Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการสัปดาห์คณิตศาสตร์ 1

สรุปโครงการสัปดาห์คณิตศาสตร์ 1

Published by rattanaporn klawklard, 2022-01-20 06:48:22

Description: สรุปโครงการสัปดาห์คณิตศาสตร์ 1

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนิ นงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)” ระหว่างวนั ท่ี 16 – 20 สิงหาคม 2564 กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิ ตศาสตร์ ปีการศึ กษา 2564 โรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ สังกดั องค์การบรหิ ารส่ วนจังหวดั ชลบุรี

ก คำนำ ปัจจุบันคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มบี ทบาทต่อการพฒั นาคุณภาพชวี ิตผเู้ รียนในสังคม ให้วชิ าคณติ ศาสตร์เปน็ วิชาที่สร้างความเปน็ คนที่สมบูรณ์ โดยธรรมชาตขิ องวิชาคณิตศาสตร์ ฝกึ ให้ ผู้เรียนเปน็ ผ้คู ิดเป็น ทำเปน็ แก้ปัญหาเป็น โดยผ่านการเรยี นรู้โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อกี ท้ังโรงเรยี นเป็นสถาบันให้การศึกษา และเปน็ องคก์ รหรอื หนว่ ยงานทมี่ คี วามสำคญั ทร่ี บั ผดิ ชอบต่อ การพัฒนาคณุ ภาพของเยาวชน อนั เปน็ กำลังสำคัญของชาติในการพฒั นาดา้ นอ่ืนๆ จึงมีความจำเป็น ต่อการจัดกจิ กรรมที่หลากหลายอนั จะเป็นแนวทางในการพัฒนาด้านกระบวนการคดิ และแกป้ ญั หา ให้กบั ผเู้ รียน การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาในปจั จุบัน มุ่งพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ โดย เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ให้รู้จักคิดเปน็ ทำเปน็ และไดศ้ ึกษากระบวนการแกป้ ญั หา อกี ท้ังพัฒนา กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองเพอ่ื สร้างประโยชน์และช่วยลดปญั หาในสงั คมตนเอง ความสำคญั ของโครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ต้านภยั โควดิ -19)” จึง จัดขึน้ เพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนร้โู ดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ซงึ่ เป็นกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรทู้ ี่ สำคัญในการชว่ ยเสรมิ สร้างเจตคติท่ีดีต่อวชิ าคณิตศาสตร์ โรงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ จึงจดั กำหนด โครงการ “สงิ หา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภยั โควดิ -19) ” ขนึ้ ใน วันท่ี 16 – 20 สงิ หาคม 2564 และมจี ุดมุ่งหมายการพัฒนาที่สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรฐั จากการ จดั กิจกรรมดงั กลา่ วผูจ้ ัดทำโครงการจงึ ไดร้ วบรวมผลการดำเนินงานและการประเมินผลโครงการโดย ใช้แบบประเมนิ เพือ่ เป็นขอ้ สรปุ และแนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี นในโอกาสต่อไป หวงั เป็นอยา่ งยิ่งว่ารายงานการดำเนนิ โครงการเล่มนี้ คงเปน็ ประโยชน์ต่อผูท้ ี่สนใจ สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในกจิ กรรมอ่ืนๆ ได้อยา่ งดยี ิง่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ โรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ สงิ หาคม 2564 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

ข สารบญั สารบัญ หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข สารบญั ตาราง ค บทที่ 1 บทนำ 1 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 4 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินการ 19 บทท่ี 4 ผลการดำเนินการ 22 บทท่ี 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ 25 บรรณานกุ รม 27 ภาคผนวก 28 - แบบประเมินกจิ กรรมโครงการ “สงิ หา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้าน ภยั โควิด-19)” - ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ “สงิ หา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online- ต้านภยั โควิด-19)” - ภาพประกอบกจิ กรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ น ภัยโควดิ -19)” รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

สารบญั ตาราง ค สารบญั หน้า ตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมนิ ของโครงการ “สิงหา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ 23 (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)” รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

บทท่ี 1 บทนำ หลกั การและเหตุผล คณิตศาสตร์เปน็ วิชาที่เกี่ยวข้องกับการคิด เราใชค้ ณติ ศาสตร์พสิ ูจน์เชิงเหตุผลในการตัดสนิ สงิ่ ท่เี ราคดิ นนั้ วา่ เปน็ จริงหรือนา่ จะเปน็ จริงหรอื ไม่ เราใชก้ ารคิดเพอ่ื แก้ปญั หาตา่ ง ๆ ในดา้ นวทิ ยาศาสตร์ การปกครองและอตุ สาหกรรม วธิ ีการใหเ้ หตุผลต่อเนอ่ื งที่ทำให้เราเขา้ ใจถงึ พลงั ทางความคิด และท้า ทายความอยากรู้อยากเห็นของมนุษยเ์ รา คณติ ศาสตร์เป็นวชิ าที่สร้างสรรคท์ างด้านจติ ใจของมนุษย์ วิชาหน่ึงโดยเกย่ี วกับพืน้ ฐานทางความคิด กระบวนการและเหตผุ ล ดังนนั้ คณติ ศาสตร์จึงเปน็ มากกว่า เลขคณติ (ท่ีเกยี่ วข้องกับจำนวนและการคดิ คำนวณ) มากกว่าพีชคณิต (ภาษาทางสญั ลักษณ์และ ความสมั พนั ธ)์ มากกว่าเรขาคณิต (ที่ศกึ ษาเก่ยี วกับรปู รา่ ง ขนาด และที่ว่าง) มากกว่าสถิติ (ท่ี เกีย่ วขอ้ งกบั การตีความ การแปลความหมายขอ้ มูลและกราฟ) และมากกว่าแคลคูลัส (ท่ศี ึกษาความ เปลี่ยนแปลง จำนวนไมร่ จู้ บและจำนวนจำกดั ) คณติ ศาสตร์เปน็ ภาษาอย่างหนึง่ ซึ่งกำหนดข้นึ ด้วย ขอ้ ความทางสัญลักษณ์ทก่ี ระชับรัดกมุ และส่ือความหมายได้ ภาษาคณิตศาสตร์เป็นภาษาซึง่ ดำเนนิ ไป ด้วยการคิดมากกวา่ การฟัง คณติ ศาสตร์เป็นวชิ าท่ีชว่ ยจัดระเบยี บโครงสร้างทางความรู้ ข้อความแต่ละ ข้อความถกู สรุปด้วยเหตุผลจากการพิสูจน์ขอ้ ความหรือขอ้ สมมติเดมิ โครงสร้างของคณิตศาสตร์เป็น โครงสร้างทางด้านเหตผุ ล โดยเริ่มตน้ ด้วยพจน์ทยี่ ังไม่ได้รับการนยิ ามและถกู นยิ ามอย่างเป็นระบบแล้ว นำมาใชอ้ ธบิ ายสาระตา่ ง ๆ หลังจากนน้ั ถูกตัง้ เปน็ คณุ สมบัติ หรือกฎ โดยทา้ ยท่ีสดุ พจน์และข้อสมมติ เหล่านจ้ี ะถกู นำไปใช้พสิ ูจนท์ ฤษฎี และสามารถศกึ ษาโครงสร้างใหม่ทางคณิตศาสตร์ได้ คณิตศาสตร์ เปน็ วิชาท่มี รี ปู แบบ น่ันคอื ความเป็นระเบยี บในรปู แบบของการคดิ ทกุ สงิ่ ทม่ี รี ูปแบบสามารถถกู จัดได้ ดว้ ยหลกั การทางคณติ ศาสตร์ เช่น คล่นื วทิ ยุ โครงสรา้ งของโมเลกุล และรปู รา่ งเซลของผงึ้ และ คณติ ศาสตรเ์ ป็นศิลปะอย่างหนงึ่ ความงามทางคณติ ศาสตร์สามารถพบไดใ้ นกระบวนการ ซง่ึ แยก ข้อเท็จจรงิ ทถ่ี ูกถา่ ยทอดผ่านการใชเ้ หตุผลเปน็ ขนั้ ตอน โดยนักคณติ ศาสตร์ได้พยายามใช้ความคิด สร้างสรรค์ จินตนาการ และการทำความเข้าใจในสงิ่ ท่ที า้ ทายความคิด จากความสำคัญที่นกั การศึกษาทา่ นต่างๆ ได้ทำการเสนอแนะมานัน้ จะเหน็ ได้ว่าวิชา คณติ ศาสตร์ มคี วามสำคัญทงั้ ในดา้ นการพัฒนาผู้เรยี นให้รจู้ กั ใช้ความคิด เหตุผลเพอื่ ท่ีจะพฒั นาวิธีการ เสาะแสวงหาความรู้ใหม่ และพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ห็นคุณค่าของความงามในระเบยี บการใช้ความคิด โครงสร้างของวชิ าทีจ่ ัดไวอ้ ย่างกลมกลืน อนั จะสง่ ผลถึงการสร้างจิตใจของมนษุ ยใ์ ห้มีความละเอยี ด รอบคอบ และสขุ มุ เยอื กเยน็ เม่ือผเู้ รยี นได้ผ่านการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ ซง่ึ ในสถานการณ์โควดิ -19 ระบาด เราควรเปลีย่ นให้ทุกๆท่กี ลายเปน็ โรงเรยี น เพราะการเรยี นรู้ยังต้องดำเนนิ อยูแ่ ม้นักเรียนไม่ สามารถไปโรงเรยี นตามปกติ ในหลายประเทศท่ีประกาศมาตรการปดิ โรงเรยี น รฐั บาลมักจะออก รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควดิ -19)”

2 มาตรการด้านการเรยี นรมู้ ารองรบั ด้วยการเรยี นทางไกลรปู แบบตา่ งๆ โดยพิจารณาจากเงอื่ นไขความ พร้อมด้านอปุ กรณ์ ความพร้อมของพ่อแม่ และความพร้อมตามชว่ งวัยของเดก็ สำหรบั ประเทศไทย ความทา้ ทายในการเปลีย่ นครง้ั นี้ไม่ใช่แคก่ ารแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าในสถานการณ์โควิด-19 เท่านน้ั แต่ควรเปน็ การ “เปล่ยี นวกิ ฤตใิ หเ้ ปน็ โอกาส” ในการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนใหด้ กี ว่า เดิม ดังนน้ั มาตรการการเรยี นรู้ของไทยจึงไม่ควรปรบั แคก่ ระบวนการเรียนรู้ในหอ้ งเรยี น แต่ต้องปรบั ใหญ่ทง้ั ระบบการเรียนรู้ที่ต้องสอดคล้องกันและเชื่อมโยงกบั การเรยี นรู้ของเด็ก กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตรโ์ รงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์จงึ จดั กจิ กรรม สิงหา สปั ดาหค์ ณติ ศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ต้านภยั โควิด-19) เพื่อพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนในการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ขึ้น วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ จดั การเรยี นรคู้ ณิตศาสตรใ์ นสปั ดาห์คณิตศาสตร์ ในรปู แบบ On-line จากการ วเิ คราะห์เน้ือหาความรู้/ รูปแบบเกมทางคณิตศาสตร์ 2. เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนครคู ณิตศาสตร์ในช่วงสถานการณ์การ แพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรน่าหรือ Covid-19 3. เพ่อื ให้นักเรยี นมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ วิชาคณติ ศาสตร์ ส่งผลใหม้ ีจำนวนนักเรียนเข้าเรียนใน รูปแบบ Online เพ่มิ ข้ึน ประชากรและตัวอยา่ ง ประชากร - นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 จำนวน 172 คน - นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4-6 จำนวน 165 คน - นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-3 จำนวน 224 คน - นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4-6 จำนวน 148 คน - คณะครูกลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ จำนวน 7 คน รวมจำนวนผ้เู ข้าร่วมโครงการ จำนวน ทั้งส้ิน 716 คน กลมุ่ ตวั อย่าง - นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 จำนวน 20 คน ร่วมทำแบบทดสอบความรู้ คณิตศาสตร์ online - นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4-6 จำนวน 50 คน รว่ มทำแบบทดสอบความรู้ คณติ ศาสตร์ Online และเกม 24 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควดิ -19)”

3 - นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 จำนวน 71 คน รว่ มทำแบบทดสอบความรู้ คณิตศาสตร์ Online เกม 24 และกิจกรรมสำรวจนักคณิตศาสตรโ์ ลก - นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 จำนวน 100 คน รว่ มทำแบบทดสอบความรู้ คณิตศาสตร์ Online เกม 24 และกจิ กรรมสำรวจนกั คณิตศาสตร์โลก - คณะครกู ลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ จำนวน 7 คน รว่ มจดั กจิ กรรมรว่ มทำ แบบทดสอบความรู้คณติ ศาสตร์ Online เกม 24 และกิจกรรมสำรวจนักคณิตศาสตร์โลก รวมจำนวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ จำนวน ทง้ั สิ้น 248 คน การสุม่ กลุม่ ตวั อย่างโดยใชต้ ารางของ Krejcie and Morgan เปา้ หมายด้านคุณภาพ นกั เรยี นไดร้ บั การสง่ เสรมิ และพฒั นาให้มีความรู้ ความเข้าใจสามารถใช้ทักษะเทคโนโลยีใน การเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ในรูปแบบต่างๆ ครกู ลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตรม์ แี นว ทางการจัดการเรยี นรู้คณติ ศาสตรไ์ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพทนั เหตกุ ารณ์ปัจจุบนั วิธกี ารดำเนินการ 1. กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ร่วมประชุมวางแผน 2. สำรวจความตอ้ งการการจดั กจิ กรรมโครงการ สงิ หา สปั ดาห์คณติ ศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภยั โควิด-19) เพื่อจัดทำโครงการตามความตอ้ งการของผ้เู รียน 3. กำหนดกิจกรรม / วางแผนดำเนินงาน / ตดิ ต่อประสานงานวิทยากร 4. ดำเนนิ กจิ กรรมโครงการ สิงหา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online- ตา้ นภยั โควดิ -19) 5. ประเมินผลโครงการ ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั นักเรยี นได้รบั การส่งเสรมิ ฝกึ ฝนใหเ้ กิดทักษะกระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญ สถานการณ์ และการประยุกตค์ วามร้มู าใชป้ อ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา การเรยี นรจู้ ากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏิบัติให้ คิดเปน็ ทำเป็น รักการอ่านและเกดิ การใฝ่รู้อยา่ งต่อเน่อื ง รู้จกั การผสมผสาน สาระความรู้ดา้ นตา่ งๆ อย่างได้สดั ส่วนสมดุลกัน ในสถานการณ์ทไี่ มป่ กติ(การจดั การเรียนรู้ใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื โควดิ -19) มีคุณธรรม และคา่ นยิ มที่ดงี าม มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ สามารถพฒั นาตนเองไปสู่การเพม่ิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น และการประเมนิ ระดบั ชาติได้ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

4 บทที่ 2 เอกสารที่เกยี่ วข้อง การดำเนนิ โครงการ สิงหา สัปดาห์คณติ ศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภัยโควิด-19) ใน ครัง้ น้ี คณะกรรมการดำเนินงานได้ประชุมรว่ มกันเพือ่ หาขอ้ สรุป ในโครงการ โดยศึกษาเอกสารที่ เก่ียวขอ้ ง ดังน้ี ความสำคญั ของคณติ ศาสตร์ การจดั คา่ ยคณติ ศาสตร์ (ออนไลน)์ การประเมินโครงการคณิตศาสตร์ รปู แบบการประเมนิ โครงการ ความสำคญั ของคณติ ศาสตร์ คณิตศาสตรม์ บี ทบาทสำคัญยิ่งต่อการพฒั นาความคดิ มนษุ ย์ทำให้มนษุ ย์มคี วามคดิ สร้างสรรค์ คดิ อย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผนสามารถวิเคราะหป์ ัญหาหรือสถานการณไ์ ด้อยา่ งถ่ถี ว้ น รอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม นอกจากนคี้ ณิตศาสตรย์ งั เป็นเครื่องมือในการศกึ ษาทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและ ศาสตรอ์ ื่น ๆ คณิตศาสตร์จงึ มปี ระโยชนต์ อ่ การดำเนินชวี ิต ชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพชีวิตให้ดีข้นึ และ สามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ ื่นได้อยา่ งมีความสุข (กระทรวงศึกษาธกิ าร 2544 : 1) กล่าวคอื คณิตศาสตร์มีอยู่ ในทุกทท่ี ุกเวลา ตั้งแตเ่ ชา้ จนเยน็ ซ่ึงมีนกั การศกึ ษาได้กลา่ วถงึ ความสำคญั ไวด้ ังนี้ สมทรง สวุ พานชิ (2539 : 14 : 15) ได้กล่าวถึงความสำคญั ไวว้ ่า วชิ าคณติ ศาสตร์มี ความสำคัญและมีบทบาทตอ่ บุคคลมาก คณติ ศาสตรช์ ว่ ยฝกึ ให้คนมคี วามรอบคอบ มีเหตุผล รู้จกั หา เหตุผล ความจริง การมีคุณธรรมเชน่ นี้ อยูใ่ นใจเป็นสิ่งสำคญั มากกว่าความเจริญกา้ วหน้าด้าน วทิ ยาการใด ๆ นอกจากนัน้ เมื่อเด็กคิดเปน็ และเคยชินตอ่ การแกป้ ัญหาตามวัยไปทุกระยะแลว้ เมอื่ เป็นผู้ใหญ่ยอ่ มสามารถจะแก้ปัญหาชวี ติ ได้ จุลพงษ์พนั อินากูล (2542 : 4) ได้กลา่ วถึง ความสำคัญของคณิตศาสตร์ไว้วา่ คณิตศาสตร์มี ความสำคัญต่อชีวติ มนุษย์ เพราะมีความสัมพันธ์กับมนุษยอ์ ยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของเวลา การใช้จ่ายเงนิ ทอง การเดนิ ทาง ล้วนมคี วามสมั พันธก์ บั มนุษย์ทั้งส้ิน ความรทู้ างคณติ ศาสตรจ์ ะชว่ ยให้ ชีวติ มนุษย์ดำเนินไปด้วยดี และมปี ระสิทธิภาพ เช่น ความรทู้ างพชี คณิต อันได้แก่ ประโยคสัญลกั ษณ์ เปน็ การนำเอาเรื่องราวโจทย์ปัญหาเขียนเป็นประโยคสญั ลักษณ์ แลว้ หาคำตอบเปน็ การช่วยให้หา คำตอบงา่ ยขึ้น สว่ นเรขาคณิตสามารถนำมาใชใ้ นการแบง่ เขตท่ดี นิ ใชใ้ นการกอ่ สร้าง เขียนแผนภูมิ รปู ภาพแสดงขอ้ มลู ต่าง ๆ เปน็ ตน้ นอกจากน้ีกิจกรรมต่าง ๆ ทางคณิตศาสตรจ์ ะชว่ ยให้ผเู้ รยี นเป็นคน รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควดิ -19)”

5 ช่างสังเกต มีความคิดรวบยอด เป็นคนมีเหตมุ ีผลยอมรบั ความคิดเหน็ ของผ้อู น่ื เป็นการปลกู ฝัง คณุ ธรรม ซงึ่ ถอื ว่าเป็นเรอ่ื งสำคัญมาก เพ็ญจันทร์ เงียบประเสรฐิ (2542 : 4-5) ได้สรุปความสำคญั ของวชิ าคณติ ศาสตร์ไว้ 4 ดา้ น ดังนี้ 1. ความสำคญั ทน่ี ำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั เราทกุ คนต้องใช้คณิตศาสตรแ์ ละต้องเกยี่ วข้องกับ คณติ ศาสตร์อยู่เสมอ บางคร้ังเราอาจไมร่ ตู้ วั วา่ กำลงั ใชค้ ณติ ศาสตรอ์ ยู่ เชน่ การดูเวลา การประมาณ ระยะทาง การซื้อขาย การกำหนดรายรับรายจา่ ยในครอบครวั เป็นตน้ 2. ความสำคัญทนี่ ำไปใช้ในงานการประกอบอาชีพ ในปัจจุบนั เป็นท่ียอมรบั กันแล้ววา่ ความรู้ ความสามารถทางคณิตศาสตร์เป็นส่ิงจำเป็นสำหรับผู้ท่จี ะทำงาน ไม่ว่าในสาขาวชิ าชพี ใดผูท้ ีมีความรู้ ความสามารถทางคณติ ศาสตรม์ กั จะไดร้ ับการพิจารณากอ่ นเสมอ 3. ความสำคัญทีเ่ ปน็ เครื่องปลูกฝงั ความคิดและฝึกฝนทักษะให้เดก็ มีคุณสมบัตินิสัย เจตคติ และความสามารถทางสมอง ตามวัตถปุ ระสงคท์ ั่วไปของการศกึ ษา คอื การฝึกเดก็ ให้ใช้ความคิดหรือ ใหม้ ีความสามารถสร้างความรูแ้ ละคิดเป็น เชน่ ความเปน็ คนช่างสังเกต การรู้จักคิดอย่างมเี หตุผล และแสดงความคดิ เหน็ ออกมาอย่างเปน็ ระเบียบ ง่าย สน้ั และขัดเจนตลอดจนมคี วามสามารถในการ วิเคราะหป์ ัญหาและทักษะในการแกป้ ัญหา 4. ความสำคญั ในแงท่ เี่ ป็นวัฒนธรรม คณิตศาสตร์เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมจากอดีตที่มรี ปู แบ อนั งดงาม ซึ่งคนรุน่ ก่อนไดค้ ดิ คน้ สร้างสรรค์ไว้ และถ่ายทอดมาให้คนรุ่นหลังได้ช่ืนชม ท้งั ยงั มีเรือ่ งให้ ศึกษาค้นคว้าตอ่ ไปได้อกี มาก โดยอาจไมต่ ้องคำนึงถงึ ผลทจ่ี ะเอาไปใชต้ ่อไป ดังนั้น ในการศกึ ษาวิชา คณิตศาสตร์ควรจะเปน็ การศึกษาเพีอ่ ช่ืนชมในผลงานของคณิตศาสตร์ท่มี ีตอ่ วฒั นธรรมอารยธรรม ความก้าวหนา้ ของมนุษยแ์ ละยังเป็นการศึกษาคณิตศาสตรเ์ พื่อคณิตศาสตร์เองได้อกี แงห่ นึ่งด้วย พิสมัย ศรอี ำไพ (2545 : 13 - 14) ไดก้ ลา่ วถึงความสำคญั ไว้ว่าคณิตศาสตรม์ คี วานสำคัญใน เกือบทกุ วงการ ดงั นี้ 1. ในชวี ิตประจำวัน สงิ่ ทม่ี นุษย์สรา้ งขึน้ ลว้ นแตอ่ ยู่ในรูปทรงคณิตศาสตรท์ ัง้ สิน้ เชน่ อาคาร บ้านเรือน เครื่องใชต้ ่าง ๆ จงึ กลา่ วได้ว่า เราใชช้ วี ิตอยู่ในโลกคณิตศาสตรก์ ็คงไม่ผดิ 2. ในด้านอตุ สาหกรรม บริษัทหา้ งรา้ นต่าง ๆ ก็มกี ารใชค้ ณิตศาสตร์ในการปรับปรุง คุณภาพ สนิ ค้า ผลติ ภัณฑ์ โดยอาศยั การวิจัยและวางแผน คณติ ศาสตร์ยังมีความสำคญั ต่องานวศิ วกรรม การออกแบบ การก่อสร้างอย่างมากมาย 3. ในด้านธรุ กจิ ไม่ว่าจะอยู่ในวงการเล็ก หรอื ใหญต่ ้องใช้คณิตศาสตรท์ ั้งสิน้ เช่น งานธนาคาร บริษัทการคา้ ตอ้ งอาศยั คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะสถติ ิเพ่ือวิเคราะห์ วิจยั และหาข้อมูลต่าง ๆ เพอื่ ปรับปรงุ งานใหด้ ขี ้ึน รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

6 4. ในด้านวิทยาศาสตร์ จากคำกลา่ วท่วี ่า “คณติ ศาสตรเ์ ป็นประตแู ละกญุ แจของวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตรเ์ ปน็ ราชนิ ีของวิทยาศาสตร์” ก็เป็นการชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ความสำคัญท่ีคณิตศาสตรม์ ีตอ่ วิทยาศาสตร์ 5. ในด้านการศึกษา จะเหน็ ว่าคณติ ศาสตรเ์ ป็นพื้นฐานของศาสตร์อื่นท้งั ปวงถา้ เปรยี บศาสตร์ อนื่ เปน็ กิ่งกา้ นของตน้ ไม้ คณิตศาสตร์ก็เปรียบได้กับรากแกว้ สริ ิพร ทิพยค์ ง (2545 : 1) ไดก้ ล่าวถึงความสำคัญของคณติ ศาสตร์วา่ คณิตศาสตร์ชว่ ย กอ่ ให้เกิดความเจริญกา้ วหน้าท้ังทางดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โลกในปจั จุบนั เจริญขนึ้ เพราะ การคิดคน้ ทางวทิ ยาศาสตร์ซึง่ ต้องอาศยั ความรูท้ างคณิตศาสตรด์ ้วย นอกจากนีค้ ณิตศาสตร์ยงั ชว่ ย พัฒนาใหแ้ ต่ละบุคคลเป็นคนท่ีสมบรู ณ์ เปน็ พลเมืองดี เพราะคณิตศาสตร์ชว่ ยเสรมิ สร้างความมีเหตุผล ความเป็นคนช่างคิด ช่างริเริ่มสรา้ งสรรค์ มีระเบยี บในการคิด มกี ารวางแผนในการทำงาน มคี วามสามารถในการตัดสินใจ มีความรบั ผิดชอบต่อกิจการงานทีไดร้ ับมอบหมาย ตลอดจนลักษณะ ของความเป็นนา่ ในสังคม ปรยี า รตั นชาครติ (2548 : 14) ไดก้ ลา่ วถึงความสำคญั ไว้วา่ คณิตศาสตรเ์ ป็นศาสตร์แหง่ การคดิ และเคร่ืองมอื สำคัญในการพัฒนาศักยภาพของสมองดา้ นการคิด อันเป็นความสามารถทาง ปญั ญาของคน สงั เกตได้จากความสามารถในการรับรู้ การคิด และการตดั สนิ ใจ ความสามารถดา้ น การคิดในลักษณะนามธรรม การให้เหตุผล การอธบิ ายประกอบ และความสามารถในการสรปุ รวบ ยอด หลกั การต่าง ๆ และการนำคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ จากความสำคัญท่ีนักการศกึ ษาได้กล่าวมาสรปุ ไดว้ ่า คณิตศาสตร์เป็นทกั ษะชีวิตทตี่ อ้ งใช้ทง้ั ในชีวติ ประจำวันการประกอบอาชพี ความเจรญิ กา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ ตลอดจนชว่ ยปลูกฝงั คณุ ลกั ษณะทสี ำคญั ของการเป็นทรัพยากรมนษุ ย์ท่ีดี ดงั น้ัน การจดั การศกึ ษาจงึ มคี วามม่งุ เพื่อใหค้ น เปน็ คนดี คนเก่ง และมีความสขุ สามารถใช้ชีวิตได้อยา่ งมคี ณุ ภาพและมีประสิทธภิ าพในสังคม คณติ ศาสตร์จงึ เปน็ ส่ิงทีข่ าดไม่ไดอ้ ยา่ งแน่นอนในการดำรงชวี ิต ท้ังในปจั จุบันและอนาคต ความหมายของคณิตศาสตร์ สนุ ทร หนูอินทร์ (2536 : 91) ให้ความหมายของคณิตศาสตร์ไว้ว่า กลมุ่ วชิ าต่าง ๆ ท่ีวา่ ด้วย การคำนวณโดยอาศัยจำนวน ตวั เลข และสัญลกั ษณเ์ ปน็ สื่อสรา้ งความเขา้ ใจ เป็นเครอ่ื งมือทแ่ี สดง ความคิดท่ีเปน็ ระบบ มีเหตุผล มวี ธิ กี ารและหลกั การทแ่ี นน่ อน ช่วยแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม พรี ะพล ศิริวงค์ (2542 : 7) ไดส้ รปุ ความหมายของคณิตศาสตร์ไว้ ดงั น้ี 1. คณิตศาสตร์ เป็นวชิ าที่มลี กั ษณะเป็นนามธรรม ซ่ึงเกยี่ วกบั ความคิดที่ช่วยให้ผู้เรียนคดิ เป็น ทำเปน็ และแก้ปัญหาเปน็ มคี วามคดิ เชิงวเิ คราะหเ์ หตผุ ลที่สมเหตุสมผล อันเปน็ พนื้ ฐานสำคญั ยิ่งใน รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

7 การสร้างสรรค์สิง่ ใหมแ่ ละศึกษาวิทยาการหรอื เทคโนโลยีใหม่ ๆ ดงั นั้น คณติ ศาสตรจ์ งึ เป็นพื้นฐาน แห่งความเจริญงอกงามของศาสตร์สาขาต่าง ๆ 2. คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ทม่ี ีรปู แบบท่ชี ัดเจนคดิ อยา่ งมีแบบแผนทุกขั้นตอนในกระบวนการ ตอ้ งมเี หตผุ ลตอบหรอื วิเคราะหจ์ ำแนกให้เห็นจรงิ ได้อย่างแนน่ อน 3. คณติ ศาสตร์ เปน็ ศิลปะรูปแบบท่ีมคี วามงาม ในรปู แบบซึ่งวา่ ดว้ ยระเบยี บ ความกลมกลืน ความสอดคลอ้ งต้องกัน และความไม่ขดั แยง้ ในระบบ แสดงให้เหน็ ความงามในความคิดสร้างสรรค์ กลมกลืน จินตนาการที่มีเหตผุ ลและสมั ผัสได้ แสดงความคิดริริมใหม่ ๆ นอกจากความหมายทีได้กล่าวมาแลว้ ยพุ ิน พพิ ธิ กุล (2545 : บทนำ) กลา่ วว่า คณติ ศาสตร์เป็นวชิ าท่ีสำคัญวิชาหนง่ึ คณิตศาสตร์มใิ ชม่ คี วามหายเพยี งแต่ตัวเลข และสญั ลกั ษณ์ เท่านนั้ คณิตศาสตรม์ ีความหมายกว้างมากซง่ึ จะสรุปไดด้ ังนี้ 1.คณิตศาสตร์เปน็ วิชาท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการคดิ เราใช้คณิตศาสตร์พสิ ูจนเ์ หตผุ ลวา่ สิ่งทเ่ี ราคดิ ขน้ึ นนั้ เปน็ จริงหรอื ไมด่ ว้ ยวิธคี ิด เรากจ็ ะสามารถนำคณิตศาสตร์ไปแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตรไ์ ด้ คณติ ศาสตรช์ ว่ ยให้คนเปน็ ผู้ทีม่ เี หตผุ ล เป็นคนใฝร่ ู้ ตลอดจนพยายามคิดส่ิงที่แปลกและใหม่ คณติ ศาสตร์จึงเป็นรากฐานแหง่ ความเจริญของเทคโนโลยีด้านต่างๆ 2. คณิตศาสตร์เป็นวชิ าทีเ่ กยี่ วกบั ความคิดของมนุษย์ มนษุ ย์สร้างสัญลักษณ์แทน ความคดิ น้ัน ๆ และสร้างกฎในการนำสัญลกั ษณ์มาใชเ้ พื่อสอ่ื ความหมายใหเ้ ข้าใจตรงกนั คณิตศาสตร์ จงึ มีภาษาเฉพาะของตวั มันเอง เป็นภาษาท่ีกำหนดขนึ้ ดว้ ยสัญลักษณ์ทร่ี ัดกุมและสอ่ื ความหมายได้ ถูกต้องเปน็ ภาษาท่มี ีตัวอกั ษร ตัวเลขและสัญลักษณแ์ ทนความคิด เปน็ ภาษาสากลท่ีทกุ ชาตทิ กุ ภาษาท่ี เรียนคณิตศาสตร์จะเข้าใจตรงกนั เชน่ x + 5 = 28 ทุกคนทีเ่ ข้าใจคณิตศาสตร์จะอ่านประโยค สัญลักษณน์ ี้ไดแ้ ละเงาใจความหมายตรงกนั 3. คณติ ศาสตรเ์ ป็นวิชาทีม่ รี ูปแบบ (Pattem) เราจะเหน็ ว่าการคิดทางคณติ ศาสตร์นัน้ ตอ้ งมี แบบแผน มีรปู แบบ ไมว่ า่ จะคิดเร่ืองใดก็ตามทุกข้ันตอนจะตอบไดแ้ ละจำแนกออกมาใหเ้ หน็ จริง 4. คณติ ศาสตร์เปน็ วิชาที่มีโครงสร้างมีเหตุผล คณิตศาสตรจ์ ะเริ่มตน้ ดว้ ยเร่ืองง่าย ๆ ก่อน เชน่ เรมิ่ ตน้ ดว้ ยนิยาม ไดแ้ ก่ จุด เส้นตรง ระนาบ เร่ืองง่าย ๆ นจ้ี ะเป็นพนื้ ฐานไปสู่เรื่องอนื่ ๆ ต่อไป เชน่ บทนิยาม สจั พจน์ ทฤษฎีบท การพิสูจน์ 5. คณิตศาสตรเ์ ปน็ ศิลปะอยา่ งหนึ่ง เชน่ เดียวกบั ศิลปะอื่น ๆ ความงามของคณิตศาสตร์ กค็ ือ ความมีระเบียบและความกลมกลนื นกั คณิตศาสตร์ได้พยายามแสดงความคิดมีความคิดสร้างสรรค์ มีจนิ ตนาการ มคี วามคิดริเร่ิม ท่ีจะแสดงความคิดใหม่ ๆ และแสดงโครงสรา้ งใหม่ ๆ ทางคณติ ศาสตร์ ออกมา รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

8 ราชบัณฑติ ยสถาน (2546 : 214) ไดใ้ ห้ความหมายว่า คณิต หมายถึง การนบั การคำนวณ วชิ าคำนวณ “คณิตศาสตร์ หมายถึง วชิ าวา่ ดว้ ยการคำนวณ” ซงึ่ เป็นความหมายทำใหเ้ รามองเหน็ คณติ ศาสตรอ์ ย่างแคบ มไิ ด้รวมถึงขอบขา่ ยคณิตศาสตร์ ซ่ึงเรายอมรับกันในปัจจุบัน Hawkins (1990 : 236) ได้ให้ความหมายไว้วา่ คณติ ศาสตร์เปน็ การศึกษาเก่ยี วกบั จำนวน ตวั เลข การวัดและรูปร่าง(The Study of Number, Measurement and Shapes) จากท่ีกล่าวมาสรปุ ไดว้ ่า คณติ ศาสตรเ์ ป็นวชิ าทเ่ี ก่ียวกบั ความคิดรวบยอดมีความเปน็ เหตุเปน็ ผล ซ่งึ เกี่ยวข้องกับปริมาณการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนต้องสมั พนั ธแ์ ละมีความเกี่ยวข้องกบั ชวี ติ ประจำวันโดยใชต้ ัวเลขและสญั ลักษณ์เป็นการสือ่ ความเข้าใจที่เปน็ สากล การจดั คา่ ยคณิตศาสตร์ (ออนไลน)์ แนวคดิ ในการจดั คา่ ยคณติ ศาสตร์ การจัดการเรียนรตู้ ามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ยึดถือว่าผู้เรยี นมี ความสำคัญที่สุด ซึ่งหมายถึง การจดั การเรียนรใู้ ห้เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับวุฒภิ าวะ ความสนใจ และความถนดั ของผูเ้ รียนการจัดการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ให้สอดคลอ้ งกบั พระราชบัญญัติดงั กล่าว เนน้ การจดั กิจกรรมท่สี ่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสได้เรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ ริง จากการฝกึ ปฏิบตั ิ ฝกึ ให้ นกั เรียนคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหาในสถานการณ์จรงิ ไดม้ กี ารทำกจิ กรรมร่วมกนั อันนำไปสู่การ พัฒนาผู้เรียนครบทกุ ดา้ น ทงั้ ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และด้าน คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม การจดั คา่ ยคณิตศาสตรเ์ ป็นกจิ กรรมหนึง่ ท่จี ะทำใหน้ กั เรยี นได้มี โอกาสเรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ไดม้ กี ารเรียนรู้และแลกเปล่ยี นประสบการณ์รว่ มกนั ได้ฝกึ นำ ความร้แู ละทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ ่ีไดเ้ รยี นรู้ในหอ้ งเรียนไปใช้แก้ปญั หาใน สถานการณ์จรงิ คา่ ยคณติ ศาสตร์ เป็นการรวมกลมุ่ ของนกั เรียนท่ีมาอยรู่ ว่ มกนั ในสถานที่และในเวลาที่กำหนด เป็นการชวั่ คราว เพอ่ื ทำกิจกรรมเกย่ี วกบั คณิตศาสตร์ อาจจัดให้มีกิจกรรมนันทนาการร่วมดว้ ย กิจกรรมทางคณติ ศาสตร์ควรเน้นการนำความร้แู ละวธิ กี ารทางคณติ ศาสตรไ์ ปบูรณาการหรือเชอ่ื มโยง ความร้เู พอื่ แก้ปญั หาท่กี ำหนดในสถานการณ์ต่าง ๆ กจิ กรรมเหล่านีค้ วรส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นได้มี ปฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบระหว่างกนั และกัน เพ่ือแลกเปล่ยี นความรู้และประสบการณ์ ลักษณะของค่าย คณติ ศาสตรแ์ ตล่ ะค่ายอาจมีความแตกต่างกนั ตามจุดประสงคข์ องการจดั ค่าย เชน่ ค่ายคณิตศาสตร์ โอลมิ ปิก และค่ายพัฒนาอัจฉรยิ ภาพทางคณิตศาสตร์ จะเน้นเนอ้ื หาคณิตศาสตร์ในระดบั ท่สี งู กว่าพ้ืน ความรทู้ ม่ี อี ยูเ่ ดิมของนกั เรียน หรอื จดั กิจกรรมทมี ุ่งค้นหาความสามารถหรือศักยภาพทางคณติ ศาสตร์ ของนักเรยี น สำหรบั นักเรียนทัว่ ไป ควรจดั เป็นคา่ ยคณติ ศาสตรท์ ่มี ุง่ เนน้ ส่งเสริมและพฒั นาทง้ั ดา้ น วิชาการทางคณิตศาสตร์ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)”

9 จุดประสงค์ในการจัดคา่ ยคณติ ศาสตร์ 1. เพอ่ื ให้นกั เรียนได้ฝกึ ทำกิจกรรมรว่ มกนั เป็นหมคู่ ณะ ไดเ้ รียนร้กู ารอย่รู ว่ มกันในสังคม 2. เพือ่ ใหน้ กั เรียนได้รับประสบการณต์ รง โดยเรยี นรู้คณติ ศาสตร์จากการศกึ ษาสำรวจหา ขอ้ มูลในธรรมชาติ ได้มโี อกาสนำความรูค้ ณติ ศาสตรไ์ ปแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง 3. เพอ่ื ให้นักเรยี นได้เพ่มิ พูนความรู้และทกั ษะ / กระบวกการทางคณติ ศาสตร์ 4. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีเจตคติท่ดี ตี ่อวชิ าคณิตศาสตร์ มีความรกั ในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 5. เพอ่ื ฝึกให้นกั เรยี นเปน็ ผมู้ วี นิ ัย ร้จู กั เสยี สละ ตรงตอ่ เวลา เป็นผนู้ ำและผู้ตามท่ดี ี หลักการในการจัดค่ายคณิตศาสตร์ ในการจัดค่ายคณิตศาสตร์ควรมหี ลกั การ ดงั น้ี 1. จดั กิจกรรมใหส้ อดคล้อตามจดุ ประสงคท์ กี่ ำหนดให้ 2. ควรจัดกจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั วัย วุฒภิ าวะ ศักยภาพการเรียนรคู้ ณติ ศาสตรข์ องนักเรยี น 3. ควรเน้นกจิ กรรมทั้งวชิ าการและนนั ทนาการที่เปิดโอกาสให้นักเรียนไดท้ ำงานร่วมกันเปน็ กลุ่ม 4. สาระทจ่ี ัดไว้ในแต่ละกิจกรรมควรสอดคล้องกับเนื้อหาคณติ สาสตรท์ ่ีนกั เรยี นได้เรียนในช้นั เรยี นและควรเป็นสาระท่ีเนน้ การฝกึ คิดวเิ คราะห์ มกี จิ กรรมท่แี ตกตา่ งหลากหลาย ท้าทายชวนให้คิด นกั เรียนมีโอกาสไดน้ ำเสนอแนวคิดทีห่ ลากหลายส่งเสรมิ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ 5. นกั เรยี นทีม่ าเข้าค่ายอาจเป็นนกั เรยี นในระดบั ช้ันเดียวกัน หรืออยใู่ นช่วงชน้ั เดยี วกนั กไ็ ด้ ถา้ เปน็ ค่ายแบบสหศึกษาควรมีจำนวนนกั เรยี นชายและนกั เรยี นหญงิ ใกลเ้ คยี งกนั ถา้ สถานศึกษาใดมี นกั เรยี นทอี่ ยู่ในช่วงช้นั ท่สี งู กวา่ นกั เรียนทม่ี าเข้าค่าย อาจใหน้ ักเรียนชว่ งชนั้ ท่สี ูงกวา่ นี้เปน็ พี่เลีย้ ง โดย อาจจัดใหพ้ ี่เลย้ี ง 1 คนดูแลน้องๆ 10 คนกไ็ ด้ และจำนวนนักเรยี นที่เข้าค่ายท้งั หมดควรอยู่ ระหว่าง 80-120 คน 6. สำหรบั ครทู ี่เป็นผู้ดแู ลและดำเนนิ กิจกรรมในค่ายควรมีจำนนพียงพออาจใชอ้ ัตราส่วน จำนวนครตู อ่ จำนวนนกั เรียนเป็น 1 : 10 และควรแบง่ หน้าที่ให้ครูทุกคนมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบอยา่ ง ชดั เจน 7. สถานที่จดั ค่ายควรเลือกสถานที่ท่มี บี รรยากาศเอ้ือต่อการทำกิจกรรมทางคณิตศาสตรแ์ ละ นนั ทนาการ ท้ังในห้องประชุมและนอกห้องประชมุ มคี วามสะดวกตอ่ การเดินทาง มีความปลอดภัย มที พ่ี ักที่เหมาะสมพยี งพอสะดวกตอ่ การจัดหาและบริการอาหารและเคร่ืองด่มื 8. ช่วงเวลาทีจ่ ัดคา่ ยควรใช้เวลาประมาณ 2-3 วนั ควรเลอื กช่วงเวลาท่เี หมาะสมและไม่ควร อยู่ในชว่ งฤดูฝน แนวทางการจัดกิจกรรมในคา่ ยคณิตศาสตร์ ลกั ษณะของกจิ กรรมในคา่ ยคณิตศาสตร์ควรมีสองลักษณะได้แก่ กิจกรรมนนั ทนาการ และ กิจกรรมปฏิบัตกิ ารทางวชิ าการ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควดิ -19)”

10 กิจกรรมนันทนาการ เปน็ กิจกรรมทีจ่ ำเปน็ ตอ้ งกำหนดไวใ้ นค่าย เพีอ่ ใหน้ ักเรียนได้ผ่อนคลาย ความตึงเครียดหลังจากที่ต้องใช้สมองในการฝกึ คิด และแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ กิจกรรม นันทนาการควรเป็นกิจกรรมทเ่ี นน้ การสรา้ งเจตคติท่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์ และเจตคตทิ ดี่ ีตอ่ การอยู่ร่วมกัน ในคา่ ย เป็นกิจกรรมมุ่งพัฒนาทางดา้ นลกั ษณะอันพึงประสงค์ กจิ กรรมท่จี ดั จึงควรใหก้ ารทำงานใน กลุ่ม เพ่ือสร้างเสรมิ การทำงานเป็นทีม ได้เห็นความมนี ำ้ ใจ ความเสยี สละ ไดผ้ ่อนคลายสมอง สนุกสนาน ได้ฝกึ การเปน็ ผู้นำ ฝึกการส่ือสารและการนำเสนอ กิจกรรมนันทนาการอาจจัดในลักษณะ กลมุ่ สัมพันธก์ ิจกรรมแคมป์ไฟ การเลน่ เกมต่าง ๆ การละเล่นพน้ื เมือง การแสดง การขับร้อง กจิ กรรม เหล่านี้ควรจัดให้ในชว่ งกลางคืนหรือแทรกระหวา่ งกจิ กรรมทางราชการกไ็ ด้ กิจกรรมนันทนาการนี้ อาจรวมถงึ การออกกำลงั กายในตอนเชา้ และสวดมนต์กอ่ นนอนด้วย กจิ กรรมปฏบิ ตั ิการทางวชิ าการ ควรเปน็ กจิ กรรมเสรมิ ความรู้ในหลกั สูตรทีน่ ักเรยี นในช้ัน เรยี น อาจเป็นกิจกรรมที่เน้นการนำคณติ ศาสตร์ไปใชแ้ กป้ ญั หาในสถานการณ์ต่าง ๆ หรือเป็นกจิ กรรม ท่เี น้นการพัฒนาทกั ษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ก็ได้ กจิ กรรมเหล่านส้ี ามารถจดั ได้ ทั้งในห้อง ประชุมและนอกหอ้ งประชุม กิจกรรมในห้องประชมุ อาจจัดเปน็ การบรรยาย โดยเชิญวทิ ยากรผู้มคี วามสามารถทาง คณติ ศาสตร์มาให้ความรเู้ พิ่มเติม หรือใหค้ วามรูท้ ่ีไมม่ ใี นบทเรียน ในการจดั กจิ กรรมทางวิชาการ อาจจดั เปน็ กจิ กรรมยอ่ ย ๆ หรอื จัดเปน็ ฐานที่กำหนดสถานการณ์ / ปัญหาให้นักเรียนได้รว่ มกันทำ สถานการณ์ท่ีกำหนดควรเนน้ การสง่ เสรมิ พฒั นาทางด้านความรแู้ ละทักษะ / กระบวนการทาง คณติ ศาสตร์กจิ กรรมนอกหอ้ งประชุมหรือนอกสถานท่อี าจนำนักรียไปศึกษานอกสถานท่เี น้น การศกึ ษาคณิตศาสตร์ กิจกรรมนอกห้องประชุมหรอื นอกสถานท่ี อาจนำนักเรียนไปศึกษานอกสถานท่ี เน้น การศกึ ษาคณิตศาสตร์ จากธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม หรืออาจจดั เป็นกจิ กรรมย่อย ๆ เป็นฐานความรู้ ในลกั ษณะการเดินแรลล่ี หมนุ เวียนสลับฐาน ซง่ึ เนน้ การแก้ปญั หาโดยใชค้ วามร้คู ณิตศาสตร์และ ทกั ษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ทนี ักเรยี นเคยมพี น้ื ฐานมาแลว้ การดำเนินการทว่ั ไปเกย่ี วกบั การจัดคา่ ยคณติ ศาสตร์ การจัดค่ายควรมีขัน้ ตอนการดำเนินดงั ต่อไปน้ี 1. ขัน้ เตรยี มการ สำหรบั โรงเรยี นท่ตี อ้ งการจดั คา่ ยคณติ ศาสตรค์ วรจัดประชุมอาจารย์ใน หมวดคณิตศาสตร์กอ่ นเพ่ือปรกึ ษาหารอื ถงึ ความพรอ้ มของครใู นการจดั ค่าย การเลือกระดบั ช้ันของ นักเรยี นที่จะเขา้ คา่ ย ซึ่งควรมีเวลาเตรียมตัวมากพออยา่ งน้อยประมาณ 2 เดือนลว่ งหนา้ หลังจากมมี ติ จดั ค่ายแลว้ ควรดำเนินการดังนี้ 1) เขียนโครงการเพ่ือขออนุมัตจิ ดั ค่าย 2) จัดตั้งคณะกรรมการรบั ผดิ ชอบไหนแตล่ ะฝ่ายได้แก่ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายนนั ทนาการ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)”

11 ฝา่ ยการเงิน ฝา่ ยธุรการ ฝ่ายประเมนิ ผล และฝา่ ยประสานงานเก่ียวกบั สถานที่ / พาหนะ / ทพี่ ักและอาหาร 3) สำรวจสถานที่ เพอื่ เกบ็ รายละเอยี ดเกีย่ วกับท่พี กั บริเวณทใ่ี ช้จดั กิจกรรม รวมถึง ลักษณะของกิจกรรมทเ่ี หมาะสมภายในคา่ ย 4) ติดตอ่ วทิ ยากรทงั้ ฝา่ ยวิชาการและฝา่ ยนนั ทนาการ 5) กำหนดตารางเวลาและกจิ กรรมท่จี ะใช้ในคา่ ย 6) จดั เตรยี มเอกสารและส่อื / อุปกรณ์ที่จะใช้ภายในค่าย 7) กำหนดกลุ่มกจิ กรรมพรอ้ มรายชื่อนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม 8) จดั ประชุมคณะกรรมการเตรียมความพรอ้ มเป็นระยะตามความเหมาะสม 2. ขั้นดำเนินการ 1) ดำเนินกจิ กรรมตามตารางเวลา และกิจกรรมท่ีกำหนดไว้ในแผนการจดั คา่ ย 2) ติดตามและประเมินผลในแตล่ ะกจิ กรรม 3) ประชุมคณะกรรมการภายหลงั ปดิ ค่าย เพื่อหาข้อสรุป 3. ข้นั ประเมินผล การประเมนิ ผลการจดั ค่ายคณิตศาสตรค์ วรมกี ารประเมินใน 2 ลักษณะ คือ 1. ผลการประเมนิ จากครูผูด้ แู ลคา่ ยอาจพจิ ารณาตามงานดังน้ี 1) ประเมนิ ภาพรวมจากการทำกจิ กรรมต่าง ๆ เพ่ือเกบ็ รวบรวมขอ้ ดีและ ข้อบกพร่อง เพ่ือการแกไ้ ขใหเ้ หมาะสมในการจดั ค่ายครัง้ ต่อไป 2) ประเมินผลปฏิบัติการทางวชิ าการของนกั เรยี นในแตล่ ะกิจกรรมว่านกั เรียน สามารถผ่านเกณฑท์ ่กี ำหนดไว้ในกิจกรรมหรือไม่ 3) ประเมนิ ผลนกั เรียนในด้านลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยพิจารณาการทำงาน ร่วมกันเป็นกลุ่มของนักเรียนในแตล่ ะกลุ่มว่ามคี วามสามคั คีตรงตอ่ เวลา มรี ะเบยี บ วินัย มนี ำ้ ใจ มคี วามเสียสละ และมกี ารวางแผนการดำเนนิ กิจกรรมให้ได้ผลดมี าก น้อยเพียงใด 2. ผลการประเมินการจัดค่ายจากแบบสอบถามของนักเรียน ซง่ึ ประเมนิ ความพงึ พอใจในแต่ ละกจิ กรรม การประเมนิ โครงการ (Project Evaluation) การประเมนิ โครงการนับวา่ ยงั เปน็ แนวคดิ และเทคนคิ วิธที ี่ใหมส่ ำหรับเมืองไทยและสาขา การศกึ ษา การประเมนิ โครงการได้เข้ามามีบทบาทสำคญั ในการศกึ ษาประมาณ 15 ปที ่ีผ่านมาโดยริม จากแนวคิดทีเสนอในรปู ของบทความของราฟ ไทเลอร์ (Raph Tyle) ลี เจ ครอนบาซ (Lee J. รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

12 Cronbach) และไมเคลิ สครฟิ เวน (M. Scriven) ในประเทศไทยการเรยี นการสอนวชิ าการ ประเมินผลโครงการสว่ นมากจะสอดแทรกอยูใ่ นสาขาตา่ ง ๆ เชน่ ทางดา้ นการบริหาร เปน็ ตน้ เมอ่ื เทคนคิ การประเมนิ ไดข้ ยายตัวพฒั นาข้นึ มีองคป์ ระกอบของความรทู้ ั้งในเชิงแนวคิด และเทคนิค วิธกี ารประเมนิ จึงไดม้ กี ารจัดสอนเปน็ รายวิชาตา่ งหากในหลักสตู รปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอกสาขา การวดั และประเมินผลการศกึ ษา ซ่งึ ก่อนหน้านี้ไดส้ อดแทรกอยูใ่ นวิชาหลักการวัดและประเมินผล การศึกษา ปัจจุบันการประเมินโครงการมไิ ดจ้ ำกัดอย่แู ต่ในทางการศกึ ษาเท่านนั้ แต่ขยายวงกว้างไปสู่ โครงการในสาขาต่าง ๆ อย่างกว้างขวางจนการประเมนิ เป็นธุรกิจอีกอาชพี หนึ่งขนึ้ มาเพราะในการ ประเมนิ โครงการต่าง ๆ ขององค์กร หน่วยงาน หรือสถาบันหนงึ่ ๆ ตอ้ งใชง้ บประมาณมหาศาล จึง ตอ้ งอาศัยผเู้ ช่ียวชาญมาเป็นนกั ปะเมนิ เพอื่ นำผลนน้ั มาใชอ้ ย่างคุ้มค่าต่อไป ทำไมต้องประเมนิ โครงการ ในการประเมนิ โครงการมเี ปา้ ประสงคห์ ลกั คือ ต้องการข้อมูลที่บง่ ชวี้ ่าโครงการท่ีดำเนินการ น้ันเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ท่ตี ัง้ ไว้หรอื ไม่ หรอื เปน็ โครงการทคี่ ุ้มค่าต่อการตดั สนิ ใจในการดำเนนิ การ หรือไม่ รวมถงึ การศึกษาว่าในการดำเนนิ การโครงการมปี ัญหาท่ีตอ้ งปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือแกไ้ ขใน เร่ืองอะไรบา้ ง และเป็นโครงการท่มี คี ณุ คา่ มากน้อยเพยี งใด การประเมนิ โครงการคืออะไร การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการทกี่ อ่ ให้เกิดสารนิเทศในการปรับปรงุ โครงการ และสารนิเทศในการตดั สินผลสัมฤทธิข์ อโครงการ (สมหวงั พริ ยิ านวุ ัฒน์, 2544) การประเมนิ โครงการ หมายถึง กระบวนการรวบรวมและวเิ คราะหข์ ้อมูลอยา่ งเป็นระบบ เพือ่ สรปุ ผลว่าโครงการนน้ั ๆ ได้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ / เปา้ หมาย และมปี ระสทิ ธิภาพเพยี งใด (เยาวดี รางชยั กุล วบิ ูลย์ศรี, 2546) ประเภทของการประเมนิ โครงการ การแบง่ ประเภทการประเมนิ โครงการคงมิใช่เปน็ การกำหนดเกณฑเ์ ดด็ ขาด แต่จำเปน็ ตอ้ งอาศัย เกณฑ์หลายชนดิ มาจำแนกประเภท เชน่ ใช้เวลา วัตถปุ ระสงค์ วธิ กี าร และรูปแบบการประเมนิ มาบง่ บอก ถงึ ประเภทของการประเมิน ซึ่งในที่น้ีอาจจำแนกการประเมนิ โครงการออกเปน็ 4 ประเภทดังนี้ 1. การประเมินโครงการกอ่ นดำเนนิ การ (Preliminary Evaluation) เป็นการศึกษาประเมิน ความเปน็ ไปได้ (Feasibility Study) กอ่ นที่เริม่ โครงการใด ๆ โดยอาจทำการศึกษาถงึ ประสทิ ธภิ าพ ของปจั จัยปอ้ น ความเหมาะสมของกระบวนการทคี่ าดวา่ จะนำมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการโครงการ ปัญหา อปุ สรรค ความเสีย่ งของโครงการ ตลอดจนผลลพั ธ์ หรือประสิทธผิ ลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ ใน ขณะเดียวกนั กอ็ าจจะศึกษาผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึน้ ในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ - การประเมนิ ผลกระทบดา้ นสงั คม(Social Impact Assessment-SIA) รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

13 - การประเมนิ ผลกระทบดา้ นนิเวศ (Ecological Impact Assessment-EIA) - การประเมินผลกระทบด้านการเมอื ง (Political Impact Assessment-PIA) - การประเมนิ ผลกระทบด้านเทคโนโลยี (Technological Impact Assessment-TIA) - การประเมนิ ผลกระทบด้านประชากร (Population Impact Assessment-PIA) - การประเมนิ ผลกระทบด้านนโยบาย (Policy Impact Assessment-POIA) - การประเมนิ ผลกระทบทางดา้ นเศรษฐกจิ (Economic Impact Assessment-EIA) การประเมนิ โครงการก่อนการดำเนนิ การน้มี ีประโยชน์สำหรบั นกั ลงทนุ เพื่อศึกษาดูวา่ ก่อนลง มอื โครงการใด ๆ นนั้ จะเกดิ ความคุม้ คา่ แกก่ ารลงทนุ (Cost effectiveness) หรือจะเกดิ ผลกระทบ ต่อระบบส่ิงแวดลอ้ มท้ังดา้ นสงั คมเศรษฐกิจ การเมือง ประชากร เทคโนโลยี และระดับนโยบาย หรอื ไม่ หากไดท้ ำการศกึ ษารอบคอบแลว้ อาจจะได้ผลการคาดการณล์ ่วงหนา้ ว่าจะได้เกดิ ประโยชน์ หรือโทษอย่างไร ปญั หา อุปสรรค เป็นอย่างไร เพอ่ื ผเู้ ปน็ เจ้าของโครงการจะได้ตดั สินล่วงหนา้ วา่ จะ เลิกล้มโครงการหรือปรบั ปรุงองคป์ ระกอบ และกระบวนการบริหารจดั การโครงการเพียงใด เพอ่ื ให้ เกิดผลดี 2. การประเมนิ ระหว่างดำเนินการโครงการ (Formative evaluation) เปน็ การประเมินผล เพื่อการปรับปรงุ เป็นสำคญั ซึ่งมักจะใช้ประเมนิ ผลระหวา่ งแผน หรือระหวา่ งพฒั นาโครงการ ผลที่ได้ จาก Formative evaluation นนั้ จะชว่ ยต้ังวตั ถุประสงค์ของโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ แท้จรงิ นอกจากน้ัน Formative evaluation อาจใช้ในระหว่างดำเนนิ โครงการ จะช่วยตรวจสอบว่า โครงการได้ดำเนนิ ไปตามแผนของโครงการอยา่ งไร อาจเรยี กช่ือเฉพาะว่า Implementation evaluation หรือ Formative evaluation อาจตรวจสอบความก้าวหนา้ ของโครงการวา่ ดำเนินได้ผล เพียงไร เรียกวา่ Progress evaluation โดยทั่วไปแล้ว Formative evaluation อาจใช้ประเมินสิ่งต่อไปนี้ 1. ทบทวนแผนของโครงการ 2. การสรา้ งแผนของโครงการ 3. การพัฒนาแบบสอบถาม (Questionnaire) หรือรายการ (Check list) สำหรับ รวบรวมขอ้ มลู ตามเรื่องทีต่ อ้ งการ 4. การคัดเลือกวิธีการวดั ผลท่ีเหมาะสม 5. การกำหนดตารางเวลาการประเมนิ ผลให้สอดคล้องกบั การดำเนนิ โครงการ 6. การเตรียมข้อมูลที่จะเปน็ ขา่ วสารสำหรบั การรายงานและเสนอแนะสำหรบั การ ตดั สินเกี่ยวกบั การดำเนนิ โครงการ 7. การแนะนำแนวทางปรับปรุง การแกป้ ญั หา และการเปล่ียนแปลงการปฏิบัติของ โครงการ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)”

14 3. การประเมินเม่อื สน้ิ สุดโครงการหรือประเมินผลผลิต (Summative Evaluation) เป็น การประเมินผลรวมสรุป มกั จะใชป้ ระเมินหลังสิน้ สดุ โครงการ สำหรับโครงการท่มี ีการดำเนนิ ระยะยาว ก็อาจใช้ summative Evaluation ในการสรปุ ยอ่ ความระยะยาวตา่ ง ๆ ขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากระยะตา่ ง ๆ จะช่วยให้มีการประเมนิ สรปุ รวมนัน้ สว่ นใหญจ่ ะรวบรวมจากผลของ Formative evaluation เปน็ Summative Evauation ซ่งึ ผลสรุปที่ได้จะนำสกู่ ารรายงายวา่ โครงการได้บรรลุเปา้ หมาย (Goals) หรือไม่อย่างไร ตลอดจนการรายงานถงึ สถานภาพของโครงการวา่ ประสบความสำเรจ็ หรอื ลม้ เหลว เพยี งไร มปี ญั หาหรืออปุ สรรคใดท่ีต้องแกไ้ ขปรับปรุงข้อมลู เหลา่ นีจ้ ะช่วยให้ผูบ้ ริหารโครงการสามารถ นำไปสกู่ ารตัดสินว่า โครงการนนั้ ควรดำเนินการตอ่ หรอื ยกเลิก 4. การประเมินประสิทธภิ าพ การประเมนิ โครงการโดยทัว่ ไป โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศ ไทยทผ่ี า่ นมา ยงั จำกัดอยู่ แตเ่ พยี งการประเมนิ ผลผลติ โดยมุ่งที่จะทราบความสำเรจ็ หรอื ความ ลม้ เหลวของโครงการเท่าน้ัน ทั้งนี้เพ่ือประกอบการตัดสินใจของผู้ใหบ้ รกิ าร หรือผู้ใหท้ ุนในการยุติ หรือขยายโครงการ แต่ในปจั จบุ นั นกั ประเมินและผบู้ รหิ ารโครงการได้ตระหนกั ถึงความสำคญั ของการ ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของโครงการด้วย โดยถือวา่ เป็นประเภทของการประเมนิ ทจ่ี ำเป็นสำหรับ โครงการบริการท่ัวไป เพราะจะช่วยเสรมิ ใหโ้ ครงการเหลา่ น้ัน สามารถดำเนนิ การอยา่ งสอดคล้องกบั สถานการณข์ องสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการท่เี อือ้ อำนวยต่อการพฒั นาทอ้ งถนิ่ หรือโครงการท่ี เป็นตัวกำหนดเกณฑส์ ำคัญสำหรับประกันโครงการขนาดใหญ่ระดบั ชาติ ที่จะไม่ต้องสูญเสยี ทรัพยากร ท่ีมอี ยู่อย่างจำกดั โดยไม่จำเป็น การดำเนินโครงการบริการสังคมนัน้ จะไมม่ งุ่ แตเ่ พยี งความสำเร็จของ โครงการเทา่ น้นั แต่จะตอ้ งให้คุ้มค่าในเชิงของประสิทธภิ าพด้วย โดยปกติการประเมินประสิทธิภาพของโครงการมักจะเร่ิมจากคำถามต่าง ๆ กนั เช่น 1. ความสำเรจ็ ของโครงการนน้ั ๆ เม่อื เทียบกับค่าใช้จา่ ยแลว้ มีความเหมาะสมหรือไม่ 2. ผลผลิตของโครงการเกิดจากปัจจยั ทลี่ งทุนไป ใช่หรือไม่ 3. โครงการนี้มผี ลผลิตสูงกว่าโครงการอื่น ๆ เมื่อลงทนุ เท่ากันหรือไม่ และเพราะเหตุใด การประเมนิ โครงการวนั เยาวชนแห่งชาติ มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ รับทราบประสิทธิภาพของการ จดั กจิ กรรมโครงการเม่ือเทียบกบั ค่าใช้จ่าย เปน็ เหตผุ ลรอง โดยมเี หตผุ ลหลกั ในการประเมินโครงการ คอื ต้องการทราบความต้องการที่แท้จริงของเยาวชนหลังจากได้เรยี นร้โู ดยใช้กจิ กรรมท่สี ร้างสรรค์ ร่วมกันในฐานะเยาวชนของโรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ รูปแบบการประเมินโครงการ 1. แนวคดิ และโมเดลิ ซิปในการประเมนิ ของสตฟั เฟลิ บมี (Sruffebeam's CPP Model) ในปี ค.ศ. 1971 สตฟั เฟิลบีมและคณะไดเ้ ขยี นหนงั สือทางการประเมนิ ออกมาหน่ึงเล่มชอ่ื Educational Evaluation and decision Making\" หนังสือเล่มนไ้ี ด้เปน็ ทยี่ อมรับกนั อยา่ งกวา้ งขวาง ในวงการศึกษาของไทยเพราะได้ใหแ้ นวคิดและวธิ กี ารทางการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษาได้อยา่ ง รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

15 น่าสนใจและทันสมยั ด้วย นอกจากนน้ั สตฟั เฟลิ บีมก็ได้เขียนหนงั สอื เก่ียวกบั การประเมนิ และรปู แบบ ของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนื่อง จงึ กลา่ วได้ ทา่ นผูน้ ี้เปน็ ผู้มีบทบาทสำคัญในการพฒั นา ทฤษฎกี ารประเมนิ จนเป็นทีย่ อมรับกนั ท่ัวไปในปจั จบุ นั เรียกว่า CIPP Model การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation) การประเมนิ ปจั จัยเบ้อื งต้น/ตัวป้อน (Input Evaluation) การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation) การประเมนิ ผลผลิต (Product Evaluation) ภาพท่ี 1 รปู แบบการประเมนิ แบบซิป (CIPP Model) รปู แบบการประเมนิ แบบซิป (CIPP Model) เป็นการประเมินภาพรวมของโครงการตัง้ แต่ บรบิ ท ปัจจยั ป้อน กระบวนการ และผลผลิต (Context , Input , Process and product) โดยจะใช้ วธิ กี ารสรา้ งเกณฑแ์ ละประสิทธภิ าพของโครงการท้ังภาพรวมหรือรายปจั จัยเปน็ สำคัญ ซึ่งพออธบิ าย ได้ ดงั นี้ การประเมินด้านบรบิ ทหรือประเมินเนอื้ ความ (context Evaluation) เป็นการศึกษา ปัจจัยพน้ื ฐานทนี่ ำไปสู่การพัฒนาเปา้ หมายของโครงการ ได้แก่ บรบิ ทของสภาพแวดลอ้ ม นโยบาย วสิ ัยทัศน์ ปญั หา แหลง่ ทนุ สภาพความผันผวนทางด้านสงั คม เศรษฐกิจ และการเมอื งตลอดจน แนวโน้มการก่อตวั ของปญั หาที่อาจจะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การดำเนนิ โครงการ เป็นตน้ การประเมินปัจจัยป้อน (Input Evaluation) เพ่อื ค้นหาประสิทธิภาพขององคป์ ระกอบที่ นำมาเป็นปจั จยั ป้อน ซึ่งในด้านการท่องเท่ียวอาจจะจำแนกเปน็ บคุ คล สิ่งอำนวยความสะดวก รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควดิ -19)”

16 เคร่อื งมือ อปุ กรณ์ ครภุ ัณฑ์ ศักยภาพการบรหิ ารงาน ซ่ึงแต่ละปัจจยั ก็ยังจำแนกย่อยออกไปอีก เช่น บุคคล อาจพิจารณาเป็น เพศ อายุ มีสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ ความพึงพอใจ ความคาดหวัง ทศั นคติ ศักยภาพ ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ คุณวฒุ ทิ างการศึกษา ถน่ิ ท่ีอยู่ และลักษณะ กระบวนการกลุ่ม เป็นตน้ การระเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เปน็ การศกึ ษาตอ่ จากการ ประเมนิ บริบทและปัจจัยป้อนวา่ กระบวนการเป็นไปตามแผนที่วางไวเ้ ปน็ การศกึ ษาค้นหาขอ้ บกพร่อง จุดออ่ น หรือจุดแข็งของกระบวนการบรหิ ารจัดการโครงการทจี่ ะนำโครงการบรรลุวัตถุประสงคท์ วี าง ไวว้ า่ มีประสทิ ธภิ าพมากน้อยพยี งใด การประเมินผลิตผล (Product Evaluation) เป็นการตรวจสอบประสิทธผิ ลของโครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธท์ ่ีได้แลว้ นำเกณฑ์ท่กี ำหนดไวป้ ตัดสนิ เกณฑม์ าตรฐานนนั้ อาจจะกำหนดขึ้นเองหรอื อาศัยเกณฑท์ บ่ี ุคคลหรอื หน่วยงานอื่นกำหนดไว้กไ็ ด้ ซ่งึ ในทนี่ ี้ผูว้ ิจัยจะกลา่ วในตอนตอ่ ไป 2. แนวความคิดและแบบจำลองของ RW. Tyler RW. Tyler เป็นนักประเมนิ รนุ่ แรก ๆ ในปี ค.ศ. 1930 และเปน็ ผู้ท่ีเร่ิมต้นบกุ เบิก แนวความคิดเห็นเก่ยี วกบั การประมินโครงการ เขามีความเห็นวา่ “การประเมิน คือ การปรยี บเทียบ พฤติกรรมเฉพาะอยา่ ง (performance) กับจดุ มุ่งหมายเชิงพฤติกรรมท่ีวางไว้” โดยมีความเชอ่ื ว่า จุดมุ่งหมายทตี่ ้ังไว้อย่างชดั เจน รดั กมุ และเจำพาะเจาะจง แลว้ จะเปน็ แนวทางช่วยในการประมนิ ได้ เป็นอยา่ งดีในภายหลัง จากคำจำกัดความของการประเมินดงั กล่าวแล้วนี้จะเหน็ ได้วา่ มแี นวความคดิ เห็นว่า โครงการจะประสบผลสำเร็จหรือไม่ ดูไดจ้ ากผลผลติ ของโครงการว่าตรงตามจุดมงุ่ หมายท่ตี ้ังไว้ แต่แรกหรือไม่เท่าน้นั แนวความคิดในลกั ษณะดงั กลา่ วนีเ้ รียกว่า “แบบจำลองทย่ี ดึ ความสำเรจ็ ของ จดุ มุ่งหมายเปน็ หลัก (Goal Attainment Model or objective) เรียกวา่ Tyler's Goal Attainment Model ซึ่งตอ่ มาปี 1950 ได้มีรปู แบบ มาใช้เป็นกระบวนการตัดสินการบรรลุวัตถุประสงคข์ องส่งิ ท่ีทำ การประเมิน (R.W. Tyler 1950) เรยี กว่า “Triple Ps Model” ดงั นี้ P - Philosophy & Purpose - ปรัชญา / จดุ มุ่งหมาย P - Process - กระบวนการ P - product – ผลผลิต ในการประยุกตใ์ ช้ในการประมนิ โครงการทางการศกึ ษาไดโ้ ดยการประเมินความสมั พนั ธ์ของ ท้งั 3 วา่ ปรชั ญา / จดุ มุง่ หมายของโครงการมคี วามสัมพนั ธ์กับกระบวนการและผลผลติ หรอื ไม่ ถา้ ประมินเปน็ สว่ น ๆ กจ็ ะประเมินในด้านประสทิ ธิภาพของปรัชญา / จุดมุ่งหมาย และกระบวนการ ประเมินประสทิ ธิผลของผลผลิตว่า ตรงกบั ปรชั ญา / จดุ ม่งุ หมายหรือไม่ มีประสิทธภิ าพเพียงใด เป็นต้น รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

17 3. แนวความคิดของ Stake ในการประเมนิ แนวความคดิ ของ Robert E. Stake นั้นคำนงึ ถึงความต้องการสารสนเทศทแี่ ตกต่างกนั ของ บุคคลหลาย ๆ ฝ่ายท่ีเกย่ี วข้องกบั โครงการในการระเมนิ โครงการ ผูเ้ กยี่ วข้องคนหนงึ่ อาจตอ้ งการ ทราบเกีย่ วกับความแน่นอนและสอดคล้องในการวัด เพ่อื การประเมินน้ัน ๆ ในขณะทผี่ ู้เกี่ยวขอ้ งคน อนื่ อาจตอ้ งการทราบทิศทางการดำเนนิ งานของโครงการหรอื ผู้ใชผ้ ลผลติ ของโครงการอาจมคี วาม ตอ้ งการอกี รูปหน่ึง สำหรบั นักวจิ ัยอาจตอ้ งการสารสนเทศทแี่ ตกต่างไปจากผู้เก่ียวขอ้ งอ่ืน ๆ เพราะ การประเมนิ นั้นเพอ่ื ทจ่ี ะรู้เร่ืองราวต่าง ๆ ของโครงการอย่างละเอียดลึกซ่ึง เพื่อนำมาประกอบการ ตัดสินใจเก่ียวกับโครงการ ดังนนั้ การประเมินโครงการจึงต้องมกี ารบรรยายเกี่ยวกบั โครงการอย่างละเอยี ดเพอี่ ให้ ครอบคลมุ ถึงสารสนเทศที่จะตอบสนองความตอ้ งการของผเู้ กีย่ วข้อง เพื่อจะนำไปสู่การตัดสินใจ เก่ียวกับโครงการนนั้ จึงเสนอรปู แบบของการประเมนิ โครงการอยา่ งมรี ะบบ โดยการบรรยายและ ตดั สินคุณคา่ เก่ยี วกบั โครงการตามหลกั การของโครงการนน้ั ๆ ในภาคการบรรยาย ผู้เซี่ยวชาญหรอื ผ้ปู ระเมินจะตอ้ งหาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกบั โครงการใหไ้ ด้ มากทส่ี ุดประกอบด้วย 2 ส่วน คอื 1. เป้าหมายหรีอความคาดหวัง (Goals or Intents) เปา้ หมายทคี่ รอบคลุมนโยบายทั้งหมด สำหรับการประเมินการศึกษาไมค่ วรจะสนใจเป้าหมายเฉพาะในแง่พฤติกรรมของผูเ้ รยี นเพียงอยา่ ง เดียว ต้องคำนึงถงึ องค์ประกอบอนื่ ๆ ดว้ ยความคาดหวังนีป้ ระกอบด้วย 3 ส่วน คอื 1.1 สิ่งนำ (Antecedence) เปน็ สภาพท่ีมีอยกู อ่ น ซ่ึงอาจจะเก่ียวพนั กับผลของการ เรียนการสอน 1.2 ปฏิบัติการ (Transactions) เปน็ ผลสำเร็จของการจดั กระทำงานเป็น องคป์ ระกอบของขบวนการเรียนการสอน 1.3 ผลลัพธ์ (Outcomes) เป็นผลของโปรแกรมทางการศกึ ษา 2. ส่ิงทเี่ ปน็ จรงิ หรือสงั เกตได้ (Observatons) เป็นสงิ่ ที่เกิดขน้ึ จริงในสภาพความเป็นจริงมี ส่วนประกอบ 3 ส่วน เช่นกันคอื สง่ิ นำ ปฏิบัติการ และผลลพั ธ์ ความสอดคลอ้ งระหว่างสิ่งทคี่ าดหวงั กับส่ิงท่ีเปน็ จริงมไิ ด้เปน็ ตัวชบี้ ง่ ว่าข้อมลู ที่เราไดม้ คี วาม เทย่ี งหรอื ความตรง แต่เป็นเพียงส่งิ ท่ีแสดงให้เห็นว่า สงิ่ ทต่ี ั้งใจไวไ้ ดเ้ กิดขน้ึ จริงเทา่ น้ัน ในภาคการตดั สนิ คุณค่า เป็นส่วนท่ีจะตัดสินว่าโครงการประสบความสำเรจ็ หรอื ไมเ่ พยี งใด นักประเมนิ ต้องพยายามศึกษาดวู ่า มาตรฐานอะไรบา้ ง ท่เี หมาะสมในการทีจ่ ะนำมาเปรยี บเทียบ เพื่อช่วยในการตัดสินใจโดยท่ัว ๆ ไปเกณฑท์ ี่ใช้ 2 ชนิด คอื 1. เกณฑส์ มั บูรณ์ (Absolute Criterion) เป็นเกณฑท์ ี่เราต้ังไว้ อาจจะเกิดขนึ้ ก่อนโดยมคี วาม เปน็ อสิ ระจากพฤติกรรมของกลุ่ม รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควดิ -19)”

18 2. เกณฑ์สัมพทั ธ์ (Relative criterion) เป็นเกณฑท์ ่ีได้มาจากพฤตกิ รรมของกลุ่ม ถ้าผู้ ประเมนิ ไม่สามารถหามาตรฐานท่ีจะนำมาปรยี บเทยี บไดก้ ็ตอ้ งพยายามหาความสอดคลอ้ งและความ สมเหตุสมผลของเมตริกบรรยายสอดคล้องน้นั มี 2 ลักษณะ คือ 1. Contingence เปน็ ความสอดคลอ้ งเชิงเหตุผลจะพจิ ารณาความสมั พนั ธ์ในแนวตั้ง ตามของสเต็ก 2. Congruence เป็นความสอดคลอ้ งท่ีปรากฏขน้ึ จริงหรอื เปน็ ความสอดคล้องใน เชิงประจักษ์ (empirical) พจิ ารณาความสมั พนั ธ์ในแนวนอนตามของสเต็ก ขอ้ ดสี ำหรับรปู แบบของการประมินของสเต็ก คอื เสนอวิธีการประเมินเป็นระบบ เพ่ือจัดเตรยี มข้อมูลเชงิ บรรยาย และตดั สนิ คุณค่า มีมาตรฐานในการประเมินปรากฏชดั เจน แต่มี ข้อจำกดั คอื เซลลบ์ างเซลลข์ องเมตริกมีความคาบเก่ียวกัน และความแตกต่างระหว่างเซลลไ์ ม่ชดั เจน ซ่ึงอาจจะทำใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ ภายในโครงการได้ รูปแบบการประเมนิ โครงการวนั เยาวชนแห่งชาตปิ ี 52 ได้รปู แบบการประเมนิ ท่ีผสมผสาน จากการนำองคค์ วามรขู้ องนกั วิชาการแตล่ ะทา่ นมาประยุกต์ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์กับเยาวชนให้มากท่ีสุด ท้งั ประเมนิ กอ่ นการจัดกจิ กรรมโดยใช้รูปแบการประชุมเพื่อแสดงความคดิ เหน็ ซง่ึ และกนั ประเมนิ ระหว่างการจัดกิจกรรมโดยมีกจิ กรรมทีต้องดำเนินการในรอบคัดเลือก การเตรยี มตวั การ เตรียมพร้อมในเรือ่ งตา่ ง ๆ และการประเมนิ หลังการจัดกจิ กรรมโดยใช้แบบประเมนิ กิจกรรม เพอ่ื ศึกษาภาพรวมของการดำเนนิ งานโครงการว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ และความตอ้ งการของ เยาวชนต้องการใหจ้ ัดขึ้นอกี ในปกี ารศกึ ษาหน้าหรือไม่ ตามรูปแบบของการประเมนิ แบบ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

19 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การ การรายงานโครงการ สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภัยโควิด-19) โรงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ ในครงั้ น้ี ใชร้ ปู แบบการประเมนิ เป็นแบบสอบถาม โดยมีขัน้ ตอนการ ดำเนินการดงั นี้ ขนั้ ที่ 1 การประชมุ ครกู ลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ขนั้ ที่ 2 ดำเนนิ การตามโครงการ ขัน้ ที่ 3 ประเมนิ โครงการ โดยใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ขน้ั ที่ 1 การประชมุ ครกู ลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 1. กำหนดระยะเวลาจัดกิจกรรมโครงการ ระหว่างวนั ท่ี 16 - 20 สิงหาคม 2564 2. วางแผนงานรายละเอียดกจิ กรรมเพอ่ื จัดโครงการ 3. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ ครใู หค้ ำแนะนำ และการจดั กิจกรรม 4. ติดตอ่ ประสานงานวทิ ยากร และส่วนอน่ื ๆ ขัน้ ที่ 2 ดำเนินการตามโครงการ ในข้ันตอนนี้มกี ารประชาสัมพนั ธ์โครงการ สงิ หา สัปดาห์ คณติ ศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19) ผา่ นช่องทางออนไลน์ (Facebook Line) โดยครกู ลุม่ สาระคณติ ศาสตร์ การติดตอ่ ประสานงานแขกผมู้ เี กียรติที่กจิ กรรม (แบบออนไลน์) และ กำหนดกิจกรรม วันที่ 16 – 20 สงิ หาคม 2564 ตามกำหนดการ ดังนี้ กำหนดการโครงการ“สิงหา สปั ดาห์คณติ ศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ต้านภัยโควดิ -19)” โรงเรียนสวนปา่ เขาชะอางค์ สงั กดั องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดชลบรุ ี กจิ กรรม ตอบปญั หาคณิต พลิกวิกฤต Covid 64 ตอบปญั หาออนไลน์ (Google Form) คะแนน 75 % ขึ้นไปไดร้ ับเกยี รติบัตร จัดกจิ กรรมต้งั แต่ วันท่ี 16 – 20 สิงหาคม 2564 แบง่ ระดับชนั้ ดังน้ี - ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 - ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4-6 - ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 - ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)”

20 กจิ กรรม เกม 24 การแข่งขนั ในรปู แบบออนไลน์ (Google MEET) - ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 แข่งขนั ใน วนั ศุกร์ ที่ 20 สิงหาคม 2564 เวลา 13.00 น. - ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 แขง่ ขันใน วันจนั ทร์ ท่ี 16 สงิ หาคม 2564 เวลา 13.00 น. - ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6 แข่งขันใน วันจนั ทร์ ท่ี 16 สงิ หาคม 2564 เวลา 14.30 น. กิจกรรม สำรวจนักคณติ ศาสตร์โลก การแขง่ ขันในรูปแบบออนไลน์ (Google MEET) - ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 6 แข่งขันในวันท่ี 20 สงิ หาคม 2564 เวลา 14.00 น ขั้นตอนท่ี 3 การประเมนิ โครงการโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ 1. สรา้ งแบบประเมินความพงึ พอใจ (ออนไลน์ Google form) 1.1 ศึกษาเอกสารทเี่ กยี่ วข้องในการประเมินความพึงพอใจ 1.2 สรา้ งแบบประเมนิ ความพึงพอใจของกจิ กรรม นำไปให้ผเู้ ชย่ี วชาญตรวจสอบความ ถกู ต้อง ความสอดคล้องกับรูปแบบและวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ “สิงหา สัปดาห์ คณติ ศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)” ดังน้ี 1. นางสาวศิริพรรณ ตลิ ะกลุ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีผู้อำนวยการสถานศึกษา 2. นายบุญไชย สงิ ห์มหาไชย ปฏบิ ัติหนา้ ทรี่ องผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา 3. นางเยาว์ประภา สงิ หม์ หาไชย หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ โดยในการสร้างแบบประเมินกิจกรรมทใี่ ช้ประเมนิ 5 ระดบั คอื มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทสี่ ดุ โดยมีเกณฑ์ใหค้ ะแนนดังน้ี แต่ละข้อความให้คะแนนเตม็ 5 คะแนน กำหนดใหค้ ะแนนในแตล่ ะความเหน็ ดงั น้ี มากท่ีสุด ใหค้ ะแนน 5 คะแนน มาก ใหค้ ะแนน 4 คะแนน ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 คะแนน นอ้ ย ใหค้ ะแนน 2 คะแนน นอ้ ยท่ีสุด ให้คะแนน 1 คะแนน รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

21 ขอ้ ความท่มี ีความหมาย ใชเ้ กณฑ์ ดังน้ี ค่าเฉล่ยี 1.00 – 1.50 แสดงวา่ ตอ้ งปรบั ปรงุ ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 แสดงวา่ พอใช้ ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 แสดงว่า ปานกลาง คา่ เฉลย่ี 3.51 – 4.50 แสดงวา่ ดี ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.50 แสดงวา่ ดีมาก 1.3 นำแบบประเมนิ กจิ กรรมทป่ี รบั ปรุงจากการตรวจของผเู้ ชย่ี วชาญ ไปใชป้ ระเมนิ หลงั กจิ กรรมโครงการ “สิงหา สัปดาห์คณติ ศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภยั โควิด- 19)” ใหน้ ักเรียนประเมินวนั ที่ 20 สงิ หาคม 2564 โดยคัดเลือกแบบเจาะจงผู้ ประเมนิ เปน็ เรยี นระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1- 6 จำนวน 100 คน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6 จำนวน 120 คน 1.4 นำแบบประเมนิ กจิ กรรมตรวจใหค้ ะแนนและวเิ คราะห์ข้อมูล โดยใช้สถติ พิ นื้ ฐาน คอื คา่ เฉลย่ี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 1.4.1 การวเิ คราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบประเมนิ กจิ กรรมความต้องการ และความคดิ เหน็ ในการจดั กิจกรรมโครงการ“Math Camp ปี 6”โดยใช้ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ ใชส้ ถติ ิในการวิเคราะหข์ ้อมูล ดงั น้ี 1.4.1.1 ค่าเฉลี่ย คำนวณจากสูตร (บุญชม ศรีสะอาด ,2541 หนา้ 56) x= x N x แทน คา่ เฉลีย่  x แทน ผลรวมของคะแนนทกุ ตัวในกล่มุ N แทน จำนวนนักเรียนในกล่มุ 1.4.1.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) คำนวณจากสูตร (บุญชม ศรสี ะอาด ,2541,หน้า 87 – 88 ) S.D. = N  x2 − ( x)2 N(N −1) S.D. แทน สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จำนวนสมาชิกในกลมุ่ น้นั รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

22 บทท่ี 4 ผลการดำเนินการ การรายงานโครงการ “สงิ หา สัปดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภัยโควดิ -19)” โรงเรียนสวนปา่ เขาชะอางค์ ในครงั้ น้ี ใชร้ ูปแบบการประเมนิ เปน็ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ โดยมี ข้นั ตอนการดำเนินการดงั นี้ ขน้ั ท่ี 1 การประชุมครูกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ขั้นท่ี 2 ดำเนนิ การตามโครงการ ขั้นท่ี 3 ประเมนิ โครงการ โดยใชแ้ บบประเมินความพึงพอใจ จากการดำเนนิ งานขา้ งต้น ตามวตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้นักเรียนไดฝ้ ึกการปฏบิ ัตงิ านโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ 2. เพอื่ ให้นกั เรยี นเกิดเจตคติทีด่ ีต่อกระบวนการเรยี นร้วู ชิ าคณติ ศาสตร์ 3. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดศ้ ึกษาค้นคว้านำวธิ กี ารทางคณติ ศาสตร์ ไปใช้แก้ปญั หาในชีวติ ประจำวนั ด้วยตนเอง 4. ได้แนวคิดในการสร้างกจิ กรรมทางคณติ ศาสตร์ เพ่ือเสริมสร้างคุณธรรมจรยิ ธรรมและ ปรชั ญาชีวิตบนพนื้ ฐานชุมชนและท้องถน่ิ ของตนเอง จากวัตถปุ ระสงค์ คณะกรรมการได้จดั ทำแบบสอบถามของนกั เรยี นทเี่ ข้ารว่ มโครงการ ปรากฏผลดังน้ี รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

23 1. ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยใช้แบบประเมินโครงการ “สงิ หา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)” ตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมินของโครงการ“สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภยั โควิด-19)” ข้อที่ รายการประเมนิ ค่าเฉลย่ี ค่าส่วนเบ่ียงเบน สรุปผล 4.12 มาตรฐาน ดี 1 การจดั กจิ กรรมคณิตศาสตรอ์ อนไลน์ในครง้ั นมี้ ีประโยชน์ตอ่ 0.74 นักเรียน 3.19 ปานกลาง 4.07 0.91 ดี 2 นกั เรียนไดม้ สี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ออนไลน์ 0.78 3 นกั เรียน ไดร้ บั ความรู้/ประโยชนจ์ ากการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 4.07 ดี 0.76 คณติ ศาสตรอ์ อนไลน์เพื่อไปปรับใชไ้ ด้ 4.00 ดี 4 รูปแบบ/หัวข้อ ในการจัดกจิ กรรมคณิตศาสตรอ์ อนไลนม์ ี 0.79 4.13 ดี ความเหมาะสม 0.80 5 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมคณติ ศาสตรอ์ อนไลนม์ คี วาม 4.15 ดี 4.22 0.80 ดี เหมาะสม 4.20 0.76 ดี 6 การประชาสมั พนั ธ์การจัดกิจกรรมคณติ ศาสตร์ออนไลน์ 4.10 0.82 ดี 0.80 ชดั เจน 7 วิทยากรสามารถให้ขอ้ มูลหรือตอบขอ้ ซกั ถามไดเ้ ป็นอยา่ งดี 8 วทิ ยากรมคี วามสภุ าพ เปน็ มติ ร และเป็นกันเอง 9 ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมครง้ั นี้ เฉลยี่ รวม จากตาราง พบวา่ รายการประเมินกิจกรรม “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)” รายการที่ไดร้ บั การประเมนิ โดยใหค้ ะแนนสงู สดุ คือ วิทยากรมีความ สุภาพ เปน็ มติ ร และเป็นกนั เอง มคี ่าเฉล่ยี เท่ากบั 4.22 รายการที่มีการประเมนิ ให้ค่าคะแนนต่ำสุด คอื นักเรยี นได้มสี ่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมคณิตศาสตรอ์ อนไลน์ มคี ่าเฉล่ียเท่ากบั 3.19 และการ ประเมินโดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั ดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 2. ข้อเสนอแนะ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควดิ -19)”

24 ขอ้ เสนอแนะจากการดำเนินกจิ กรรมโครงการสามารถนำไปประยกุ ตแ์ ละปรับปรุงใน กจิ กรรมต่อไป จากนักเรยี นท่เี ข้ารว่ มโครงการ สรุปเป็นขอ้ ดงั น้ี 1. มคี วามร้แู ละเนอ้ื หาสาระดแี ตต่ ิดปัญหาเกี่ยวกับสญั ญาณอินเตอร์เน็ตเพราะบาง พ้นื ทไ่ี ม่คอ่ ยมีสญั ญาณทำให้รว่ มกิจกรรมได้ไมเ่ ตม็ ท่ี 2. ควรเพิ่มเนอื้ หาวชิ าคณิตศาสตร์ 3. อยากใหเ้ พ่มิ เกมเพ่อื ความน่าสนใจ 4. อยากให้จัดกจิ กรรมแบบน้ีอกี และมีบอ่ ย 5. ทำใหน้ ักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจมากขึน้ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

25 บทท่ี 5 สรุปผล ขอ้ เสนอแนะ การประเมินโครงการ “สิงหา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภัยโควดิ -19)” มีจดุ มุง่ หมายเพอ่ื รบั ทราบประสทิ ธิภาพของโครงการที่เกดิ จากการดำเนินงานทกี่ ำหนดไว้ โดยในการ ประเมนิ โครงการมีเปา้ ประสงค์หลกั คอื ตอ้ งการขอ้ มูลทีบ่ ่งชว้ี ่าโครงการทด่ี ำเนนิ การนนั้ เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ หรอื ไม่ ซ่ึงโครงการ “สงิ หา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ต้านภัยโควิด- 19)” โรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์มกี ำหนดการจัดงานในวนั ที่ 16 – 20 สิงหาคม 2564 โดยการมีส่วน รว่ มในการวางแผนงานของทุกฝา่ ยงาน ประกอบด้วย คณะครกู ล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ และ ดำเนินการเสนอโครงการเพอ่ื ขออนมุ ตั งิ บประมาณ ดำเนินโครงการตามวตั ถุประสงคแ์ ละแผนงาน มีการวัดและประเมนิ ผลหลังจัดกิจกรรมตาม วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหน้ ักเรยี นได้ฝึกการปฏบิ ตั งิ านโดยใช้กระบวนการกลมุ่ เพอื่ ให้นกั เรียนเกดิ เจตคตทิ ี่ ดตี อ่ กระบวนการเรยี นรวู้ ิชาคณติ ศาสตร์ เพ่ือใหน้ ักเรยี นได้ศกึ ษาค้นคว้านำวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ ไป ใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวันด้วยตนเอง และได้แนวคิดในการสรา้ งกจิ กรรมทางคณิตศาสตร์ เพอ่ื เสรมิ สร้างคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและปรชั ญา จากการดำเนินงานโดยทกุ ฝา่ ยร่วมจดั กิจกรรม มีผลสรุป ดังรายงาน สรปุ ผลและอภิปรายผล จากการประเมินโครงการโดยใชแ้ บบประเมินกิจกรรมตามรายการประเมนิ กจิ กรรม โครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภยั โควิด-19)” รายการทไ่ี ด้รับการ ประเมินโดยให้คะแนนสูงสุด คอื วิทยากรมีความสุภาพ เป็นมิตร และเป็นกันเอง มีคา่ เฉลย่ี เท่ากับ 4.22 รายการทีม่ กี ารประเมนิ ใหค้ ่าคะแนนตำ่ สุด คือ นกั เรียนไดม้ สี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรม คณิตศาสตร์ออนไลน์ มคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั 3.19 และการประเมนิ โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั ดี มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 ผลจากการจดั โครงการทำให้นกั เรียนสรา้ งทัศนคติทด่ี ีต่อวิชาคณติ ศาสตร์ มี ความชอบในวชิ าคณิตศาสตร์จากการรว่ มกนั ทำกจิ กรรมในขอบข่ายเวลาท่ีกำหนดให้ ซง่ึ กิจกรรมท่ีจดั ข้นึ ให้นกั เรียนได้เขา้ ร่วมกิจกรรมคณติ ศาสตรอ์ อนไลน์ เรยี นรู้เทคโนโลยีไดด้ ีขึ้น รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

26 ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะจากการดำเนนิ กิจกรรมโครงการสามารถนำไปประยกุ ตแ์ ละปรับปรุงใน กิจกรรมตอ่ ไป จากนักเรยี นทเี่ ข้าร่วมโครงการ สรุปเป็นขอ้ ดงั น้ี 1. มีความรแู้ ละเนื้อหาสาระดแี ตต่ ิดปัญหาเกี่ยวกับสญั ญาณอินเตอร์เน็ตเพราะบาง พ้นื ท่ไี มค่ อ่ ยมสี ญั ญาณทำใหร้ ว่ มกิจกรรมไดไ้ มเ่ ต็มที่ 2. ควรเพ่มิ เนอ้ื หาวชิ าคณติ ศาสตร์ 3. อยากให้เพิม่ เกมเพ่อื ความน่าสนใจ 4. อยากใหจ้ ัดกจิ กรรมแบบน้อี กี และมีบอ่ ย 5. ทำให้นกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจมากขึน้ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

27 บรรณานกุ รม กรมวชิ าการ , กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2544. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพรา้ ว. จลุ พงษ์ พันอนิ ากูล. (2542). พฤตกิ รรมการสอนคณติ ศาสตรใ์ นระดับประถมศึกษา. อุดรธานีสถาบัน ราชภฏั อุดรธานี ปรชี า รัตนชาครติ . (2548). การศกึ ษาผลการใช้บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ (ช่วงชนั้ ที่ 1). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. พรี ะพล ศิริวงศ์. (2542). คณิตศาสตรพ์ นื้ ฐาน. กรงุ เทพฯ : วิทยพฒั น์. เพญ็ จนั ทร์ เงียบประเสริฐ. (2542). คณิตศาสตร์สำหรับปฐมวจิ ยั . กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร.์ ยพุ ิน พพิ ธิ กลุ . (2545). การเรยี นการสอนคณติ ศาสตรย์ ุคปฏิรปู การศึกษา. กรงุ เทพฯ : บพิธการพิมพ์. ราชบัณฑิตยศถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ สถาน พ.ศ 2542. กรงุ เทพฯ : นานมีบคุ๊ พบั ลเิ คชัน่ ส.์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). คมู่ ือการจัดค่ายคณติ ศาสตรร์ ะดบั มธั ยมศกึ ษา. พิมพค์ ร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : อินเตอรเ์ อ็ดดเู คชัน่ , 2554. สิริพร ทพิ ย์คง. (2545). หลกั สูตรและการสอนคณิตศาสตร์. กรงุ เทพฯ : พัฒนาคุณภาพวชิ าการ. สมทรง สุวพานิช. (2539). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 1023623 พฤตกิ รรมการสอน คณิตศาสตร์ระดับประถมศกึ ษา. มหาสารคาม : คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏมหาสารคาม. รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

ภาคผนวก รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

แบบสำรวจความพึงพอใจของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม “สงิ หา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภัยโควดิ -19)” โรงเรยี นสวนปา่ เขาชะอางค์ สงั กัดองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดชลบรุ ี ระหว่างวนั ที่ 16 - 20 สิงหาคม 2564 คำชี้แจง โปรดทำเคร่ืองหมายถูก ( ✓ ) ลงใน ทตี่ รงกบั ความเปน็ จรงิ เกยี่ วกบั ตวั ท่าน สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไป 1. เพศ ชาย หญงิ 2. สถานภาพ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 คณะครู วิทยากร และอนื่ ๆ ส่วนท่ี 2 การประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมสัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควดิ -19) กรณุ าขดี เครื่องหมาย  ลงในช่องท่ีเห็นวา่ ตรงกบั ความคิดเหน็ ของท่านมากที่สดุ เพียงชอ่ งเดียว ระดับความพงึ พอใจ ท่ี ความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรม มากท่ีสดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ุด (5) (4) กลาง (2) (1) 1 การจัดกจิ กรรมคณติ ศาสตร์ออนไลน์ในครง้ั น้มี ีประโยชนต์ ่อนักเรยี น (3) 2 นกั เรียนได้มีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมคณิตศาสตร์ออนไลน์ 3 นักเรยี น ได้รบั ความร/ู้ ประโยชน์จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมคณติ ศาสตร์ ออนไลน์เพือ่ ไปปรบั ใช้ได้ 4 รูปแบบ/หัวขอ้ ในการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ออนไลน์มคี วามเหมาะสม 5 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมคณติ ศาสตร์ออนไลนม์ ีความเหมาะสม 6 การประชาสัมพนั ธก์ ารจดั กิจกรรมคณติ ศาสตร์ออนไลน์ชัดเจน 7 วทิ ยากรสามารถให้ขอ้ มลู หรอื ตอบขอ้ ซกั ถามได้เป็นอยา่ งดี 8 วิทยากรมคี วามสุภาพ เปน็ มติ ร และเป็นกันเอง 9 ภาพรวมความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมครงั้ นี้ ขอ้ คิดเห็นอ่ืน ๆ ...........................................................................................................................…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………  ขอบคณุ ที่ให้ความรว่ มมอื ในการตอบแบบสอบถาม  รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ “สงิ หา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)” เพศ สถานภาพ ขอ้ 1 ข้อ 2 ขอ้ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 หญงิ คณะครู วทิ ยากร 555555555 หญิง คณะครู วิทยากร 555555555 หญิง คณะครู วทิ ยากร 555555555 หญงิ คณะครู วิทยากร 555555555 หญงิ คณะครู วิทยากร 555555555 หญิง คณะครู วทิ ยากร 555555555 หญงิ คณะครู วทิ ยากร 555555555 ชาย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 3 3 3 3 3 3 3 2 2 ชาย ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 4 3 3 3 3 3 3 4 3 ชาย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 4 3 3 3 3 3 3 4 3 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 4 3 3 3 3 3 3 4 3 ชาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 4 3 3 3 3 3 3 4 3 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 - 3 4 3 3 3 3 3 3 4 3 หญิง ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญิง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 4 3 3 3 3 3 3 4 3 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)”

ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)” เพศ สถานภาพ ขอ้ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ขอ้ 9 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 3 3 4 5 5 5 4 5 3 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 5 4 5 5 4 5 หญิง ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 5 5 5 5 5 5 ชาย ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 2 4 5 4 5 4 4 5 ชาย ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 3 4 3 4 5 3 3 4 5 หญิง ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 3 5 4 3 3 4 3 3 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 5 4 4 5 5 4 5 5 ชาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 3 3 4 4 4 4 หญิง ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 3 4 4 4 3 4 5 5 หญงิ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 3 3 4 4 3 4 4 4 4 หญิง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญิง ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 5 1 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 5 4 5 5 5 4 5 4 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 4 4 5 5 5 5 ชาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 5 5 4 4 5 5 5 5 5 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 4 5 5 4 3 4 4 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 4 4 4 5 5 4 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 3 3 4 4 4 4 4 4 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 4 5 5 3 5 5 5 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)”

ผลการประเมินกิจกรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภัยโควิด-19)” เพศ สถานภาพ ขอ้ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 หญิง ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 5 5 3 3 4 5 3 5 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 5 3 3 4 3 3 3 4 หญิง ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 5 3 5 4 4 5 5 4 หญงิ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 4 4 4 4 4 5 5 4 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 4 3 4 3 4 4 5 4 3 หญิง ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 4 5 4 5 5 5 4 5 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 3 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 4 3 4 3 4 3 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 5 4 4 4 4 5 หญงิ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 4 4 5 4 3 4 5 5 4 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 3 5 3 2 3 1 5 2 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 5 4 3 5 3 4 4 5 ชาย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 5 4 3 3 4 5 5 5 หญิง ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 ชาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 3 2 3 2 2 3 3 4 3 ชาย ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 4 5 5 5 5 5 5 5 หญิง ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 5 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 3 5 5 3 5 5 2 5 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 3 4 3 5 5 3 3 5 5 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 4 4 5 4 3 5 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมินกจิ กรรมโครงการ “สงิ หา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ต้านภัยโควิด-19)” เพศ สถานภาพ ขอ้ 1 ข้อ 2 ขอ้ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ขอ้ 9 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 4 5 5 5 5 5 5 5 ชาย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 5 4 4 4 4 5 3 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 3 3 3 3 3 3 3 3 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 5 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 3 3 3 3 3 4 4 4 4 ชาย ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 5 5 4 3 4 3 4 4 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 4 5 5 3 5 3 4 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 5 5 4 4 4 4 5 5 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 3 3 3 3 3 3 3 3 3 หญิง ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 2 3 5 5 5 4 2 5 ชาย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 3 3 4 3 3 3 4 3 ชาย ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 3 3 4 4 4 4 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 5 5 5 4 5 5 5 5 5 ชาย ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 3 3 5 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 4 5 5 4 5 5 หญงิ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 3 3 4 4 4 4 5 4 5 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)” เพศ สถานภาพ ข้อ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 5 3 4 5 3 4 3 5 5 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 5 4 4 5 4 5 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 3 3 5 4 5 4 5 4 3 หญิง ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 3 3 4 4 5 4 5 4 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 5 4 5 5 4 4 5 5 หญิง ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 4 4 5 5 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 3 4 4 4 4 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 4 หญิง ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 3 3 4 3 3 4 4 4 5 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 3 4 5 4 4 4 4 5 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 3 3 3 3 3 3 3 3 3 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 3 4 5 3 4 5 3 4 4 ชาย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 3 4 3 3 3 3 4 5 3 ชาย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 5 4 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 5 4 5 5 5 4 5 4 หญิง ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 3 3 4 3 1 2 2 3 2 หญงิ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 2 2 3 3 4 4 3 3 3 หญงิ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 5 4 4 4 5 4 4 4 4 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 3 3 4 3 4 4 หญิง ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 5 5 4 4 4 5 5 3 หญิง ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 3 1 3 4 4 2 5 4 4 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)”

ผลการประเมินกิจกรรมโครงการ “สงิ หา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)” เพศ สถานภาพ ข้อ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 3 3 4 3 3 3 3 4 หญิง ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 3 3 4 3 3 3 3 4 หญิง ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 3 3 4 3 3 3 3 4 ชาย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 2 3 3 4 4 3 4 4 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 3 4 5 5 3 4 5 3 5 หญงิ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 5 4 3 4 5 4 5 4 5 หญงิ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 4 5 4 5 หญงิ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 3 3 3 3 3 3 3 3 3 ชาย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 5 4 5 4 4 5 ชาย ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 5 5 5 4 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 2 4 3 3 3 3 3 3 ชาย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 3 3 3 3 3 3 3 3 ชาย ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 3 4 5 3 5 2 4 3 5 หญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 3 5 3 5 4 3 5 5 ชาย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 5 4 3 5 4 4 4 5 ชาย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3 2 2 2 2 1 1 1 1 1 ชาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 4 5 5 5 4 4 5 5 4 ชาย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 4 3 4 4 4 4 4 3 4 หญิง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 3 3 4 4 3 5 5 5 5 หญงิ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 4 4 5 5 4 4 4 5 4 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมินกจิ กรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ต้านภยั โควิด-19)” เพศ สถานภาพ ข้อ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 - 3 4 4 5 4 4 4 3 3 3 หญงิ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 3 3 4 3 3 4 4 3 4 หญงิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 2 2 2 2 2 2 2 2 2 หญงิ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 3 4 4 4 3 3 3 3 4 หญงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 2 3 3 2 3 3 4 3 2 หญงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 5 4 5 5 5 5 5 4 5 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 4 4 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 - 3 5 5 4 4 5 5 5 5 5 หญิง ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 4 3 4 3 4 4 4 4 3 หญงิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 3 4 5 4 4 5 5 5 3 หญิง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3 4 4 4 4 4 5 4 4 3 หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 หญิง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 3 3 3 2 3 3 3 3 3 หญงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 - 3 4 4 4 5 3 4 3 4 5 ชาย ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 - 3 5 4 4 4 4 4 4 5 5 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 4 5 3 4 4 3 4 4 4 หญิง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3 4 5 4 4 4 4 5 5 5 หญงิ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 4 4 3 4 4 4 5 5 4 หญิง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 4 3 5 5 5 5 4 5 5 ชาย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 - 3 5 5 5 5 5 4 4 4 4 ชาย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 5 4 4 4 4 4 4 4 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมินกิจกรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ต้านภัยโควิด-19)” เพศ สถานภาพ ข้อ 1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7 ขอ้ 8 ขอ้ 9 หญิง ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 3 3 3 4 4 5 5 5 4 ชาย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 4 5 5 4 5 4 5 4 หญิง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 3 3 3 2 3 3 3 3 3 หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 2 3 3 4 3 4 3 5 3 ชาย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 3 3 3 4 3 5 3 5 3 หญงิ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 3 3 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 4 5 4 4 4 4 5 5 หญิง ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 3 4 3 3 3 3 4 4 3 หญงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 5 4 4 5 4 4 หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 3 2 2 3 4 4 4 4 4 หญิง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 1 4 4 4 5 5 5 5 หญิง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 5 5 4 4 4 4 5 5 5 ชาย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 3 3 3 3 3 3 3 3 3 หญิง ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 4 4 5 5 5 4 หญงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 3 4 4 4 4 4 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 4 3 5 5 5 4 5 4 หญิง ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 3 3 3 4 3 3 5 4 หญงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 3 4 3 3 3 3 3 3 3 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ “สงิ หา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ นภัยโควิด-19)” เพศ สถานภาพ ขอ้ 1 ข้อ 2 ขอ้ 3 ข้อ 4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 หญงิ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 3 3 4 3 3 3 4 5 3 หญงิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 5 4 4 4 4 4 5 5 5 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 3 4 3 4 4 5 3 5 4 หญงิ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 4 4 5 5 5 3 5 5 หญงิ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 5 5 4 5 5 5 5 ชาย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 3 3 4 4 3 4 5 5 3 หญงิ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 3 4 4 4 3 4 4 4 หญงิ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 3 4 4 4 5 5 5 5 หญงิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 3 3 3 3 3 3 4 4 3 หญงิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 3 4 4 4 4 3 3 3 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 4 3 4 3 4 4 3 3 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 ชาย ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 5 3 4 4 4 4 4 5 หญงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 5 4 4 4 4 5 4 หญิง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 3 3 3 3 4 4 4 4 4 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 5 4 3 5 5 4 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ต้านภยั โควิด-19)” เพศ สถานภาพ ข้อ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 หญิง ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 3 5 4 5 5 4 3 หญิง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 5 5 4 5 หญงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 5 4 4 5 4 4 4 5 หญิง ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 4 5 4 5 4 4 5 4 ชาย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 ชาย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 3 4 3 4 3 3 4 4 3 หญิง ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 หญิง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 2 3 5 4 5 5 5 5 ชาย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 3 3 2 4 5 4 หญงิ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 5 4 4 5 4 5 4 หญิง ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 5 4 5 4 5 5 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 3 3 4 4 5 4 5 3 หญงิ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญิง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญิง ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 5 4 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาหค์ ณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)” เพศ สถานภาพ ข้อ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 หญิง ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 4 4 3 4 3 5 4 4 5 หญิง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญิง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญงิ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญิง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญงิ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญิง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญิง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญงิ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญิง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญิง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญิง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ผลการประเมนิ กิจกรรมโครงการ “สงิ หา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)” เพศ สถานภาพ ข้อ 1 ขอ้ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 หญงิ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญิง ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญงิ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 4 4 5 4 4 4 ชาย ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 5 5 5 4 4 4 5 4 5 หญงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 5 5 5 5 5 5 5 5 5 หญิง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 4 4 4 4 4 4 4 4 4 คา่ เฉลี่ย 4.12 3.91 4.07 4.07 4.00 4.13 4.15 4.22 4.20 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.74 0.91 0.78 0.76 0.79 0.80 0.80 0.76 0.82 คา่ เฉล่ียรวม 4.10 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานรวม 0.80 รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)”

ภาพประกอบกจิ กรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)” รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)”

ภาพประกอบกจิ กรรมโครงการ “สิงหา สปั ดาห์คณิตศาสตร์ (คณติ ศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควิด-19)” รายงานผลการดาเนินงาน โครงการ “สิงหา สัปดาห์คณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ Online-ตา้ นภยั โควดิ -19)”

กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณิ ตศาสตร์ ปีการศึ กษา 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook