Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book เรื่อง ความรู้ทั่วไปของระบบโทรศัพท์

e-book เรื่อง ความรู้ทั่วไปของระบบโทรศัพท์

Published by Kamol Masuk, 2019-06-27 23:11:22

Description: e-book เรื่อง ความรู้ทั่วไปของระบบโทรศัพท์

Keywords: telephone

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ท่ี 1 ความรู้ทว่ั ไปเกยี่ วกบั ระบบโทรศัพท์ 1.1 ประวตั คิ วามเป็ นมาของโทรศัพท์ ในสมัยโบราณ การติดต่อส่ือสารทางไกลระหว่างมนุษยด์ ้วยกันน้ัน จะใช้วิธีง่าย ๆ อาศัย ธรรมชาติหรือเลียนแบบธรรมชาติเป็ นหลกั เช่น การใชน้ กพิราบนาสาร ในปัจจุบนั ซ่ึงเป็ นยคุ โลกาภิวตั น์ เป็นยคุ แห่งความเจริญทางดา้ นเทคโนโลยี มนุษยไ์ ดน้ าเอาเทคโนโลยที มี่ ีอยมู่ าประยกุ ตใ์ ชก้ บั การสื่อสารทา ใหเ้ กิดการตดิ ตอ่ ส่ือสารในปัจจุบนั มีประสิทธิภาพสูงมากท้งั ความสะดวกสบายรวดเร็วถูกตอ้ งและแน่นอน ระบบส่ือสารท่ีมีใช้อยู่ในปัจจุบนั มีหลายชนิด เช่น วิทยุส่ือสาร โทรเลขโทรพิมพ์ โทรศพั ท์ โทรสาร หรือวิทยุติดตามตวั เป็ นตน้ แต่ระบบส่ือสารที่ไดร้ ับความนิยมมากที่สุดในโลกคือ โทรศพั ท์ ที่ สามารถสนทนาโตต้ อบกนั ไดท้ นั ที รวดเร็วทนั เหตุการณ์ ซ่ึงระบบอื่นๆทาไม่ได้ โทรศพั ทจ์ ึงไดร้ ับความ นิยมเป็ นอยา่ งมาก และในโลกของการส่ือสารในปัจจุบนั โทรศพั ทก์ ็เป็ นตวั บ่งช้ีถึงความเจริญรุ่งเรืองของ ประเทศต่างๆดว้ ย มีคากล่าวหรือขอ้ กาหนดเกี่ยวกบั การพฒั นาประเทศอยวู่ ่า ประเทศใดมีจานวนเลขหมาย โทรศพั ท์ 40 เลขหมายต่อประชากร 100 คน ถือว่าประเทศน้ันมีความเจริญแล้วหรือเป็ นประเทศที่พฒั นา แลว้ และประเทศใดที่มีเลขหมายโทรศพั ท์ 10 เลขหมายข้นึ ไปตอ่ ประชากร 100 คน ถือวา่ ประเทศน้นั กาลงั ไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งรวดเร็วจะเห็นวา่ ประเทศต่างๆทว่ั โลกใหค้ วามสาคญั กบั กิจการโทรศพั ทเ์ ป็ นอยา่ งมาก โทรศพั ทไ์ ดถ้ ูกคดิ คน้ และผลิตข้นึ มาในปี พ.ศ. 2419 โดยนกั ประดิษฐช์ ่ือดงั Alexander Graham Bell รูปท1่ี .1 แสดงหลักการโทรศพั ท์ของ Bell

