Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง ปี 62

บทที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง ปี 62

Published by Rungnapa Chantra, 2020-03-25 04:35:49

Description: บทที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง ปี 62

Search

Read the Text Version

บทที่ 4 การเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง 4.1 ความหมายของประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 4.2 การกาหนดขนาดกลุ่มตวั อย่าง 4.3 วิธีการเลือกกล่มุ ตัวอยา่ ง 4.4 ลักษณะของกลุ่มตวั อยา่ งทดี่ ี

การพฒั นาผลการเรยี นรู้ของนกั ศึกษา LP1.1 มที ักษะการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต LP1.5 มคี วามรู้ความรอบรู้ด้านต่างๆ LP1.6 มีปญั ญารู้คดิ ICo 2.2 การบรู ณาการขา้ มศาสตร์ บุคคลผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวติ ทด่ี ี ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวตั กรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสร้างความมน่ั คง มั่งคง่ั ยง่ั ยืน

วตั ถุประสงคร์ ายบท 1. อธบิ ายความหมายของประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้ 2. อธบิ ายวิธีการประมาณขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างได้ 3. อธบิ ายความแตกต่างของการเลือกกล่มุ ตัวอยา่ ง โดยไมใ่ ช้หลัก ความน่าจะเปน็ และการเลอื กกล่มุ ตวั อย่างโดยใชห้ ลักความนา่ จะเปน็ ได้ 4. อธบิ ายวิธกี ารส่มุ ตัวอยา่ งแตล่ ะวิธีได้ 5. อธิบายลกั ษณะของกลมุ่ ตัวอย่างท่ดี ไี ด้ 6. สามารถกาหนดประชากรและเลอื กใชว้ ธิ สี มุ่ ตัวอย่างได้ เหมาะสมกบั ปัญหาการวจิ ยั

ความหมาย ประชากร (population) หมายถงึ สงิ่ ตา่ งๆของทกุ หนว่ ยท่ี ผวู้ จิ ัยสนใจนามาศึกษา ซง่ึ มคี ณุ สมบตั ิบางอย่างทผ่ี วู้ ิจยั สนใจศึกษา และมี ปรากฏอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ วจิ ยั เรอ่ื ง “พฤติกรรมการออกกาลงั กายของนกั ศกึ ษาพยาบาล วพบ.สรุ าษฎร์ธานี” ประชากร คอื ................................................... วิจัยเรื่อง “พฤตกิ รรมการดูแลตนเองของมารดาหลงั คลอด รพ.สต มะลวน” ประชากร คือ...................................................

ความหมาย กลุ่มตัวอยา่ ง (sample) หมายถงึ กลุม่ ย่อยหรือตัวแทนของประชากรทมี่ ี ความคลา้ ย หรอื มคี ุณลกั ษณะเหมอื นประชากร มากท่สี ุด หรือมลี กั ษณะทคี่ ลา้ ยคลึงกบั ประชากร และมีปรมิ าณท่มี ากเพียงพอเพอื่ ประโยชน์ในการ อ้างองิ ขอ้ มูลจากกล่มุ ตัวอย่างสู่ประชากร

วจิ ัยเรอื่ ง “พฤตกิ รรมการออกกาลังกายของนักศกึ ษาพยาบาล วพบ.สรุ าษฎรธ์ าน”ี ประชากร คือ................................................... กลุ่มตัวอย่าง คอื .............................................. วิจัยเรือ่ ง “พฤตกิ รรมการดแู ลตนเองของมารดาหลังคลอด รพ.สต มะลวน” ประชากร คอื ................................................... กลุม่ ตวั อยา่ ง คือ..............................................

ความหมาย การสุ่ม (Sampling) หมายถงึ กระบวนการทไ่ี ดม้ าซ่งึ “ตัวอย่าง” จาก “ประชากร (Population)”เพอ่ื ให้ “กลุ่มตวั อย่าง (Sample)” เปน็ ตวั แทนของประชากรในการให้ ข้อมูล และสามารถใชข้ ้อมูลจากกลมุ่ ตัวอยา่ ง เปน็ ขอ้ มลู อา้ งองิ สู่ ประชากรได้อยา่ งสมเหตุสมผล เพื่อให้ไดข้ ้อมูลทมี่ คี วามเทย่ี งตรง ภายนอกท่สี งู ข้นึ ทาไมตอ้ งมกี ารสุม่

ประชากร การทดสอบสมมตฐิ าน กลุ่มตวั อย่าง (population) (sample) จานวน N สุ่ม(sampling) จานวน n - เทคนิคการสุ่ม (sampling Technique) - ขนาดตัวอย่าง (sample size) อ้างองิ ไปสู่

ข้อเสียของการใชก้ ล่มุ ตัวอย่าง ขอ้ มูลทีไ่ ดเ้ ป็ นค่าโดยประมาณ  = 4.6 , X = 4.1

ข้อดีของการใชก้ ลมุ่ ตัวอย่าง 1. ประหยดั งบประมาณ เวลาและแรงงาน 2. สะดวกและรวดเร็วในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ท่ีมีการระบุกลุ่ม ตวั อย่างทช่ี ดั เจนในการใหข้ อ้ มูลและในการนาเสนอผลการวจิ ัย 3. ได้ข้อมลู ท่ีลึกซึ้ง และมคี วามคลาดเคล่อื นน้อยเนื่องจากมเี วลามาก ข้นึ 4. มีความเที่ยงตรง และความเชอ่ื ม่ัน เน่ืองจากกลุ่มตวั อย่างทนี่ อ้ ยทา ใหม้ ีเวลาเก็บรวบรวมรายละเอียดของขอ้ มลู ได้อยา่ งครบถว้ นและชดั เจน 5. ผลการวจิ ยั ทันสมยั หรอื ทนั เหตุการณ์ 6. สามารถสรปุ อา้ งองิ ขอ้ มูลสปู่ ระชากรได้

ขนาดกล่มุ ตวั อย่าง การกาหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งวา่ จะมากหรอื นอ้ ยเพยี งใดนัน้ ยอ่ มขึ้นอยกู่ บั ลกั ษณะของเร่ืองท่จี ะ วิจัยเปน็ เรอื่ งๆ ไป ประกอบกับดลุ ยพินจิ ของผู้วิจยั เองท่จี ะตอ้ งคานงึ ถึงสิง่ ตา่ งๆ 1. ค่าใชจ้ า่ ย เวลา แรงงาน และเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวม ข้อมลู จาก กล่มุ ตัวอยา่ งนน้ั ว่ามพี อทจ่ี ะทาให้ไดห้ รือไม่ และคุ้มค่าเพยี งใด 2. ขนาดของประชากร ว่ามขี นาดใหญ่-เลก็ เพียงใด ถ้าหาก ประชากรมี ขนาดใหญก่ ็ควรสมุ่ ออกมามากกวา่ ประชากรทม่ี ีขนาดเลก็ หรือมเี ปอรเ์ ซน็ ตน์ อ้ ยกว่าประชากรทม่ี ีขนาดเลก็

ขนาดกลมุ่ ตวั อย่าง 3. คานึงถึงจดุ มุ่งหมายของการเลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ งวา่ จะ กอ่ ใหเ้ กิดความคลาดเคลอ่ื น จากการสุม่ เท่าใด มักจะยอมใหเ้ กดิ ความคลาดเคล่อื นได้ 1% หรือ 5% (0.01 หรอื 0.05) การทจ่ี ะให้เกดิ ความคลาดเคลื่อนไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด นั้นขึน้ อย่กู ับความสาคญั ของปญั หา ถ้าปญั หามีความสาคัญมาก กค็ วร ให้เกดิ ความคลาดเคลอ่ื นนอ้ ยที่สุด

ขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ ง ข้อพจิ ารณาในการเลือกตวั อย่าง ใช้จานวนตัวอยา่ งนอ้ ย 1. ธรรมชาติของประชากร ใชจ้ านวนตัวอย่างมาก - ประชากรแตกต่างกันนอ้ ย - ประชากรแตกตา่ งกนั มาก 2. ลกั ษณะของงานวิจยั ใช้จานวนตวั อยา่ งน้อย เชิงทดลอง ใช้จานวนตวั อยา่ งมาก เชงิ สารวจ,เชิงพรรณนา

วธิ กี ารกาหนดขนาดตวั อยา่ ง 1. การกาหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ - ประชากรมีจานวนเปน็ หลักร้อย ใช้กลุม่ ตัวอยา่ ง 15-30 % - ประชากรมีจานวนเปน็ หลกั พนั ใชก้ ลมุ่ ตัวอย่าง 10-15 % - ประชากรมจี านวนเป็นหลกั หมนื่ ใช้กลมุ่ ตวั อย่าง 5-10 %

วิธกี ารกาหนดขนาดตัวอยา่ ง 2. สูตรคานวณหาขนาดกลุ่มตวั อย่างโดยใช้ตาราง Krejcie & Morgan (1970)

วิธกี ารกาหนดขนาดตวั อย่าง 3. การกาหนดขนาดกลุ่มตวั อย่างในกรณีทราบ จานวนที่แน่นอน (Finite Population) สูตรยามาเน่ Taro Yamane(1973) ใชใ้ นกรณีท่ี ทราบจานวนกลุม่ ตัวอยา่ งแนน่ อน

วธิ กี ารกาหนดกลมุ่ ตัวอยา่ งแบบใชค้ วามนา่ จะเป็น การสุ่มอย่างง่าย กลุ่มตัวอย่างขนาดเลก็ ไม่เกนิ 1000 คน ประชากรมคี วามเปน็ เอกพนั ธ์ การสุม่ แบบแบ่งชนั้ กลุ่มตวั อยา่ งขนาดเลก็ ไมเ่ กิน 1000 คน ประชากรมคี วามเปน็ เอกพนั ธ์ การสุ่มแบบแบ่งกลมุ่ กลุม่ ตวั อยา่ งขนาดใหญ่ หน่วยตัวอย่างมี ความแตกต่างกนั ทางภมู ศิ าสตร์ การส่มุ แบบเปน็ ระบบ กลุ่มตัวอยา่ งขนาดใหญ่ มีรายช่ือประชากร ทงั้ หมด การสุม่ แบบหลายข้ันตอน กลุม่ ตัวอยา่ งขนาดใหญ่ มหี ลายระดบั

วิธกี ารกาหนดกลุม่ ตัวอยา่ งแบบไม่ใชค้ วามน่าจะเปน็ การเลือกแบบเจาะจง กลมุ่ ตัวอย่างขนาดเลก็ การเลือกแบบโควตา้ ผูใ้ หข้ ้อมลู เป็นคนสาคัญ การเลอื กแบบลกู โซ่ กลุ่มตวั อยา่ งขนาดเล็ก ทราบคุณลักษณะ ของกลมุ่ ทตี่ ้องการ รวมทั้งจานวนที่ต้องการ กลุม่ ตวั อยา่ งขนาดเล็ก ไม่ทราบกล่มุ เป้าหมาย ทตี่ ้องการ ต้องใชค้ วามรู้และประสบการณ์ ของกลมุ่ ตวั อยา่ งแนะนา การเลือกแบบบังเอญิ กล่มุ ตัวอย่างขนาดเลก็ มเี งื่อนไขตามที่ผวู้ ิจยั กาหนด

สถติ กิ ารวเิ คราะห์ ลักษณะประชากร ระดับนัยสาคญั การกาหนดขนาด ประเภทการวจิ ยั ของกล่มุ ตัวอย่าง ประเภทสมมตฐิ าน อานาจการทดสอบ ทรพั ยากร

การส่มุ (Sampling) หมายถึง กระบวนการเลอื ก “ตวั อย่าง” จาก “ประชากร”เพ่ือให้ กลมุ่ ตวั อย่างเปน็ ตัวแทนของประชากรในการใหข้ อ้ มูล และสามารถ ใชข้ อ้ มลู จากกล่มุ ตัวอย่างเป็นข้อมูลอา้ งอิงสปู่ ระชากรได้อย่าง สมเหตุสมผลเพอื่ ใหไ้ ด้ข้อมูลท่มี คี วามเท่ียงตรงภายนอกที่สงู ขึ้น

วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 1. การสุม่ ตวั อยา่ งแบบไม่อาศยั ความนา่ จะเป็น (Non - probability sampling) - สมาชกิ แต่ละหนว่ ยมี โอกาสถกู เลือกไมเ่ ทา่ กัน 2. การสุ่มตวั อย่างแบบอาศยั ความน่าจะเปน็ (Probability sampling) - สมาชิกแตล่ ะหนว่ ยมีโอกาส ถกู เลือกเทา่ ๆ กัน

การเลอื กกลุ่มตัวอย่างแบบไมอ่ าศัยความนา่ จะเป็น (Non-probability Sampling) 1. แบบบงั เอญิ (accidental sampling) -ใครก็ได้ที่ให้ข้อมูลทเี่ รา ต้องการได้ เก็บขอ้ มลู ใหค้ รบตามท่ีเราต้องการ แตต่ อ้ งมีลักษณะเบือ้ งต้นบาง ประการ ท่ีสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของกลมุ่ ตวั อย่างทีก่ าหนดไว้ หาไดง้ ่ายทสี่ ุดเปน็ ตัวอยา่ งเพือ่ ใหป้ ระหยัดเวลา แรงงาน และงบประมาณ 2. กาหนดสัดส่วนหรือโควตา้ (Quota sampling) - กาหนดจานวน หนว่ ยตัวอยา่ งก่ี กาหนดสัดสว่ นกี่คนในแต่ละกลุม่ ชั้นปี 1 จานวน 30 คน ช้ันปี 2 จานวน 20 คน ช้นั ปี 3 จานวน 10 คน

3. ตามสะดวก (Convenience sampling) - ถือความสะดวกของ ผู้วิจยั เปน็ เกณฑเ์ ช่น อยูท่ ที่ างานเดียวกัน ใกลบ้ ้าน 4. แบบเจาะจง (Purposive sampling) - กาหนดลกั ษณะเฉพาะ เจาะจงตามหลกั การของเหตผุ ลโดยใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกับปัญหาการวจิ ัย/ จดุ ประสงค์นั้น ๆ เชน่ การศกึ ษาพฤติกรรมสุขภาพของหญิงต้งั ครรภ์ 5. การส่มุ แบบลกู โซ่ (Snowball Sampling) -การคดั เลอื ก กลมุ่ ตวั อย่างทมี่ ีคณุ สมบัติท่ตี อ้ งการแล้วโดยใชก้ ารแนะนาของกลมุ่ ตัวอยา่ งที่ ระบุกลุ่มตวั อยา่ งที่มลี ักษณะที่ใกล้เคียงกับตนเองสาหรบั เก็บรวบรวมขอ้ มูลได้ อย่างครบถ้วนและเพยี งพอ

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบอาศัยความน่าจะเป็น (Probability Sampling) 1. การสุม่ ตวั อย่างแบบงา่ ย (Simple random sampling) 1.1 จบั ฉลาก – ใชก้ บั ประชากรกลุ่มเล็ก แบ่งออกเปน็ การหยิบหนว่ ยแล้วใสค่ นื การหยิบหนว่ ยแลว้ ไม่ใสค่ นื 1.2 ใช้ตารางเลขสุม่ - ใชก้ ับประชากรกลุ่มใหญ่

ใช้ตารางเลขสุ่ม

2. การสุ่มตัวอยา่ งแบบเปน็ ระบบ (Systematic random sampling) เริ่มจากการเรียงลาดบั บัญชรี ายชอ่ื หาช่วงของการเลอื ก ตัวอย่าง โดยใช้ประชากรทงั้ หมด หารดว้ ยขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง เชน่ ประชากร 40,000 คน ได้ขนาดกลมุ่ ตวั อย่าง 400 คน ชว่ ง การเลือกเทา่ กบั 100 คน ทุกๆ100 คนจะถกู เลือกเปน็ ตัวอยา่ ง จากน้ันต้อง มาหาเลขเร่มิ ต้น อาจใชว้ ิธีการสมุ่ อยา่ งงา่ ย หรือใช้ตารางเลขสุ่มในการหาเลข เรม่ิ ต้น

มปี ระชากร 100 คน ต้องการกลุ่มตวั อยา่ ง 5 คน - คานวณชว่ ง (N/n) ได้ 100/5 = 20 (k) ทกุ 20 คน ตอ้ งไดร้ บั การสุม่ มา 1 คน ดังนั้น คนแรก คอื คนท่ี 5 (R) คนต่อไปคอื 5+20 = 25 (R+k) คนตอ่ ไปคือ 25+20 = 45 (R+2k) คนตอ่ ไปคือ 45+20 = 65 (R+3k) คนต่อไปคอื 65+20 = 85 (R+4k)

3. การสุ่มแบบแบ่งชนั้ (stratified random sampling) - เป็นการสมุ่ ตัวอยา่ งจากประชากรทีม่ จี านวนมากและมีความแตกตา่ ง กนั ระหวา่ งหนว่ ยสมุ่ ท่สี ามารถจาแนกออกเป็นชน้ั (Stratum) เพ่ือให้ ข้อมูลทไ่ี ด้มีความครบถ้วนและครอบคลุม ปัจจัยทม่ี ีความสมั พันธ์กบั พฤติกรรมการเรยี นของนกั ศกึ ษาพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ประชากร คือ ............................................................................... กลมุ่ ตัวอย่าง คอื ............................................................................... วิธกี ารสุ่มตัวอย่าง ใชแ้ บบ..................................................................

3. การสุม่ แบบแบง่ ช้นั (stratified random sampling) - เปน็ การสุ่มตัวอย่างจากประชากรทีม่ ีจานวนมากและมคี วามแตกตา่ ง กันระหว่างหน่วยสุ่ม ที่สามารถจาแนกออกเปน็ ช้ัน(Stratum) เพื่อให้ ข้อมูลท่ีไดม้ คี วามครบถว้ นและครอบคลมุ

จาแนกช้ันภูมิ สุ่ มตามสัดส่ วน

วิจยั “การศึกษาความพงึ พอใจตอ่ การบรกิ ารของพยาบาลใน จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี” ประชากร พยาบาลทุกคนใน สฎ 950 คน กลุ่มตวั อย่าง อ.เมือง อ.พนุ พนิ อ.นาสาร อ.เกาะสมยุ 450 คน 250 คน 150 คน 100 คน 134 คน 73 คน 45 คน 30 คน ขนาดกล่มุ ตัวอย่าง กลุ่มตวั อย่าง 282 คน

การเลือกกลุ่มตวั อย่าง แบบอาศัยความน่าจะเป็ น จานวนตัวอย่างในแต่ละอาเภอ = n x N แต่ละอาเภอ N รวมท้งั หมด เช่น อ.เมือง = 274 x 450 = 234 คน 950

3. การสมุ่ แบบแบง่ กลุ่ม (cluster random sampling) - ประชากร มีหลายลกั ษณะเป็นกลมุ่ ๆ แตม่ ีความเหมือนกนั ในแตล่ ะกลุ่ม ดังนัน้ จึง สามารถเลือกกลุ่มใดกลมุ่ หนงึ่ มาศกึ ษา

ลกั ษณะของกลมุ่ ตัวอยา่ งทดี่ ี 1. มขี นาดพอเหมาะ มีจานวนหนว่ ยตวั อย่างไมม่ ากหรอื ไมน่ ้อยเกินไป ควรมจี านวน พอเหมาะ เพยี งพอทจี่ ะสรปุ ไปยงั กลุ่มประชากรทงั้ หมดได้ 2. มีลักษณะตรงกบั จุดมุ่งหมายของการวจิ ัย กล่าวคือ กลุม่ ตัวอย่างจะตอ้ งมลี กั ษณะตามข้อตกลง หรือ จดุ มุ่งหมายของการวจิ ยั

ลกั ษณะของกลุ่มตัวอยา่ งทด่ี ี (ตอ่ ) 3. มีลกั ษณะเปน็ ตัวแทนทด่ี ขี องประชากร กลา่ วคอื ต้องมลี ักษณะท่มี คี วามเหมือนหรือคลา้ ยประชากรทีจ่ ะ ศึกษา โดยใหห้ น่วยของตัวอย่างมีโอกาสถกู เลอื กเทา่ ๆ กัน โดยปราศจากความ ลาเอยี ง (Bias) ใดๆ ทง้ั ส้นิ 4. ไดจ้ ากการสมุ่ ด้วยวิธกี ารทเ่ี หมาะสม เนอ่ื งจากกล่มุ ตัวอย่างนนั้ เปน็ ตวั แทนของประชากร ดงั นั้นกลุม่ ตวั อย่างทด่ี ี ควรได้จากการสุม่ ดว้ ยวิธีการทเี่ หมาะสมกับลกั ษณะของประชากร และเร่อื งท่วี ิจัยด้วย

ตวั อย่างการเลือกตัวอยา่ งท่ดี ี 1. มขี นาดพอเหมาะ คอื มีจานวนหน่วยตวั อย่างไมม่ ากหรือไมน่ อ้ ยเกินไป ควรมีจานวนพอเหมาะ เพียงพอทจี่ ะสรุป ไปยงั กล่มุ ประชากรทงั้ หมดได้ 2. มีลกั ษณะตรงกบั จุดมุง่ หมายของการวิจยั กลา่ วคือ กลุ่มตัวอย่างจะตอ้ ง มีลักษณะตามขอ้ ตกลง หรอื จดุ มุง่ หมายของการวจิ ัย 3. มีลักษณะเป็นตวั แทนทดี่ ขี องประชากร กล่าวคือ ตอ้ งมลี กั ษณะที่มี ความเหมอื นหรอื คลา้ ยประชากรทจี่ ะศึกษา โดยใหห้ น่วยของตวั อยา่ งมี โอกาสถูกเลือกเทา่ ๆ กนั โดยปราศจากความลาเอยี ง (Bias) ใดๆ ทงั้ สิน้ 4. ไดจ้ ากการสุ่มดว้ ยวิธกี ารทเ่ี หมาะสม เน่ืองจากกลุม่ ตวั อย่างนน้ั เป็น ตวั แทนของประชากร ดงั นนั้ กลมุ่ ตัวอย่างทด่ี ี ควรไดจ้ ากการสุม่ ด้วย วิธีการทเ่ี หมาะสมกับลักษณะของประชากรและเรอื่ งท่ีวิจัยดว้ ย

4.การสมุ่ แบบหลายชั้น(Multistage random sampling) - ประชากรมีขนาดใหญ่มากไม่สามารถหากรอบ รายชื่อของทกุ หน่วยประชากรได้ - ใช้การสมุ่ หลายแบบเชน่ แบ่งเป็น กลุม่ แล้วแบ่งเปน็ ช้ันภูมิ แลว้ สุม่ อยา่ งงา่ ย

วิจัยเรอ่ื ง “พฤตกิ รรมการออกกาลงั กายของนกั ศึกษาพยาบาล วพบ.สรุ าษฎร์ธานี” ประชากร คือ................................................... กลุ่มตวั อย่าง คือ.............................................. วิธีการสุ่ม.......................................................... วิจยั เรอ่ื ง “พฤติกรรมการดแู ลตนเองของมารดาครรภแ์ รกหลงั คลอด รพ.สต มะลวน” ประชากร คือ................................................... กลุ่มตัวอยา่ ง คือ.............................................. วธิ กี ารสุม่ ..........................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook