Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครูมือครู Akiko to tomodachi

ครูมือครู Akiko to tomodachi

Published by MeKa Ricc, 2021-09-23 03:43:31

Description: สำหรับผู้คนที่ขี้เกียจทำแบบฝึกหัดเล่ม 1
เรามีครูมือครูให้

Search

Read the Text Version

ค่มู ือครู ตำรำภำษำญี่ป่ ุน อะกิโกะโตะโทะโมะดะจิ 1 ฉบบั ปรับปรุง

คมู่ ือครู ตำรำภำษำญป่ี นุ่ อะกโิ กะโตะโทะโมะดะจิ 1 ฉบับปรบั ปรงุ จดั ทำ รสา เสวกิ ุล นริศรา ทองมี ท่ีปรึกษำ ประภา แสงทองสขุ ผู้ใหค้ วำมรว่ มมอื Tomoko MATSUURA Satoshi SEKIYAMA Shiori KOYAMA ลิขสิทธิ์เนื้อหำ © 2017 The Japan Foundation, Bangkok เจแปนฟำวน์เดชนั่ กรงุ เทพฯ ชั้น 10 อาคารเสริมมติ ร 159 สขุ มุ วิท 21 กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2261-7500-4 โทรสาร 0-2261-7505 Homepage: http://www.jfbkk.or.th 2

คำนำ คูม่ ือครชู ดุ น้ีเป็นคมู่ ือครูประกอบตาราชดุ “ภาษาญี่ปุ่น อะกโิ กะโตะโทะโมะดะจิ ฉบบั ปรับปรุง”ซึ่งกจิ กรรมของตาราชดุ นี้ จะ เน้นให้ผู้เรยี นรจู้ ักคดิ วเิ คราะห์ ทางานกนั เป็นทมี และสรา้ งโอกาสให้ผเู้ รยี นได้สอื่ สาร ถา่ ยทอดความคดิ เหน็ ของตนและกลุ่ม เพอื่ ใหก้ ารดาเนินกจิ กรรมในตาราเปน็ ไปอยา่ งราบรน่ื ทางเจแปนฟาวน์เดชั่น กรงุ เทพฯ จงึ ได้จัดทาคมู่ ือครู สาหรบั เป็น แนวทางในการจดั การเรียนรู้ ซ่งึ ครูผู้ใชส้ ามารถนาไปปรับเปลีย่ นตามความเหมาะสมใหเ้ ขา้ กบั ผเู้ รียนของตน นอกจากแนวทางในการดาเนินกจิ กรรมแลว้ ในคมู่ อื ครูยงั ประกอบไปดว้ ยสครปิ ตแ์ ละเฉลยของแบบฝกึ ฟงั ในตาราเพอื่ อานวย ความสะดวกแกค่ รผู ูส้ อนอกี ด้วย หวังเปน็ อย่างยงิ่ วา่ คู่มือครชู ุดนจ้ี ะเป็นประโยชนต์ อ่ ครทู ่ีใชต้ าราชดุ “ภาษาญปี่ ุ่น อะกโิ กะโตะโทะโมะดะจิ ฉบับปรับปรุง” ไม่มากก็นอ้ ย เจแปนฟาวนเ์ ดชนั่ กรงุ เทพฯ 3

โครงสรำ้ งคมู่ ือครู คู่มือครูตาราชุด “ภาษาญปี่ ุ่น อะกโิ กะโตะโทะโมะดะจิ ฉบับปรบั ปรงุ ” แบง่ เนอ้ื หาออกเป็น 6 เล่ม โดยในแต่ละเลม่ จะมกี าร เรยี งลาดับเนอื้ หาบทเรียนตามตาราหลัก ซงึ่ มโี ครงสร้าง ดงั ตอ่ ไปน้ี Flow Chart ภาพรวมของบทและความสมั พันธ์ของแต่ละแบบฝึกหดั หนำ้ แรกของบท แนวทางการสอนเพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ใจสถานการณ์ どんなばめん? แนวทางการสอนเพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นสงั เกตเห็นสานวนและรปู ประโยค れんしゅう แนวทางการสอนแบบฝกึ ข้ันพน้ื ฐาน はなしてみましょう แนวทางการสอนแบบฝกึ ประยกุ ต์ (4 ทักษะ) よんでみましょう かいてみましょう きいてみましょう まんがでまとめ ตวั อยา่ งกจิ กรรมทใี่ ชด้ าเนินการสอน อน่งึ ในค่มู อื ครูฉบบั น้ี ไมไ่ ด้นาเสนอ ぶんぽう、ことば、かんじ、ミニじょうほう เนือ่ งจากเหตุผลดังต่อไปน้ี 1. มุ่งหวงั ให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ ことば และ かんじ ไปพร้อมกบั เนอื้ หา และคาดเดาความหมายจากบริบท โดยผู้สอนมติ อ้ ง สอนคาศัพทใ์ นคร้ังเดยี วจนครบทกุ คาแลว้ จงึ เขา้ สู่การทาแบบฝกึ หดั หากผู้เรยี นไม่ทราบความหมายของคาศัพท์ ผู้สอนก็ สามารถช้ีแนะใหผ้ ู้เรียนคน้ หาไดจ้ ากในหน้า ことば 2. แบบฝึกของตาราเลม่ นี้ไดอ้ อกแบบใหผ้ ู้เรยี นได้คดิ วิเคราะห์ และคน้ หากฎเกณฑ์ทางด้านภาษาและรูปประโยคด้วยตนเอง จากน้ันฝกึ ฝนรปู ประโยคนน้ั ๆไปในการทาแบบฝึกหดั หลังจากท่ีไดฝ้ ึกฝนแบบฝกึ นน้ั แล้ว ผู้สอนสามารถใช้ ぶんぽう ทบทวนความเขา้ ใจของผเู้ รยี น หรอื อาจจะให้ผู้เรยี นไปอ่านเอง 3. รปู แบบของ ミ ニ じ ょ う ほ う ในตอนต้นจะนาเสนอขอ้ มลู ของญี่ป่นุ ที่เกย่ี วกับหัวเร่อื งนนั้ ๆ และตอนทา้ ยจะมี กจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นได้คดิ เปรียบเทยี บกับเรื่องของไทย ซง่ึ ครูผู้สอนอาจใหผ้ เู้ รยี นแบ่งกลมุ่ อ่านและพูดคยุ เกย่ี วกับเรอ่ื งน้นั 4

และนามาแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ กบั กลมุ่ อนื่ ดังน้นั ครจู งึ เป็นเพียงผดู้ แู ลให้ผู้เรยี นทากจิ กรรมตามท่ใี นหนงั สอื ได้ระบุ ซ่งึ การคดิ วเิ คราะห์และเปรียบเทยี บกบั ในสว่ นของไทย จะทาให้ผเู้ รียนได้ย้อนกลับมามองวฒั นธรรมของไทยไดล้ กึ ซง้ึ มาก ยิ่งขน้ึ ดงั น้นั ครจู งึ ไมจ่ าเป็นตอ้ งนาเสนอดว้ ยวธิ กี ารอธบิ ายเกยี่ วกบั เนือ้ หามากนกั แต่ควรทาหนา้ ท่เี ปน็ facilitator โดยการตงั้ คาถามใหผ้ ู้เรยี นคดิ ลกึ ซง้ึ มากขนึ้ เนื้อหำของแตล่ ะบท  จดุ ประสงค์ แสดงจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ นแต่ละแบบฝึกในบทเรยี นตาม あきこ Can-do  เนอื้ หำ โครงสร้างของรปู ประโยคท่ใี ชใ้ นแต่ละแบบฝึกขน้ั พืน้ ฐาน  คำศพั ทใ์ หม่ คาศพั ทใ์ หม่ท่ปี รากฏเปน็ คร้ังแรกในแบบฝกึ นั้น  อกั ษรคนั จใิ หม่ อักษรคันจิใหม่ประจาบท และปรากฏเปน็ ครัง้ แรกในแบบฝกึ น้ัน  ลำดับกำรสอน แนวทางการจัดการเรยี นการสอนเพอื่ ใหบ้ รรลตุ ามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้  Point! ขอ้ เสนอแนะและขอ้ ควรระวงั สาหรับผู้สอน  ควำมรเู้ ก่ยี วกับคำศัพท์ สำนวน และไวยำกรณ์สำหรบั ครู เป็นความร้เู พ่ิมเติมสาหรบั ผสู้ อน  สคริปต์ สครปิ ตบ์ ทสนทนาสาหรับแบบฝึกฟงั  เฉลย เฉลยแบบฝกึ หัดและตวั อยา่ งคาตอบ อักษรย่อและสญั ลกั ษณท์ ีใ่ ช้ในคมู่ ือครชู ุดน้ี T ครูผสู้ อน S ผ้เู รียน Q ประโยคคาถาม A ประโยคคาตอบ ทง้ั น้ี เนือ่ งจากเป็นคู่มอื เพ่ือให้ครูผสู้ อนใช้อา้ งอิงประกอบการจัดการเรยี นการสอน คู่มอื ครูจงึ มไิ ด้เวน้ วรรคหลงั คาชว่ ยเหมือน ในตาราหลกั 5

สำรบญั โครงสร้างคมู่ ือคร.ู ...............................................................................................................................................................4 โครงสร้างและเน้อื หาของตาราภาษาญี่ป่นุ อะกิโกะโตะโทะโมะดะจิ 1 ฉบบั ปรบั ปรงุ ..............................................................8 บทที่ 1 しょうかい กำรแนะนำ Flow Chart .....................................................................................................................................................................10 หนา้ แรกของบท..................................................................................................................................................................11 どんなばめん?............................................................................................................................................................12 れんしゅう ....................................................................................................................................................................14 はなしてみましょう....................................................................................................................................................24 よんでみましょう........................................................................................................................................................25 かいてみましょう........................................................................................................................................................26 きいてみましょう........................................................................................................................................................27 まんがでまとめ............................................................................................................................................................29 บทที่ 2 がっこうあんない พำชมโรงเรยี น Flow Chart .....................................................................................................................................................................30 หน้าแรกของบท..................................................................................................................................................................31 どんなばめん?............................................................................................................................................................32 れんしゅう .....................................................................................................................................................................34 はなしてみましょう....................................................................................................................................................45 よんでみましょう........................................................................................................................................................47 かいてみましょう........................................................................................................................................................49 きいてみましょう........................................................................................................................................................50 まんがでまとめ............................................................................................................................................................51 6

บทที่ 3 がっこうの1日 กจิ กรรมในโรงเรียน Flow Chart .....................................................................................................................................................................52 หน้าแรกของบท..................................................................................................................................................................53 どんなばめん?............................................................................................................................................................54 れんしゅう ....................................................................................................................................................................57 はなしてみましょう....................................................................................................................................................72 よんでみましょう........................................................................................................................................................74 かいてみましょう........................................................................................................................................................76 きいてみましょう........................................................................................................................................................77 まんがでまとめ............................................................................................................................................................78 บทท่ี 4 つうがく กำรเดนิ ทำงไปโรงเรียน Flow Chart .....................................................................................................................................................................79 หน้าแรกของบท..................................................................................................................................................................80 どんなばめん? ................................................................................................................................................................81 れんしゅう ....................................................................................................................................................................83 はなしてみましょう....................................................................................................................................................88 よんでみましょう........................................................................................................................................................89 かいてみましょう .........................................................................................................................................................91 きいてみましょう .........................................................................................................................................................92 まんがでまとめ............................................................................................................................................................95 7

โครงสร้ำงและเน้ือหำของตำรำภำษำญ่ีปนุ่ อะกโิ กะโตะโทะโมะดะจิ 1 ฉบบั ปรบั ปรุง か あきこ Can-do ぶんぽう かんじ ミニ 1 1. สามารถแนะนาตนเอง 1. N です。 友、人、 じょうほう เช่น บอกช่อื สัญชาติ 2. N は 日、本、 〜さん、 しょうかい ช้นั ปที ี่เรียนอยู่ ฯลฯ แก่ 3. S か。 父、母 〜ちゃん、 ผทู้ ีพ่ บกนั ครง้ั แรกได้ 4. การตอบรบั หรือปฏิเสธ 〜くん กำรแนะนำ 5. N も 2. สามารถแนะนาคนทต่ี น 6. ชอื่ ประเทศ + 人/ ชือ่ ประเทศ + ご การโค้ง รูจ้ ักให้แกผ่ ูอ้ นื่ ได้ 7. N1 の N2 8. そうですか。 2 1. สามารถแนะนาสถานท่ี 1. N が います/あります。 女 、 子 、 โรงเรยี น ต่าง ๆ เช่น อาคารใน 2. คาบอกตาแหนง่ ทต่ี ้งั 男、上、 がっこう あんない โรงเรียน หอ้ งเรยี น ได้ 下、中、 มัธยมศึกษา 3. สถานท่ี に N が います/あります。 พำชมโรงเรยี น 2. สามารถถามหาสถานที่ 木 ตอนปลายของ ต่าง ๆ ได้ 4. สถานท่ี にも ญ่ีปุ่น 5. N と N 6. N や N 7. การนบั เลข 0-10 8. ここ/そこ/あそこ/どこ 9. N は สถานที่ に います/あります。 です。 10. N か。() 3 1. สามารถถามและตอบ 1. การนบั เลขหลักสบิ 月 、 火 、 การเรยี นใน เกี่ยวกบั วันในรอบ 2. การบอกเวลา 水、金、 がっこうの1日 สัปดาห์ เวลา 3. จดุ เร่มิ ตน้ から 土、好 โรงเรียน ตารางสอน ฯลฯ ได้ 4. จดุ ส้ินสดุ まで กจิ กรรมใน 5. N が 好きです。 มธั ยมศึกษา โรงเรียน 2. สามารถถามและตอบ 6. จุดของเวลา に V เก่ยี วกบั สงิ่ ทชี่ อบใน 7. これ、それ、あれ、どれ ของญ่ปี ุ่น เรอ่ื งอาหาร กฬี า วิชา เรียน ฯลฯ ได้ 8

か あきこ Can-do ぶんぽう かんじ ミニ 4 1. สามารถถาม และตอบ 1. คากรยิ ารูป ます 行、来、 じょうほう เก่ยี วกับวธิ กี าร และ 2. สถานท่ี へ V แสดงการเคลอื่ นท่ี 学、校、 つうがく ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการ 3. ยานพาหนะ で V แสดงการเคลื่อนที่ 寺、先、 ระบบขนสง่ เดินทางไปโรงเรียนได้ 4. ผู้ท่ีกระทากรยิ าร่วมกนั と V 生、時、 มวลชนใน กำรเดนิ ทำงไป 5. จดุ เร่มิ ตน้ から/ จุดสน้ิ สดุ まで 間、分、 ญ่ปี ุ่น โรงเรยี น 6. การบอกจานวนเวลา 毎、 半 7. จานวนเวลา かかります。 8. คาแสดงเวลา V 9. この N、 その N、 あの N、 どの N 9

คูม่ ือครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกลุ , นริศรา ทองมี あきこ Can-do: 1. สามารถแนะนาตนเอง เชน่ บอกชอ่ื สญั ชาติ ชนั้ ปที ่เี รยี นอยู่ ฯลฯ แก่ผทู้ พ่ี บกันครง้ั แรกได้ 2. สามารถแนะนาคนท่ีตนร้จู กั ให้แก่ผู้อนื่ ได้ Flow Chart とびら เพ่ือใหเ้ ห็นสถานการณ์และบรบิ ทสนทนาเก่ยี วกับ “การแนะนาตัว” และทราบเป้าหมายการเรยี นรู้ どんなばめん? เพอื่ ให้สังเกตเหน็ สานวนและคาศัพท์ทใี่ ชใ้ นสถานการณ์ “การแนะนาตัว” 基本練習:แบบฝกึ คาศพั ทแ์ ละรปู ประโยคขั้นพ้นื ฐานทจ่ี าเป็นสาหรับการบรรลเุ ป้าหมายการเรียนรู้ れんしゅう 1.1-1.2 การแนะนาตวั เอง れんしゅう 1.3 การแนะนาผอู้ นื่ N です。 れんしゅう 2 N です。 ではありません。 れんしゅう3 Nは N です。 ではありません。 れんしゅう4 N1 は N2 ですか。 れんしゅう 6 れんしゅう 8 はい、 そうです。 N2 です。 Nも Nです。 Nは Nの Nです。 บอกชอื่ ครูทสี่ อนวชิ าต่างๆ れんしゅう 5 N1 は N2 ですか。 れんしゅう 7 いいえ、ちがいます。 Nも Nですか。 れんしゅう 9 N2 ではありません。N3 です。 いいえ、 N1 は N3 です。 Nは Nの Nです。 บอกชอ่ื บคุ คลและ ความสัมพันธ์ 応用練習:แบบฝึกประยกุ ตใ์ ช้ 4 ทักษะใหไ้ ดต้ ามเปา้ หมายการเรยี นร้ปู ระจาบท はなしてみましょう よんでみましょう かいてみましょう きいてみましょう แนะนาตวั และแนะนาเพ่ือนใหม่ อ่านขอ้ ความแนะนาตวั เอง เขียนแนะนาตวั เองและ ฟังขอ้ มลู ของบคุ คลต่างๆ まとめ:ทบทวนสงิ่ ทไี่ ด้เรยี น และครอบครวั ครอบครวั まんがでまとめ ふりかえり:ทบทวนและตรวจสอบการเรยี นรขู้ องตนเองวา่ บรรลเุ ปา้ หมายการเรียนรู้หรือไม่ 10

คู่มอื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นริศรา ทองมี หน้ำแรกของบท จุดประสงค:์ เพ่อื ให้นักเรยี นเหน็ สถานการณ์ทมี่ ีการแนะนาตวั และนึกถึงเนื้อหาที่จะพูดเมื่อแนะนาตวั ลำดับกำรสอน 1. นักเรียนดูหวั ข้อบทท่ี1 「しょうかい การแนะนา」 2. นกั เรียนดูรูป และสงั เกตว่ามีอะไรอยใู่ นภาพบา้ ง เปน็ สถานการณ์ อยา่ งไร สงั เกตว่าผู้หญงิ ทใ่ี ส่แวน่ กาลังทาอะไร และพดู อะไรอยู่ เด็กผ้หู ญงิ ที่อย่ขู า้ งๆเขานา่ จะพูดอะไร 3. นักเรยี นจับกลุ่ม 3-4 คน ระดมสมองเกี่ยวกบั ปกตเิ ราแนะนาตวั กันทีไ่ หนบ้างคะ เวลาเราแนะนาตัวเราพดู อะไรกนั บ้างคะ 4. ตวั แทนกลุ่ม นาเสนอสิ่งที่พูดคยุ กันในกล่มุ 5. นกั เรยี นตรวจสอบ あきこ Can-do 1) สามารถแนะนาตนเอง เชน่ บอกชอื่ สัญชาติ ชน้ั ปที เ่ี รยี นอยู่ ฯลฯ แก่ผู้ทีพ่ บกันเป็นครง้ั แรกได้ 2) สามารถแนะนาคนทต่ี นรจู้ กั ใหแ้ กผ่ อู้ ืน่ ได้ Point!  ในขน้ั ตอนการระดมสมอง ครูควรใหอ้ สิ ระในการคดิ ไม่ควรตกี รอบใหไ้ ด้คาตอบ พยายามใหน้ ักเรยี น นกึ ถงึ ประสบการณ์ของตนเอง วา่ เคยพูดแนะนาตวั เองที่ไหน  หากนักเรียนนึกไม่ออก ครคู วรตง้ั คาถาม เชน่ เวลาเพง่ิ เจอเพื่อนใหม่เป็นครง้ั แรก นักเรียนจะแนะนา ตัวเองกบั เพอ่ื นใหม่อยา่ งไรบา้ ง เปน็ ต้น 11

คมู่ ือครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นรศิ รา ทองมี どんなばめん? จดุ ประสงค:์ เพื่อให้นักเรยี นสงั เกตวา่ ในการแนะนาตัวมีการใชส้ านวน และรปู ประโยคอย่างไร ลำดบั กำรสอน ข้อ ❶‐❷ 1. นกั เรียนดรู ูปและชอื่ ของตัวละครตั้งแตข่ ้อ a - d 2. นักเรียนฟงั ซดี ี แลว้ ชท้ี ่รี ูปตามทีไ่ ดย้ ิน 3. นกั เรยี นบอกช่ือของบคุ คลตง้ั แต่ a - d 4. นักเรยี นอา่ นประโยคคาส่ังและดรู ูปในขอ้ 2 นกั เรียนตรวจสอบวา่ บุคคลในภาพมใี ครบา้ ง จากนัน้ ครสู อบถามเกี่ยวกับสง่ิ ทน่ี กั เรยี นคดิ 5. นกั เรยี นจับคูเ่ ชค็ คาตอบกับเพอื่ น ข้อ ➌‐❹ 1. นกั เรียนดูรูปและชอ่ื ของตัวละครตง้ั แตข่ อ้ a - d และสงั เกตว่าตัวละคร มาจากประเทศอะไรบ้าง 2. ใหน้ กั เรียนฟงั ซดี ี แลว้ ชี้ท่ีรูปตามท่ไี ด้ยนิ 3. นกั เรยี นตรวจสอบประโยคคาสง่ั ในขอ้ ❹ จากนนั้ ครถู ามวา่ บคุ คลใน ภาพคอื ใคร สง่ิ ทต่ี อ้ งฟงั คืออะไร (ใครคยุ กับใคร) และต้องตอบอยา่ งไร 4. ใหน้ ักเรียนฟงั ซดี ี แล้วตอบวา่ ใครคยุ กนั ในข้อ 1) - 2) โดยเลือกจาก a. - d. มาเตมิ ในวงเลบ็ 5. นักเรยี นจบั คู่เชค็ คาตอบกับเพอ่ื นหากมีข้อใดทผ่ี ิดมาก ใหน้ กั เรยี นฟงั ใหมอ่ กี ครง้ั 6. นกั เรยี นจบั กล่มุ และพดู คยุ กนั วา่ การแนะนาตัวภาษาญปี่ ่นุ ใชค้ าศพั ท์ และคาพูดอย่างไรบา้ ง Point!  เนอ่ื งจากเป็นการนาเขา้ ส่บู ทเรียน เพ่ือให้นักเรยี นไดส้ งั เกตเห็นเอง จึงไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งสอนคาศพั ท์ หรอื รปู ประโยคท้ังก่อน และหลงั การฟัง  ในข้ันตอนนี้นักเรยี นไม่จาเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจความหมาย และรปู ประโยคทง้ั หมด ถึงแม้นักเรยี นจะตอบผดิ ก็ไม่ เปน็ ไร เนอ่ื งจากมวี ัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ให้นักเรียนไดส้ งั เกตสานวน และคาศัพท์ทใี่ ชใ้ นสถานการณ์น้นั ๆ 12

ค่มู อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นรศิ รา ทองมี สครปิ ต์ b.ニパー c.ナッター d.ピヤ ❶ a.あきこ ❷ れい あきこ:はじめまして。たかだ あきこです。どうぞ、よろしく おねがいします。 1) ピヤ:はじめまして。ピヤです。どうぞ、よろしく。 2) ニパー:ニパーです。どうぞ、よろしく。 3) ナッター:はじめまして。ナッターです。どうぞ、よろしく おねがいします。 ➌ b.わたなべ c.リー d.ソムピット a.アーロン ❹ なまえ 1) :はじめまして。ソムピットです。タイ人です。あのう、お名前は? ソムピット :わたなべです。日本人です。どうぞ よろしく。 わたなべ :よろしく おねがいします。 ソムピット 2) かんこくじん リー :はじめまして。リーです。韓国人です。どうぞ、よろしく。 アーロン かんこくじん リー アーロン :リーさんは 韓国人ですね。 リー :はい。 アーロン :ぼくは アーロンです。よろしく お願いします。 りー :すみません。「アイロンさん」ですか。 アーロン :いいえ、「アーロン」です。アメリカ人です。 :ああ、アーロンさんですね。 :はい。 เฉลย d. 2) ( a ) ( c ) ❶ a. b. c. ❷ 1) ( d ) ( b ) 13

คู่มอื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นริศรา ทองมี れんしゅう れんしゅう 1 กำรแนะนำตัว จดุ ประสงค:์ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสามารถแนะนาตวั เปน็ ภาษาญี่ปุ่นได้ เน้อื หำ: ①はじめまして。○○です。どうぞ よろしく おねがいします。 ②Bさん。Cさんです。 はじめまして。○○です。どうぞ よろしく おねがいします。 คำศพั ท์ใหม:่ ~さん、どうぞ よろしく おねがいします、はじめまして、れい อักษรคนั จใิ หม:่ ― ลำดับกำรสอน ข้อ 1.1 1. นักเรียนทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう 1.1“สมมุตใิ ห้ นกั เรียนเปน็ บคุ คลตอ่ ไปน้ี ใหฝ้ กึ แนะนาตวั ” 2. ครูตรวจสอบว่า สิ่งทนี่ กั เรียนได้ฟงั ใน「どんなばめん」มีการ พดู แนะนาตวั อยา่ งไร 3. นักเรยี นฟังตวั อยา่ งของ れんしゅう 1 และใหน้ ักเรียนเดาสง่ิ ต่อไปนี้ 1) はじめまして น่าจะมีความหมายอยา่ งไร 2) เวลาบอกชือ่ ใชส้ านวนอะไร 3) どうぞ よろしく おねがいします น่าจะมี ความหมายอยา่ งไร 4. นักเรยี นตรวจสอบความหมายทห่ี นา้ ことば 5. นกั เรยี นลองสมมตุ ิวา่ เปน็ บคุ คลทกี่ าหนดใหต้ งั้ แต่ขอ้ 1 - 5 และลองพดู แนะนาตวั 6. ในข้อ 6 ใหน้ กั เรียนแนะนาตวั โดยใชช้ อื่ ของตนเอง Point!  ในการอธิบายการออกเสยี ง「です」ครอู าจให้นกั เรียนฟงั ตวั อย่างของ れんしゅう 1 และ ลองสงั เกตดดู ว้ ยตนเอง ว่ามกี ารออกเสยี งอย่างไร แล้วครูจงึ คอ่ ยตรวจสอบอีกคร้งั หนึง่  การให้นกั เรียนฝกึ คดิ คาดเดาเปน็ การจัดการสอนแบบใหน้ กั เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง ดงั นัน้ ครูจงึ ไม่ จาเป็นตอ้ งสอนไวยากรณก์ ่อนเขา้ แบบฝึกหัด และอาจใหน้ กั เรยี นอา่ นหนา้ ไวยากรณ์อกี คร้งั หลงั จากฝกึ ได้ 14

ค่มู อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นรศิ รา ทองมี ลำดับกำรสอน ขอ้ 1.2 1. หลงั จากจบแบบฝกึ หัด 1.1 แล้ว ครเู รยี กนกั เรยี นออกมา 2 คน แล้ว ให้แนะนาตัวเหมือนในตวั อย่าง 2. นักเรยี นจับคกู่ บั เพอ่ื น แลว้ ผลัดกนั แนะนาตวั 3. หากมเี วลา นักเรยี นสลบั ค่กู บั คอู่ น่ื ผลดั กนั แนะนาตวั อกี หลาย ๆ คู่ Point!  การให้นกั เรยี นจับคู่ฝึกกนั หลาย ๆ คู่ เปน็ การฝึกทีท่ าให้นักเรยี นได้ฝึกพดู และทาให้พดู ได้คลอ่ งขน้ึ ลำดับกำรสอน ขอ้ 1.3 1. นกั เรยี นทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう 1.3 “แบ่งกลุ่มออกเปน็ กลมุ่ ละ 3 คน แลว้ แนะนาใหร้ ้จู กั ซ่งึ กนั และกนั ” 2. ให้นักเรยี นดทู ี่ภาพประกอบแลว้ และช่วยกนั คิดว่าทงั้ 3 คน กาลงั พดู คุยอะไรกนั อยู่ 3. ครูให้ดูประโยคตวั อยา่ ง แลว้ เรียกนักเรยี นมาขา้ งหนา้ 2 คน โดยทีค่ รู เปน็ A และนักเรยี นเปน็ B และ C (ประโยคในวงเล็บสามารถละได)้ เช่น T (A): Bさん、Cさんです。 C:はじめまして。Cです。 どうぞ よろしく(おねがいします)。 B:はじめまして。Cです。 どうぞ よろしく(おねがいします)。 4. ถามนกั เรียนวา่ ใครกาลงั แนะนาใครให้รจู้ กั 5. นักเรยี นฝกึ พูดประโยคท่ีใช้แนะนาผู้อ่นื ตามประโยคตวั อยา่ ง 6. นกั เรียนแบง่ กลุ่มละ 3 คน และให้ แต่ละคนผลดั กันพูดแนะนาตวั 7. หากมีเวลา ครูอาจเรยี กตวั แทนออกมาแสดงใหเ้ พื่อนดู 2 – 3 กลุ่ม Point!  ควรใหน้ กั เรียนจบั กลุ่มกันฝึกพดู และได้สลบั บทบาทกนั พูด เพอ่ื ทจ่ี ะได้ฝึกเปน็ คนทีแ่ นะนาผอู้ นื่ และแนะนาตนเอง 15

คู่มือครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นรศิ รา ทองมี れんしゅう 2 จดุ ประสงค:์ เพอ่ื ให้นักเรยี นฝกึ พูดรปู ประโยคบอกเลา่ และปฏิเสธเกย่ี วกบั อาชพี ได้ เน้ือหำ: คาศพั ทเ์ กีย่ วกับอาชพี ~です。/~ではありません。 คำศัพทใ์ หม:่ いしゃ、エンジニア、かいしゃいん、ガイド、かしゅ、ぐんじん、けいさつかん、 こうむいん อักษรคนั จิใหม:่ ― ลำดับกำรสอน 1. นักเรียนทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう 2 “บอกวา่ บุคคล ต่อไปนีท้ าอาชีพน้นั หรอื ไม่ (○= ทาอาชพี นั้น ×= ไม่ทา อาชพี นนั้ )” 2. นกั เรยี นดตู วั อยา่ ง れい1 れい 2 และสังเกตทเ่ี คร่อื งหมาย ○ และ × 3. นกั เรียนอ่านและ ฟงั ซีดขี องประโยคตวั อย่าง 4. นกั เรียนสังเกตวา่ หากทาอาชีพนน้ั จะตอ้ งพูดว่าอยา่ งไร และหาก ไมไ่ ด้ทาอาชีพนั้น จะพูดว่าอยา่ งไร 5. นักเรียนฟงั ประโยคตวั อย่างอกี คร้งั และสังเกตการออกเสยี งคาวา่ 「ではありません」ซึ่งเสยี งตวั 「は」ในคานั้นออกเสียง แตกตา่ งจากอกั ษรฮิระงะนะ は ท่เี คยเรยี นมา 6. จากนน้ั ฝึกตั้งแตข่ อ้ 1 - 6 โดยครพู ดู ช่ืออาชพี และบอก ○ หรือ × แลว้ ใหน้ ักเรียนตอบ เช่น T : いしゃ ○(まる) S:いしゃです。 7. นกั เรยี นจบั คู่กับเพอ่ื นสลบั กันช้ีรปู แลว้ ใหเ้ พือ่ นตอบ 8. ครูลองถามนักเรียนโดยไม่เรียงข้อ อาจจะให้ลองตอบทีละคน Point!  การนาเสนอคาศัพท์จนแม่นยาแล้วค่อยทาแบบฝึกหัดจะใช้เวลามาก แต่การสอนแบบใหม่ ที่ให้ นักเรียนทาแบบฝึกหดั ไปด้วยจาคาศพั ท์ไปด้วยน้ัน จะช่วยแบ่งเบาภาระในการจาคาศัพท์แก่ นกั เรียน แม้นักเรียนยงั จาคาศัพทไ์ มไ่ ดก้ ็จะสามารถทาแบบฝกึ หดั ได้  หากต้องการใหน้ กั เรยี นแม่นคาศพั ท์ ครูอาจฝึกฝนเพมิ่ เตมิ หลังจากทาแบบฝกึ หัดแลว้ 16

คมู่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นริศรา ทองมี れんしゅう 3 จุดประสงค:์ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสามารถพดู ประโยคบอกเลา่ และปฏิเสธเพื่อบอกรายละเอียดของบุคคลได้ เน้อื หำ: ~です。/ ~ではありません。 คำศัพท์ใหม:่ こうこう 1 ねんせい、こうこう 2 ねんせい อกั ษรคนั จิใหม:่ ― ลำดบั กำรสอน 1. นกั เรยี นตรวจสอบโจทย์ れんしゅう 3 “บอกว่าบคุ คลต่อไปน้ที า อาชีพอะไร หรอื เป็นนักเรยี นชั้นปอี ะไร” 2. นกั เรยี นอ่านและฟังซดี ปี ระโยคตวั อยา่ ง 3. นกั เรียนชว่ ยกันคิดเกยี่ วกับเน้อื หาวา่ มรี ายละเอียดอยา่ งไร เช่น ปยิ ะ เป็นใคร มีอาชพี อะไร 4. นกั เรียนฟงั ประโยคตวั อย่างอกี 1 ครงั้ แลว้ พดู ออกเสยี งตาม 5. นกั เรยี นฝึกพูดประโยคบอกเลา่ และปฏิเสธในขอ้ 1 - 2 โดยครพู ูดช่อื อาชพี และช้นั ปกี ารศึกษา และบอก ○ และ × แล้วให้ นักเรียนตอบ เชน่ T : ウェオダオさん かしゅ ○(まる) ガイド×(ばつ) S:ウェオダオさんは かしゅです。 ガイドではありません。 6. ในขอ้ 3 ใหน้ กั เรียนกาหนดเอง โดยใส่ชอ่ื ของใครกไ็ ด้ อาจจะเป็นเพอ่ื น รุ่นพี่ หรอื รนุ่ น้อง โดยนกั เรียนกาหนด ○และ × เอง 7. นกั เรียนจับค่แู ละบอกเกีย่ วกบั บคุ คลในข้อ 3 ใหเ้ พอื่ นฟัง Point!  ครูควรใหน้ กั เรียนสงั เกตวา่ รปู ประโยคที่ฝกึ นแี้ ตกต่างจากวธิ กี ารพดู ใน れんしゅう 2 อย่างไร โดยไมต่ ้องอธิบาย 17

คูม่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นรศิ รา ทองมี れんしゅう 4 จดุ ประสงค:์ เพอื่ ให้นกั เรยี นสามารถพูดประโยคคาถาม และตอบรบั ได้ เนอื้ หำ: ~ですか。 はい、そうです。/ はい、~です。 คำศพั ทใ์ หม:่ がくせい、こうこうせい、はい、はいゆう อักษรคนั จใิ หม:่ ― ลำดบั กำรสอน 1. นกั เรียนตรวจสอบโจทย์ れんしゅう 4 “จบั คถู่ ามและตอบ เกย่ี วกบั อาชพี ของบคุ คลตอ่ ไปน้ี” 2. นกั เรยี นสังเกตรูป และคาศพั ท์ทเี่ ขยี นกากับใต้รปู จบั คู่กบั เพ่ือนคาด เดาวา่ ตัวละครในขอ้ 1 - 6 มีอาชพี อะไรบา้ ง 3. นกั เรียนฟงั ซดี แี ละอา่ นตวั อยา่ ง แล้วใหค้ ดิ วา่ ทฟี่ งั ไปมเี นอื้ หาอยา่ งไร หากเปน็ ประโยคคาถาม จะต้องพดู วา่ อย่างไร 4. นกั เรยี นฟงั ตวั อยา่ งอีกครง้ั ครูตรวจสอบความหมาย 5. ครูลองถามนักเรยี นโดยใช้ข้อ 1 ดังตวั อยา่ ง T: ナッターさんは こうこうせいですか。 S: はい、そうです。(はい、こうこうせいです) 6. นักเรียนจบั ค่ผู ลัดกนั ถามและตอบแบบฝึกหัดตั้งแตข่ ้อ 2 - 6 Point!  ครูอาจให้นักเรยี นลองตงั้ คาถามเองเกย่ี วกับบคุ คลทเ่ี ป็นท่ีรจู้ กั กไ็ ด้ 18

คมู่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นรศิ รา ทองมี れんしゅう5 จดุ ประสงค:์ เพื่อให้นกั เรียนสามารถพดู ประโยคคาถาม และตอบปฏเิ สธได้ เน้อื หำ: ~ですか。 いいえ、ちがいます。/ いいえ、~ではありません。 คำศัพท์ใหม:่ とも いいえ、こいびと、こうこう 3 ねんせい、せんせい、ちがいます、友だち อักษรคนั จใิ หม:่ 友 ลำดับกำรสอน 1. นกั เรียนตรวจสอบโจทย์ れんしゅう 5 “จบั คถู่ ามและตอบ ปฏเิ สธเกีย่ วกบั ข้อมลู ของบคุ คลต่อไปนี้” 2. นักเรียนอ่านและฟังซดี ีตวั อยา่ ง แลว้ วิเคราะห์วา่ นา่ จะมีความหมาย อย่างไร 3. นักเรียนฟังตวั อยา่ งอกี ครง้ั แลว้ พดู ตาม 4. นักเรยี นอา่ นคาศพั ท์ตงั้ แตข่ อ้ 1 - 6 จากนั้นตรวจสอบความหมายกับ เพือ่ น 5. นักเรยี นผลดั กนั ถาม และตอบแบบฝกึ หดั ตั้งแตข่ อ้ 1 - 6 ในขณะท่ีครู เดินตรวจความถกู ต้อง 6. ครอู าจตรวจสอบความถกู ตอ้ งโดยการแบง่ นกั เรียนเป็น A กบั B แล้ว ใหล้ องถามตอบอกี ครั้ง Point!  หากมเี วลา ครอู าจตั้งคาถามเก่ียวกับคนทร่ี ูจ้ กั ดี แล้วใหน้ ักเรยี นตอบ 19

คู่มอื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นริศรา ทองมี れんしゅう 6 จดุ ประสงค:์ นกั เรียนพูดประโยคบอกเลา่ โดยใช้คาชว่ ย も เนือ้ หำ: Nも Nです。 คำศพั ท์ใหม:่ タイ、ชือ่ ประเทศ + じん 人、タイ人 じん อักษรคนั จใิ หม:่ 人 ลำดบั กำรสอน 1. นกั เรยี นตรวจสอบโจทย์ れんしゅう 6 “บอกข้อมูลเกี่ยวกบั บุคคล ทม่ี ีสถานภาพเหมอื นกันตอ่ ไปน้ี” 2. นกั เรียนดูภาพบคุ คลในตวั อย่าง สงั เกตว่ามีใครบ้างและมีสถานภาพ อะไร 3. นกั เรยี นอ่านประโยคตวั อยา่ ง ฟงั ซดี ี และนกั เรยี นจับคกู่ บั เพอื่ นชว่ ยกัน คดิ ความหมายและวธิ กี ารใช้คาชว่ ย も 4. นกั เรยี นดูภาพในข้อ 1 - 2 แล้วสังเกตข้อมลู ของบุคคลว่าเหมอื นกนั ตรงไหนจากน้ันครูจงึ ใหน้ ักเรียนช่วยกันคดิ วิธีการใช้คาช่วย も 5. ในขอ้ 3 - 4 นกั เรยี นกาหนดชอื่ ของบุคคลเองตามความเปน็ จริง อาจใช้ ช่ือของเพอื่ นรว่ มช้นั ก็ได้ 6. นกั เรยี นจับคกู่ บั เพอ่ื นผลดั กันพูดประโยคในขอ้ 3 - 4 7. หากมเี วลา ครอู าจสุ่มเรยี กนกั เรยี นใหพ้ ดู 2 – 3 คน Point!  ครคู วรใหน้ ักเรียนได้สงั เกตและทาความเข้าใจความหมายของคาชว่ ย も ดว้ ยตนเอง 20

คมู่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นริศรา ทองมี れんしゅう7 จุดประสงค:์ นกั เรียนตง้ั คาถามโดยการใชค้ าช่วย も และตอบรับหรือตอบปฏเิ สธได้ เนอ้ื หำ: Nも Nですか。 いいえ、 N1 は N3 です。 คำศัพทใ์ หม:่ かんこく、こうはい、せんぱい、そうです、ちゅうごく อกั ษรคนั จใิ หม:่ ― ลำดบั กำรสอน 1. นักเรยี นตรวจสอบโจทย์ れんしゅう 7 “จบั คถู่ ามตอบขอ้ มลู เก่ยี วกับสถานภาพของบคุ คลต่อไปน้ี” 2. นักเรียนดรู ูปบคุ คลในตวั อยา่ ง แลว้ สอบถามว่ามีใครบา้ ง และมี สถานภาพอะไร 3. นกั เรยี นอา่ น และฟงั ซีดีของบทสนทนาในตัวอย่าง ครสู อบถามว่าบท สนทนาทไี่ ด้ฟังไปมีความหมายอยา่ งไร อาจให้ฟงั ซดี อี กี ครั้งหนง่ึ และให้ นักเรียนชว่ ยกนั คิดเกีย่ วกบั การใชค้ าช่วย も ในคาถาม และวิธกี ารตอบ ปฏเิ สธ จากนนั้ ครสู อบถามนกั เรยี นเกีย่ วกับสิ่งทสี่ รุปได้ 4. ครสู ุ่มเรยี กนกั เรยี นพดู บทสนทนาในตวั อยา่ ง โดยครเู ปน็ Aและนกั เรยี น เปน็ B 5. นกั เรยี นตรวจสอบข้อมลู ของบคุ คลในขอ้ 1) – 3) และจับคกู่ นั ฝึกบท สนทนาตั้งแตข่ ้อ 1) - 3) Point!  พยายามใหน้ ักเรยี นไดส้ ังเกตเห็นการตงั้ คาถามโดยการใช้คาชว่ ย も และตอบรับหรอื ตอบปฏิเสธ ได้ด้วยตนเอง 21

คมู่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นรศิ รา ทองมี れんしゅう 8 จดุ ประสงค:์ นักเรยี นบอกชือ่ ครทู ่ีสอนวชิ าต่าง ๆ โดยใช้ の ทเ่ี ชือ่ มคานามกับคานามได้ เนื้อหำ: Nは Nの Nです。 คำศพั ทใ์ หม:่ えいご、おんがく、ช่อื ประเทศ+ご、日に ほ本んご、しゃかい、すうがく、ぶっきょう、 にほん たいいく、日本、びじゅつ、ぶつり、ほけんたいいく、りか にほん อกั ษรคนั จิใหม:่ 日本 ลำดับกำรสอน 1. นกั เรยี นตรวจสอบโจทย์ れんしゅう 8 “บอกช่ือครใู นโรงเรยี น ทสี่ อนวิชาตอ่ ไปนี้” 2. นักเรยี นอ่านประโยคตวั อยา่ ง และชว่ ยกนั คิดวา่ ครูพชั นี และยะมะ กะวะ เป็นครสู อนวิชาอะไร 3. นักเรยี นฟงั ซีดี แลว้ ชว่ ยกันคดิ เกยี่ วกบั การใชค้ าชว่ ย の 4. นักเรยี นชว่ ยกันตรวจสอบคาศพั ท์ในตาราง 5. ครเู รยี กใหน้ กั เรยี นตอบทลี ะคน โดยครูพูดช่ือครูในโรงเรยี นและให้ นกั เรยี นบอกวา่ เปน็ ครผู ้สู อนวิชาอะไร หากมเี วลานกั เรยี นจับกล่มุ 3 - 4 คน แลว้ ผลัดกนั พดู ชือ่ ครู และให้เพ่อื นตอบ เช่น A :ワンチャイ先生 B :ワンチャイ先生は 日本語の 先生です。 22

คูม่ ือครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกลุ , นริศรา ทองมี れんしゅう9 จุดประสงค:์ นกั เรยี นบอกความสัมพนั ธข์ องบุคคลโดยใช้ の ทเี่ ชื่อมคานามกบั คานามได้ เนอ้ื หำ: Nは Nの Nです。 とう かあ คำศพั ทใ์ หม:่ こども、お父さん、お母さん อกั ษรคนั จใิ หม:่ 父、母 ลำดับกำรสอน ข้อ 9.1 บคุ คลตำมเนือ้ เร่อื ง 1. นักเรยี นตรวจสอบโจทย์ れんしゅう 9 “บอกความสัมพนั ธ์ของ บุคคลตามเนอ้ื เร่อื งและบคุ คลที่เก่ียวข้องกับนักเรียนตอ่ ไปน”้ี 2. นกั เรียนจบั คู่กับเพอ่ื นชว่ ยกนั ตรวจสอบภาพบุคคลในกรอบส่ีเหล่ียม 3. ครูสอบถามนักเรยี นวา่ มใี ครบา้ งและมีความสัมพันธก์ นั อย่างไร 4. นักเรยี นจบั คชู่ ว่ ยกนั ตรวจสอบคาศัพทท์ ี่เขยี นอยู่ทางด้านขวามือ 5. นกั เรยี นอา่ นประโยคตวั อยา่ งและฟงั ซดี ี ครตู รวจสอบความหมาย โดยอาจ ถามดว้ ยภาษาไทยวา่ “นภิ าเปน็ ใคร?” 6. นักเรียนจับคกู่ ันผลัดกันชีท้ ร่ี ูป แล้วใหอ้ ีกคนหนง่ึ แตง่ ประโยคแสดง ความสมั พนั ธ์ของตวั ละครดังตัวอยา่ ง 7. ครูตรวจสอบความถกู ต้องโดยการชี้ทภี่ าพ แลว้ ใหน้ กั เรยี นตอบพร้อมกนั ข้อ 9.2 บุคคลทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั นักเรียน 1. นักเรยี นจบั คชู่ ว่ ยกนั ตรวจสอบความหมายของคาศพั ทแ์ สดง ความสมั พันธ์ของบคุ คลในกรอบสเ่ี หลี่ยมด้านขวา 2. นักเรียนอ่านประโยคตวั อยา่ ง และฟังซีดี ครสู อบถามว่าบคุ คลใน ประโยคตัวอย่างเป็นใคร 3. ครูยกประโยคตวั อยา่ งโดยใชช้ ่ือบุคคลท่มี ีชื่อเสียง เช่น T: ナデートさんは わたしの こいびとです。 4. นกั เรยี นใช้ とも แต่งประโยค ซง่ึ จะ せんぱい、こうはい、友だち ใช้บุคคลท่มี ีช่ือเสยี ง หรอื ข้อมูลจรงิ ก็ได้ 5. ครูให้นักเรยี น 3 - 4 คน รวมกลมุ่ กนั และผลัดกนั พดู ถงึ บคุ คลทม่ี ีความ เกย่ี วขอ้ งกับตนเอง 6. หากมเี วลาครูใหน้ กั เรยี นออกมานาเสนอและพูดใหเ้ พอื่ นฟัง 23

คู่มอื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นริศรา ทองมี はなしてみましょう จุดประสงค:์ นกั เรียนพดู แนะนาตนเองและแนะนาผู้อื่นให้รู้จกั กนั คำศัพทใ์ หม:่ みなさん อกั ษรคนั จใิ หม:่ ― ลำดับกำรสอน 1. นักเรยี นตรวจสอบสถานการณ์สมมตุ ิของ はなしてみましょう “สมมุตวิ ่านกั เรียนอยู่ท่งี านเลีย้ งในญป่ี นุ่ ใหแ้ นะนาตนเอง แนะนา เพือ่ นให้ทุกคนร้จู ัก” 2. นักเรยี นสมมุติ ชื่อ อาชีพ สัญชาติของตนดังตวั อยา่ งในข้อ 1 (ไม่ จาเป็นตอ้ งตรงกับความเปน็ จริง) 3. นกั เรยี นตรวจสอบคาสง่ั ในข้อ 2 “แนะนาตวั กบั เพื่อนตามทส่ี มมุต”ิ จากนนั้ นกั เรียนดบู ทสนทนาตัวอยา่ ง 4. ครเู รียกนกั เรยี นออกมา 2 คน ออกมาแนะนาตวั ตามตวั อยา่ ง 5. นักเรียนตรวจสอบโจทย์ขอ้ 3 “กรอกข้อมูลของเพือ่ นใหม่ 3 คนลงใน ตาราง” และตรวจสอบว่าจะต้องกรอกข้อมูลอะไรลงในตาราง 6. นกั เรยี นใชข้ ้อมลู ทตี่ นเองกาหนดไวใ้ นขอ้ 1 ผลัดกนั แนะนาตวั กบั เพอ่ื นใน หอ้ ง และนาขอ้ มูลมากรอกในตารางจนครบ 3 คน 7. เม่อื นกั เรียนกรอกขอ้ มูลลงในตารางครบแล้ว นกั เรียนตรวจสอบ โจทยข์ อ้ 4 “แนะนาเพ่ือนใหม่ใหท้ ุกคนรู้จักโดยใชข้ อ้ มลู ท่ไี ดม้ า” 8. นกั เรยี นตรวจสอบประโยคตวั อยา่ งในข้อ 4 ครอู าจเรียกนักเรียน ออกมาพดู เปน็ ตวั อยา่ ง 1 – 2 คน 9. นกั เรียนจับกลมุ่ 3 – 4 คน ลองซอ้ มแนะนาเพือ่ นใหมใ่ ห้ซง่ึ กนั และกัน 10. ครสู ุ่มเรยี กนกั เรียนนาเสนอหน้าหอ้ ง Point!  เน่ืองจากเปน็ การฝึกสนทนาทใี่ กล้เคียงกับสถานการณ์จรงิ ครูจงึ ไมค่ วรแก้ไขหากนักเรยี นพดู ผดิ ในระหวา่ งการ สนทนา แตค่ วรสังเกตดูหา่ ง ๆ และนาจุดทีค่ วรแกไ้ ขมาอภิปรายหลังจบกจิ กรรมแลว้ เพราะหากครูเขา้ ไปแก้ไข ในระหวา่ งการสนทนา อาจทาใหน้ กั เรยี นหมดความกระตอื รอื ร้นในการพูดลง 24

คมู่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นริศรา ทองมี よんでみましょう จดุ ประสงค์ : สามารถอ่านและทาความเขา้ ใจคาแนะนาครอบครัวได้ คำศัพทใ์ หม:่ ― อกั ษรคนั จิใหม:่ ― ลำดบั กำรสอน 1. นักเรียนทาความเข้าใจโจทยข์ อง よんでみましょう “จับคู่ ขอ้ ความแนะนาตัวเองกบั ครอบครัวตอ่ ไปนี้ใหต้ รงกัน” 2. นักเรียนสังเกตรายละเอยี ดของภาพ ว่าบคุ คลในแตล่ ะภาพนา่ จะมี อาชพี อะไร เพราะเหตใุ ดจงึ คดิ เชน่ นัน้ 3. นกั เรียนอ่านในใจ และลองจบั คู่ขอ้ ความแนะนาตวั เองและครอบครัว 4. นกั เรียนจบั คูแ่ ละตรวจสอบคาตอบกบั เพอ่ื นวา่ ถูกตอ้ งหรือไม่ 5. นกั เรยี นฟังซดี ีและเฉลยคาตอบรว่ มกัน 6. ครอู าจตง้ั คาถามเพ่มิ เตมิ เพ่ือเปน็ การตรวจสอบความเขา้ ใจ เชน่ T:もりさんの お父さんは かいしゃいんですか。 S:いいえ、かいしゃいんではありません。 いしゃです。 T:きのしたさんの お父さんは 先生ですか。 S:いいえ、先生ではありません。 エンジニアです。 T:さとうさんの お母さんは えいごの 先生ですか。 S:いいえ、日本ごの 先生です。 T:たなかさんの お父さんは いしゃですか。 S:いいえ、いしゃではありません。 かいしゃいんです。 Point!  หลังจากที่นกั เรยี นอา่ น และจบั คู่ขอ้ ความกับรูปเสร็จแลว้ ครูอาจใหน้ กั เรยี นฟังซดี ีเพ่อื ให้นกั เรียนได้ฟงั accent และ intonation และจากนัน้ ลองอา่ นออกเสยี งดู เพอ่ื เปน็ การฝกึ อา่ นออกเสยี งใหถ้ กู ตอ้ ง  ในขณะท่ีนักเรียนตรวจสอบคาตอบกบั เพอื่ น ไม่ใช่เพยี งตรวจสอบคาตอบเทา่ นนั้ แตค่ วรแนะนาให้ นกั เรียนอธิบายวา่ ทาไมจึงตอบเช่นนั้นดว้ ย เฉลย รูปของครอบครวั もりさん คือ d c รปู ของครอบครวั きのしたさん คอื b a รปู ของครอบครัว さとうさん คอื รปู ของครอบครวั たなかさん คือ 25

คมู่ ือครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกลุ , นรศิ รา ทองมี かいてみましょう จดุ ประสงค:์ สามารถเขยี นแนะนาตัวเอง และบอกอาชีพคณุ พอ่ หรือคณุ แม่ได้ ลำดบั กำรนำเสนอ 1. นักเรียนทาความเข้าใจโจทย์ かいてみましょう”วาดหรอื ติดรูป แลว้ แนะนาตวั เอง และคณุ พอ่ หรอื คณุ แม่วา่ ทาอาชีพอะไร” 2. นักเรียนเตรียมรปู ถา่ ยของนักเรียน และคุณพอ่ หรอื คุณแม่ หรอื วาดรูป คุณพอ่ หรอื คุณแมข่ องตนเอง 3. นักเรียนเขยี นแนะนาตนเอง และอธบิ ายวา่ คณุ พ่อ หรอื คณุ แม่ทาอาชพี อะไร โดยดูตวั อยา่ งจากใน よんでみましょう 4. หากอาชีพของคุณพอ่ หรอื คุณแม่ของนักเรยี นไมม่ ใี นตารา นกั เรยี น สามารถลองค้นหาจากในพจนานุกรม หรอื อนิ เทอรเ์ นต็ แลว้ นามา ตรวจสอบกับครู หรอื ครูอาจใหน้ กั เรียนตรวจสอบใน “รวมคาศพั ท์ ตารา ภาษาญป่ี ุน่ อะกโิ กะโตะโทะโมะดะจิ” ก็ได้ 5. นกั เรยี นจบั กล่มุ แนะนาตัวเอง และครอบครัวใหเ้ พอื่ นฟงั Point!  หากนกั เรียนไมอ่ ยากพดู เก่ยี วกับครอบครวั ของตนเอง นกั เรยี นสามารถแตง่ เรอ่ื งราวเองได้  ขนั้ ตอนการเขียนนนั้ อาจใหเ้ ปน็ การบา้ นกไ็ ด้ แล้วคอ่ ยนาผลงานมานาเสนอในห้องเรียน  ในการจบั กลุ่มแนะนาครอบครวั ตนเองนนั้ ครอู าจแนะนาให้นกั เรยี นถามเพ่ือนทที่ าการแนะนา อยไู่ ดห้ ากมเี น้ือหาทต่ี นเองไม่เขา้ ใจ 26

คู่มอื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นรศิ รา ทองมี きいてみましょう จุดประสงค:์ สามารถฟงั และจบั ใจความสาคัญเก่ยี วกบั รายละเอยี ดของบุคคล ในบทสนทนาได้ คำศพั ท์ใหม:่ ― อักษรคนั จิใหม:่ ― ลำดับกำรสอน ขอ้ ❶ 1. นักเรียนทาความเขา้ ใจโจทยข์ อง きいてみましょう “ฟังขอ้ มูล ของบุคคลตอ่ ไปน้ี แลว้ เลือกคาตอบที่ถกู ต้อง” 2. นักเรียนสงั เกตรายละเอียดของรปู ตั้งแต่ข้อ 1 - 4 เช่น บุคคลในแต่ละรูปมี ชือ่ อะไร สัญชาตอิ ะไร และภาษาญี่ปุ่นพูดว่าอะไร 3. นกั เรียนฟงั ตัวอย่าง ครตู รวจสอบวิธกี ารตอบ โดยใหเ้ ลือกคาตอบที่ ตรงกบั ท่ไี ด้ฟังไป 4. นักเรยี นฝึกฟัง และวงกลมเลือกคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งตั้งแต่ขอ้ 1 - 4 ข้อ ❷ 1. นักเรยี นอา่ นตวั เลอื กตงั้ แตข่ ้อ 1 - 4 ครตู รวจสอบวา่ ชื่อแต่ละวชิ าใน ภาษาญ่ปี ่นุ คืออะไร 2. นักเรียนฟังตัวอย่าง ครูตรวจสอบวธิ ีการตอบ โดยใหเ้ ลือกคาตอบท่ี ตรงกบั ทีไ่ ดฟ้ งั ไป 3. นักเรียนฝึกฟังและวงกลมเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องต้งั แตข่ ้อ 1 - 4 4. นักเรยี นตรวจสอบคาตอบข้อ 1 และขอ้ 2 กับเพ่ือน หากมคี าตอบที่ไม่ ตรงกันมาก ครูให้ฟงั อีกคร้ัง แล้วเฉลยคาตอบทถ่ี กู ต้อง Point!  การทคี่ รตู รวจสอบคาศพั ทก์ อ่ นการฟงั จะทาใหน้ กั เรียนฟงั งา่ ยขึ้น  ในข้อ 2 อาจเสรมิ กจิ กรรม โดยการนาช่ือครใู นโรงเรียนมาถามตอบในลกั ษณะเดยี วกัน  27

ค่มู อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นรศิ รา ทองมี สคริปต์ ちゅうごくじん きいてみましょう 中 国 人 です。 ❶ タイ人です。 れい a あきこさんは b あきこさんは 日本人です。 c あきこさんは 1)a ピヤさんは ちゅうごくじん b ピヤさんは c ピヤさんは 中 国 人 です。 タイ人です。 日本人です。 2)a リーさんは 日本人です。 b リーさんは c リーさんは ちゅうごくじん 中 国 人 です。 かんこくじん 韓国人です。 3)a やまかわ先生は 日本人です。 b やまかわ先生は c やまかわ先生は ちゅうごくじん 中 国 人 です。 かんこくじん 韓国人です。 ちゅうごくじん 4)a ナッターさんは 中 国 人 です。 b ナッターさんは 日本人です。 c ナッターさんは タイ人です。 ❷ れい 男:パッチャニー先生は 日本語の 先生ですか。 女:はい、そうです。 1) 男:ワンナー先生は タイ語の 先生ですか。 すうがく 女:いいえ。数学の 先生です。 2) 男:ピヤさんは 先生ですか。 かいしゃいん 女:いいえ、先生ではありません。会社員です。 3) えいご 4) 男:ウィパー先生は 英語の 先生ですか。 เฉลย ❶ 1)b たいいく ❷ 1)b 女:いいえ。体育の 先生です。 男:え、タイ語ですか。 たいいく 女:いいえ。体育です。 男:マナさんは 先生ですか。 ねんせい 女:はい、1年生の 先生です。 2)c 3)a 4)c 2)b 3)c 4)a 28

คมู่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นรศิ รา ทองมี まんがでまとめ จดุ ประสงค:์ สามารถฟงั และอา่ นบทสนทนาในการ์ตนู แลว้ สรุปเรือ่ ง และตอบคาถามได้ คำศพั ทใ์ หม:่ お+N、おなまえ、さようなら、しつれいですが、そうですか、 ちち 父、なまえ、 はは なん、なんねんせい、母、むすめ อกั ษรคนั จิใหม:่ ― ตัวอย่ำงกิจกรรมทใ่ี ชด้ ำเนนิ กำรสอน 1. นักเรยี นอา่ นการ์ตนู และตอบคาถามเก่ยี วกบั เนอ้ื เรือ่ ง โดยจะอา่ นเอง คนเดยี ว หรืออ่านเป็นกลุ่มกบั เพอ่ื นกไ็ ด้ 2. ครตู ัดการ์ตูนเป็นท่อน ๆ แลว้ ใหน้ กั เรียนเรยี งลาดับเนอื้ เรอ่ื งเอง 3. ครูใหน้ ักเรยี นเอาเนอ้ื หาในการต์ นู มาแสดงเปน็ ละคร 4. ครลู บบทพดู ของตวั ละคร แลว้ ให้นักเรียน แตง่ บทพดู ของตวั ละครเอง ก่อน โดยอาจให้ทาเปน็ กลมุ่ เพอ่ื ให้นกั เรยี นไดค้ ดิ เนื้อหาเองก่อนการ อา่ นการต์ นู Point!  เมือ่ นกั เรยี นอ่าน และทาความเขา้ ใจเนอื้ หาของ まんがでまとめ แล้ว อาจให้นกั เรยี นฟงั ซดี ีเพอ่ื ตรวจสอบการ ออกเสยี งในบทสนทนาท่เี ปน็ ธรรมชาติ  หาก まんがでまとめ มไี วยากรณ์ใหม่ คาศัพท์ใหม่ หรือคันจใิ หม่ ครูควรสรปุ เกี่ยวกับส่งิ เหลา่ นใี้ นตอนทา้ ย ช่วั โมงอกี ครงั้ เฉลย 1)はい、ピヤさんは ナッターさんの お父さんです。 2)ナッターさんは こうこう 1 ねんせいです。 3)いいえ、あきこさんの お母さんは ガイドではありません。こうむいんです。 4)ナッターさんの お母さんは 日本語の先生です。 5)いいえ、リーさんは ナッターさんの 友だちではありません。 あきこさんの 友だちです。 6)いいえ、リーさんは 日本人ではありません。かんこくじんです。 29

คู่มอื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นริศรา ทองมี あきこ Can-do:1. สามารถแนะนาสถานที่ต่าง ๆ เช่น อาคารในโรงเรียน หอ้ งเรียน ได้ 2. สามารถถามหาสถานทีต่ า่ ง ๆ ได้ Flow Chart とびら เพอ่ื ให้เห็นสถานการณ์และบรบิ ทสนทนาเกี่ยวกบั “การแนะนาสถานทต่ี ่าง ๆ ในโรงเรียน” และทราบเป้าหมายการ เรยี นรู้ どんなばめん? เพ่อื ใหส้ ังเกตเห็นสานวนและคาศพั ท์ทใี่ ช้ในสถานการณ์ “การแนะนาสถานทต่ี า่ งๆในโรงเรียน” 基本練習 : แบบฝกึ คาศพั ท์และรปู ประโยคขัน้ พืน้ ฐานที่จาเป็นสาหรับการบรรลุเป้าหมายการเรยี นรู้ れんしゅう1 れんしゅう 7 :ถามหาสถานที่วา่ อยู่ทใ่ี ด Nが います/あります。 Nは どこですか。 れんしゅう2 -สถานท่ี です。 สถานท่ี に Nが います/あります。 れんしゅう 8:ถามหาสิ่งของวา่ อยทู่ ่ีใด れんしゅう 3 Nは どこですか。 ことば:สถานท่ี -สถานที่ です。 れんしゅう 4 สถานท่ี に Nも ありますか。/いますか。 -はい、あります。/います。 -いいえ、N は ありません。/いません。 れんしゅう 5 สถานที่1 に Nが ありますか。 -はい、あります。สถานท2ี่ にも あります。 れんしゅう 6 สถานท่ี に N と Nが ありますか。 や 応用練習:แบบฝกึ ประยุกต์ใช้ 4 ทักษะให้ได้ตามเป้าหมายการเรียนรู้ประจาบท はなしてみましょう よんでみましょう かいてみましょう きいてみましょう พดู คุยแนะนาสถานทใี่ นโรงเรยี น อ่านเรือ่ งโรงเรียนของกิตติ เขียนแนะนาโรงเรียน ฟังคาบรรยายเกี่ยวกับสถานทใี่ นโรงเรยี น まとめ:ทบทวนส่ิงทีไ่ ด้เรียน まんがでまとめ ふりかえり:ทบทวนและตรวจสอบการเรียนรขู้ องตนเองวา่ บรรลุเปา้ หมายการเรียนรหู้ รอื ไม่ 30

คมู่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นริศรา ทองมี หนำ้ แรกของบท จุดประสงค:์ เพื่อให้นกั เรียนเหน็ สถานการณ์พาชมโรงเรยี น แลว้ แนะนาหอ้ งเรยี น และอาคารในโรงเรียนได้ ลำดบั กำรสอน 1. นกั เรยี นดูหัวข้อบทท่ี 2 「がっこうあんない พาชมโรงเรยี น」 สังเกตภาพและคดิ ว่าณัฎฐากับอะกิโกะอยู่ทใี่ ด และกาลังคยุ อะไรกนั อยู่ 2. นกั เรียนจับกลุม่ 3 – 4 คน ระดมสมองวา่ ・ เวลาท่ีพาเพือ่ นนักเรียนแลกเปลีย่ นชมโรงเรียน นกั เรยี นจะพา ไปชมท่ไี หนบา้ ง ・ เวลาพาไปชมสถานที่ นกั เรยี นจะอธบิ ายอะไรบา้ ง 3. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอสิง่ ทพ่ี ดู คยุ กนั ในกลุ่ม 4. นกั เรยี นตรวจสอบ あきこ Can-do 1) สามารถแนะนาสถานท่ีต่าง ๆ เช่น อาคารในโรงเรียน หอ้ งเรยี น ได้ 2) สามารถถามหาสถานทีต่ ่าง ๆ ได้ Point!  ในข้ันตอนการระดมสมอง พยายามใหน้ ักเรยี นไดช้ ว่ ยกันคดิ ใหน้ กั เรียนนกึ ถงึ ประสบการณข์ องตนเอง ว่า ตอนทีแ่ ขกหรอื เพอื่ นใหม่มาที่โรงเรยี นนัน้ นักเรียนได้พาไปชมท่ีไหน หรือแนะนาอาคารใดในโรงเรยี นได้บา้ ง หากนักเรยี นนึกไม่ออก ครคู วรตง้ั คาถาม เช่น นักเรียนอยากจะแนะนาห้องใด อาคารเรยี นใดใหก้ ับเพ่อื น ใหม่บา้ ง 31

คู่มอื ครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นริศรา ทองมี どんなばめん? จดุ ประสงค:์ เพอื่ ให้นักเรียนสงั เกตเห็นวา่ การแนะนาสถานท่ีตา่ งๆมกี ารใชส้ านวน และคาศพั ทอ์ ะไรบ้าง ลำดับกำรสอน ข้อ ➊ 1. นกั เรยี นสงั เกตภาพณัฎฐากับอะกิโกะ และสังเกตเครอื่ งหมาย คาถามเกยี่ วกับบคุ คล และส่ิงของในกรอบสี่เหล่ยี ม แลว้ เดาว่าทงั้ 2 คนกาลงั คุยกันเร่ืองอะไร 2. นักเรยี นดภู าพในขอ้ ➋ และช่วยกันคิดวา่ ตามสถานทีต่ า่ งๆ มใี คร หรอื มีส่งิ ใดอยู่ 3. นกั เรยี นอ่านโจทย์ข้อ ➊ “ฟังแล้วชี้ภาพตามที่ไดย้ ิน” 4. นกั เรียนฟังซดี ีและช้ภี าพไปตามลาดับท่ไี ดย้ นิ ข้อ ➋ 1. นักเรียนอา่ นโจทย์ข้อ ➋ “ตามสถานที่ตา่ ง ๆ ท่ีณฏั ฐาพาชมมใี คร หรอื มีอะไรอยู่ โดยเลือกวงกลมลอ้ มรอบ a หรอื b” 2. นักเรยี นฟงั ซดี วี ่า สถานทีต่ ่าง ๆ ท่ณี ัฎฐาพาชม มใี ครหรอื มีอะไรอยู่ แลว้ วงกลมล้อมรอบ a หรือ b 3. ครใู หน้ ักเรยี นจบั คเู่ ชค็ คาตอบกันเอง ครูอาจถามนกั เรยี นวา่ ไดย้ นิ คาศัพทห์ รือสานวนอะไรบ้าง Point!  เน่อื งจากเป็นการนาเขา้ สูบ่ ทเรียน เพือ่ ให้นกั เรยี นได้สังเกตเหน็ เอง จงึ ไม่จำเป็นต้องสอนคาศพั ทห์ รือรูป ประโยคทั้งกอ่ นและหลงั การฟงั  ในขัน้ ตอนน้ีนักเรียนไมจ่ าเป็นต้องเขา้ ใจความหมายและรูปประโยคทงั้ หมด เนื่องจากมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหน้ ักเรียนไดส้ ังเกตสานวน และคาศัพทท์ ใี่ ชใ้ นสถานการณ์นนั้ ๆ  นักเรียนฟังคาศัพทแ์ ล้วชี้ภาพในขอ้ ➊ เพื่อใหท้ ราบวา่ ณฏั ฐาพาชมสถานทใี่ ดบา้ ง จะช่วยให้นกั เรยี น สามารถคาดเดาเนือ้ หาในขอ้ ➋ ได้ 32

คู่มือครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกลุ , นรศิ รา ทองมี สคริปต์ a.スリーラット b.リー ข้อ ➊ a.パッチャニー b.やまかわ a.ペン b.くだもの れい きょうしつ a.おかし b.パン a.にほんごの本 b.まんが 1 きょうしつ 2 ばいてん 3 しょくどう 4 としょしつ ข้อ ➋ れい ナッター:ここは 日本語の きょうしつです。 あきこ :だれが いますか。 ナッター:スリーラットさんが います。 あきこ :そうですか。 1) ナッター:あそこも 教室です。 あきこ :男の 先生が いますね。 ナッター:はい、やまかわ先生です。 あきこ :あ、やまかわ先生。 2) ばいてんです。 ナッター:ここは ありますか。 あきこ :なにが ありますよ。 ナッター:ペンが あきこ :へえ。 3) ナッター:ここは しょくどうです。 あきこ :なにが ありますか。 ナッター:パンが あります。 あきこ :パンですか。 4) ナッター:ここは としょしつです。 あきこ :そうですか。にほんごの 本が ありますか。 ナッター:はい、にほんごの ほんが ありますよ。 あきこ :いいですね。 เฉลย れい 1)きょうしつ 2)ばいてん 3)しょくどう 4)としょしつ a きょうしつ abab 33

คมู่ ือครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกลุ , นรศิ รา ทองมี れんしゅう れんしゅう 1 มอี ะไรบ้ำง จุดประสงค:์ เพื่อให้นักเรียนสามารถพูดประโยค 「います」 และ「あります」 ได้ เน้อื หำ: คาศพั ท์เกีย่ วกับสง่ิ ของและสิ่งมชี ีวติ N が います。 N が あります。 คำศัพท์ใหม:่ おとこ おんな こ あります、いす、います、 男 、 女 、かばん、子、こくばん、 ほん ほん CDプレーヤー、つくえ、テレビ、とけい、ノート、本、本だな อักษรคนั จิใหม:่ おとこ おんな こ ほん 男 、 女 、子、本 ลำดับกำรสอน ข้อ 1.1 1. นักเรียนทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう 1.1 “ฟงั คาศัพทแ์ ลว้ เตมิ หมายเลข 1 - 5 ลงใน ( ) ท่ีตรงกบั ภาพ” 2. นกั เรียนดูภาพวา่ มีอะไรบ้าง 3. ครูพูดคาศพั ท์ทลี ะคาตามลาดบั ในแบบฝกึ หดั เชน่ 本、ノート、女 の子 แลว้ ใหน้ ักเรยี นชี้ภาพไปตามท่ไี ด้ยนิ 4. นักเรียนฟังซีดีแลว้ เตมิ หมายเลข 1 - 5 ลงใน ( ) ท่ีตรงกับภาพ 5. นักเรียนตรวจสอบคาตอบกับเพ่ือน และชว่ ยกันคิดว่า います และ あります ใช้ต่างกันอย่างไร ขอ้ 1.2 1. นักเรยี นทาความเข้าใจโจทย์ れんしゅう 1.2 “ฟงั คาศัพทแ์ ล้วเตมิ หมายเลข 6 - 11 ลงใน ( ) ที่ตรงกบั ภาพ” 2. นกั เรยี นดภู าพวา่ มีอะไรบา้ ง และชว่ ยกันคิดวา่ คาใดนา่ จะใช้ います หรอื あります 3. นักเรียนฟงั ซดี ีแลว้ เตมิ หมายเลข 1 - 6 ลงใน ( ) ทต่ี รงกับภาพ 4. นกั เรยี นตรวจสอบคาตอบกบั เพอ่ื น และช่วยกันคดิ และสรปุ กฎการใช้ います กับ あります ขอ้ 1.3 1. นกั เรยี นทาความเข้าใจโจทย์ れんしゅう 1.3 “พดู ตอ่ ประโยค โดยเลือกใช้ います หรือ あります โดยใช้คาศัพทใ์ น ขอ้ 1.1 - 1.2 และคาศพั ท์ทเี่ รียนมา” 2. นักเรียน ดูการพดู ต่อในตวั อยา่ ง และชว่ ยกนั ทบทวนวธิ ีการใช้ います และ あります 3. นกั เรียนกาหนดคานามเองจากคาศัพทใ์ นขอ้ 1.1 - 1.2 และคานามท่ไี ด้ เรียนมา จากนนั้ ใหเ้ พือ่ นต่อประโยควา่ จะใชก้ รยิ าตวั ใดระหวา่ ง いま す และ あります โดยพดู ต่อกันเปน็ ลกู โซ่ ตามตวั อยา่ ง 34

ค่มู ือครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นริศรา ทองมี Point!  หากนกั เรยี นนึกคาศัพทไ์ ม่ออก ครอู าจชี้แนะให้นกั เรยี นดคู าศพั ทใ์ นบทท่ี 1 ทไ่ี ด้เรียนผ่านมา หรือส่ิง ตา่ ง ๆ ทีอ่ ยูร่ อบ ๆ นกั เรียน หากสิง่ นนั้ เปน็ คาศัพทท์ ่นี กั เรยี นยังไมไ่ ด้เรยี น อาจใช้ภาษาไทยแทนได้  ครอู าจแบง่ นักเรยี นเป็นกลุม่ ยอ่ ย เพ่อื ให้นักเรยี นไดฝ้ กึ ใช้ います และ あります พูดตอ่ กนั เปน็ ลูกโซไ่ ด้หลายครงั้ สคริปต์ 1.1 れい 本が あります。 1. テレビが あります。 2. こくばんが あります。 3. ノートが あります。 4. 女の子が います。 5. 本だなが あります。 เฉลย b. c. (3) (4) a. (れい) e. f. (5) (2) d. (1) 1.2 6. とけいが あります。 7. かばんが あります。 8. CDプレーヤーが あります。 9. いすが あります。 10. つくえが あります。 11. 男の子が います。 เฉลย h. i. j. k. l. (10) (9) (7) (8) (11) g. (6) 35

คูม่ ือครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกลุ , นรศิ รา ทองมี れんしゅう2 จุดประสงค:์ เพ่ือใหน้ กั เรียนสามารถถามตอบหรือบรรยายเก่ยี วกับสงิ่ ทีม่ อี ยู่ในสถานท่นี ้ัน ๆ ได้ เนื้อหำ: สถานที่ に N が います。 สถานท่ี に N が あります。 คำศัพท์ใหม:่ うえ した なか 上、下、中、なに อกั ษรคนั จิใหม:่ 上、下、中 ลำดบั กำรสอน 1. นักเรยี นทาความเข้าใจโจทย์ れんしゅう2 “จบั ค่แู ละผลดั กนั ถาม ตอบเก่ียวกบั สิ่งของทอ่ี ยตู่ ามที่ตา่ ง ๆ ในภาพ” 2. นกั เรยี นดูภาพ และคาศพั ทเ์ ก่ียวกบั ตาแหนง่ ท่ตี งั้ แล้วฝึกทาทา่ ตามที่ครู บอก うえ ช้ีนวิ้ ข้ึนขา้ งบน した ช้นี วิ้ ลงขา้ งล่าง なか ทานวิ้ มือขา้ งซา้ ยเปน็ รูป 上 下 中 ตัว O แล้วเอานวิ้ ชจี้ ้ิมลงตรงกลาง 3. ครูเพ่ิมคาขยาย Nの 上、 Nの 下、 Nの 中 แล้วให้นกั เรียนช้ี ตาแหน่งตามทีค่ รูบอก เชน่ つくえの うえ つくえの した 上、 下、 なか かばんの 中 4. ครเู พม่ิ คาขยายว่าเปน็ โตะ๊ หรือเก้าอขี้ องใคร โดยอาจเรยี กนกั เรยี นทอี่ ยู่ ในตาแหนง่ ที่ทุกคนเหน็ ชดั โดยให้นกั เรยี นชตี้ าแหนง่ โตะ๊ เก้าอ้ขี องคนที่ อยู่ขา้ ง ๆ เช่น T:มานะช้ีไปท่สี ง่ิ ท่คี รูบอกนะ Bさんの つくえの 上 S:ชไ้ี ปบนโตะ๊ ของบี T: 先生の つくえの 下 S:เดนิ ไปช้ใี ต้โต๊ะครู 5. นกั เรียนดภู าพห้องเรยี นวา่ มีอะไรอยู่ทใ่ี ดบา้ ง เชน่ มีสมดุ อยู่บนเกา้ อ้ี ครู มีหนงั สอื อยบู่ นโต๊ะนักเรยี น เป็นตน้ จากน้นั ฟงั ซดี แี ละช่วยกันคดิ วา่ A กบั B พูดคุยกันเก่ยี วกับอะไร และใช้สานวนอะไร 6. ครตู รวจสอบภาพกับนักเรยี นวา่ ที่ไหนมอี ะไร 7. นักเรยี นดูภาพห้องเรยี น แล้วตอบคาถามครวู า่ มีอะไรในหอ้ งเรยี นเชน่ T:がくせいの つくえの 上に なにが ありますか。 S:本が あります。 8. นักเรยี นจบั คู่ถามตอบกัน จากนัน้ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งพร้อมกันท้ังหอ้ ง Point!  หากมเี วลา ครูอาจเตรยี มวางส่ิงของไว้ตามท่ีตา่ งๆในหอ้ งเรยี นลว่ งหนา้ แลว้ ให้นกั เรยี นผลัดกัน ถามตอบเกย่ี วกบั สิ่งท่มี ีอยใู่ นห้องเรียน 36

ค่มู อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นริศรา ทองมี ตวั อยำ่ งคำตอบ A:こくばんの 上に なにが ありますか。 B:とけいが あります。 A:本だなの 上に なにが ありますか。 B:テレビが あります。 A:先生の つくえの 上に なにが ありますか。 B:CDプレーヤーが あります。 A:先生の いすの 上に なにが ありますか。 B:ノートが あります。 A:がくせいの つくえの 上に なにが ありますか。 B:本が あります。 A:がくせいの つくえの 下に なにが ありますか。 B:かばんが あります。 37

คู่มือครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นรศิ รา ทองมี れんしゅう3 จุดประสงค์ :เพอ่ื ให้นกั เรียนรจู้ ัก และเข้าใจคาศัพท์เก่ยี วกับสถานที่ต่าง ๆ ในโรงเรียน เนือ้ หำ : คาศัพทเ์ ก่ยี วกับสถานท่ตี า่ ง ๆ ในโรงเรียน คำศัพท์ใหม่ : がっこう、きょうしつ、コンピューターしつ、じむしつ、しょくいんしつ、 しょくどう、たいいくかん、トイレ、 としょしつ、 ばいてん、ほけんしつ、 マルチメディアルーム、りかしつ อกั ษรคนั จิใหม่ : ― ลำดบั กำรสอน ขอ้ 3.1 1. นกั เรียนทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう 3.1 “ฟงั ศัพท์ตอ่ ไปนแ้ี ล้วเติม หมายเลข 1 - 6 ลงใน ( ) ทตี่ รงกบั ภาพ” 2. นักเรยี นดภู าพสถานที่และสงั เกตว่าในภาษาญ่ีปนุ่ เรียกวา่ อยา่ งไร 3. ครูพูดคาศพั ทต์ ามลาดบั ในแบบฝกึ หดั เช่น きょうしつ、りかしつ、 コンピューターしつแลว้ ให้นักเรยี นชภ้ี าพไปตามท่ีได้ยิน 4. นักเรียนฟังซดี ีแลว้ เตมิ หมายเลข 1 - 6 ลงใน ( ) ทต่ี รงกับภาพ 5. นักเรียนตรวจสอบคาตอบกบั เพอ่ื น 6. ครูตรวจสอบคาตอบของนักเรยี น โดยครถู ามวา่ หมายเลข 1, 2 หรือ 3 คอื อะไร แลว้ ให้นักเรียนช่วยกนั ตอบ เช่น T:1はなんですか。 S:コンピューターしつ ครูอาจจะถามต่อวา่ ในสถานที่นน้ั มอี ะไรบ้าง เชน่ T:コンピューターしつに なにが ありますか。 S:コンピューターが あります。 ขอ้ 3.2 1. นักเรยี นทาความเข้าใจโจทย์ れんしゅう 3.2 “ฟงั ศัพท์ต่อไปนแี้ ลว้ เตมิ หมายเลข 7 - 12 ลงใน ( ) ทต่ี รงกับภาพ” 2. นักเรยี นฝึกฝนเชน่ เดยี วกบั ขอ้ 3.1 Point!  เม่ือครถู ามต่อวา่ ในสถานท่ีนั้นมอี ะไรบา้ ง นักเรยี นสามารถใชภ้ าษาไทยบอกถึงสง่ิ ของท่มี ีอยู่ หากเปน็ คาศัพทท์ ี่นกั เรียนยงั ไม่ได้เรยี น เชน่ ครู : ほけんしつに なにが ありますか。 นักเรยี น : ยา(くすり)が あります。  38

ค่มู อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นรศิ รา ทองมี สคริปต์ きょうしつ コンピューターしつ 3.1 じむしつ れい としょしつ 1. りかしつ 2. ほけんしつ 3. しょくいんしつ 4. 5. 6. เฉลย b. c. g. (4) (1) (2) a. (れい) e. f. (5) (6) d. (3) 3.2 7. がっこう 8. マルチメディアルーム 9. トイレ 10. ばいてん 11. たいいくかん 12. しょくどう เฉลย i. j. (9) (11) h. (7) l. m. (10) (8) k. (12) 39

ค่มู ือครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นริศรา ทองมี れんしゅう4 จดุ ประสงค:์ เพ่ือให้นกั เรยี นถามตอบหรอื บรรยายเก่ียวกบั สิง่ ทมี่ อี ย่ใู นสถานท่ีตา่ ง ๆ ได้ เนอ้ื หำ: สถานที่ に N も ありますか。/いますか。 はい、あります。/います。 いいえ、 N は ありません。/いません。 คำศัพทใ์ หม:่ おかし、くだもの、コンピューター、ジュース、しんぶん、パン อักษรคนั จิใหม:่ ― ลำดับกำรสอน 1. นกั เรียนทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう 4 “A เปน็ นกั เรยี น แลกเปลย่ี นชาวญ่ีปุ่นทเ่ี พง่ิ มาเรยี นท่ีโรงเรียนของ B และ A อยากรวู้ ่ามี อะไรหรือใครอยู่ในสถานทต่ี า่ ง ๆ ของโรงเรียนบา้ ง ใหจ้ บั คถู่ ามตอบกบั เพอ่ื น โดยผลัดกนั เปน็ A และ B” 2. นกั เรยี นดภู าพและสงั เกตวา่ อะกโิ กะจะสอบถามเรอ่ื งใด 3. นกั เรียนฟงั ซดี วี า่ A กับ B พูดคยุ กันเก่ียวกับอะไร แลว้ ชว่ ยกันสรุปการใช้ คาชว่ ย も เพอื่ สอบถามวา่ มสี ง่ิ อนื่ ด้วยหรอื ไม่ และการใช้คาชว่ ย は ตอบ ปฏิเสธในกรณีท่ีไมม่ สี ่งิ นนั้ 4. นกั เรยี นดูภาพในข้อ 1) และชว่ ยกันคิดวา่ A จะถามว่าอะไร สว่ น B จะตอบ ว่าอย่างไร จากนั้นนกั เรียนทาข้อ 1) พร้อมกนั โดยผลดั กันเป็น A และ B (เนือ่ งจากการฝกึ ฝนในสว่ นนี้ เป็นการฝึกเพอื่ ให้นกั เรยี นสามารถพดู สง่ิ ท่ี เรยี นได้อย่างถกู ต้อง จงึ กาหนดใหภ้ าพแรกของ A ตอบด้วย はい และ ภาพที่ 2 ตอบด้วย いいえ) 5. นักเรียนจบั คู่ถามตอบขอ้ 2) – 5) กบั เพอ่ื น โดยผลัดกนั เป็น A และ B ครอู าจสุ่มเรียกนกั เรยี นใหอ้ อกมานาเสนอหนา้ ชน้ั และร่วมกนั ตรวจ 6. ครูอาจให้นกั เรยี นใช้ข้อมูลในโรงเรียนตอบ โดยสมมตุ ใิ ห้คนหนง่ึ เปน็ นักเรียนญ่ปี ุน่ ท่ีเพงิ่ มา ควำมรู้เกยี่ วกับคำศพั ท์ สำนวน และไวยำกรณ์สำหรับครู หากนกั เรยี นสงสยั และถามว่า จะตอบอยา่ งไรหากสถานทน่ี น้ั มีสง่ิ ทสี่ องที่ถามมา ครูก็สามารถช้ีแนะใหน้ กั เรยี นใชค้ า ช่วย も ตอบได้ เชน่ A : ジュースも ありますか。 B : はい、ジュースも あります。 40

คู่มอื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นริศรา ทองมี れんしゅう5 จดุ ประสงค:์ เพ่อื ให้นกั เรยี นถามตอบหรือบรรยายเกย่ี วกับสงิ่ ทมี่ ีอยู่ในสถานท่ีตา่ ง ๆ ได้ เน้ือหำ: สถานที่ 1 に Nが ありますか。 はい、あります。สถานที่ 2 にも あります。 คำศัพท์ใหม:่ じしょ、まんが อักษรคนั จิใหม:่ ― ลำดบั กำรสอน 1. นักเรยี นทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう5“A เปน็ นักเรียน แลกเปล่ียนชาวญป่ี นุ่ ท่เี พง่ิ มาเรยี นทโ่ี รงเรียนของ B และ A อยากรวู้ า่ มี อะไรอยู่ในสถานที่ตา่ ง ๆ ของโรงเรียนบา้ ง ใหจ้ บั คู่ถามตอบกบั เพอ่ื น โดย ผลดั กนั เปน็ A และ B” 2. นักเรยี นดูภาพและสงั เกตวา่ A กาลงั สอบถามเกยี่ วกับอะไร และ B จะ ตอบอย่างไร 3. นักเรียนฟงั ซีดแี ละช่วยกนั คดิ ว่า A กบั B พูดคุยเกี่ยวกบั อะไร และ ช่วยกันสรปุ การใช้คาชว่ ย も เพอ่ื บอกว่ามสี ง่ิ นน้ั ในสถานท่ีอ่ืนดว้ ย 4. นักเรยี นดูรูปข้อ 1) แลว้ ชว่ ยกันคดิ วา่ A และ B จะถามตอบอยา่ งไร จากนั้นนกั เรยี นและครูทาขอ้ 1) พรอ้ มกัน โดยผลดั กันเป็น A และ B 5. นกั เรยี นจับคู่ถามตอบขอ้ 2) – 3) โดยผลดั กันเป็น A และ B ครูอาจส่มุ เรียกนกั เรยี นใหอ้ อกมานาเสนอหนา้ ชั้นและร่วมกันตรวจสอบความ ถูกต้อง ควำมร้เู กี่ยวกับคำศัพท์ สำนวน และไวยำกรณส์ ำหรบั ครู หากนกั เรยี นสงสัยและถามว่า จะตอบอยา่ งไรหากสถานที่นน้ั ไมม่ ีสง่ิ ท่ีถามถงึ แต่ส่ิงนนั้ มีอยูอ่ ีกทหี่ นึ่ง ครูสามารถชีแ้ นะนกั เรียนวา่ สามารถตอบได้ดงั นี้ เช่น A : としょしつに 日本ごの じしょが ありますか。 B : いいえ、としょしつには ありません。日本ごの きょうしつに あります。 41

คูม่ อื ครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นริศรา ทองมี れんしゅう6 จดุ ประสงค:์ เพอ่ื ให้นักเรียนบรรยายได้วา่ ชนั้ ของอาคารเรยี นมหี อ้ งอะไรบ้าง เนื้อหำ: สถานท่ี に Nと Nが ありますか。 สถานที่ に Nや Nが ありますか。 คำศพั ทใ์ หม:่ いっ さん ~かい/がい、 1 かい、 3 がい อกั ษรคนั จิใหม:่ ― ลำดบั กำรสอน 1. นกั เรยี นทาความเข้าใจโจทย์ れんしゅう6 “เขียนชื่อห้องต่าง ๆ ลงใน อาคารเรยี นดา้ นล่างนตี้ ามความคดิ ของนกั เรยี นเอง แลว้ บรรยายวา่ แตล่ ะ ช้นั มีห้องอะไรบา้ ง” 2. นกั เรียนดภู าพอาคารเรียน และสงั เกตวา่ มีกช่ี ้นั แต่ละชน้ั มีหอ้ งอะไรบ้าง 3. นักเรยี นฟงั ซดี ี และชว่ ยกันคดิ วา่ れい 1 กบั れい 2 มคี วามหมาย ต่างกันอยา่ งไร และคาชว่ ย と กบั คาชว่ ย や ใช้ตา่ งกันอยา่ งไร 4. นกั เรียนเขยี นช่ือหอ้ งตา่ ง ๆ ลงในภาพอาคารเรียนตามความคดิ ของ นกั เรยี นเอง และวาดรปู อาคารเรียนตามในแบบฝกึ อกี 1 รูป ไวใ้ ต้ภาพอาคารเรียน 5. นกั เรยี นจับคู่กับเพอ่ื นและพดู บรรยายให้เพอื่ นฟังวา่ แต่ละชัน้ มีห้อง อะไรบ้าง จากน้นั ฟงั เพอ่ื นบรรยายภาพอาคารเรยี นของเพอ่ื น แล้วเขยี น ลงในอาคารเรยี นที่นักเรยี นวาดรปู ไว้ และเปรยี บเทยี บความถกู ตอ้ งกับ ภาพอาคารเรียนของเพอ่ื น 42

ค่มู อื ครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นริศรา ทองมี れんしゅう7 จดุ ประสงค:์ เพ่ือให้นกั เรียนบรรยายได้วา่ ช้นั ของอาคารเรยี นมหี อ้ งอะไรบ้าง เนอื้ หำ: Nは どこですか。 สถานท่ี です。 คำศพั ท์ใหม:่ あそこ、ありがとうございます、ここ、すみません、どこ、どうも อักษรคนั จใิ หม:่ ― ลำดบั กำรสอน ข้อ 7.1 1. นกั เรยี นทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう 7.1 “จับคถู่ ามตอบ เกย่ี วกบั สถานทต่ี ่อไปน้ี โดยผลัดกันเป็นนกั เรยี นแลกเปล่ยี นชาวญปี่ ุน่ ” 2. นักเรียนดภู าพแลว้ ชว่ ยกันคิดวา่ นกั เรยี นหญงิ กาลงั สอบถามอะไร และ นกั เรยี นชายจะตอบอยา่ งไร และชีบ้ อกไปที่ใด 3. นกั เรียนฟังซีดวี ่านกั เรยี นทงั้ สองคนคุยอะไรกนั และชว่ ยกนั สรุปวธิ กี ารใช้ คาสรรพนามแทนสถานท(ี่ ここ、そこ、あそこ、どこ) 4. นักเรียนชว่ ยกันตรวจสอบภาพสถานท่ีในข้อ 1) - 6) ว่าเป็นสถานที่ ใดบ้าง และสถานที่น้ันอยทู่ ใี่ ด 5. นักเรยี นจบั คู่ถามและตอบเก่ยี วกบั สถานที่ในข้อ 1) - 6) โดยผลดั กันเป็น นักเรียนแลกเปลย่ี นชาวญีป่ ่นุ ข้อ 7.2 1. นักเรยี นทาความเข้าใจโจทย์ れんしゅう 7.2 “จบั คถู่ ามและตอบ เกยี่ วกับหอ้ งตา่ งๆ ในโรงเรียนของนกั เรยี นวา่ อยู่ทไี่ หน” 2. นักเรยี นจบั คูถ่ ามและตอบเก่ยี วกบั ห้องตา่ ง ๆ ในโรงเรยี นโดยใช้รปู ประโยคในขอ้ 7.1 ควำมรเู้ กย่ี วกับคำศัพท์ สำนวน และไวยำกรณ์สำหรับครู หากบางหอ้ งเช่น หอ้ งพกั ครู หรอื ห้องวิทยาศาสตร์ มอี ยูห่ ลายชน้ั ครสู ามารถชแี้ นะใหน้ กั เรยี นตอบดว้ ยรูปประโยค สถานท่ี にも あります。 หรือ สถานท่ี と สถานที่ に あります。 เชน่ A : すみません、しょくいんしつは どこですか。 B : しょくいんしつですか。2かいに あります。3がいにも あります。 A : どうも、ありがとうございます。 A : すみません、しょくいんしつは どこですか。 B : しょくいんしつですか。2かいと 3がいに あります。 A : どうも、ありがとうございます。 43

ค่มู อื ครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นริศรา ทองมี れんしゅう8 จุดประสงค:์ เพื่อให้นกั เรยี นถามตอบเกีย่ วกบั ส่ิงของว่าอยทู่ ่ไี หนได้ เน้อื หำ: すみません、N は どこですか。 Nは สถานที่ です。 どうもありがとうございます。 คำศพั ท์ใหม:่ えんぴつ、ペン อักษรคนั จิใหม:่ ― ลำดับกำรสอน 1. นกั เรียนทาความเขา้ ใจโจทย์ れんしゅう8 “จบั คกู่ ับเพือ่ นและ กาหนดให้คนหนึง่ เป็น A อกี คนหนึ่งเป็น B แล้ววาดส่งิ ของ 4 อยา่ ง ตามทร่ี ะบลุ งในรปู หอ้ งเรียน จากน้นั ผลดั กนั ถามถงึ ส่งิ ของอีก 4 อยา่ ง ตามท่รี ะบวุ ่าอย่ทู ไี่ หน เมื่อได้คาตอบแล้วใหว้ าดรปู ส่งิ นน้ั ตามคาตอบ แล้วเปรยี บเทยี บ รปู ของตวั เองกบั เพื่อนว่าตรงกนั หรือไม่” 2. นักเรียนดูภาพว่ามีอะไรบ้างและช่วยกนั ทบทวนคาศัพท์สง่ิ ของ 3. นักเรียนจบั คกู่ บั เพ่ือนโดยกาหนดให้คนหนง่ึ เปน็ A อีกคนหน่ึงเปน็ B วาด สิ่งของทีก่ าหนดลงในภาพของตน โดยไม่ใหอ้ กี ฝา่ ยเห็น แตค่ วรวาดรูปลง ในตาแหนง่ ท่ีตนเองสามารถอธิบายใหเ้ พ่ือนฟงั ไดว้ า่ อยทู่ ีใ่ ด 4. นักเรียน A และ B ผลดั กนั ถามถงึ สิ่งของทก่ี าหนดใหว้ า่ อยทู่ ใ่ี ด เมอ่ื ได้ คาตอบแลว้ ใหว้ าดรปู สง่ิ นั้นลงในภาพของตน 5. หลังจากถามครบแล้ว นกั เรยี นนาภาพมาเปรียบเทยี บกันว่าส่ิงของวาง ตรงกนั หรือไม่ Point!  หากนักเรียนไม่ถนดั ในการวาดรปู หรอื นักเรยี นใชเ้ วลาในการวาดรปู ครสู ามารถกาหนดให้นกั เรยี นเขียน คาศพั ท์ของสิง่ น้นั ๆลงในภาพแทนการวาดรปู ได้ 44

คูม่ ือครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกุล, นริศรา ทองมี はなしてみましょう จดุ ประสงค:์ เพอื่ ให้นกั เรียนสามารถพาชมสถานท่ี และอธิบายหรอื ตอบขอ้ ซักถามไดว้ า่ ในสถานท่นี ้ัน ๆ มอี ะไรบา้ ง(Role card1) และสามารถถามตอบเกย่ี วกับสถานทวี่ า่ อยู่ที่ไหนได้ (Role card2) คำศพั ท์ใหม:่ ― อักษรคนั จิใหม:่ ― ลำดับกำรสอน 1. นกั เรียนทาความเขา้ ใจโจทย์ はなしてみましょう “จับคสู่ นทนาตาม บทบาทสมมุติที่ได้รับ” 2. ครูอธบิ ายวิธกี ารสนทนาตามบทบาทสมมุติ ซง่ึ เปน็ การสนทนาทใ่ี กล้เคยี ง กับการสือ่ สารจรงิ โดยใหน้ กั เรียนสนทนาตามบทบาทสมมุตทิ ีไ่ ดร้ ับ และ ไม่รวู้ ่าอีกฝา่ ยจะตอบวา่ อะไร 3. ครสู มมุตวิ ่าตนเองเป็นแขกชาวญปี่ ุ่นทเี่ พ่งิ มา นกั เรยี นเปน็ คนพาชม สถานท่นี กั เรยี นจะพาไปชมทไี่ หน และนกั เรยี นจะอธิบายอะไรเกยี่ วกับ หอ้ งนน้ั และจะพูดเป็นภาษาญป่ี นุ่ ว่าอยา่ งไร จากน้ันครสู วมบทบาทเป็น แขก และถามเพิ่มเติมเกย่ี วกับสถานทีน่ ั้น 4. ครใู หน้ ักเรยี นสลับบทบาทเปน็ แขกชาวญป่ี ุ่น และอยากเขา้ หอ้ งนนั้ จะ ถามหาห้องนา้ จะถามเป็นภาษาญปี่ ุ่นวา่ อย่างไร แลว้ อาจเรียกนกั เรียน คนใดคนหน่งึ ตอบโดยใช้ข้อมูลในโรงเรยี น 5. นกั เรยี นจบั คู่ทากจิ กรรม โดยกาหนดใหค้ นหน่ึงเป็น A และอกี คนหนึ่งเป็น B จากนัน้ อ่านบทบาทสมมตุ ิทไ่ี ดร้ บั และคิดวา่ จะพดู อย่างไร 6. นักเรียนจับคทู่ าพดู คยุ ตามบทบาทสมมุติท่ไี ดร้ ับ เมื่อทาเสร็จแลว้ ให้ผลัด กันแสดงบทบาทสมมุตขิ อง A และB 7. ครูสุ่มเรียกนกั เรียนบางค่อู อกมานาเสนอหน้าชนั้ นกั เรยี นชว่ ยกนั ฟังและ สรปุ วา่ เพ่อื นพูดคยุ อะไร Point!  หากในระหวา่ งที่นกั เรยี นผลดั กนั ถามถงึ ส่ิงของท่กี าหนดให้วา่ อย่ทู ใี่ ดน้ัน หากนักเรียนพดู ผิด ครูยงั ไมค่ วร แกไ้ ขในขณะน้ัน ครูอาจจะจดเอาไวก้ อ่ น แล้วคอ่ ยรวบรวมสง่ิ ที่ผดิ มาพดู คุยและช่วยกนั คดิ 45

ค่มู ือครตู ารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นริศรา ทองมี ตัวอยำ่ งคำตอบ 1. A:としょかんに えいごの しんぶんや 日本ごの しんぶんが あります。 B:日本ごの まんがも ありますか。 A:はい、あります。/いいえ、ありません。 B:そうですか。 2. A:すみません。コンピューターしつは どこですか。 B:2 かいです。/あそこです。 A:ありがとうございます。 46

คูม่ อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ุล, นริศรา ทองมี よんでみましょう จดุ ประสงค:์ เพอ่ื ให้นักเรียนอา่ นเร่อื งแลว้ สรุปใจความสาคญั ของเรอื่ งทอี่ า่ นได้ คำศพั ทใ์ หม:่ き チェンライ、たてもの、まわり、木、たくさん、としょかん、ざっし、りょう อักษรคนั จใิ หม:่ き 木 ลำดับกำรสอน 1. นักเรียนทาความเขา้ ใจโจทย์ よんでみましょう “อ่านเรื่อง โรงเรียน ของกิตติ แลว้ วาดแผนผังโรงเรียนของกิตติลงในกรอบส่เี หลยี่ มดา้ นลา่ ง” 2. นกั เรยี นอา่ นเร่ือง “ โรงเรียนของกติ ติ” ดว้ ยตนเอง หากมคี าศัพทท์ ไี่ มท่ ราบ ความหมาย ใหค้ าดเดาจากบรบิ ท 3. นักเรียนจับคูก่ บั เพอื่ น และผลัดกนั อา่ นเร่อื ง “ โรงเรียนของกติ ติ” หากมี คาศัพท์ทไี่ มร่ ู้ สามารถตรวจสอบความหมายของคาศพั ท์ได้จากคาศพั ท์ ท้ายบท จากนัน้ ช่วยกันสรปุ ความหมาย และวาดแผนผงั โรงเรยี นของกติ ติ ลงในกรอบสเ่ี หลีย่ มด้านลา่ ง 4. นกั เรียนตรวจสอบแผนผังที่วาดกบั เพื่อนคู่อน่ื ๆ ว่าตรงกนั หรือไม่ หากไม่ ตรงกัน ลองพดู คยุ เหตุผลที่ตอบเชน่ นนั้ 5. ครอู าจตง้ั คาถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนตามเนือ้ เรอื่ ง เชน่ T:キッテイさんの がっこうは どこに ありますか。 S:チェンライに あります。 T:たてものの まわりに なにが ありますか。 S:木が たくさん あります。 T:たてものの 1 かいに きょうしつが ありますか。 S:いいえ、ありません。 T:たてものの 1 かいに なにが ありますか。 S:じむしつや ほけんしつが あります。 T:2 かいと 3 かいに なにが ありますか。 S:きょうしつとしょくいんしつが あります。 T:としょかんに なにが ありますか。 S:本や ざっしや コンピューターが あります。 T:りょうは どこですか。 S:がっこうの うしろです。/がっこうの うしろに あります。 T:りょうには 男の 子が いますか。 S:はい、います。 T:女の 子も いますか。 S:はい、女の 子も います。 47

ค่มู อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกลุ , นรศิ รา ทองมี 6. นกั เรยี นอา่ นออกเสียงพรอ้ มกันทงั้ ชัน้ ตามซดี ี และชว่ ยกันตรวจสอบแผนผัง โรงเรียนของกิตตติ ามเน้อื เรือ่ ง Point!  เพือ่ ฝกึ ทักษะการอา่ น ครูควรใหเ้ วลานักเรยี นได้อา่ นเอง ซ่ึงในขั้นตอนน้ปี กตินักเรยี นจะอ่านแบบไมอ่ อกเสียง  หลังจากทาความเขา้ ใจเนื้อหาบทอ่านแลว้ หากครูต้องการฝกึ การออกเสียง อาจใหฟ้ งั ซีดปี ระกอบการ อา่ นออกเสยี ง 48

คมู่ ือครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวกิ ลุ , นริศรา ทองมี かいてみましょう จุดประสงค:์ เพื่อให้นกั เรียนสามารถเขยี นแนะนาโรงเรยี นของตัวเองได้ ลำดบั กำรสอน 1. นกั เรียนทาความเข้าใจโจทย์ かいてみましょう “วาดรปู และ เขียนแนะนาโรงเรียนของตวั เอง” 2. นักเรยี นวาดรปู และเขียนแนะนาโรงเรยี นของตวั เองมาเป็นการบ้าน Point!  กิจกรรมนอ้ี าจใหน้ กั เรยี นทามาเปน็ การบา้ น เน่ืองจากนกั เรยี นอาจใชเ้ วลาในการคดิ เน้อื หา  หลังจากครูตรวจผลงานของนกั เรยี น ครอู าจนาไปตดิ บอรด์ แสดงผลงาน แล้วใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันลงคะแนนกบั ผลงานที่ช่ืนชอบ 49

ค่มู อื ครูตารา『日本語 あきこと友だち』 改訂版 The Japan Foundation, Bangkok รสา เสวิกลุ , นรศิ รา ทองมี きいてみましょう จดุ ประสงค:์ เพอื่ ให้นกั เรียนฟงั การบรรยายสภาพโรงเรียนแล้วเลือกภาพได้ถูกตอ้ ง คำศพั ทใ์ หม:่ ― อักษรคนั จิใหม:่ ― ลำดับกำรสอน 1. นักเรียนทาความเข้าใจโจทย์ きいてみましょう “ฟังคาบรรยาย เกยี่ วกับสถานท่ใี นโรงเรยี น แล้วเลือกภาพทีถ่ ูกต้อง” 2. นักเรียนดูภาพ 1) – 4) และสงั เกตว่าภาพ 1) กบั 2) ตา่ งกนั อยา่ งไร ภาพ 3) กับ 4) ต่างกันอย่างไร 3. นกั เรยี นชว่ ยกันทบทวนการบอกชน้ั ของอาคาร(~かい/~がい)และ ตรวจสอบความหมายของคาศพั ทค์ าวา่ หอสมุด(としょかん)กบั โรงยิม (たいいくかん)เพ่ือเตรียมตวั ก่อนฟงั ซีดี 4. นักเรยี นฟงั ซดี ี 1 - 2 ครั้ง และเลอื กภาพตามที่ตรงกับคาบรรยาย 5. นักเรียนตรวจสอบคาตอบกบั เพอื่ น 6. ครอู าจจะสอบถามความเขา้ ใจของนักเรยี น โดยสอบถามเกย่ี วกบั เนอ้ื เร่ืองทไี่ ดฟ้ ัง เช่น ・学校が どこに ありますか。 ・学校に たいいくかんが ありますか。 ・学校に 日本ごの きょうしつは どこですか。 7. นกั เรียนฟงั ซดี ีอกี คร้ัง และชว่ ยกนั สรุปใจความสาคญั Point!  ครอู าจชีแ้ จงใหน้ ักเรียนทราบว่าในการฟงั น้นั นักเรียนไมต่ อ้ งทราบความหมายของคาศัพทท์ ง้ั หมด ในแบบฝึกหัด แตใ่ ห้นกั เรยี นฟังแลว้ จับใจความขอ้ มูลท่ตี อ้ งการเทา่ นัน้ สครปิ ต์ わたしたちの 高校は バンコクに あります。 高校に としょかんや たいいくかんが あります。 日本ごの きょうしつは 4かいに あります。 เฉลย 2) 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook