส่ือมคุณภาพเร็วปราสาทองค์น้ีจึงผุพังไป มาก ยังมีทับหลังเหลืออยู่ในที่เดิม คือ เหนือกรอบประตู ด้านทิศเหนือ 1 ชิ้น ทาด้วยหินทรายสีแดงภาพสลักลบ เลือนแต่พบจะเห็นได้ว่าคงจะเป็นภาพเล่าเรื่องตอน กรรณะลา่ หมปู า่ ในเร่ืองมหาภารตะ จากการขุดลอกมูลดินที่ทับถมฐานปราสาทองค์นี้ ออกในปี พ.ศ. 2497 ได้พบแท่งหินที่ใช้ก่อฐานรากบาง ท่อนมีลวดลายจาหลัก แต่วางกลับข้างบนเป็นข้างล่าง แสดงว่าคงจะรื้อเอาของเก่ามาใช้ในการก่อสร้าง และ เน่อื งจากฐานของปราสาทองค์น้ีต่อเนื่องเป็นฐานเดียวกับ ฐานของอาคารท่ีเรียกว่า หอพราหมณ์ ส่ิงก่อสร้างท้ังสอง น่าจะสร้างข้นึ มาพร้อมกันสนั นิฐานวา่ อาจจะสร้างข้ึนหลัง ปราสาทประธาน ในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 17 พมิ ำย 36 มรดกชำติ



ชื่อโบรำณสถำน หอพราหมณ์ หอพรำหมณ์ เป็นอาคารก่อด้วยหินทรายแดงและศิลาแลง ต้ังอยู่ บ น ฐ า น เ ดี ย ว กั น กั บ ป ร า ง ค์ หิ น แ ด ง มี แ ผ น ผั ง เ ป็ น รู ป ส่ีเหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 6.50 × 17 เมตร มีมุขยื่นออกไป เป็นบันไดและประตูเข้าออกทางทิศตะวันออกและทิศ ตะวันตก ผนังด้านข้างของห้องมุขมีหน้าตางด้านละ 1 ชอ่ ง การขุดแต่งในปี พ.ศ. 2497 ได้พบศิวลึงค์ขนาดย่อม ทาด้วยหินทราย จึงเชื่อกันว่า อาคารหลังนี้เป็นเหตุให้ เรียกต่อๆ กันมาว่า หอพราหมณ์ แต่จากผังรูปแบบ โดยรวม และตาแหน่งท่ีต้ังที่เรียกว่าหอพราหมณ์น้ี คือ บรรณาลยั ของปราสาทนัน้ เอง  ภายในหอพราหมณ์ พมิ ำย 38 มรดกชำติ



ชอ่ื โบรำณสถำน ปรางคพ์ รหมทตั ปรำงคพ์ รหมทัต สร้างด้วยศิลาแลง ตั้งอยู่ด้านหน้าของปราสาท  ประตมิ ากรรมรปู พระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 ประธานทางทิศตะวัตออกเฉียงใต้ ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัส ประตูทาเป็นมุขย่ืนออกไปท้ัง 4 ด้าน ภายในองค์ ปรางค์พบประติมากรรมสาคัญ 2 ชิ้น คือ ประติมากรรม หนิ ทรายรปู บคุ คลขนาดใหญ่นัง่ ขัดสมาธิ สันนิษฐานว่าเป็น รูปของพระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 ชาวบ้านมักเรียกว่า ท้าว พรหมทัต ส่วนอีกช้ินหน่ึง เป็นประติมากรรมหินทรายรูป สตรีน่ังคุกเข่า สว่ นศรี ษะและแขนหักหายไป เช่อื วา่ เป็นรูป ของนางชยั ราชเทวีชาวบา้ นเรียกตามนิยายพ้ืนบา้ นว่า นาง อรพิม ปัจจุบันประติมากรรมท้ัง 2 ช้ินนี้จัดแสดงอยู่ใน พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตพิ มิ าย  ประตมิ ากรรมรปู พระนางชัยราชเทวมี เหสี พิมำย 40 มรดกชำติ



ชอ่ื โบรำณสถำน พลบั พลา พลบั พลำ ภายในลานช้ันในด้านทิศตะวันออกของปราสาท ประธาน มฐี านอาคารรปู รา่ งคล้ายฐานปราสาทก่อด้วยหิน ทรายสีแดง สูง 70 เซนติเมตร รูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 8.15 เมตร โดยเว้นเนื้อท่ีตรงกลางไว้เป็นช่องสี่เหล่ียม มี หลุมขนาดใหญ่อยู่ที่ขอบฐานตรงมุมของช่องว่างด้านข้าง สองด้านคือ ด้านทิศเหนือและทิศใต้มีบันได ด้านที่หันเข้า สู่ปราสาทประธานทาเป็นห้องมุขรูปสี่เหล่ียมผืนผ้าไม่พบ หลกั ฐานใดๆ ที่จะทาให้ทราบได้ว่าสร้างข้ึนเพื่อประโยชน์ ใชส้ อยอย่างไร  พลบั พลา พิมำย 42 มรดกชำติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook