Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ อีบุคหน่วย1

ใบความรู้ อีบุคหน่วย1

Published by sawan_1966, 2019-06-19 05:48:46

Description: ใบความรู้ อีบุคหน่วย1

Search

Read the Text Version

ความสาคัญของการเลีย้ งสัตว์ วิชา หลักการเลยี้ งสตั ว์ ครูวริ ตั น์ ปุ่นอุดม วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

แผนการสอน หนว่ ยเรียนที่ 1 รหัสวิชา 2501-1005 ชอ่ื วชิ า หลักการเลย้ี งสตั ว์ จานวน 2 หนว่ ยกิต ช่ือหน่วย ความสาคัญของการเล้ยี งสตั ว์ สอนคร้งั ที่ 1 ชอื่ เร่ือง ความสาคญั ของการเลีย้ งสตั ว์ จานวน 3 ชว่ั โมง หัวข้อเร่ืองและงาน ความหมายของการเลยี้ งสตั ว์ ประวัตคิ วามเป็นมาของการเลีย้ งสตั ว์ ประโยชน์ท่ีได้จากการเล้ยี งสัตว์ สาระสาคญั การเลีย้ งสัตว์ หมายถึง การจัดการต่างๆ เกี่ยวกบั สัตวใ์ นด้านการเล้ียงดู การให้อาหาร การและ การวางแผนการผสมพนั ธุ์ ตลอดจนควบคุมป้องกนั โรค เพอ่ื ให้ผู้เลยี้ งได้รบั ประโยชนต์ ามวัตถุประสงค์ การ เลี้ยงสัตว์ได้พฒั นามาจากการล่าสัตว์เพอ่ื เป็นอาหาร แลว้ ปรบั ปรงุ คัดเลอื กแพรก่ ระจายไปยังสว่ นตา่ งๆ ของ โลก ประโยชนข์ องการเลย้ี งสัตว์ มที งั้ ทางตรงและทางอ้อม จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพ่ือให้นักศกึ ษาร้แู ละเขา้ ใจความหมายของการเลยี้ งสัตว์ 2. เพือ่ ใหน้ กั ศึกษารู้และเข้าใจประวัติความเป็นมาของการเลี้ยงสัตว์ได้ 3. เพอ่ื ให้นักศึกษารู้และเข้าใจประโยชนท์ ่ีได้จากการเลย้ี งสตั ว์ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขยี นความหมายของการเลย้ี งสัตวไ์ ด้ 2. เขยี นประวัติความเป็นมาของการเลย้ี งสัตว์ได้ 3. เขยี นประโยชนท์ ่ีได้จากการเลย้ี งสัตวไ์ ด้ 4. พดู บรรยายรายละเอียดและยกตวั อยา่ งประโยชน์ของการเลี้ยงสัตว์ได้

บทที่ 1 เรอ่ื ง ความรู้เบื้องต้นทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับสตั ว์ 1. ความหมายของการเล้ียงสัตว์ การเล้ยี งสตั ว หมายถงึ การจัดการตาง ๆ เกย่ี วกับการเลยี้ งดู การใหอาหาร การวางแผนการผสมพันธุ ตลอดจนการควบคมุ ปองกันโรค เพื่อใหผูเลยี้ งสตั ว ไดประโยชนจากสัตวตามวตั ถปุ ระสงค นิร-นาม (ม.ป.ป.) ยังใหความหมายไวดวยวา การเลย้ี งสัตวมีจดุ ประสงคทส่ี าคัญคือ เพือ่ เปนอาหารของ ประชากรภายใน ครอบครัว หมูบานในประเทศและเพื่อประชากรโลก ซง่ึ อาหารที่ไดจากสตั วไดแก อาหารประเภท เนอ้ื นมและ ไขอาหารประเภทเนื้อ ไดจาก โค กระบือ สกุร ไก กวาง จระเข อาหารประเภทนมไดจากโคนมแพะนม และ ควายนม เปนตน อาหารประเภทไขไดจากไขไก 2 ไขกระจอกเทศ ไขเตาฯลฯ นอกจากน้ียังมคี วามสาคัญในดาน อ่นื ๆ เชนเปน เครอ่ื งนุงหม ยารกั ษาโรค เคร่อื งประดับ กอใหเกดิ รายไดจากอตุ สาหกรรมการเลยี้ งสัตว์ 2. ประวัตคิ วามเปนมาของการเลยี้ งสตั ว ประวัตกิ ารเล้ยี งสตั วตาง ๆ เริม่ เม่อื ใดไมปรากฎหลักฐานชัดเจนเนอื่ งจากยคุ กอนประวัตศิ าสตรยังไมมี ตัวอักษรใชบันทกึ เรื่องราว นกั ประวตั ิศาสตรจะศึกษาเรื่องราวของยคุ กอนประวตั ิศาสตรโดยอาศัยหลักฐาน ทาง โบราณคดี เชน ถ้าหรือเพงิ ผาที่มนุษยเคยอาศยั อยู ซากโครงกระดูกมนุษยพอสนั นิฐานไดวา มนุษยเริม่ รูจัก การ เลยี้ งสัตวตงั้ แตสมัยยคุ กอนประวตั ศิ าสตรในยุคแรก ๆ มนษุ ยดารงชพี ดวยการลาสตั วเปนอาหารไมมกี าร ตั้งแหลง ทีอ่ ยูอาศยั ถาวร มกี ารยายถนิ่ ที่อยูอาศัยตามฤดกู าล เชน ถ้า Lascaux ประเทศฝรงั่ เศส พบภาพเขียน ที่ผนังถ้า มากมาย มีภาพของสัตวในอริ ิยาบถตาง ๆ จากนั้นมนษุ ยเริม่ อาศยั อยูรวมเปนกลุมเปนชุมชนแหลงที่ พักอาศยั สวนมากกย็ งั เปนเพิงและยังดารงชีวิตอยูดวยการลาเหยื่อแลวนามาเกบ็ ไวที่พกั ซึง่ ทาเปนสิ่งดงึ ดดู ให หมาปาเขามาเกบ็ เศษอาหารท่ีเหลือของมนุษยเม่อื อยูใกลชิดกันกเ็ ริม่ คุนเคยและลดความดรุ ายลง จึงกลายเป นสัตวเล้ยี งของมนุษยไปในทสี่ ุด จากการสรุปของนักประวัตศิ าสตรพบวามนุษยไดเริ่มรูจักเล้ียงสัตวเมื่อ ประมาณ 20,000 ป มานโ้ี ดยเชอื่ วาสุนัขเปนสัตวชนิดแรกท่ีมนุษยเลี้ยงไวเพือ่ ชวยในการลาสตั ว จากน้ันเม่อื มนุษยเริม่ มีการรวมตวั กนั จดั ตั้งถน่ิ ฐานท่ีอยูกนั เปนชุมชนมีการออกลาสตั วเปนกลุมและเมอ่ื จับสัตวไดหลาย ๆ ตวั แล้วกนิ ไมหมดกจ็ ะทาคอกกักสัตวไวบริโภคภายหลังเมอ่ื มีการกักสัตวไวนาน ๆ สตั วอาจจะมีการ เปลยี่ นแปลงนิสยั ลดความดุรายและมีการผสมพันธุเพ่มิ จานวนสตั วขน้ึ เปนจานวนมากสตั วชนิดไหนเชื่องกจ็ ะ กลายเปนสัตวเลยี้ งไดสตั วชนดิ ใดไมเชอ่ื ง ไมออกลูกสืบเชื้อสายกจ็ ะสญู พนั ธุไป มนุษยจงึ ไมตองออกลาหรอื หา สัตวใกล ๆ อกี ตอไป

ภาพท่ี 1 ภาพเขยี นทผี่ นังถา้ Lascaux มอี ายุประมาณ 15,000-13,000 ปกอนคริสตกาล 3.! ประโยชนของการเลีย้ งสัตว ทัง้ ทางตรงและทางออม ดงั นี้ 3.1 ประโยชนของการเล้ยี งสัตวตอมนษุ ย 3.1.1 เน้ือสัตวเปนอาหารของมนุษยซงึ่ สาคญั ทส่ี ุด 3.1.2 ผลติ ภัณฑจากสตั วใชทาเครือ่ งนุงหม เคร่อื งประดบั เคร่ืองใช 3.1.3 ใชสัตวเปนแรงงานและพาหนะ 3.1.4 สตั วใหความเพลดิ เพลิน 3.1.5 สัตวเปนประโยชนในการทดลองวิทยาศาสตร 3.2 ประโยชนของสตั วตอเกษตรกร 3.2.1 เกษตรกรใชแรงงานจากสตั วในไรนา และใชเปนพาหนะ ขนผลผลติ ทางการเกษตร 3.2.2 สัตวชวยเปลี่ยนสิ่งทีไ่ มมปี ระโยชนหรือเศษอาหารเหลือใชม้ าเปนผลผลติ เน้อื นม ไข ท่มี ี มูลคา่ สูงข้นึ 3.2.3 สัตวชวยเพ่ิมความอดุ มสมบรู ณใหแกดนิ โดยการใชมลู หรือสงิ่ ขับถายบารุงดนิ 3.3 ประโยชนของการเลีย้ งสตั วตอประเทศ 3.3.1 โดยภาพรวมทาใหครอบครัวมีความเปนอยูดขี ้นึ สงผลใหเศรษฐกิจดขี นึ้ ดวย 3.3.2 การเลีย้ งสตั วเปนการเพิ่มผลผลิต อาหารประเภทโปรตนี ภายในประเทศ 3.3.3 สตั วเปนสินคาสงออกของประเทศ 3.3.4 เปนการลดการนาเขาสินคาดานเน้อื สตั ว 3.3.5 การเลย้ี งสัตวชวยใหเกดิ อาชีพอ่ืน ๆ ตามมา 3.3.6 การเลีย้ งสตั วชวยใหสามารถใชพ้ืนท่วี างเปลาใหเกิดประโยชน 3.3.7 การเล้ียงสตั วชวยลดปญหาสังคม อาชญากรรม และการวางงาน

4. การศึกษาและอาชีพท่เี ก่ยี วข้องกับสัตว์ 4.1 สัตวบาล (Animal Husbandry) หรอื สัตวศาสตร์ (Animal Science) คือ ผู้อภิบาลปศุสตั ว์หรอื ผู้ทาหน้าที่เล้ยี งดูสตั ว์ โดยจะเน้นไปทสี่ ัตว์จาพวก โค สุกร ไก่ เปน็ สว่ น ใหญ่ หรอื สตั ว์เศรษฐกจิ ชนดิ อืน่ ๆ อย่าง แพะ แกะ จระเข้ ตะพาบ กบ คือสัตว์ท่มี นุษย์นิยมบริโภคเน้อื หรอื ตอ้ งการผลผลิตบางอย่างจากสตั ว์ นักสตั วบาลหรอื นกั สตั วศาสตรจ์ ะมหี น้าท่ีหาวิธีการทาให้สัตวท์ เ่ี ลี้ยงนัน้ ให้ผลผลิตทีด่ แี ละมากทสี่ ดุ ในขณะเดียวกนั ก็มีความคุณคา่ และประหยัดค่าเล้ียง เชน่ คา่ อาหาร ค่ายา ใหไ้ ดม้ าก ที่สุดรวมถงึ ต้องมีความปลอดภัยตอ่ ผู้บรโิ ภค ซ่ึงการจะทาใหไ้ ดน้ ัน้ จาเป็นต้องมีองค์ความรู้ในหลายดา้ น เชน่ การจัดการฟารม์ (Farm management) โภชนาศาสตรส์ ัตว์ (Animal Nutrition) การปรบั ปรุงพนั ธ์ุสตั ว์ (Animal Breeding) การพัฒนาเทคโนโลยกี ารผลติ สตั ว์ (Animal Technology) การแปรรปู ผลติ ภัณฑ์สตั ว์ (Food processing) และการอนรุ ักษ์ดารงไวข้ องสายพนั ธ์ุสตั ว์ เปน็ ต้น แนวทางการประกอบอาชีพ เช่น นกั เลีย้ งสัตว์ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ ผคู้ วบคุมคณุ ภาพเนื้อสัตว์ นกั แปรรูป ผลติ ภัณฑ์สตั ว์ นกั ปรบั ปรุงพันธส์ ัตว์ ผูจ้ ดั การดูแลฟาร์ม หน่วยงานภาครัฐ 4.2 สัตววทิ ยา (Zoology) สตั ววิทยา เป็นสาขายอ่ ยสาขาหนึง่ ในของสาขาชวี วิทยา ซ่ึงสาขาน้ีจะเกี่ยวขอ้ งกบั การศึกษาสัตว์ ทกุ ชนดิ ในโลกโดยจะศึกษาเร่อื ง เชน่ พฤติกรรม ววิ ฒั นาการ สรีรวิทยา นิเวศวทิ ยาของสัตว์ สณั ฐานวิทยา อนกุ รมวิธาน เป็นตน้ อย่างไรก็ดสี ัตววิทยายังมีแขนงยอ่ ยลงไปอีก เช่น สังขวิทยา ปักษีวิทยาสัตวล์ ึกลับวทิ ยา วารนรวทิ ยา มนี วทิ ยา บรรพชวี ิน เปน็ ตน้ แนวทางการประกอบอาชพี นกั สตั ววทิ ยา ตามแขนงต่าง ๆ อาจารยใ์ นระดบั มหาวทิ ยาลยั นัก ชวี วทิ ยา 4.3 สัตวแพทย์ (veterinarian) คือ แพทย์รักษาสตั ว์ รวมถงึ การคิดค้นยารักษาโรคในสัตว์ วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคในสตั ว์ อย่างไรก็ดี สตั วแพทย์จะแบ่งความชานาญตามกลุ่มสตั ว์ไดด้ งั นี้ กลมุ่ สตั ว์ใหญแ่ ละสัตว์ป่า เช่น โค ม้า เส้ือ กลุม่ สัตว์ เศรษฐกจิ เชน่ สกุ ร ไก่ สัตวน์ ้า กลุม่ สัตวเ์ ลยี้ ง เชน่ สนุ ัข แมว นอกจากน้ียังมีสาขาที่ใกลเ้ คยี งกบั ทางสัตวแพทย์ เชน่ สาขาเทคนิคการสัตวแพทย์ สาขาวิทยาศาสตรส์ ุขภาพสัตว์ และในระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงใน สาขา สตั วรักษ์ แนวทางการประกอบอาชพี เปดิ คลีนิครกั ษาสตั ว์ ทางานในหนว่ ยงานภาครฐั วิชาชีพนี้เป็นวชิ าชีพ ควบคมุ ต้องจบปรญิ ญาตรใี นสาขา สัตวแพทย์ศาสตรบ์ ัณฑติ และมีสภาสตั วแพทย์รับรองหลักสูตรโดยตรง เทา่ นน้ั จึงจะขอสอบใบประกอบวชิ าชพี สตั วแพทย์ไดผ้ ู้จบสาขาวชิ าอน่ื ไม่สามารถเป็นสัตวแพทย์ได้

แบบทดสอบหนวยที่ 1 คาสั่งตอนท่ี 1 จงเลอื กคาตอบท่ีถกู ตองทส่ี ุดเพยี งขอเดยี วแลว X ลงในคาตอบทีถ่ ูกต้อง (5 คะแนน) 1. การเล้ยี งสัตวหมายถึง ก. การเลย้ี งและผสมพนั ธุสตั ว ข. การจัดทาอาหารใหสตั วกนิ ค. การจัดทอ่ี ยูอาศัยใหสัตว ง. การคดั พนั ธุ การจดั การที่อยู การใหอาหาร และการสุขาภบิ าล 2. มนุษยเร่ิมรูจกั การเล้ยี งสัตวมากี่ป ก. 20,000 ป! ! ! ! ! ! ข. 40,000 ป! ! ! ! ! ! ค. 30,000 ป ง. ถกู ทุกขอ 3.สตั วทม่ี นุษยเร่ิมนามาเลี้ยงเปนชนดิ แรกคือ ก. แพะ! !!!! ! ข. มา!! ! ! ! ! ! ค. สนุ ัขปา ง. เสือ 4. ในอดตี มนุษยเรม่ิ รูจักการเล้ียงสัตวไดอยางไร ก. อานจากตารา!! ! ! ! ข. หยดุ ออกลาสตั ว! ! ค. กักสัตวไวน้ านจนสตั วขยายพันธุ ง. ผิดทกุ ขอ 5.ประโยชนท่ีสาคัญที่สดุ ที่ไดจากการเลยี้ งสัตวคอื ก. ชวยรักษาสภาพแวดลอม ค. ใชแรงงาน ข. เปนแหลงอาหาร ง. ใชเปนพาหนะ

คาส่ังตอนท่ี 2 จงเตมิ คาตอบลงในชองวางใหถูกตองและสมบูรณ (5 คะแนน) 1. จงเลาประวัตคิ วามเปนมาของการเล้ยี งสตั วมาพอเขาใจ ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................... ................... ....................................................................................................................................... ....................................... ............................................................................................................................................... ............................... 2. จงบอกประโยชนของการเลีย้ งสัตวต่อมนุษยแ์ ละยกตัวอยาง ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3. จงบอกประโยชนของการเลยี้ งสัตวตอเกษตรกรและยกตัวอยาง ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................... ..................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. 4. จงบอกประโยชนของการเลีย้ งสตั วตอประเทศและยกตวั อยาง ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................... ............................................................... 5. นกั ศึกษาคดิ วาประโยชนของการเล้ียงสัตวในขอใดที่สาคัญท่ีสุดพรอมอธบิ ายเหตุผล ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................... ........................................... ..............................................................................................................................................................................

เอกสารอา้ งอิง กรมอาชีวศึกษา การศึกษาธิการ. 2525. หลักการเลย้ี งสัตว์ทั่วไป. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์อักษรเจรญิ ทัศน์. 101 น. คานงึ หนดู าษ. 2543. หลกั การเลีย้ งสัตว์ทวั่ ไป. กรงุ เทพฯ : ศูนยว์ จิ ัยและพฒั นาอาชีวศึกษา 5 กรม อาชวี ศึกษา. 150 น. พานิช ทนิ นมิ ติ ร. 2535. หลักการเล้ียงสตั ว์. สงขลา : ภาควชิ าสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 224 น. ภาควิชาสตั วศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. 2543. สตั วศาสตร์และการผลติ สัตว์ เบ้อื งตน้ . เชยี งใหม่ บริษทั ทรโี อแอดเวอร์ไทซ่ึงแอนดม์ ีเดยี จากัด. 387 น. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. 2521. หลักการเลีย้ งสตั วท์ ่ัวไป. กรงุ เทพฯ : ม.ป.พ. 352 น. สวุ ทิ ย์ เฑยี รทอง. 2530. หลกั การเลีย้ งสตั ว์. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร์. 172 น.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook