Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรมไทยความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรม

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรมไทยความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรม

Published by Chanita Wilai, 2021-12-12 16:47:15

Description: ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรมไทยความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรม

Search

Read the Text Version

ม.4/6 ความสัมพันธ์ระหว่าง วรรณคดีกับ สถาปัตยกรรมไทย ชนิตา วิลัย เลขที่ 2

ความสั มพันธ์ระหว่างวรรณคดี กับสถาปั ตยกรรมไทย สถาปั ตยกรรมไทย หมายถึงศิลปะการ ก่อสร้างของไทย อันได้แก่ วัด อาคาร บ้านเรือน โบสถ์ วิหาร วัง สถูป และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ มี ลักษณะแตกต่างกันไปตามภูมิศาสตร์ และ คตินิยม สถาปั ตยกรรมไทยมีมานานตั้งแต่ที่คน ไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน และได้พัฒนาและปรับปรุงรูป แบบสถาปั ตยกรรมอันเป็ นสิ่งจำเป็ นต่อการ ดำรงชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ

สถาปั ตยกรรมไทย แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ สถาปั ตยกรรมเปิ ด หมายถึง ส่ิงก่อสร้างที่มนุษย์ เข้าไปอยู่อาศัยได้ เช่น ที่อยู่อาศัยซึ่งเป็ นเรือนไทย โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ เป็ นต้น และ สถาปั ตยกรรมปิ ด หมายถึง ส่ิงก่อสร้างที่มนุษย์ เข้าไปอยู่อาศัยไม่ได้ มุ่งเน้นเพ่ือสักการบูชา เช่น สถูป และ เจดีย์ เป็ นต้น สถาปั ตยกรรมแบ่งตามประเภทของการใช้สอย แบ่ง ออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1. ที่อยู่อาศัย รวมทั้งสถาปั ตยกรรมเก่ียวกับ การ ออกแบบและการสร้างอาคาร การออกแบบ อาคาร ชนิดต่าง ๆ เช่น อาคารพักอาศัย ได้แก่ บ้าน หอพัก อาคารสาธารณะ โรงเรียน โรงพยาบาล 2. อาคารทางศาสนา รวมท้ังส่ิงก่อสร้างเครื่องใช้ เคร่ืองสอยต่าง ๆ ที่สัมพันธ์ หรือเกี่ยวข้องกับ ศาสนา พระมหาธาตุ

ความสั มพันธ์ของวรรณคดี กั บ สถาปั ตยกรรมไทย ตำนานวรรณคดีไทยสู่สถาปั ตยกรรม สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้รับยกย่องให้เป็ นกษัตริย์นัก ประพันธ์ผู้นำให้ช่วงเวลานั้นเป็ นยุคทองของวรรณคดีไทย เมื่อว่างเว้นจากการทำสงครามพระองค์ทรงทำนุบำรุง ประเทศชาติด้านศิลปะวรรณคดีและสถาปั ตยกรรมดังเป็ น ที่ปรากฏว่าวรรณคดีในสมัยของพระองค์รุ่งเรืองถึงขีดสุด ด้านพระปรีชาสามารถพระองค์ทรงมีพระอัจฉริย ภาพด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านวรรณศิลป์วรรณคดีในสมัย ของพระองค์ถือเป็ นแบบฉบับอันยอดเยี่ยมไม่ว่าจะเป็ นคำ กลอนละครนอกละครในเสภานิราศกาพย์ฉันลิลิตโคลงสี่ สุภาพอาทิบทละครเรื่องอีหนาวเสภาเรื่องคุณช้างคุณแผน บทพากย์โขนบทละครเรื่องไชยเชษฐ์สังข์ทองคาวีไกรทอง มณีพิชัย ด้านศิลปกรรมพระองค์ทรงดำเนินการปฏิสังขรณ์ วัดอรุณราชณวรารามทรงปั้ นหุ่นพระพักตร์พระพุทธรูป พระประธานด้วยฟิ ล์มพระหัตถ์ของพระองค์เองหรือส่งแกะ สลักบานประตูปากฟั งพระวิหารวัดสุทัศน เทพวรารามเป็ น ลายสลับซับซ้อน

วิธีการอนุรักษ์ สืบสาน และเผยแพร่ - การถ่ายทอดโดยการนำภูมิปั ญญาที่ผ่านมาเลือกสรรด้วย เหตุและผลอย่างรอบคอบและรอบด้านแล้วไปถ่ายทอดให้คนใน สังคมได้รู้เกิดความเข้าใจตระหนักในคุณค่าคุณประโยชน์และ ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม - การพัฒนาควรริเริ่มสร้างสรรค์และปรับปรุงภูมิปั ญญาให้ เหมาะสมกับยุคสมัยและเกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำ วัน - การอนุรักษ์โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึง คุณค่าแก่นสาระและความสำคัญของวรรณคดีและภูมิปั ญญา ท้องถิ่น - การฟื้ นฟูโดยการเลือกสรรค์ภูมิปั ญญาที่กำลังสูญหายหรือที่ สูญหายไปแล้วมาทำให้มีคุณค่าและมีความสำคัญต่อการนำลง ชีวิตในท้องถิ่น - การเผยแพร่โดยการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนภูมิปั ญญาและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวางโดยให้มี การเผยแพร่ภูมิปั ญญาท้องถิ่นด้วยสื่อและวิธีการต่างๆอย่าง กว้างขวางรวมทั้งกลับประเทศอื่นๆด้วย