หลักการของโทรศพั ท์ Alexander ประดิษฐ์ข้ึนก็จะมี Transmitter และ Receiver ซ่ึงมีโครงสร้าง เหมือนลาโพงในปัจจุบนั กล่าวคือมีแผ่น Diaphragm ติดอยกู่ บั ขดลวดซ่ึงวางอยใู่ กลๆ้ แม่เหล็กถาวร เมื่อมี เสียงมากระทบแผ่น ก็จะส่ันทาให้ขดลวดส่ันหรือเคลื่อนที่ตดั กบั สนามแม่เหล็ก เกิดกระแสไฟฟ้าข้ึนใน ขดลวด กระแสไฟฟ้าน้ีจะวง่ิ ตามสายไฟถึง Receiver ซ่ึง Receiver ก็มีโครงสร้างเหมือนกบั Transmitter เม่ือ กระแสไฟฟ้ามาถึงก็จะเขา้ ไปในขดลวดเนื่องจากกระแสไฟฟ้าท่ีมาน้ีเป็ น AC มีการเปล่ียนแปลงข้วั บวกข้วั ลบตลอดเวลา ก็จะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กข้ึนรอบๆขดลวดของ Receiver สนามแม่เหล็กน้ีจะไปผลกั หรือ ไปดูดกบั สนามแม่เหลก็ ถาวรของ Receiver แต่เนื่องจากแม่เหล็กถาวรที่ Receiver น้นั ไม่สามารถเคล่ือนทไี่ ด้ ขดลวดและแผ่น Diaphragm จึงเป็ นฝ่ ายถูกผลกั หรือดูดให้เคล่ือนที่ การท่ี Diaphragm เคล่ือนที่จึงเป็นการตี อากาศตามจงั หวะของกระแสไฟฟ้าทส่ี ่งมา นนั่ คอื เกิดเป็ นคลื่นเสียงข้นึ มาในอากาศ ทาใหผ้ รู้ บั ไดย้ นิ แต่อยา่ งไรก็ตาม กระแสไฟฟ้าที่เกิดข้ึนจาก Transmitter ก็มีขนาดเล็กมาก แต่ถา้ ใชส้ ายส่งยาวมาก จะไม่สามารถไดย้ นิ เสียงผสู้ ่งได้ วธิ ีการของ Alexander Graham Bell จงึ ไม่ประสบความสาเร็จเทา่ ใดนกั แต่ กเ็ ป็ นเครื่องตน้ แบบใหม้ ีการพฒั นาข้ึนมา ในปี พ.ศ. 2420 Thomas Alwa Edison ได้ประดิษฐ์ Transmitter ข้ึนมาให้สามารถส่งได้ไกลข้ึน กวา่ เดิม ซ่ึง Transmitter ที่ Edison ประดิษฐข์ ้นึ มา มีชื่อวา่ Carbon Transmitter รูปท่ี 1.2 Carbon Transmitter

Carbon Transmitter ใหก้ ระแสไฟออกมาแรงมาก เน่ืองจากเม่ือมีเสียงมากระทบแผ่น Diaphragm แผน่ Diaphragm จะไปกดผง Carbon ทาใหค้ ่าความตา้ นทานของผง Carbon เปลี่ยนแปลงตามแรงกด ดงั น้นั Voltage ตกคร่อมผง Carbon จะเปล่ียนแปลงดว้ ย เน่ืองจาก Voltage ที่จ่ายให้ Carbon ท่ีมีค่ามากพอสมควร การเปลี่ยนแปลง Voltage จึงมีมากตามไปดว้ ย และการเปลี่ยนแปลงน้ีเป็ นการเปล่ียนแปลงยอดของ DC ที่ จ่ายให้ Carbon (ดงั รูปท่ี 1.3) ซ่ึงเราอาจกล่าวไดว้ า่ การเปลี่ยนแปลงดงั กล่าวน้ีคอื AC ทีข่ ีอ่ ยบู่ นยอดของ DC นนั่ เอง ดงั น้ันเม่ือ DC ไปถึงไหน AC ก็ไปถึงน่ันเช่นกนั แต่ DC มีค่าประมาณ 6 - 12 Volt (ค่า Voltage เล้ียง Line โทรศพั ทข์ นาดยกหู) ซ่ึงมากพอที่จะวิ่งไปไดร้ ะยะทาง ประมาณ 5 กิโลเมตร น่ันก็คือ ที่เป็ น สญั ญาณเสียงก็ไปไดเ้ ช่นกนั หลงั จากน้ีก็ไดม้ ีการพฒั นาโทรศพั ทข์ ้ึนมาใชง้ านมากมายหลายระบบ ตามเทคโนโลยที ี่กา้ วหนา้ ข้ึนไปเร่ือยๆ ซ่ึงมีการพฒั นาท้งั ตวั ระบบของชุมสาย (Exchange) และตวั เครื่องโทรศพั ท์ (Telephone Set) ดว้ ยใหส้ ามารถใชง้ านไดส้ ะดวกสบาย และมีประสิทธิภาพ 1.2 ประวตั ิความเป็ นมาของโทศัพท์ในประเทศไทย ในประเทศไทย คาว่า โทรศพั ท์ ไดเ้ ร่ิมรู้จกั กนั ต้งั แต่รัชการท่ี 5 ซ่ึงโทศพั ทต์ รงกบั ภาษากรีก คาว่า Telephone โดย แปลวา่ ทางไกล และ แปลวา่ การสนทนา เม่ือแปลรวมกนั แลว้ กห็ มายถึง การสนทนากนั ใน ระยะทางไกลๆ หรือการส่งเสียงจากจดุ หน่ึงไปยงั อีกจุดหน่ึงไดต้ ามตอ้ งการ

“ตานานไปรษณียโ์ ทรเลขสยาม” พ.ศ. 2429-2468 ไดบ้ นั ทึกเรื่องราวเกี่ยวกบั โทรศพั ทใ์ นประเทศ ไทยไวว้ า่ ประเทศไทยไดน้ าเอาโทรศพั ทม์ าใชใ้ นประเทศไทยเป็ นคร้งั แรก เมื่อ พ.ศ.2424 ตรงกบั รชั กาลท่ี 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยกรมกลาโหม (กระทรวงกลาโหมในปัจจุบนั ) ไดส้ ง่ั เขา้ มาใชง้ านในกิจการเพอื่ ความมนั่ คงของชาติ โดยติดต้งั ท่ีกรมอู่ทหารเรือกรุงเทพ 1 เคร่ือง และป้อมยามปากน้าเจา้ พระยา จงั หวดั สมุทรปราการอีก 1 เคร่ืองรวม 2 เครื่อง เพอื่ ใชแ้ จง้ ขา่ วเรือเขา้ ออกในแม่น้าเจา้ พระยาใหก้ รุงเทพทราบ พ.ศ. 2429 กิจการโทรศพั ทไ์ ดเ้ จริญรุ่งเรืองข้นึ จานวนเลขหมายและบุคลากรกเ็ พม่ิ มากข้นึ ยงุ่ ยากแก่ การบริหารงานของกลาโหม ดังน้ัน กรมกลาโหมจึงไดโ้ อนกิจการโทรศพั ท์ไห้ไปอยูใ่ นการดูแลและ ดาเนินการของกรมไปรษณียโ์ ทรเลข ต่อมากรมไปรษณียโ์ ทรเลขก็ไดข้ ยายกิจการโทรศพั ทจ์ ากภาครัฐสู่ เอกชน โดยใหป้ ระชาชนมีโอกาสใชโ้ ทรศพั ทไ์ ด้ ในระยะน้ีเครื่องท่ีใชจ้ ะเป็นระบบ Magneto หรือ ระบบ Local Battery พ.ศ. 2450 กรมไปรษณียโ์ ทรเลขไดส้ ั่งโทรศพั ท์ ระบบ Common Battery หรือ Central Battery มา ใช้ ซ่ึงสะดวกและประหยดั กวา่ ระบบ Magneto Generator มาก พ.ศ. 2479 กรมไปรษณียโ์ ทรเลขได้ส่ังซ้ือชุมสายโทรศพั ท์ระบบ Step By Step ซ่ึงเป็ นระบบ อตั โนมตั ิ สามารถหมุนเลขหมายถึงกนั ไดโ้ ดยตรง โดยไม่ตอ้ งผา่ น Operator เหมือนระบบ Local Battery และ Central Battery พ.ศ. 2497 เนื่องจากกิจการโทรศพั ทไ์ ดเ้ จริญกา้ วหน้ามากประชาชนนิยมใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายใน ประเทศ เพราะกรมไปรษณียโ์ ทรเลขตอ้ งดูแลเร่ืองอื่นๆ อีกมาก ดงั น้นั เม่ือวนั ที่ 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2497 จงึ ไดม้ ี พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ิต้งั องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทยข้ึน โดยแยก กองช่างโทรศพั ท์กรมไปรษณียโ์ ทรเลขมาต้งั เป็ นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยข้ึนในฐานะเป็ น รัฐวสิ าหกิจสังกดั กระทรวงคมนาคมมาจนถึงปัจจุบนั องคก์ ารโทรศพั ทห์ ลงั จากไดร้ ับการจดั ต้งั ข้ึนแลว้ ก็ ไดร้ บั โอนกิจการโทรศพั ทท์ ้งั หมดมาดูแล พ.ศ. 2517 องคก์ ารโทรศพั ทไ์ ดส้ งั่ ซ้ือชุมสายโทรศพั ทร์ ะบบ Cross Bar มาใชง้ าน ระบบ Cross Bar เป็ นระบบอตั โนมตั ิเหมือน Step By Step แต่ทนั สมยั กวา่ ทางานไดเ้ ร็วกวา่ มีวงจรพูดไดม้ ากกว่าและขนาด เล็ก พ.ศ. 2526 องคก์ ารโทรศพั ทไ์ ดน้ าระบบชุมสาย SPC (Storage Program Control) มาใชง้ าน ระบบ SPC เป็นระบบทีค่ วบคุมการทางานดว้ ย Computer ทางานไดร้ วดเร็ว ขนาดเลก็ กินไฟนอ้ ย และยงั ใหบ้ ริการ เสริมดา้ นอ่ืนๆไดอ้ ีกดว้ ย ในปัจจุบนั ชุมสายโทรศพั ทท์ ี่ติดต้งั ใหม่ๆ จะเป็ นระบบ SPC ท้งั หมด ระบบอ่ืนๆ เลิกผลิตแล้วใน ประเทศไทยเรากาลังเร่งติดต้ังโทรศพั ท์เพื่อให้พอใช้กับประชาชน เช่นโครงการ 3ล้านเลขหมายใน แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ท่ี 7 และโครงการอื่นๆต่อไป รวมท้งั วทิ ยโุ ทรศพั ทอ์ ีกดว้ ย เพอื่ ส่งเสริมใหร้ ะบบสื่อสารในประเทศไทยมีประสิทธิภาพ เอ้ืออานวยต่อการพฒั นาประเทศใหเ้ จริญรุ่งเรือง ต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook