Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรคถุงลมโป่งพอง

โรคถุงลมโป่งพอง

Published by apirat1991, 2016-05-06 13:51:31

Description: Emphysema

Keywords: none

Search

Read the Text Version

โรคถุงลมโป่ งพอง [Date] Emphysema INT633 Multimedia KMUTT

INT 633 Multimedia Technology Table of Content Page | 1

INT 633 Multimedia Technology โรคถุงลมโป่ งพองคืออะไร โรคถุงลมโป่ งพอง (Emphysema) ถือเป็ นส่วนหนึ่งของ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ซึ่งโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังประกอบไปด ้วย โรคหลอดลมอักเสบและถุงลมโป่ งพอง โดยปกติแล ้วจะพบ ลักษณะของ 2 โรคนี้ร่วมกัน แต่หากตรวจพบว่าปอดมีพยาธิ สภาพของถุงลมที่โป่ งพองออกเป็ นลักษณะเด่น ก็จะเรียกว่า “โรคถุงลมโป่ งพอง” สาเหตุหลักเกิดจากการสูบบุหรี่ การ รักษาคือการหยุดสาเหตุ และรักษาแบบประคับประคองตาม อาการซึ่งจะไม่ได ้ท าให ้พยาธิสภาพของโรคหายไป เพียงแค่ หยุดการด าเนินของโรค/การลุกลามของโรค และท าให ้อาการดี ขึ้น โรคถุงลมโป่ งพอง ซึ่งถือเป็ นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังนั้น เป็ น โรคที่พบได ้บ่อยและเป็ นสา เหตุล าดับต ้นๆของการเสียชีวิตใน ประชากรทั่วโลก โดยในประเทศสหรัฐอเมริกาพบเป็นล าดับที่ 4 ของสาเหตุการเสียชีวิตของประชากร หากนับเฉพาะโรคถุงลม โป่ งพอง อัตราการพบโรค คือ 18 คนในประชากร 1,000 คน ส าหรับในประเทศไทย โรคนี้ก็พบเป็ นสิบล าดับแรกของสาเหตุ การเสียชีวิต Page | 2

INT 633 Multimedia Technology อะไรเป็ นสาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง 1. การสูบบุหรี่ เป็ นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งรวมถึงบุหรี่ที่ ท าจากใบจากด ้วย ปริมาณและระยะเวลาที่สูบบุหรี่มี ความสัมพันธ์กับการเกิดโรค ยิ่งสูบบุหรี่มากและสูบมานาน หลายปี ก็มีโอกาสเกิดโรคนี้ได ้มาก แต่ไม่จ าเป็ นว่าผู้ที่สูบบุหรี่ ทุกคนจะต ้องเป็นโรคนี้ โดยเฉลี่ยผู้สูบบุหรี่ 5 คนจะเป็นโรคนี้ 1 คน การที่ไม่ได ้เป็ นโรคในผู้ที่สูบบุหรี่ทุกคน คาดว่าขึ้นอยู่กับ ปัจจัยของเรื่องพันธุกรรมในแต่ละบุคคล นอกจากนี้ผู้ที่ไม่ได ้สูบ บุหรี่เอง แต่ได ้รับควันบุหรี่จากผู้อื่นติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ก็มี โอกาสเกิดโรคนี้ได ้เช่นกัน 2. มลภาวะของอากาศ พบว่าประชากรที่อยู่อาศัยในเมือง ใหญ่ๆ มีอัตราการป่ วยเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ซึ่งก็รวมถึงโรค ถุงลมโป่ งพองมากกว่าประชากรในชนบท มลภาวะอากาศจึง น่าจะมีส่วนเกี่ยวข ้อง นอกจากนี้การท างานบางประเภทที่มีการ หายใจเอาละอองสารเคมีบาง อย่างเป็ นปริมาณมากและ ติดต่อกันเป็ นเวลานานๆ เช่น การท างานในเหมืองถ่านหิน งาน อุตสา หกรรมสิ่งทอจากฝ้าย งานอุตสาหกรรมพลาสติก และ งานเชื่อมโลหะ ก็พบว่า เป็นสาเหตุ/ปัจ จัยเสี่ยงด ้วยเช่นกัน Page | 3

INT 633 Multimedia Technology 3. เป็ นโรคทางพันธุกรรมที่ขาดเอนไซม์ (Enzyme) ชื่อ Alpha-one antitrypsin (เอนไซม์ป้องกันการถูกท าลายของ เนื้อเยื่อเกี่ยวพันจากสารต่างๆ) ซึ่งเป็ นโรคที่ถ่ายทอดไปสู่ ลูกหลานได ้ โดยความผิดปกติของสารพันธุกรรมพบได ้หลาย แบบแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ความผิดปกติบางชนิดท าให ้ เกิด ขาด เอนไซม์เพียงเล็กน้อยและไม่ได ้ท าให ้เกิด โรค ความผิด ปกติบางชนิด ท าให ้เกิดขาดเอนไซม์ได ้มากและ ส่งผลให ้เป็ นโรคถุงลมโป่ งพองในขณะที่อายุไม่มาก แต่หาก ขาดเอนไซม์รุนแรงมาก ผู้ป่ วยจะมีตับอักเสบรุนแรงตั้งแต่แรก คลอด และอาจเสียชีวิตก่อนที่ปอดจะเป็ นโรคถุงลมโป่ ง พอง โรคพันธุกรรมชนิดนี้ส่วนใหญ่จะพบในคนเชื้อชาติผิวขาว Page | 4

INT 633 Multimedia Technology โรคถุงลมโป่ งพองมีอาการอย่างไร ส่วนใหญ่อาการของโรคถุงลมโป่ งพอง จะปรากฏเมื่ออายุ มากกว่า 50 ปีขึ้นไป โดยจะเริ่มมีอาการไอ และมีเสมหะบ่อยๆ มักจะเป็ นมากในช่วงเช ้ า ซึ่งเป็ นอาการของการที่มีพยาธิสภาพ ของหลอดลมอักเสบร่วม แต่อาการจะไม่เด่นเท่าผู้ที่เป็ นโรค หลอดลมอักเสบ ต่อมาผู้ป่ วยจะเริ่มมีอาการเหนื่อยซึ่งจะค่อยๆ รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากมีอาการเหนื่อยง่ายขึ้นเมื่อออกแรง ใช ้ ก าลัง ต่อมาแม ้ท ากิจวัตรประจ าวัน เช่น อาบน ้า กินข ้าว ก็ท า ให ้มีอาการเหนื่อยได ้แล ้ว จนกระทั่งสุดท ้ายแม ้อยู่เฉยๆ ก็มี อาการเหนื่อยได ้ อาจมีอาการอื่นๆร่วมด ้วย เช่น อาจมีหายใจ เสียงดังวี๊ดๆได ้ หรือรู้สึกเจ็บหน้าอกร่วมด ้วยได ้ ตรวจร่างกายจะ ฟังเสียงปอดได ้ผิดปกติ อัตราการหายใจเร็วกว่าคนปกติ ใน ผู้ป่ วยที่เป็ นมานานแล ้ว ตรวจดูขนาดทรวงอกจะใหญ่กว่าปกติ เนื่องจากปริมาตรปอดที่ขยายใหญ่ขึ้น โดยจะขยายออกทาง ด ้านหน้า-หลังมากกว่าทางด ้าน ข ้าง ท าให ้ทรวงอกมีรูปร่าง เหมือนถังเบียร์หรือโอ่ง เรียกว่า Barrel chest อาจพบลักษณะ การหายใจออกแบบห่อปาก (Pursed lip) ซึ่งเป็ นท่าทางที่ช่วย ในการหายใจเอาอากาศออก หรือท่ายืนเอนตัวไปด ้านหลังและ ยืดแขนออก ตรวจดูเล็บอาจพบลักษณะเล็บปุ้ม/นิ้วข ้อปลายมี ลักษณะกลม (Clubbing finger) ซึ่งเป็ นลักษณะที่สามารถพบ ได ้ในโรคปอดเรื้อรังชนิดอื่นๆ ด ้วย Page | 5

INT 633 Multimedia Technology อาการของผู้ป่ วยโรคถุงลมโป่ งพอง อาจก าเริบขึ้นเป็ น ระยะๆ โดยเฉลี่ยมักจะเกิดขึ้นปีละ 1-2 ครั้ง ผู้ป่ วยจะมีอาการ เหนื่อยขึ้นมากกว่าปกติที่เป็ นอยู่อย่างฉับพลัน/เฉียบพลัน หรือ ไอมากขึ้น มีเสมหะปริมาณมากขึ้น และมีลักษณะเป็นหนองมาก ขึ้น สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในปอดแทรก ซ ้ อน ผู้ป่ วยโรคถุงลมโป่ งพอง เมื่ออาการรุนแรงมากแล ้ว จะเกิด ภาวะความดันโลหิตสูงของหลอดเลือดที่ไหลเข ้าสู่ปอด ซึ่งมี ผลท าให ้เกิดภาวะหัวใจวายได ้ ผู้ป่ วยก็จะมีอาการบวมตาม แขน-ขา ตับโต ท ้องมาน/มีน ้าในท ้อง และยิ่งท าให ้มีอาการ เหนื่อยมากขึ้น สาเหตุของภาวะนี้เกิดจากการที่ร่างกายมี ปริมาณออกซิเจนต ่าลงจากการแลกเปลี่ยนก๊าซของปอดได ้ ลดลง ท าให ้ไปกระตุ้นหลอดเลือดแดงให ้เกิดการบีบตัวมากกว่า ปกติ ส่งผลให ้ความดันโลหิตข อ ง หลอดเลือดแดงสูงขึ้น นอกจากนี้การที่ท่อถุงลมและถุงลมถูกท าลาย ท าให ้หลอด เลือดฝอยถูกท าลาย ปริมาณหลอดเลือดฝอยจึงลดลง ท าให ้ พื้นที่ปริมาตรเลือดลดลง เมื่อปริมาตรเลือดปลายทางลดลง แต่ ปริมาตรเลือดต ้นทาง ซึ่งคือหลอดเลือดแดงมีเลือดอยู่เท่าเดิม จึงเกิดแรงกดดันในหลอดเลือดแดงมากขึ้น ความดันโลหิตของ หลอดเลือดแดงจึงสูงขึ้น Page | 6

INT 633 Multimedia Technology ในผู้ป่ วยที่เป็ นมานานแล ้วจะพบอาการอื่นๆได ้อีก เช่น น ้าหนักตัวลดอย่างมีนัยส าคัญ โดยในระยะท ้ายๆ ผู้ป่ วยจะ ผอมมาก เกิดจากการที่ร่างกายมีปริมาณออกซิเจนในเลือดต ่า ท าให ้ไปกระตุ้นการหลั่งสารเคมีชื่อ Tumor necrosis factor- alpha สารเคมีนี้ท าให ้ร่างกายใช ้พลังงานสูงกว่าปกติ หาก ผู้ป่ วยกินได ้เท่าเดิม ก็จะผอมลงเรื่อยๆ ร่างกายที่มีออกซิเจนต ่า ยังไปกระตุ้นให ้ไตหลั่งฮอร์โมนหลายชนิด ซึ่งท าให ้เกิดความ ดันโลหิตสูง ท าให ้เกลือแร่ชนิดโซเดียมคั่งและร่างกายเกิดการ บวมน ้าได ้ ปริมาณออกซิเจนที่ต ่ายังไปกระตุ้นการสร ้างเม็ด เลือดแดงข อ ง ไขกระดูกให ้เพิ่มสูงขึ้นเพื่อช่วยการขนส่ง ออกซิเจน ท าให ้มีปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดสูงกว่าปกติได ้ นอกจากนี้ผู้ป่ วยอาจมี ภาวะ/โรค กระดูกพรุน และมีกล ้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่แขนขาเล็กลงและกล ้ามเนื้ออ่อนแรงลงด ้วย Page | 7

INT 633 Multimedia Technology แนวทางการรักษาโรคถุงลมโป่ งพองในปัจจุบัน โรคถุงลมโป่ งพองหรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) เป็น โรคที่ป้องกันและรักษาได ้ โดยมีลักษณะของการอุดกั้นใน หลอดลมทั่วปอดทั้ง 2 ข ้าง โดยจะมีการด าเนินโรคแย่ลงอย่าง ต่อเนื่อง ผู้ป่ วยจะมีอาการไอเรื้อรังมีเสมหะและอาการเหนื่อยซึ่ง อาการจะค่อยๆเป็ นมาก ขึ้น และในที่สุดจะมีภาวะออกซิเจนใน เลือดต ่าและหัวใจวายตามมา ผู้ป่ วยมักเสียชีวิตจากโรคแทรก ซ ้ อนซึ่งได ้แก่ ปอดบวม ภาวะหายใจวายและภาวะหัวใจวาย ส าหรับแนวทางการรักษาโรคถุงลมโป่ งพองได ้มีองค์การ โรคถุงลมโป่ งพองแห่งโลก (Global Initiative for Chronic Obstructive Lung Disease; GOLD) ปรับปรุงแก ้ไขตามข ้อมูล Page | 8

INT 633 Multimedia Technology ผลการวิจัยล่าสุดท าในปี พ.ศ. 2549 แนวทางการรักษามี จุดมุ่งหมายของการรักษาโรคถุงลมโป่ งพอง คือ 1. บรรเทาหรือลดอาการของโรค 2. คงสมรรถภาพการท างานของปอดไว ้หรือให ้เสื่อมลงช ้า ที่สุด 3. เพิ่มความสามารถในการออกก าลัง 4. ท าให ้คุณภาพชีวิตของผู้ป่ วยดีขึ้น 5. ป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ ้ อนที่เกิดจากโรค 6. ป้องกันและรักษาในช่วงที่มีอาการของโรคก าเริบ 7. ลดอัตราการตายของผู้ป่ วยโรคถุงลมโป่ งพอง การบรรลุจุดมุ่งหมายดังกล่าวจะต ้องใช ้การรักษาที่มี ผลข ้างเคียงให ้น้อยที่สุด การรักษาโรคถุงลมโป่ งพองจะแบ่ง ผู้ป่ วยออกเป็ น 4 กลุ่ม โดยอาศัยอาการและการตรวจ สมรรถภาพของปอด การตรวจสมรรถภาพของปอดจะ ประกอบด ้วยการวัดปริมาตรของลมหายใจที่หายใจออกอย่าง เต็มที่และรวดเร็วในเวลา 1 วินาที ที่เรียกว่า FEV1 (Force expiratory volume in one second) การวัดปริมาตรลมหายใจ ออกอย่างเต็มที่และรวดเร็วจนสุดการหายใจออก ที่เรียกว่า FVC (Force vital capacity) แ ล ะ ดูอัตราส่วนของ FEV1 และ FVC โดยผู้ป่ วยทุกกลุ่มจะมีอัตราส่วนของ FEV1 และ FVC น้อย กว่า 0.70 การแบ่งผู้ป่ วยโรคถุงลมโป่ งพองตามระดับความ รุนแรงของโรค ได ้แก่ ระดับที่ 1 ระดับเล็กน้อย (mild) ผู้ป่ วยมักจะไม่มีอาการ หรืออาจจะมีอาการไอมีเสมหะเรื้อรัง ตรวจสมรรถภาพของปอด FEV1 มากกว่าร ้อยละ 80 ของค่ามาตรฐาน Page | 9

INT 633 Multimedia Technology ระดับที่ 2 ระดับปานกลาง (moderate) ผู้ป่ วยมักมี อาการเหนื่อยเวลาออกแรง ไอมีเสมหะเรื้อรัง ตรวจสมรรถภาพ ของปอด FEV1 อยู่ในช่วงร ้อยละ 50-80 ของค่ามาตรฐาน ระดับที่ 3 ระดับรุนแรง (severe) ผู้ป่ วยจะมีอาการหอบ เหนื่อยมากขึ้นจนรบกวนกิจวัตรประจ าวัน ลดความสามารถใน การออกก าลัง มีอาการเหนื่อยเพลีย และมีอาการก าเริบของโรค บ่อย ตรวจสมรรถภาพของปอด FEV1 อยู่ในช่วงร ้อยละ 30-50 ของค่ามาตรฐาน ระดับที่ 4 ระดับรุนแรงมาก (very severe) ผู้ป่ วยจะมี อาการหอบเหนื่อยตลอดเวลา มีอาการก าเริบของโรครุนแรง และบ่อย ตรวจสมรรถภาพของปอด FEV1 น้อยกว่าร ้อยละ 30 ของค่ามาตรฐาน การรักษาผู้ป่ วยจะแบ่งเป็ น การรักษาในระยะสงบ (stable) และในช่วงที่มีอาการก าเริบ (exacerbation) ในที่นี้จะ กล่าวถึงการรักษาในระยะสงบ เนื่องจากการรักษาในช่วงที่มี อาการก าเริบจะขึ้นอยู่กับแพทย์ผู้ดูแดเป็น ส าคัญ Page | 10

INT 633 Multimedia Technology การรักษาในระยะสงบ 1. การหยุดสูบบุหรี่ เป็ นวิธีที่ส าคัญ เป็ นวิธีการรักษาอย่างเดียว ในปัจจุบันที่สามารถชะลอการลดลงของสมรรถภาพของปอด 2. การให ้ความรู้เกี่ยวกับโรคแก่ผู้ป่ วยและญาติที่เหมาะสมจะ ช่วยให ้ผู้ป่ วยมี ทักษะในการเรียนรู้การใช ้ ชีวิตกับโรคได ้ดีขึ้น การป้องกันหรือการเตรียมตัวเผชิญกับการก าเริบของโรค และ การเตรียมการในกรณีที่โรคด าเนินเข ้าสู่ระยะสุดท ้าย นอกจากนี้ ยังมีประโยชน์ในการวางแผนให ้ผู้ป่ วยหยุดสูบบุหรี่ การรักษาด้วยยา 1. ยาขยายหลอดลม ถึงแม ้ผู้ป่ วยถุงลมโป่ งพองจะมี การตอบสนองต่อยาขยายหลอดลมได ้น้อย แต่ยากลุ่มนี้ท าให ้ อาการและสมรรถภาพการท างานของผู้ป่ วยดีขึ้น ลดความถี่ และความรุนแรงของการก าเริบและเพิ่มคุณภาพชีวิต 2. ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ ในการรักษาในช่วงอาการ คงที่ควรใช ้ เป็ นชนิดยาสูด ไม่แนะน าในรูปแบบรับประทานหรือ ฉีด ถึงแม ้ว่ายาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดดมต่อเนื่องไม่ สามารถชะลอการลดลงของ สมรรถภาพของปอดแต่สามารถ ลดการก าเริบของโรคในผู้ป่ วยที่มีความรุนแรงระดับ 3 ขึ้นไปที่มี อาการก าเริบบ่อยและรุนแรงและช่วยให ้สภาวะสุขภาพโดยรวม ของผู้ป่ วย ดีขึ้น และจากข ้อมูลการศึกษาเร็วๆนี้พบว่าการใช ้ ยา ร่วมกันระหว่างยาขยายหลอดลมที่ ออกฤทธิ์นานกับยาคอร์ติ โ ค ส เ ตี ย ร อ ย ด์ ช นิ ด สู ด ( salmeterol/ fluticasone) มี ประสิทธิภาพดีกว่าการใช ้ ยาอย่างหนึ่งอย่างใดอย่างเดียวทั้งใน Page | 11

INT 633 Multimedia Technology เรื่องการลด อาการก าเริบ การใช ้ ยาเพื่อลดอาการ การเข ้านอน ในโรงพยาบาล 3. วัคซีนไข ้หวัดใหญ่ สามารถลดอาการรุนแรงของโรค ที่เกิดจากไข ้หวัดใหญ่และอัตราตายในผู้ป่ วยถุงลม โป่ งพองได ้ แนะน าให ้ฉีดวัคซีนไข ้หวัดใหญ่ปี ละ 1 ครั้ง ระยะเวลาที่ เหมาะสมในประเทศไทย คือ เดือนมีนาคมถึงเมษายน แต่อาจ ให ้ได ้ตลอดป ี การรักษาอื่นที่ไม่ใช่ยา 1. การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด ท าให ้ลดอาการของโรค เพิ่มคุณภาพชีวิตและเพิ่มความสามารถในการท ากิจวัตร ประจ าวัน การฟื้นฟูสมรรถภาพของปอดจะคลอบคลุมปัญหาที่ เกี่ยวข ้องคือ สภาพของกล ้ามเนื้อที่ไม่ค่อยได ้ใช ้งาน สภาพ อารมณ์และจิตใจที่ค่อนข ้างซึมเศร ้าในผู้ป่ วย รวมไปถึงน ้าหนัก ตัวที่ลดลง การฟื้นฟูสมรรถภาพของปอดมีข ้อบ่งชี้ในผู้ป่ วยทุก รายที่เริ่มมีอาการ 2. การให ้การรักษาด ้วยออกซิเจนระยะยาว เป็ น ระยะเวลามากกว่า 15 ชั่วโมงต่อวัน สามรถท าให ้ผู้ป่ วยมีอายุยืน ยาวขึ้น ท าให ้เกิดประโยชน์ต่อระบบโลหิตวิทยา ระบบการ ไหลเวียนโลหิต สมรรถภาพการออกก าลัง และสภาวะจิตใจ จะ พิจารณาให ้ในผู้ป่ วยถุงลมโป่ งพองที่มีระดับออกซิเจนในเลือด ต ่ากว่า 55 มิลลิเมตรปรอท หรือมีคามอิ่มตัวของออกซิเจนใน เลือดน้อยกว่าร ้อยละ 88 3. การผ่าตัด ได ้แก่การผ่าตัดลดปริมาตรปอดและผ่าตัด เปลี่ยนปอด โดยต ้องคัดเลือกผู้ป่ วยที่เหมาะสมท าให ้การผ่าตัด ได ้ผลดี โดยมีสมรรถภาพของปอดดีขึ้นและลดอาการหอบ Page | 12

INT 633 Multimedia Technology เหนื่อยของผู้ป่ วย การจัดแผนการรักษามีลักษณะเป็ นชั้นขึ้นไป ตามระดับความรุนแรงของโรค ดังแสดงในแผนภูมิโดยไม่มีการ ลดการใช ้ ยาเนื่องจากผู้ป่ วยจะมีลักษณะการด าเนิน ที่เป็ นมาก ขึ้นเรื่อยๆ แผนภูมิแสดงแนวทางการรักษาผู้ป่ วยถุงลมโป่ งพองตามระดับ ความรุนแรงของโรค Page | 13

INT 633 Multimedia Technology โรคถุงลมโป่ งพองกับการออกก าลังกาย โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นโรคเรื้อรังที่มีผลกระทบต่อระบบ อวัยวะของร่างกายหลายระบบและยังมีผล กระทบต่อด ้านจิตใจ ของผู้ป่ วยและครอบครัวอย่างมาก การรักษาผู้ป่ วยโรคนี้ จ าเป็ นต ้องมีการรักษาโดยวิธีการใช ้ ยาร่วมกันไปกับ วิธีอื่นๆ(ที่ ไม่ใช ้ ยา)ควบคู่ไปด ้วยไปด ้วย ซึ่งวิธีอื่นๆได ้แก่ - การให ้ความรู้ในด ้านของตัวโรคเอง การดูแลและการ ปฏิบัติตัวของผู้ป่ วยและครอบครัว - การป้องกันการลุกลามของโรค โดยการหยุดสูบบุหรี่ - การรักษาภาวะทุโพชนาการ เนื่องจากผู้ป่ วยโรคนี้จะมี ดรรชนีมวลกาย(BMI) หรือน ้าหนักตัวเมื่อเทียบกับความสูง ต ่า กว่าปกติ ซึ่งมีผลต่อความแข็งแรงของร่างกาย จึงควร รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตต ่า เพื่อลดการ Page | 14

INT 633 Multimedia Technology ผลิตกาซคาร์บอนไดออกไซด์ลง ท าให ้ลดภาระงานของระบบ หายใจในการขับกาซนี้ออกจากปอด - การฝึ กความแข็งแรงและความคงทนของกล ้ามเนื้อ ภายใต ้การควบคุมดูแล ซึ่งเป็ นข ้อที่ส าคัญที่สุดข ้อหนึ่ง ซึ่ง จะขอกล่าวในรายละเอียดต่อไปนี้ หลักของการออกก าลังกาย - ปรึกษาแพทย์ประจ าตัวก่อน - ต ้องมีการอบอุ่นร่างกาย (warm up) เพื่อเตรียมพร ้อม ร่างกายก่อน ควรใช ้เวลาประมาณ 5-10 นาที โดยการ อบอุ่นร่างกาย อาจใช ้ วิธีการหายใจแบบวิธีเป่ าปาก หรือฝึก การหายใจโดยใช ้ กระบังลม - เริ่มต ้นทีละน้อย และค่อยๆเพิ่มการออกก าลังกาย ขึ้นกับ ความสามารถในการออกก าลังกายและความรุนแรงของโรค ของแต่ละบุคคล โดยอาจเริ่มต ้นที่ 10 นาที แล ้วค่อยๆ เพิ่มจนได ้ระยะเวลาประมาณ 30 นาที หรือในคนที่โรคมี ความรุนแรงมาก อาจใช ้เวลาเริ่มต ้นในการออกก าลัง กาย 2-3 นาที และแบ่งท าวันละ 2-3 ครั้ง - เลือกชนิดของการออกก าลังกายที่ชอบ ถ ้าเบื่อสามารถ เปลี่ยนเป็ นชนิดอื่นได ้เช่น ถ ้าวิ่งเหยาะเป็ นประจ า อาจ เปลี่ยนเป็น เต ้นร า หรือปั่นจักรยาน - มีการหยุดพักเป็นช่วงๆ ไม่ควรหักโหม - ควรมีเพื่อนในการออกก าลังกาย ท าให ้การออกก าลังกาย สนุก ไม่น่าเบื่อ และจะได ้มีคนคอยดูแลช่วยเหลือ ใน กรณีที่อาจมีการก าเริบของโรคหรืออุบัติเหตุ Page | 15

INT 633 Multimedia Technology - ต ้องมีการคลายอุ่น (cool down) หลังการออกก าลัง กาย ใช ้ เวลา 5-10 นาที โดยค่อยๆลดความหนักของการ ออกก าลังกายลงก่อนหยุดออกก าลังกาย - อย่าละเลยอาการต่างๆซึ่งบ่งบอกว่าการออกก าลังกายอาจ หนักเกินไป เช่นอาการวิงเวียน เหงื่อออกมาก ใจสั่น หายใจหอบตื้น เจ็บหน้าอก ซึ่งถ ้ามีอาการ ควรหยุดและพัก การออกก าลังกายไว ้ก่อน เมื่อเริ่มออกก าลังกายอีกครั้ง ให ้ ลดระดับของการออกก าลังกายลงมาให ้อยู่ในระดับที่ไม่ เหนื่อย ชนิดของการออกก าลังกาย 1. Stretching (การผ่อนคลายกล ้ามเนื้อและการยืดเกร็ง กล ้ามเนื้อ) เป็นวิธีที่ดีในการอบอุ่นร่างกายก่อนออกก าลังกาย และการคลายอุ่นร่างกายหลังการออกก าลังกาย 2. Aerobic ออกก าลังกายโดยรักษาระดับการออกก าลัง กายให ้ไม่หนักเกินไป การตอบสนองของการเต ้นของหัวใจ เปลี่ยนแปลงไม่มาก เพื่อเพิ่มความสามารถในการใช ้ ออกซิเจนของร่างกาย เช่น การเดิน การวิ่งเหยาะ การปั่น จักรยาน ว่ายน ้า เต ้นร า 3. Resistant (การฝึกแรงต ้าน) เช่น การยกน ้าหนักเบาๆใน ผู้ป่ วยที่อาการไม่รุนแรง ซึ่งจะท าให ้กล ้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น โดยเฉพาะกล ้ามเนื้อส่วนบนของร่างกาย ซึ่งจะช่วยท าให ้การ หายใจดีขึ้น ในระหว่างออกก าลังกาย เมื่อรู้สึกเหนื่อยหอบ ให ้หยุดพัก และพักในท่าที่ล าตัวเอนไปด ้านหน้า ซึ่งจะช่วยการท างานของ Page | 16

INT 633 Multimedia Technology กระบังลมให ้ดีขึ้น เพื่อช่วยผ่อนคลายความเหนื่อย และช่วยให ้ หายใจได ้ง่ายขึ้น ตัวอย่างเช่น - นั่งตามสบาย โน้มตัวไปด ้านหน้า เอาศอกยันไว ้ที่ต ้น ขา ปล่อยศีรษะตามสบาย อยู่ในท่านี้จนกระทั่งไม่เหนื่อยหอบ - นั่งฟุบหน้าที่โต๊ะ ให ้ตัวเอนไปด ้านหน้า - ยืนพิงก าแพงโดยให ้ขาห่างจากก าแพงเล็กน้อย เอนตัวมา ด ้านหน้า กายออกก าลังกายที่ดี ควรปฏิบัติอย่างสม ่าเสมอ โดยใช ้ เวลาในการออกก าลังวันละ 20-30 นาที และอย่างน้อย 3 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ในกลุ่มผู้ป่ วยอาการไม่รุนแรง และปานกลาง ส่วนใน ผู้ป่ วยที่อาการรุนแรงอาจออกก าลังกายช่วงสั้นๆ 3-5 นาที วัน ละ 3-4 ครั้ง ขึ้นกับอาการของแต่ละบุคคล ไม่ควรหักโหม และ อย่าลืมว่าก่อนที่จะเริ่มต ้นออกก าลังกาย ควรปรึกษาแพทย์ ประจ าตัวของท่านก่อน // ที่มา : http://www.asthma.or.th/content/uploads/userfiles/ima ges/3i.jpg // ที่มา : http://health.kapook.com/view6943.html Page | 17


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook