Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิชาการ สพม.42 ปีที่ 2 ฉบับที่ 1

วารสารวิชาการ สพม.42 ปีที่ 2 ฉบับที่ 1

Published by montira.but, 2021-03-03 04:16:23

Description: วารสารวิชาการ สพม.42 ปีที่ 2 ฉบับที่ 1

Search

Read the Text Version

วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 1

การศกึ ษาตองมุง สรางพืน้ ฐานใหแกผูเรียน ๔ ดาน คอื ๑. มที ัศนคตทิ ถ่ี กู ตองตอบา นเมือง ๒. มีพืน้ ฐานชีวิตทมี่ ั่นคง - มคี ณุ ธรรม ๓. มีงานทํา - มอี าชีพ ๔. เปนพลเมืองดี ๑. มีทศั นคตทิ ถี่ ูกตองตอบา นเมือง ๓. มีงานทาํ – มีอาชพี ๑. ความรูความเขา ใจตอ ชาตบิ า นเมอื ง ๑. การเลย้ี งดูลูกหลานในครอบครัว หรือ ๒. ยดึ มั่นในศาสนา การฝกฝนอบรมในสถานศึกษาตองมงุ ใหเ ดก็ ๓. มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย และเยาวชนรกั งาน สงู าน ทาํ จนงานสาํ เรจ็ ๔. มีความเอื้ออาทรตอ ครอบครัว ๒. การฝก ฝนอบรมทัง้ ในหลกั สูตร และ และชุมชนของตน นอกหลักสูตร ตองมีจดุ มงุ หมายใหผูเ รียน ทาํ งานเปน และมงี านทาํ ในท่ีสดุ ๒. มพี ืน้ ฐานชวี ิตท่มี ่นั คง - มีคุณธรรม ๓. ตอ งสนบั สนนุ ผสู าํ เรจ็ หลกั สตู ร มอี าชพี ๑. รจู ักแยกแยะส่ิงทผี่ ิด–ชอบ/ช่วั –ดี มีงานทํา จนสามารถเล้ยี งตวั เองและครอบครวั ๒. ปฏิบัตแิ ตส ง่ิ ที่ชอบ ส่งิ ที่ดงี าม ๓. ปฏเิ สธสงิ่ ที่ผิด ส่ิงท่ีชั่ว ๔. เปนพลเมอื งดี ๔. ชวยกันสรา งคนดีใหแกบ านเมอื ง ๑. การเปนพลเมอื งดี เปนหนาที่ของทุกคน ๒. ครอบครัว-สถานศึกษาและ สถานประกอบการตอ งสง เสรมิ ใหทุกคนมีโอกาส ทาํ หนาทเี่ ปนพลเมอื งดี ๓. การเปนพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรทจี่ ะทาํ เพอื่ บานเมอื งไดก็ตอ งทํา” เชน งานอาสาสมัคร งานบําเพ็ญประโยชน งานสาธารณกศุ ล ใหทาํ ดว ยความมนี ้ําใจ และความเอ้ืออาทร 2 วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42

บทบรรณาธิการ สารบญั วารสารวชิ าการ สพม.42 ฉบบั น้ี เปน ฉบบั ประจาํ ป สารจากผบู รหิ าร 4 ที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 เนอื้ หาของวารสารยงั คงมเี นอ้ื หาเกยี่ วกบั นโยบาย สพม.42 (ปง บประมาณ 64-65) 9 การศึกษา บทความและผลงานวิจัย ท่ีเปนประโยชน โมเดล AREA SPM 42 12 ตอการศกึ ษา รวมถึงขาวความเคลอื่ นไหว รว มแสดงความยนิ ดแี ละตอ นรบั 13 ฉบบั นเ้ี ปน ฉบบั พเิ ศษของชาว สพม.42 เปน อยา งยง่ิ ดร.ปญ ญา หาแกว ผอ.สพม.42 14 ท่ีพวกเราไดมีโอกาสตอนรับ และแสดงความยินดีกับ นายรงั สวิ ฒุ ิ พมุ เกดิ รอง ผอ.สพม.42 15 ผบู รหิ ารที่ไดม าดาํ รงตาํ แหนง ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานเขต นายไพรตั น กลน่ิ ทบั รอง ผอ.สพม.42 16 พน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 42 และรองผอู าํ นวยการ สพม.42 ประกาศเจตจาํ นงสจุ รติ ในการบรหิ ารงาน 18 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 การจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป รวม 3 ทาน ซง่ึ ความโชคดคี รง้ั น้ี ทาํ ใหเ ราเห็นความ กฎหมาย...ดนี ะ ทอ่ี า น 19 เปลยี่ นแปลงของ สพม.42 อยา งชดั เจน เกดิ เปน วถิ ีใหม ครดู มื่ สรุ าในขณะปฏบิ ตั หิ นา ทรี่ าชการ 20 วถิ คี ณุ ภาพ ความรว มไมร ว มมอื ความรกั ใคร ความสามคั คี มาเขา ใจหลกั สตู รฐานสมรรถนะกนั เถอะ 22 สง ผลใหเ ปน องคก รทน่ี า อยู นา ทาํ งาน บรกิ ารประทบั ใจ Knowledge Information 23 รวมท้ังการมีเปาหมายเพื่อคุณภาพผูเรียน คุณภาพ ระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา บุคลากร คุณภาพบริหารจัดการ คุณภาพปจจัยและ ในการจดั การศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2563 25 ทรัพยากรทางการศกึ ษา โครงการพฒั นาสมรรถนะครู และบคุ ลากร ทางการศกึ ษาตามมาตรฐานอาชพี ดา นทกั ษะ 27 กองบรรณาธกิ ารหวงั เปน อยา งยงิ่ วา วารสารฉบบั นี้ ความเขา ใจและการใชด จิ ทิ ลั สพม.42 35 จะเปนประโยชนสําหรับผูอานทุกทาน และขอขอบคุณ ภาพกจิ กรรมขา วความเคลอ่ื นไหว สพม.42 ที่ทานใหความสนใจ ติดตามวารสารอยางตอเนื่อง โครงการครอบครวั พอเพยี งสสู ถานศกึ ษา 36 พบกันใหมฉ บบั หนา และชมุ ชน โรงเรยี นหนองฉางวทิ ยา 37 โรงเรยี นหนองกรดพทิ ยาคม กบั ผลงานดเี ดน มณฑิรา บตุ โยธี โครงการงานสวนพฤษศาสตรโรงเรยี น 38 บรรณาธิการ โรงเรยี นสตรนี ครสวรรค โรงเรยี นบรรพตพสิ ยั พทิ ยาคม กบั การแขง ขนั 39 พฒั นาศกั ยภาพเยาวชนไทยดา นหนุ ยนต ระดบั ประเทศ วจิ ยั ในชนั้ เรยี น การใชโปรแกรม ZipGrade พฒั นานกั เรยี นในรายวชิ าเคมี วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 3

ในหวงเวลาที่ผานมา สพม.42 มีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึน ส่ิงแรก ทเ่ี ห็นชัดเจน คอื การเปลย่ี นแปลงผูบริหาร ทั้งผอู ํานวยการสาํ นกั งานเขต พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 และรองผูอํานวยการสํานักงานเขต พน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 42 ขณะนม้ี ผี ูบริหารครบตามกรอบ ซง่ึ เปน ผลดที ท่ี าํ ใหท กุ ฝา ยไดท าํ งานเตม็ กาํ ลงั สามารถประสานงาน ดแู ล และ ชว ยเหลอื โรงเรยี นไดอ ยา งทวั่ ถงึ ผมมาปฏบิ ตั หิ นา ที่ ผอู าํ นวยการสาํ นกั งาน เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 42 เมื่อวันท่ี 5 พฤศจิกายน 2563 ตอ งการสอ่ื สาร ทาํ ความเขา ใจ เรียนรูพวกเรา ชาว สพม.42 ทกุ คน เพอ่ื ใหก ารดาํ เนนิ การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา มคี ณุ ภาพ และประสิทธิภาพในทุกมิติ เกิดผลสัมฤทธ์ิ ในภาพรวม และสอดคลองกับนโยบาย สพฐ. ทม่ี งุ มนั่ ในการพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานใหเ ปน “การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานวถิ ีใหม วถิ คี ณุ ภาพ” มงุ เนน ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา สง เสรมิ โอกาสทางการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพอยา งเทา เทยี ม และบรหิ ารจดั การศกึ ษาอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา มัธยมศึกษา เขต 42 จึงไดก ําหนดนโยบายประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564-2565 ท่สี อดคลอ งกับระดับตา ง ๆ เปน 4 นโยบาย เพอื่ ใหส ถานศกึ ษายึดเปนกรอบการดาํ เนินงาน ใหเ กดิ เปนรปู ธรรม มคี ุณภาพ ประสทิ ธภิ าพ บรรลเุ ปา หมายสงู สดุ มีการใชจ าย งบประมาณอยางคุมคา และเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน เปนบทบาทหนาท่ีของทุกคนท่ีตองดําเนินการ ซ่ึงผานกระบวนการ พจิ ารณา สงั เคราะหข องผูท เ่ี กยี่ วขอ งหลายฝาย ในการรว มกําหนดนโยบาย ประกอบดวย นักเรียนดี (Smart Student) ครตู อง พิจารณาวาอะไรเปนบทบาทหนาท่ี ที่จะตองรับผิดชอบ เพ่ือใหนักเรียนมีคุณธรรม กาวล้ําวิชาการ และมีผลสัมฤทธิ์เปนเลิศ ทาํ หอ งเรยี นใหเ ปน หอ งเรยี นคณุ ภาพ มหี อ งปฏบิ ตั กิ าร มสี อ่ื อปุ กรณค รบครนั มบี รรยากาศทอี่ บอนุ เปน กนั เอง ครยู ม้ิ แยม มคี วามสขุ นกั เรียนเรยี นอยางมคี วามสขุ ครูเดน (Smart Teacher) ตองเปน ครูดวยหัวใจ รปู แบบการสอนตองสนองตอ ความตองการของ นกั เรียน สง่ิ สําคัญคอื ครูตอ งมีนวัตกรรมในการจัดการเรยี นรู นวตั กรรมไมไดห มายถึงแคเ พยี งส่ิงของ แตห มายถึงรปู แบบ วธิ ีการ กลาวงา ย ๆ คือ ครูจะสอนอยางไร ท่ที ําใหน า สนใจเด็กมีสวนรวม มีรปู แบบการสอน เปน รูปแบบทเี่ หมาะสมกบั หอ งเรียนคุณภาพ เพอ่ื ทาํ ใหเ ด็กเรยี นอยา งมคี วามสขุ เดก็ นําความรูไปใชป ระโยชนได ครูรักเดก็ เด็กรักครู เปน ครูมืออาชีพ โรงเรียนดัง (Smart School) ดงั ในมติ ิ บริบทของโรงเรยี น มสี ภาพแวดลอ ม ภูมิทศั น ดานกายภาพ สะอาด รม ร่ืน สวยงาม ปลอดภัย “นาดู นาอยู นา เรียน” มีการสรางเครือขา ย ประสานงานกบั ชมุ ชนเพอื่ รว มกันพัฒนาโรงเรียน สํานักงานเลศิ (Smart Office) ไมเ พยี งแตให โรงเรยี นไดข ับเคล่ือน สพม.42 เอง ตองเปน สาํ นักงานท่ี “นาอยู นา ทาํ งาน บริการประทับใจ” ท้ังหมดนี้ เปน เปา หมายเพือ่ คุณภาพ ผูเรียน คุณภาพบคุ ลากร คุณภาพการบริหารจัดการ และการเรียนรูใหม ีคุณภาพ ทายสดุ น้ี ผมปรารถนาใหทกุ ฝายที่เก่ยี วของ ไดรว มแรงรว มใจ รักใคร สามคั คีปรองดอง เพื่อพัฒนาการศกึ ษา ใหม คี วามเจริญรุงเรืองสบื ไป 4 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

การบริหารงานวิชาการเปนงานท่ีสําคัญสําหรับ สถานศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งเปนงานท่ีจะตองปรับปรุง คุณภาพการเรียนการสอน ซึ่งเปนจุดมุงหมายหลักของ สถานศึกษา เปนเคร่ืองช้ีความสําเร็จของการจัดการศึกษา ในสถานศกึ ษา แมว า ในชว งเวลานี้ เราตอ งเผชญิ ปญ หาเกยี่ วกบั สถานการณที่มีการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เราตอ งปรบั เปลย่ี นวธิ สี อน ปรบั ตวั ใหเ ขา กบั สถานการณในปจจุบัน ทั้งดานสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และ เทคโนโลยี ทเี่ ราตอ งกา วไปใหท นั พรอ มเผชญิ ทกุ สถานการณ ดาํ รง ชวี ติ ไดอ ยา งมคี วามสุข วารสารวชิ าการของสํานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 42 จึงเปนเวทีในการเผยแพรง าน วิชาการ กจิ กรรมตาง ๆ ในสถานศึกษา เกย่ี วกับการปรับปรงุ พฒั นาการเรียนการสอนใหไดผลดี และมี ประสิทธิภาพท่ีสุด ที่มีความเหมาะสมสําหรับการเปนนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีใชในการพัฒนาคุณภาพใน การจัดการศึกษา หวงั เปน อยา งยงิ่ วา วารสารวชิ าการของสาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 42 จะเปน แหลง เรยี นรูใหกับครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทงั้ ในสาํ นกั งานเขตกด็ ี หรอื ในแวดวงทางการศกึ ษาท่ตี อ งการยก ระดบั คณุ ภาพของงานวชิ าการในการจดั การศกึ ษาใหป ระสบความสาํ เรจ็ ทา ยน้ี ผมขอเปนกาํ ลงั ใจใหทกุ ๆ คน มีพลังกาย พลังใจ มีความเขม แขง็ อยูในสังคมอยางมีความสุข ปลอดภัยจาก โรคภยั ทง้ั ปวง วารสารวิชาการ สพม. เขต 42 5

“การทํางานใด ๆ ไมวา เลก็ ใหญ งา ย ยาก ถายอ หยอ น จากความเพียรแลว ยากท่ีจะใหส าํ เรจ็ เรยี บรอยทนั เวลาได และ เมอื่ ไดพ ลงั ของความเพยี รนเี้ กดิ ขนึ้ เมอ่ื นน้ั การงานทงั้ หลายกส็ าํ เรจ็ ไดโดยงายดายและรวดเรว็ ” พระบรมราโชวาท ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบัตรแก ผสู ําเรจ็ การศกึ ษาจากมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 21 มิถุนายน 2522 สวสั ดคี รบั ทกุ ทา น กอ นอนื่ ตอ งขอขอบคณุ กองบรรณาธกิ ารจดั ทาํ วารสารวชิ าการ สพม.42 ท่ีใหโอกาสไดล งบทความ เพอ่ื ประชาสมั พนั ธ กระผม นายรังสวิ ุฒิ พุม เกดิ ไดรับคําส่ังยายมาดาํ รงตําแหนง รองผอู าํ นวยการสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 เม่ือวันที่ 5 พฤศจิกายน 2563 ตามคาํ สง่ั สพฐ.ท่ี 1672/2563 ขอบคณุ ในการตอนรบั ที่อบอุน มิตรไมตรีที่ดีตอกันเสมอมา และกระผมมีความมุงม่ัน ต้ังใจท่ีจะทําหนาท่ีรวมกับชาว สพม.42 อยางเต็มที่ เตม็ กําลังความสามารถประกอบกบั ในหวงเวลา วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 ถงึ 29 ธันวาคม 2563 ไดมีโอกาสไดเ ขารบั การอบรมโครงการจติ อาสาพระราชทาน 904 หลกั สตู ร หลกั ประจาํ รนุ 5/63 “เปน เบา เปน แมพ มิ พ” คงจะไดน าํ ความรู ประสบการณ มาถา ยทอด ขยายผล และทาํ หนา ทจี่ ิตอาสาตอ ไป 6 วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42

ในชว งปใหม 2564 กระผมขอนาํ 5 ขอ หลกั การทํางาน ตามรอยพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยรู ชั กาลท่ี 9 ดังน้ี 1. ความเพยี ร คอื หวั ใจสาํ คญั ปรากฎใหเ ราเหน็ อยเู สมอวา งานแตล ะงานทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั รัชกาลท่ี 9 ทรงดํารัส ลวนเปน เรอื่ งที่ไมใชงาย ๆ ยกตวั อยาง เชน การปรับปรุงพน้ื ทด่ี ินท่ีดูเหมอื นจะไมมคี า กลบั พลิกฟนมาเปนทเ่ี ขยี วชอมุ นน่ั หมายถึง การเพียรพยายามอยา งถึงที่สุด 2. เม่อื มีโอกาสใหท าํ ใหถึงที่สุด การไดโอกาสไดท ํางาน ควรจะทําใหเ ตม็ ท่ีจนสดุ ความสามารถหาก เราทําจนเตม็ ที่ เต็มกําลงั ดวยความตั้งใจ เอาใจใสแลวยอ มจะสาํ เรจ็ ไดอ ยา งตั้งใจ 3. มีเปาหมายที่แนนอน หากการทํางานเราไมต้ังเปาหมาย และระยะเวลาเอาไวแลว โอกาสท่ีจะ ทํางานอยางลอ งลอย ไมส ําเร็จจะมีอยมู าก รวมถงึ มปี ญหาตาง ๆ ตามมา ดงั นนั้ จงึ เปน เรื่องสาํ คัญในการทํางาน ท่จี ะตั้งเปา หมายและมุงม่นั ไปถงึ 4. สามคั คีคอื พลงั ไมวา การทาํ งานใด ๆ ลว นแลว แตม ผี ูเกย่ี วขอ งมากมาย หากตา งคนตางทํา ผลที่ ไดอ อกมาก็จะอาจจะไมดีนกั ซ่ึงพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัวรัชกาลที่ 9 ไดท รงย้ําอยหู ลาย ๆ ครงั้ เร่ืองของความ รัก สามัคคี อนั เปน หนทางสคู วามเขม แขง็ และสําเร็จในทุกองคก ร 5. ทกุ ปญ หามที างแก แนน อนวา การทาํ งานยอ มตอ งมปี ญ หา มากนอ ยตา งกนั ไปในแตล ะงาน ทางออก นนั้ อาจมอี ยู น่นั คอื การยึดหลักความเปนไปได ความเปน จริง และมองถึงปญหาทีจ่ ะตอ งแกไขอยา งแทจ รงิ ในโอกาสปใหม 2564 ขออาํ นวยอวยพรใหท กุ ทา น - Happy new year you happy old soul, Hopefully you have now achieved most of your goals, may these words lift your spirit. Happy New Year. - สุขสันตวันปใหมแดท า นที่เคารพ ขอใหป ระสบแตสขุ และสมหวัง ดงั ตงั้ ใจ และขอใหคาํ อวยพรน้ีชวยใหทานรสู ึกมพี ลัง สุขสันตวนั ปใหม วารสารวิชาการ สพม. เขต 42 7

สวัสดีทานผูบริหารสถานศึกษา พ่ีนองเพ่ือนครูทุกทาน เปน อยา งไรบา งกบั การทาํ หนา ที่ในชว งน้ี ชว งทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เทคโนโลยี การเมือง และเศรษฐกิจ อาชีพของคนไทย บางอาชีพ หายไป มีอาชีพใหม ๆ ทอ่ี าศัยเทคโนโลยเี ขา มาแทนท่ี มบี ทบาทในการ ทํากิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองอยางมาก ผูคนเสพ ขาวสารตา ง ๆ จากสังคมโซเชยี ล และแสดงออกทางสงั คมในรปู แบบ ตา ง ๆ อยางไมเ คยมมี ากอ นในอดตี หลายสงิ่ หลายอยา งตองปรบั ตวั ไมเชนน้ันก็จะไมสามารถดํารงสถานะอยูได เพราะไมสอดรับกับ ความตองการแลว หันมาดูแวดวงการศึกษาท่ีมีเจตนา คือ พัฒนาคนในชาติใหมีความรู มีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีความสุขในการ ดาํ เนนิ ชวี ติ แตเ รามกั จะไดย นิ บคุ คลหลายคนในเวทตี า ง ๆ วา การศกึ ษาในยคุ นี้ไมต อบโจทยค วามตอ งการของสงั คม เดก็ มคี วามรูไมไดมาตรฐาน คิด วิเคราะหไมเ ปน โรงเรยี น ครู จดั กิจกรรมการเรียนการสอน ไมเ หมาะสมกบั ยุค สมัยทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป ครไู มพฒั นาตนเอง และครูยคุ ใหมมจี ิตวญิ ญาณความเปนครูนอยลง มุงหวงั ทางธรุ กิจ และ ผลประโยชนม ากขึน้ ความผกู พันระหวา งครูกับศิษยล ดนอยลง และชอ งวา งระหวา งครูกับศษิ ยกม็ ากขึ้นทกุ ที หากทกี่ ลา วมาทง้ั หมดเปน จรงิ ตามทเ่ี ขาพดู กนั กค็ อื วา การจดั การศกึ ษาของเราอยูในขนั้ ทลี่ าํ บากพอสมควร ดงั นนั้ เราตองทาํ ใหส งั คมรูว า 1. เราจดั การศึกษาท่ที นั สมัย มีคุณภาพ มอี งคค วามรูที่ตอบสนองความตองการของสงั คม 2. เราเปนครยู ุคใหม สอนเกง ใชเ ทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอน มีความสามารถทางภาษาองั กฤษ 3. เราเปนครูยุคใหม ท่ีมีจิตวิญญาณของความเปนครู เปนครูดวยหัวใจ มีความรักศิษย ทุมเทในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน อบรม ส่ังสอนศิษยทุกคนใหมีคุณภาพ ผานมาตรฐานการศึกษาของชาติ ไมทอดทิ้ง ไมผลักใส ไมดูถูก ไมห าผลประโยชนจากศษิ ย และไมท าํ ลายอนาคตของศษิ ย จะเห็นวา ท้ัง 3 ขอ เปนเร่ืองสําคัญท่ีเราทุกคนตอ งปรบั และทาํ ใหได เพ่อื ความเจริญรุง เรืองของลูกศิษย และสังคมท่ีคาดหวงั กบั พวกเราชาวการศกึ ษา ขอพวกเราต้ังมั่นในหนาที่ ทําดีดวยหัวใจ ใฝพัฒนาตน รักศิษยทุกคนอยางจริงใจ แลวเราจะไดความรัก ความเคารพนับถอื กลับคนื มา และทีส่ าํ คญั คอื เราจะไดความสุขในการทาํ หนา ที่ครขู องเรา ขอเปน กาํ ลงั ใหครทู ุกคน...สู ๆ ครับ 8 วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42

เพื่อใหก ารดาํ เนินการขบั เคล่อื นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ของสํานักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42 มีคณุ ภาพและประสิทธิภาพในทกุ มิติ เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิ ในภาพรวม และสอดคลอ งกับนโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ทีม่ งุ ใหเ ปน “การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน วถิ ีใหม วิถีคณุ ภาพ” ใน 4 มติ กิ ารขับเคลื่อน คอื โอกาส คณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพ และ ความปลอดภัย โดยใชพ้ืนท่ีเปนฐาน และใชนวัตกรรมในการขับเคลื่อน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 จึงไดกําหนดนโยบายประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 เปน 4 นโยบาย คือ นักเรยี นดี (Smart Student) ครูเดน (Smart Teacher) โรงเรียนดัง (Smart School) สํานักงานเลิศ (Smart Office) ภายใตโมเดล AREA SPM 42 โดยมเี ปา หมายทค่ี ณุ ภาพผเู รยี น คณุ ภาพบคุ ลากร คณุ ภาพบรหิ ารจดั การ คณุ ภาพ ปจ จัยและทรพั ยากรทางการศึกษา คุณภาพเทคโนโลยีเพอ่ื การบริหารจดั การและการเรยี นรู รายละเอยี ดดงั นี้ นโยบายท่ี 1 นกั เรยี นดี (Smart Student) จุดเนน - ใสใจ คุณธรรม - กาวล้ํา วชิ าการ - งาน ผลสมั ฤทธิ์เปนเลิศ ตัวช้ีวัด 1) นักเรียนมีคุณภาพตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีสมรรถนะ และคุณลักษณะ อนั พึงประสงค 2) นักเรียนมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 5 สาระหลัก เพม่ิ ขนึ้ รอยละ 3 3) นกั เรยี นมผี ลงาน ดานศิลปะ ดนตรี กฬี า และอาชีพ 1 นักเรยี น 1 ผลงาน 4) นกั เรยี นมมี าตรฐานทกั ษะ และสมรรถนะดา น Digital Literacy 5) นักเรียนมีทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษ ตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษา CEFR English Literacy 6) นักเรยี นรกั งาน ทํางานจนสําเรจ็ ใสเ รยี นรู และรว มสรา งสรรคนวัตกรรม นโยบายท่ี 2 ครเู ดน (Smart Teacher) จดุ เนน - เปน ครดู ว ยหัวใจ - ครผู สู รา งนวตั กรรม - มผี ลงานเชงิ ประจักษ - เปนครมู ืออาชพี วารสารวิชาการ สพม. เขต 42 9

ตัวชว้ี ดั 1) ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มผี ลงานเชงิ ประจกั ษ 1 ครู 1 นวัตกรรม 2) ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา นอ มนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชดําเนนิ ชวี ติ จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 3) ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาบริหารจดั การชนั้ เรียนเปนหอ งเรียนคุณภาพ 4) ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา จัดการเรยี นรูเชงิ รุกเนนผูเรียนเปน สําคญั จัดการเรียนการสอน ที่เนนกระบวนการ Active Learning/ 5 STEPs/ Coding/ STEAM/ PBL 5) ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา มที กั ษะการใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital Literacy: DL) และทกั ษะ การสอนภาษาอังกฤษ ตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษา CEFR English Literacy 6) ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีแผนพัฒนาตนเอง มี EID Plan เพื่อพัฒนาตนเอง และ พฒั นางาน นโยบายที่ 3 โรงเรยี นดงั (Smart School) จุดเนน - เครือขาย/ชุมชนรวมพฒั นา - กาวหนาดวยระบบคุณภาพ - พรอมเพรียงศกั ยภาพ “นา ดู นา อยู นาเรียน” ตัวช้วี ัด 1) โรงเรยี นมรี ะบบประกนั คณุ ภาพภายในท่ีเขม แขง็ 2) โรงเรียนมีระบบดแู ลชว ยเหลอื นกั เรยี นท่เี ขม แขง็ 3) โรงเรยี นมรี ะบบความปลอดภัย 4) โรงเรียนเปนโรงเรียนมาตรฐานสากล 5) โรงเรยี นเปน โรงเรยี น พอเพียง สุจริต คณุ ธรรม 6) โรงเรยี นจัดการศกึ ษาดวยเทคโนโลยที างไกลผานดาวเทียม (DLTV) และเทคโนโลยที างไกลผาน เทคโนโลยี (DLIT) 7) โรงเรยี นมีระบบนิเทศภายในทีเ่ ขม แข็ง 8) โรงเรียนสง เสรมิ ทักษะอาชพี เพื่อการมงี านทาํ 1 โรงเรยี น 1 อาชีพ 1 ผลิตภณั ฑ 9) โรงเรยี นมนี วัตกรรมในการบริหารจัดการ 10) โรงเรียนมีภูมทิ ัศน สะอาด รม รน่ื สวยงาม ปลอดภัย “นา ดู นา อยู นาเรยี น” 10 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

นโยบายท่ี 4 สํานกั งานเลศิ (Smart Office) จดุ เนน - ใชหลักธรรมาภิบาล - บรหิ ารดว ยนวตั กรรม - นอ มนําศาสตรพระราชา - มงุ การพัฒนาสูค วามยั่งยืน “นาอยู นาทาํ งาน บรกิ ารประทับใจ” ตัวชวี้ ดั 1) สพม.42 เปน องคกรคุณธรรม บรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 2) สพม.42 บรหิ ารจดั การดว ยระบบคุณภาพตามเกณฑม าตรฐานสํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา 3) สพม.42 ใชน วตั กรรมในการบรหิ ารจัดการ 4) บุคลากร สพม.42 ทุกคน มีความสามารถดานทักษะภาษาอังกฤษ ตามกรอบมาตรฐาน ความสามารถทางภาษา CEFR English Literacy และทักษะ Digital Literacy 5) สพม.42 เปน องคก รแหงการเรยี นรู (Learning Organization) 6) สพม.42 เปนสาํ นกั งานนาอยู มสี ภาพแวดลอ ม ภูมิทัศนส วยงาม สะอาด รม รื่น ปลอดภยั “นา อยู นา ทาํ งาน บรกิ ารประทับใจ” วารสารวิชาการ สพม. เขต 42 11

12 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42 โมเดล AREA SPM 42 สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 42

วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 13

14 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 15

ตามเจตนารมณของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัตขิ อมลู ขาวสารของ ทางราชการ พ.ศ. 2540 พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลักเกณฑและวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ยทุ ธศาสตรช าติวาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) และนโยบายของ รัฐบาล ขอท่ี 10 การสง เสรมิ การบริหารราชการแผน ดนิ ท่ีมธี รรมาภิบาลและการปองกนั และปราบปราม การทุจริต และประพฤติมชิ อบในภาครัฐ กําหนดใหป ลูกฝง คานยิ ม คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจติ สํานึกในการรกั ษาศกั ด์ศิ รคี วาม เปน ขา ราชการและความซอื่ สตั ยส จุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบของเจา หนา ทขี่ องรฐั ทกุ ระดบั และตอบสนองความตอ งการ พรอมอํานวยความสะดวกแกประชาชน เพอื่ สรา งความเชื่อมั่นในระบบราชการ สาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 42 โดย นายปญ ญา หาแกว ผอู าํ นวยการสาํ นกั งาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ไดประกาศแสดงเจตจํานงสุจริตในการบริหารงานตอท่ีประชุม ผูบริหารสถานศึกษาในสังกัด เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 วาจะมุงบริหารงานดวยความซ่ือสัตยสุจริต โปรงใส และเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล ตรวจสอบได พรอมรับผิดชอบเพ่ือสรางความเช่ือมั่นแกสังคม มเี จตจาํ นงตอ ตา นการทจุ รติ คอรร ปั ชน่ั ทกุ รปู แบบ และยดึ มน่ั ทาํ ใหส าํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 42 เปน องคก รธรรมาภบิ าลบรหิ ารงานดว ยความสจุ รติ โปรง ใส กอ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ แกท างราชการ และประเทศชาติ 16 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 17

1. แตงตั้งคณะทาํ งาน คณะทาํ งานควรประกอบดว ยคณะบคุ คลจากหลายฝาย 2. ศึกษาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานขององคกร การดําเนินการขั้นนี้เพื่อทําความเขาใจท่ีชัดเจน ในสาระสําคัญของแผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานแตล ะป นําสูการจดั ลําดบั โครงการ/กิจกรรม 3. วิเคราะหจัดทํารายละเอียดโครงการ/กิจกรรม ในข้ันน้ีจะแปลงแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปน แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ป (Action Plan) โดยจดั ทําโครงการ/กิจกรรมทจี่ ะดาํ เนนิ งาน ระยะเวลา ผรู บั ผิดชอบ เปา หมายตวั ช้ีวดั ความสําเร็จและกําหนดงบประมาณ 4. จัดทํารูปเลม แผนปฏิบัติการประจําป เมื่อโครงการตาง ๆ ที่ประชุมเห็นชอบใหดําเนินการผาน การประเมินในเบื้องตน และอนุมัติโครงการโดยผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 จงึ นาํ ขอ มลู ท้งั หมดสูการจัดทํารปู เลมแผนปฏบิ ัติการประจาํ ป ซ่งึ มีโครงสราง ดังนี้ 1) ปกนอก 2) ปกใน 3) คาํ นาํ 4) สารบญั 5) เนอื้ หา ประกอบดว ย บทนาํ ทศิ ทางการพฒั นา รายละเอยี ดของแผนงาน/โครงการ การกาํ กบั ตดิ ตาม ประเมิน รายงาน และภาคผนวก 5. การนําแผนลงสูการปฏิบัติ เมื่อคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครสวรรคและจังหวัดอุทัยธานี พิจารณาใหค วามเหน็ ชอบในแผนปฏบิ ัติการประจําป แลว ดําเนินการนําแผนลงสูก ารปฏิบัติในรูปแบบตาง ๆ 6. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล การติดตามผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําป (Action Plan) ซง่ึ เปนแผนใชเงนิ เปน การตดิ ตามผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวดั ความสําเรจ็ ของแผน ซ่งึ อาจกําหนด เปนจุดเนนการดาํ เนินงานประจําป โดยติดตามความสําเร็จของงาน/โครงการ/กิจกรรมทก่ี าํ หนดไวในแผน 1. ผบู รหิ ารการศึกษาทุกระดบั ใหความสําคญั ในการบริหารจัดการ โดยมงุ เนนผลสมั ฤทธิ์ของงาน และ การทํางานแบบมีสวนรวมที่เอ้ือตอการพัฒนาความคิดริเริ่มสรางสรรค การปฏิบัติงานใหบรรลุตามวัตถุประสงค และเปา หมายท่กี ําหนดไว 2. หนวยงานที่เกี่ยวของสงเสริมการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร ในการพัฒนาการปฏิบัติงาน อยางเปนระบบ 3. เช่ือมโยงความสาํ เร็จของการปฏบิ ตั ิงานกบั การบริหารงานบุคคลอยา งชดั เจน 4. บรหิ ารจดั การโดยเปด โอกาสใหท ุกภาคสวนมสี ว นรวมและยึดหลักธรรมาภิบาล 18 วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42

หลายคนคงมองวา การใชช ีวิตทํางานอยูในสังคม ระเบียบกฎหมายที่บงั คบั ใช กค็ งเหมอื นๆกนั มกี ฎหมายบังคบั ใชเ ทา ๆกนั แตแ ทท จี่ รงิ แลว ในสว นของบคุ คลทรี่ บั ราชการครู นอกจากจะตอ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกฎหมายทรี่ ฐั ออกมาบงั คบั ใชก บั คนในสงั คมแลว ขาราชการครูยงั มีกฎระเบียบวนิ ัยมาบงั คับใช ไมวาชว งขณะขาราชการครปู ฏบิ ตั หิ นา ท่รี าชการ หรอื ชวงนอกเวลาราชการ ระเบียบวินัยกย็ งั คงบังคับใชอยูตลอดเวลา ซ่ึงผมมองวา เหตุที่กฎระเบยี บวินัย ทีข่ า ราชการครูตอง ปฏิบัติตามมีมากกวาคนทั่ว ๆ ไป หรือมากกวาขาราชการหลายๆหนวยงาน คงเปนเพราะขาราชการครูเปนอาชีพท่ีทรง เกียรติ สังคมใหความเคารพ และขาราชการครูควรตองเปน แบบอยา งทดี่ ีใหก บั ลกู ศิษย ไมวาจะขณะทําการสอน ในเวลา ราชการหรอื นอกเวลาราชการกต็ าม ขา ราชการครจู งึ ตอ งรกั ษาชอื่ เสยี ง และเกยี รตศิ กั ดขิ์ องตาํ แหนง หนา ทรี่ าชการของตน ขณะรับราชการ เรอ่ื งท่ีผมจะขอหยิบยกมาเลา เปน อุทาหรณเ ตอื นใจขา ราชการครใู นวันนี้ เปน กรณที ่ีขา ราชการครูดื่มสุราในขณะ ปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการ มลู เหตขุ องเรอื่ งนเ้ี กดิ จาก ขา ราชการครชู ายดม่ื สรุ ามอี าการมนึ เมาในชว งปฏบิ ตั หิ นา ทรี่ าชการหรอื ใน เวลาราชการ ขณะเมาสรุ าไดพ ดู คาํ หยาบคาย ดูหมิน่ ผูอ่ืน พูดจาระรานนกั เรียน ครู ผูบรหิ ารโรงเรยี น และคณะกรรมการ สถานศกึ ษา จนเกดิ ความหวาดกลวั ขอ เทจ็ จรงิ ไดค วามวา ขา ราชการครชู าย ดม่ื สรุ าในเวลาทมี่ กี ารจดั กจิ กรรมของโรงเรยี น หลายครงั้ เชน การจดั งานเลย้ี งเมอ่ื มบี คุ ลากรของโรงเรยี นยา ยหรอื กจิ กรรมผา ปา มอี าการเมาสรุ าในเวลาราชการ ขา ราชการ ครชู ายทา นนม้ี กั เสยี งดงั บางครงั้ พดู จาทา ทายคนอน่ื บางครงั้ ใชว าจาไมเ หมาะสมกบั ผบู งั คบั บญั ชาและผอู น่ื ดว ย นอกจากน้ี ขาราชการครูชายเคยไปด่ืมสุราที่รานคาจนลมพับตองใสรถเข็นสงบานพัก และเมื่อหายเมาแลวจะจําเหตุการณไมได การเมาสรุ าของขา ราชการครชู าย ผบู งั คบั บญั ชาไดม กี ารตกั เตอื นแลว และเฝา ดพู ฤตกิ รรมมาตลอดแตก ย็ งั ไมด ขี นึ้ คณะกรรมการ สอบสวนฯ ไดด ําเนินการสอบสวนทางวนิ ยั และพจิ ารณาลงโทษทางวินยั ตามมาตรา 94 วรรคหน่ึง แหง พระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บขา ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 กรณี ไมร กั ษาช่อื เสยี งและเกียรตศิ กั ดขิ์ องตาํ แหนง หนา ท่ี ราชการของตน ลงโทษภาคทณั ฑ เมอื่ เรื่องดังกลา วคณะกรรมการขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา (ก.ค.ศ.) ได พจิ ารณา คณะกรรมการขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา (ก.ค.ศ.) ไดม มี ติ เพม่ิ โทษจากโทษภาคทณั ฑ เปน ลงโทษ ลดข้ันเงนิ เดือน 1 ข้นั จากแนวทางการพิจารณาโทษทางวินยั ของคณะกรรมการขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) รายท่ี 1-078/2554 (โทษทจี่ ะลง ตองดขู อเท็จจรงิ เปนเรอื่ ง ๆ ไป) จากเรื่องดังกลาวจะเห็นไดวาวินัยของขาราชการครู ในการรักษาช่ือเสียงและเกียรติศักด์ิของตําแหนงหนาที่ ราชการครู วางไวสูง ฉะน้ันควรพึงระวังอยูเสมอในการดื่มสุรา ควรดื่มพอประมาณ หรือถาจะใหดี ไมด่ืมสุราเลย เปนดีท่สี ดุ นะครบั ประเด็นหลงั นีค่ งจะยากอยู แตผ มเชื่อวาคงไมเ กนิ กาํ ลังหากเราตง้ั ใจอยา งแนวแน เพราะผมกวาจะเลิก ด่ืมสรุ าได ก็ตอ งใชระยะเวลาตอสกู ับใจตวั เองถึง 6 เดอื น ผมจึงขอเปนกาํ ลงั ใจใหก บั เพื่อนขาราชการครู หรอื ทุกทา น ทกี่ าํ ลงั อยูในชวง เลิกดื่มสุรา หรือกําลังคิดวาจะเลิกดื่มสุรา เพราะการเลิกด่ืมสุรา นอกจากเราไมตอง มาพะวงวาเราดื่มสรุ าจะผดิ วินยั หรอื ไมแ ลว เรายังมีเงินเพิม่ มากขน้ึ สขุ ภาพดขี ้นึ มเี วลา ใหกับตวั เองและครอบครัวมากขึ้น มศี ลี เพ่ิมขนึ้ มาอีก 1 ขอ และท่ีสาํ คญั มคี วามสขุ เพมิ่ มากขึ้น ดัง่ พรพระทีเ่ ราเคยไดร ับเปนภาษาบาลวี า “สเี ลนะ สุคะติง ยนั ติ ศลี เปน เหตุ ใหถึงสุคติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา ศีลเปนเหตุใหถึงพรอมดวยโภคทรัพย สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ศีลเปนเหตุใหถึงพระนิพพาน ตัสมา สีลัง วิโสทะเย เพราะเหตุนั้น พึงชําระศีลใหหมดจด” วารสารวิชาการ สพม. เขต 42 19

หลักสตู รฐานสมรรถนะ คือหลกั สูตรที่เนน การวดั ผล แบบสมรรถนะแทนการทอ งจาํ เนือ้ หา เพียงเพือ่ นาํ มาสอบ เดมิ วดั ผลจากการจาํ ความรู แตฐ านสมรรถนะ วดั ผลจากการนาํ ความรมู าใชง านทนี่ าํ มาใชแ ทนทหี่ ลกั สตู ร ในปจจบุ นั ฐานคิดของหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (หลกั สตู รฐานสมรรถนะ) 1. สง เสรมิ การพฒั นาศกั ยภาพของผูเรยี นรายบคุ คล (Personalization) การเปน เจา ของการเรียนรแู ละ พัฒนาตนเองอยา งตอ เน่อื ง 2. พฒั นาใหผูเรยี นเกิดสุขภาวะ (Well-being) ทง้ั ในดา นสุขภาพ ความฉลาดรู สงั คมและอารมณอยาง สมดลุ รอบดา นและเปน องคร วม โดยยึดหลกั ความเสมอภาค 3. พฒั นาสมรรถนะทจี่ าํ เปน เพอื่ ใชในการดาํ รงชวี ติ การแกป ญ หา ในสถานการณต า ง ๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั และการสรา งประโยชนต อ สงั คม 4. พัฒนาผูเรียนใหรูเทาทันและสามารถปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและความกาวหนา ทางวิทยาการ คําอธิบายแผนภาพ (ราง) หลักสูตร การศึกษาข้ันพ้ืนฐานหลักสูตรกําหนดสมรรถนะ หลกั (Core Competency) ไว 5 ประการ เพื่อ เปน เปา หมายในการพฒั นาความสามารถทจี่ าํ เปน ของ ผเู รยี นตอ การใชช วี ติ ในปจ จบุ นั และอนาคต นยิ ามและ องคป ระกอบของ 5 สมรรถนะทเี่ ดก็ ไทยควรมีในการ ปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรฐาน สมรรถนะ วัดผลจากสมรรถนะทั้ง 5 ดา น ไดแก 1. สมรรถนะการจัดการตนเอง 2. สมรรถนะการส่อื สาร 3. สมรรถนะการรวมพลังทาํ งานเปน ทีม 4. สมรรถนะการคิดขนั้ สงู และ 5. สมรรถนะการเปนพลเมอื ง ทเี่ ขม แขง็ 20 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

สมรรถนะทง้ั 5 ดาน จะไดร ับการพัฒนาผา นขอบขา ยการเรียนรู (Learning Area) 5 ดาน เพ่ือบรู ณาการหัวขอการเรียนรขู ามศาสตรใหผูเรียนสามารถ พฒั นาและแสดงความสามารถผา นมุมมองตา ง ๆ ไดแก 1. ขอบขายการเรยี นรูดา นสุขภาวะกายและจิต 2. ขอบขายการเรียนรูดา นภาษา ศิลปะ และวฒั นธรรม 3. ขอบขายการเรยี นรดู า นโลกของงานและการประกอบอาชีพ 4. ขอบขายการเรียนรดู านคณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี และ 5. ขอบขายการเรียนรดู านสังคมและความเปน มนษุ ย ท้ังสมรรถนะและขอบขายการเรียนรูถูกออกแบบและพัฒนาบนรากฐานสุขภาวะ (WelL being Foundation) 4 ดา น ซึ่งสถานศึกษาจะตองสรา งบรรยากาศ สภาพแวดลอ ม สงิ่ แวดลอ ม และกลไก การบริหารสถานศึกษาใหเ อือ้ ตอการพฒั นา ไดแ ก 1. รากฐานดา นสขุ ภาพกายและจิต 2. รากฐานดานสังคมและ อารมณ 3. รากฐานดา นความฉลาดรู 4. รากฐานดา นคณุ ธรรมและจริยธรรม การพัฒนาผเู รียนใหเ กิดสมรรถนะและรากฐานสาํ คญั ผา นขอบขา ยการเรียนรู เพอ่ื บรรลเุ ปาหมายสําคัญ คือ มาตรฐานการศึกษา ของชาติในรปู แบบผลลพั ธท ี่พึงประสงคทางการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ทั้ง 3 ดา น ไดแ ก 1. การเปนผเู รยี นรู 2. การเปน ผรู วมสรางสรรคนวตั กรรม และ 3. การเปน พลเมอื งท่เี ขมแขง็ ในการศกึ ษาหลักสตู รฐานสมรรถนะ ไดกําหนดระดบั ความสามารถของผเู รยี น ซ่งึ เปน พฤตกิ รรมเชงิ คุณลกั ษณะ สวนบุคคลทีแ่ สดงออกใหเ ห็นถึงการประยุกตใชความรู ทักษะ รวมท้งั พฤติกรรมการทํางาน ในบทบาทและสถานการณต าง ๆ ที่ทาํ ใหป ระสบผลสาํ เรจ็ โดยไดแบง ระดับความสามารถของผเู รยี น เปน 4 ระดบั ไดแ ก ระดับเรมิ่ ตน ระดับกาํ ลังพฒั นา ระดับสามารถ และระดบั เหนือความคาดหวัง ขอมลู แหลง ทมี่ า:มุงสูการจัดการศกึ ษาบนฐานสมรรถนะ สําหรบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน (ดร.รตั นา แสงบวั เผอ่ื น ผอ.สวก.สพฐ.) วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 21

ความหมายการประเมินตามสภาพจรงิ การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) หมายถึง การประเมินท่เี ปด โอกาสใหน กั เรยี นปฏิบัติงานท่เี หมือน การปฏิบตั ิงานในชวี ติ จริง มีเวลาเพียงพอสาํ หรบั วางแผนการลงมือทาํ งาน จนไดงานที่เสรจ็ สมบรู ณ มโี อกาสประเมนิ ผล การทาํ งานดว ยตนเองและมกี ารปรกึ ษารว มกบั นกั เรยี น การประเมนิ ลกั ษณะเชน นี้ จงึ จาํ เปน ตอ งใชว ธิ กี ารประเมนิ ทหี่ ลาก หลายมกี ารตดั สินโดยใชเ กณฑ (criteria) หรือมาตรฐาน (standard) เดยี วกับเกณฑ หรือ มาตรฐานทใ่ี ชตัดสินการทาํ งาน ในชวี ติ จริงในช้ินงานเดียวกนั หรอื ประเภทเดยี วกนั เคร่อื งมอื การประเมินตามสภาพจรงิ ตวั อยางเคร่อื งมอื วดั แบบสอบขอ เขียน (Written Test) วิธวี ัด แบบทดสอบชนิดเลอื กตอบ แบบจับคู แบบถกู -ผิด การทดสอบ (Testing) แบบสอบภาคปฏิบัติ (Performance Test) การเลอื กตอบ แบบจบั คู แบบถกู -ผิด แบบสัมภาษณ (Interview Guide) แบบวัดภาคปฏิบัติ (Scale) แบบสอบถาม (Questionnaire) การสมั ภาษณ (Interview) แบบมาตรประเมนิ คา (Rating Scale) การสอบถาม (Inquiry) แบบบันทึก (Record) การตรวจสอบรายการ (Checklist) แบบประเมนิ พฤติกรรม การสงั เกต (Observation) แบบประเมินตนเอง การประเมนิ พฤติกรรม (Behavior Assessment) แบบประเมนิ ผลงาน การประเมนิ ตนเอง (Self Assessment) แบบบนั ทกึ (Record) การตรวจผลงาน การใชแ ฟม สะสมงาน (Portfolio) (Experiment and Inquiry) 7) ประเมินจากการนําเสนอดวยวาจาและการแสดงละคร เทคนคิ วิธีการประเมินตามสภาพจรงิ (Oral Presentation and Dramatization) 1) ประเมนิ โดยใชภ าระงานทสี่ รา งขนึ้ ตามคาํ สง่ั 2) ประเมินโดยใชภาระงานที่แสดงถึงความ ท่ีมา :https://www.peoplevalue.co.th/ สามารถท่ีมีลักษณะเดียวกันหรือ รวมกันในกลุมสาระ ที่มา : https://spbkk1.sesao1.go.th หลาย ๆ กลุม 3) ประเมนิ โดยใชโ ครงการระยะยาว (Longer- term project) 4) ประเมินจากแฟมสะสมงาน (Portfolio) 5) ประเมนิ จากการแสดง การสาธติ (Demon- stration) 6) ประเมินจากการทดลองและการสืบสวน 22 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

ดวยการดําเนินงานจัดการศึกษาในปการศึกษา 2563 เปล่ียนไปจากวิถีปกติของการบริหารจัดการศึกษาเนื่องจาก มีการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทําใหตองมีการปดสถานศึกษาดวยเหตุพิเศษ ยังไมมีใครทราบ ไวรัสโคโรนา 2019 จะอยูกับเราอีกนานเทาไร แตท่ีแนๆ การเรียนรูของนักเรียนหยุดไมได ดังน้ัน สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ จงึ ไดม อบนโยบายการจดั การศกึ ษาดว ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล โดยโรงเรยี นสามารถดาํ เนนิ การได 3 ทาง 1) เปด ทาํ การสอน ไดต ามปกติ ทาํ การขออนุญาต “ศบค.จงั หวดั ” เปน ผูเหน็ ชอบ 2) จัดการเรยี นทางไกลเตม็ รูปแบบ 3) การจดั การเรียนการสอน สามารถผสมผสานได โรงเรยี นสามารถออกแบบเองได พรอมสอนไดจ ริง ตามบริบทพื้นท่ี เนนวา “สวนกลาง ทาํ หนาท่สี นับสนนุ การจัดการเรียนการสอนเทาน้ัน” จึงเกิดปรากฏการณ New Normal ของการจัดการศึกษาดวยเทคโนโลยีทางไกล ดังน้ัน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป คงตองปรับไปตามสถานการณ ท่ีเกิดข้ึน โครงการ กิจกรรมตาง ๆ ทีเ่ คยจดั รปู แบบเดมิ คงตอ งปรบั คงตอ งคาํ นงึ ถึง หลักการ Social Distancing ทานผบู รหิ ารสถานศึกษา และครผู ูสอนในฐานะ คนจัดการศึกษาใหกับประชาชนไทย เด็กไทย คงตองเปนผูนําการเปล่ียนแปลง ปรับวิธีคิด เปลี่ยน mindset ปรับตัวใหเขากับ สถานการณ จึงขอฝากประเด็นชวนคิดเก่ียวกับการดําเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ในสถานการณข องการจดั การศกึ ษาทมี่ กี ารแพรร ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) การประกาศคาเปาหมาย ท่ีสถานศึกษาวางไว ในปการศึกษา 2563 จะทบทวนหรือไมอยางไร และ จะทําอยางไร ใหบรรลเุ ปาหมาย จากทสี่ ถานการณเปลี่ยนไป การกาํ หนดมาตรฐานของสถานศกึ ษาและการประกาศคา เปา หมาย ในการตง้ั คา เปา หมายอยา งไร ใหม คี วามเหมาะสม กบั บริบทของสถานศึกษา และมีความเปน ไปไดใ นทางปฏิบตั ิ ควรทาํ อยา งไร Admin ขอแนะนําวา ไมค วรกาํ หนด คา เปา หมาย ทเี่ ปน เชงิ ปรมิ าณ รอ ยละ 100 ใหค าํ นงึ ถงึ เกณฑก ารประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เลม สนี า้ํ เงนิ ของ สพฐ. เพราะเวลาประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ชวงปลายปการศึกษา ถึงแมวาสถานศึกษาไดผลออกมา 100 พอดี ก็จะไดตามเปาหมาย แตถาไมได 100 ก็จะแปลวาไมเปนไปตามเปาหมาย และในปการศึกษา 2563 นี้ เปนชวงสถานการณ แพรระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) การจัดกจิ กรรมทกุ อยา งตอ งคาํ นงึ ถงึ ความปลอดภยั คํานึงถึงการรกั ษาระยะหาง social distancing และการดาํ เนนิ วิถชี วี ติ แบบปรกติใหม New Normal ดังน้ัน พิจารณาในการกําหนดคา เปาหมายความสําเรจ็ ในการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของปการศึกษา 2563 ใหมีความเหมาะสมและเปนไปได เพราะการต้ังคาเปาหมาย เปนจดุ เร่มิ ตน ของความเปน ระบบ เกิดความเช่ือถือ และสง ผลใหเกิดประสิทธผิ ล ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา การปรบั ปรงุ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ฉบบั ปรบั ปรงุ ในสถานการณก ารแพรร ะบาดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 โครงการ ท่ีตองมีแนนอน คือ โครงการจัดการศึกษาดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลในสถานการณแพรระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปก ารศกึ ษา 2563 การประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา อาจจะตอ งเพม่ิ ในเรอื่ งของ มาตรฐานการจดั การศกึ ษา ทางไกล เปน มาตรฐานที่เพม่ิ เขา มา อาจจะอยูในมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ประเด็นพิจารณาที่ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ และกระบวนการเรยี นรู และเรอื่ งของความปลอดภัย เพม่ิ ใน ประเด็นท่ี 2.5 การจดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพ และสงั คมทเี่ อื้อตอ การจดั การเรยี นรูอ ยางมคี ณุ ภาพ เพ่ือเปน หลกั ประกนั ในคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา สรางความเชอื่ มั่นใหกับผทู มี่ สี ว นเกย่ี วขอ ง วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 23

การดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การประเมินการ ติดตามตรวจสอบ ใกลปลายปการศึกษา 2563 แลวควรทบทวน ในเร่ือง เคร่อื งมือ วธิ กี ารประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ตลอดจนผูประเมินมใี ครบา ง ที่รวมการประเมิน ตลอดจนการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) เปนระบบประกันคุณภาพภายในที่เปนหนาท่ีของสถานศึกษา ท่ีตองดาํ เนินการทกุ ปต อเนอื่ ง การประเมินคุณภาพภายนอก ยังคงดําเนินการอยู แตมีการปรับรูปแบบประเมิน และวิธีการ โดย สมศ. ไดกําหนด แนวทางการประเมินคณุ ภาพภายนอก ภายใตส ถานการณ COVID-19 แบงการประเมนิ เปน 2 ระยะ # การประเมนิ ระยะแรก เปน การประเมนิ ผลจากการวเิ คราะห SAR ของสถานศกึ ษา ซงึ่ สง ผา นตน สงั กดั การประเมนิ จะพิจารณาจากส่ิงที่ปรากฏใน SAR และเอกสารประกอบที่แนบมากับ SAR เทานั้น (ไมขอเอกสารเพ่ิมเติมจากสถานศึกษา เพื่อลดภาระของสถานศกึ ษา) การสรปุ ผลการประเมิน SAR ออกเปน 3 ระดับตามรายมาตรฐาน คอื ดี พอใช และปรับปรุง # การประเมินระยะที่สอง เปนการประเมินจากการลงพื้นที่ตรวจเย่ียม (Site visit) โดยมีกําหนดเวลานอยสุด ไมมีการประชุมสรุปผลการประเมินดวยวาจาท่ีสถานศึกษา เพ่ือลดการสัมผัส และยึดหลักการเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) โดยผลการประเมินจากการลงพืน้ ทีต่ รวจเยย่ี ม (Site visit) มี 5 ระดบั แยกตามรายมาตรฐาน คือ ดเี ยี่ยม ดมี าก ดี พอใช และปรับปรุง อยางไรก็ตาม สพฐ. มีนโยบายให สมศ. ประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาในสังกัด ประมาณ 9,000 แหง โดยใหเ ปน การประเมนิ จาก SAR ของสถานศกึ ษาเทา นน้ั ไมม กี ารประเมนิ ระยะทสี่ องทเ่ี ปน การประเมนิ จากการลงพน้ื ทต่ี รวจเยยี่ ม (Site visit) เพื่อลดภาระของสถานศึกษา และปองกันไมใหเกิดการแพรกระจายของเชื้อตามมาตรการปองกันการแพรระบาด ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ปการศึกษา 2563 เปนปแหงการเปล่ียนแปลงหลาย ๆ อยาง ใหการจัดการศึกษารูปแบบใหม new normal ตองปรบั ตวั ใหเ ขากับสถานการณ เน่ืองมาจากการแพรระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)รวมถึงการจัดการเรยี นการสอน ดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล ก็ตองเดินหนาตอไป เชนเดียว การดําเนินงานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ใหมีความเขมแข็ง เปนระบบ สามารถตรวจสอบ และมีความเช่ือถือได จนเกิดประสิทธิผลบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และมาตรฐานการศึกษาชาติ ยังเปนภาระหนาท่ีตามกฎหมาย ท่ีเราในฐานะผูจัดการศึกษาของประเทศ เรายงั คงทาํ หนา ทต่ี อ ไป เพอื่ ใหเ กดิ ความเชอ่ื มน่ั ตอ ผทู มี่ สี ว นเกย่ี วขอ ง สาธารณชนวา เราจดั การศกึ ษาไดอ ยา งมมี าตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการศึกษาชาติ ดังน้ันการดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การประเมิน การติดตามตรวจสอบ ตลอดจนการจัดทํารายงาน SAR เปนระบบประกันคุณภาพภายใน ที่เปนหนาท่ีของสถานศึกษา ท่ีตองดําเนนิ การทุกปตอ เนอ่ื ง ตามท่ีกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 กําหนด และ พรบ.การศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 กําหนดไววา ทุกสถานศึกษาตองไดร ับการประเมินภายนอกจาก สมศ. อยา งนอยหาปห น่ึงครงั้ ขอใหทกุ ทานมคี วามสขุ กบั การทํางานนะคะ งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา สพม.42 24 วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42

โครงการน้ีจดั ทําขนึ้ เพอื่ พฒั นาความรแู ละทักษะความเขา ใจและใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Literacy) ใหก บั ครผู สู อน ซง่ึ เปน ตวั ชว ยสาํ คญั ในการพฒั นาการเรยี นการสอนใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ และเพอ่ื ใหก ารพฒั นาครผู สู อนเปน ไปอยา ง มีประสิทธิภาพ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 จึงเห็นควรใหครูผูสอนเขารับการประเมินตามกรอบ แนวทางการพฒั นาทกั ษะดา นดจิ ทิ ลั สาํ หรบั ขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ของสาํ นกั งานคณะกรรมการขา ราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา (สํานักงาน ก.ค.ศ.) เพ่ือเปนกําลังสําคัญในการขยายผลใหเกิดประสิทธิภาพแกนักเรียน ตอ ไป IC3 Digital Literacy Certificate คอื การประเมนิ ทักษะดานการใช Digital Literacy โดยใชมาตรฐานระดบั สากลทรี่ บั รองความรู ความสามารถในการใชง านทกั ษะดา นฮารด แวร ซอฟตแ วร โปรแกรมสาํ นกั งานสาํ เรจ็ รปู อนิ เทอรเ นต็ และการจัดการกับระบบโครงขา ยระดับพืน้ ฐาน IC3 กอ ตัง้ โดย Certiport ประเทศสหรัฐอเมรกิ า และไดร บั รองมาตรฐาน กลางจาก Global Digital Literacy Council International (GDLC), American Council on Education’s College Credit Recommendation Service (ACE credit) และ The International Society for Technology in Education (ISTE) IC3 Digital Literacy Certification เปนประกาศนียบัตรท่ีไดรับการยอมรับมากกวา 135 ประเทศท่ัวโลก มีศนู ย 4 การทดสอบกระจายอยู 14,000 แหง บริษัทชัน้ นาํ ทงั้ ในและตา งประเทศไดนําการทดสอบดังกลา วมาใชในการ ประเมิน สราง และใหการรับรองสมรรถนะการใชคอมพิวเตอรและเคร่ืองมืออุปกรณตางๆ ของบุคคลและองคกรใหได มาตรฐานท่ีไดร ับการยอมรับในระดับสากล IC3 DIGITAL LITERACY CERTIFICATION ไดร บั การรับรองวาเปน มาตรฐานกลางจาก วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 25

โปรแกรมการทดสอบ (MODULE) ประโยชนข อง IC3 CERTIFICATE สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 42 เลง็ เหน็ ถงึ ความสาํ คญั และความกา วหนา ของเทคโนโลยที ไ่ี มม ี วนั หยดุ นงิ่ ครผู สู อนตอ งมกี ารพฒั นาตนเองอยเู สมอ ยง่ิ ในยคุ สมยั เทคโนโลยที มี่ กี ารเปลยี่ นแปลงไปอยา งรวดเรว็ การจดั การ เรยี นการสอนตอ งมกี ารปรบั เปลย่ี น นาํ เทคโนโลยมี าปรบั ใชใ นการจดั การเรยี นการสอนใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากทสี่ ดุ โครงการ นจ้ี ะเปน อกี หนงึ่ โครงการทจ่ี ะชว ยตดิ อาวธุ ทางการศกึ ษาใหก บั คณะครเู พอื่ นาํ ไปใชใ นการจดั การเรยี นการสอนในหอ งเรยี น ใหเกิดความสนุกสนาน สรางความมั่นใจใหกับครูในเร่ืองการใชงานเทคโนโลยีในการสอน เปดมุมมองใหมๆ ยอมรับ การเปล่ียนแปลง พัฒนา เรยี นรดู ว ยตวั เราเอง ผานโครงการท่ีทาง สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 42 ไดจดั ทาํ ขนึ้ โดยยดึ กรอบการพฒั นาองคค วามรตู ามกรอบมาตรฐานสากล IC3 Digital Literacy Certificate ทไ่ี ดร บั การยอมรบั จากท่ัวโลก แลว พบกัน อางอิง www.obecdl.com www.ocsc.go.th/DLProject www.arit.co.th/certificate/ic3 26 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 27

28 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

เย่ยี มบานนกั เรยี นท่ี ไดรับพระราชทานทุนการศึกษา จังหวดั นครสวรรค จํานวน 20 คน และจงั หวดั อทุ ัยธานี จาํ นวน 16 คน ในวันที่ 27,30 พฤศจิกายน 2563 และวนั ท่ี 1,4,7,8,15,16,18 ธันวาคม 2563 คณะตรวจเย่ียมบานนักเรยี นทนุ จํานวน 4 คน ไดแ ก นายไพรัตน กล่นิ ทับ รอง ผอ. สพม.42 นางสรุ างค แยม จนั ทรฉาย, นางสาวปวณี น ุช จนั ทรน วล และนางปาหนนั ชืน่ ชาติ นางอสิ รยิ า พันธุเ ขตกิจ กลุมสงเสรมิ การจดั การศกึ ษา วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 29

30 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 31

32 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 33

34 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

ศูนยครอบครัวพอเพียงโรงเรียนหนองฉางวิทยาไดดําเนินกิจกรรมในโครงการครอบครัวพอเพียงสู สถานศึกษาและชุมชน ปการศึกษา 2562 มาโดยตลอด ในการดําเนินกิจกรรมของทางศูนยครอบครัวพอเพียง ประกอบไปดวย 5 พนั ธกิจหลัก ไดแ ก 1. ดา นศาสนา วฒั นธรรม และสถาบันพระมหากษตั ริย 2. ดา นส่งิ แวดลอม 3. ดา นประชาธปิ ไตย 4. ดา นสงั คม 5. ดา นเศรษฐกจิ ซง่ึ แตล ะกจิ กรรมของโรงเรยี นหนองฉางวทิ ยาลว นเกย่ี วขอ ง กบั 5 พนั ธกจิ หลกั ของศนู ยค รอบครวั พอเพยี งทงั้ สน้ิ โดยแตล ะกจิ กรรมทางศนู ยเ นน ใหน กั เรยี นเปน ผทู ม่ี คี วามซอ่ื สตั ย รับผิดชอบ และจิตอาสา ตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในหลวงรัชการที่ 9 ทางศูนยครอบครัวพอเพยี งโรงเรยี นหนองฉางวทิ ยามีผูขบั เคล่อื นกจิ กรรมจากนักเรยี น ครู และบคุ ลากร ทางการศึกษา จนประสบความสาํ เรจ็ ไดร ับรางวลั ในระดบั ประเทศ ปก ารศึกษา 2562 จากทานนายกรัฐมนตรี และมูลนธิ คิ รอบครวั พอเพยี ง จาํ นวน 4 รางวัล ไดแ ก 1. โลป ระกาศเกียรติคุณ รางวลั ครูดีศรแี ผนดนิ โครงการครอบครัวพอเพยี ง สูส ถานศกึ ษาและชมุ ชน ประจาํ ปการศกึ ษา 2562 จาก นายกรฐั มนตรีประยุทธ จันทรโอชา ไดแ กครทู ศพร เตชะนา ครทู ี่ปรกึ ษาศูนยค รอบครวั พอเพยี ง โรงเรยี นหนองฉางวทิ ยา 2. ประกาศนียบัตร ระดับดเี ยีย่ ม ระดบั ประเทศ ในการขบั เคลือ่ น ศูนยครอบครวั พอเพียงดเี ดน ระดบั ภาคกลาง ตะวันออก ตะวันตก จากทา นนายกรฐั มนตรีประยุทธ จันทรโอชา 3. ประกาศนยี บตั ร รางวัลขบั เคลอื่ นพันธกิจศูนยค รอบครวั พอเพยี ง “ดานสิง่ แวดลอม” ระดบั ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ตก รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 1 ระดับประเทศ 4. ประกาศนยี บตั ร รางวลั ขบั เคลอ่ื นพนั ธกจิ ศนู ยค รอบครวั พอเพยี ง “ดา นประชาธปิ ไตย” ระดบั ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันตก รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 3 ระดบั ประเทศ และนค่ี ือรางวลั ท่ีภาคภมู ิใจของเราชาวโรงเรยี นหนองฉางวทิ ยา วารสารวิชาการ สพม. เขต 42 35

ผลงานดเี ดนของโรงเรยี นหนองกรดพิทยาคม - โรงเรยี นหนองกรดพทิ ยาคม ไดร ับคัดเลือกเปน โรงเรียนตนแบบดานการประกนั ภยั Model School for General Insurance) ในโครงการประกวดโรงเรยี นตน แบบ ดา นการประกนั ภยั ของสาํ นกั งานคณะกรรมการกาํ กบั และสง เสรมิ การประกอบ ธรุ กจิ ประกนั ภยั (คปภ.) รว มกบั สมาคมประกนั วนิ าศภยั ไทย ไดร บั เงนิ ทนุ จาํ นวน 50,000 บาท เมอื่ วันท่ี 21 ต.ค. 2563 โดยดาํ เนนิ การจัดกจิ กรรม “คา ยเด็ก Gen Z เขาใจ เขาถึง รูซ้ึงประโยชนการประกันภัย” ใหกับตัวแทนนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย โดยไดรับเกียรติจาก นายจักริน จรัญรัตนศรี ผูอํานวยการภาคสํานักงาน คปภ. ภาค 2 นครสวรรค เปนประธานเปดกิจกรรม และคณะวิทยากรจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับและ สง เสริมการประกอบธรุ กจิ การประกนั ภยั จังหวดั นครสวรรค มาใหความรแู กนกั เรียน เมอ่ื วันท่ี 27–28 ต.ค. 2563 - โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม ไดรับรางวัลการจัดต้ังชมรม วัฒนธรรมไทยรวมกับสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรคท่ี ไดดําเนินกิจกรรม ไดม าตรฐานระดบั คณุ ภาพยอดเยย่ี ม จากกรมสง เสรมิ วฒั นธรรมของกระทรวง วัฒนธรรม ประจําปการศกึ ษา 2562 เมื่อวันที่ 6 ต.ค. 2563   เดก็ หญงิ นรศิ รา จติ รว จิ ารณ นกั เรยี น ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 ไดร บั พระราชทานทนุ การศกึ ษา จากมลู นิธริ วมจิตตนอมเกลา เพอ่ื เยาวชนในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ  นางสาวเณศรา จาํ ปารตั น นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6 ไดร บั รางวลั เหรยี ญทอง ประเภทปนส้ันอัดลมหญิง (บุคคล) และประเภทปนสั้นอัดลมหญิง (ทีม) จากการเขารวม การแขง ขนั กฬี านักเรียนนักศึกษาแหงชาติ ครัง้ ที่ 42 รอบคัดเลือกตวั แทนเขต 6 เมอ่ื วนั ท่ี 29 พ.ย. 2563 และไดรบั รางวัลเหรยี ญทอง ประเภทปนสน้ั อัดลมหญงิ (รนุ บคุ คลท่วั ไปไมจาํ กัด อาย)ุ จากการเขา รว มการแขง ขันกีฬากองบัญชาการชวยรบที่ 3 เมือ่ วันท่ี 7 ธ.ค. 2563 ได รับรางวัลเหรียญเงนิ ประเภทปน สน้ั อัดลมหญงิ (บคุ คล) จากการเขา รว มการแขง ขนั online ผานทางโปรแกรม ZOOM โดยมีนักกฬี าจากประเทศออสเตรเลีย ประเทศอิหราน ประเทศ เวียดนาม ประเทศสิงคโปร และประเทศไทย เขารวมการแขงขัน online เมื่อวันท่ี 19 ธ.ค. 2563 ไดรับ การคัดเลือกเด็ก และ เยาวชนดีเดน และเยาวชนท่นี าํ ช่ือเสียงมาสปู ระเทศชาติ ป 2564 ดานกีฬา และนนั ทนาการ ไดรับโลรางวัลจากนายกรฐั มนตรี ในวันท่ี 6 ม.ค. 2564 ณ ตกึ สันติไมตรี ทาํ เนียบรฐั บาล  นางสาวสรุ สั วดี บบุ ผาชาติ นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ไดร บั รางวลั เหรยี ญเงนิ ประเภทปน สัน้ อดั ลมหญงิ (บุคคล) และรางวลั เหรียญทอง ประเภทปนสั้นอัดลมหญิง (ทมี ) จากการเขารวมการแขง ขันกฬี านกั เรยี นนกั ศึกษาแหง ชาติ คร้งั ท่ี 42 รอบคัดเลอื กตวั แทนเขต 6 เมอ่ื วนั ที่ 29 พ.ย. 2563 ไดร ับโลป ระกาศเกียรตคิ ณุ ประเภทนกั กฬี าดเี ดน ประจําป 2563 จากการกีฬาแหงประเทศไทย ในสวนของจังหวัดนครสวรรค นําโดยนายสิริรัฐ ชุมอุปการ ผวู า ราชการจงั หวดั นครสวรรค ณ สนามกฬี ากลางจงั หวดั นครสวรรค เมอื่ วนั ท่ี 21 ธ.ค. 2563 36 วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42

โครงการอนรุ กั ษพ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ รฯิ ไดด าํ เนนิ งานสนองพระราชดาํ รฯิ จดั ตงั้ งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี นเปน ทร่ี วบรวมพรรณไมท ม่ี ชี วี ติ มที เี่ กบ็ พรรณไมแ หง พรรณไมด อง มหี อ งสมดุ สาํ หรบั คนควา รวมทั้งเปนที่รวบรวมพรรณไมทองถ่ินท่ีหายากใกลสูญพันธุและเปนที่รวมภูมิปญญาทองถ่ิน เพื่อใชเปนส่ือ ทจ่ี ะสรางจติ สํานึกใหเ ยาวชน บคุ คลท่ัวไปใหเ ขาใจถึงความสําคัญ ประโยชนข องพันธกุ รรมพชื รูจ กั หวงแหน รจู ัก การนําไปใชประโยชนอยา งยง่ั ยนื ซง่ึ มีความสาํ คัญตอการจดั การอนรุ กั ษ และใชท รพั ยากรของประเทศ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทาน พระราชดํารฯิ ใหดาํ เนนิ การกบั เยาวชน โดยการฝก อบรมใหเหน็ ประโยชน ความงดงาม เกดิ ความปติ ทจ่ี ะทําการ อนุรักษ แทนที่จะสอนใหอนุรักษแลวเกิดความเครียด โรงเรียนสตรีนครสวรรคจึงไดสมัครเขาเปนสมาชิก สวนพฤกษศาสตรโรงเรยี นโครงการอนรุ กั ษพ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ รฯิ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื สรา ง ความเขา ใจเหน็ ความสาํ คญั ของพนั ธกุ รรมพชื จดั ระบบขอ มลู พนั ธกุ รรมพชื โดยใหค รู นกั เรยี นและบคุ ลากรมสี ว นรว ม ในการคิดและปฏบิ ัติ ในปการศึกษา 2563 การดาํ เนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน สรางนวตั กรรมงานสวนพฤกษศาสตร โรงเรียนท่เี กิดจากการศกึ ษาพืชศึกษา กลว ยไข คือ สผี งยอมจากการสกดั สีใบกลวยไขซ ึง่ สามารถยอมเสนฝา ยไหม เพอ่ื มาทอเปนผา ทอพนื้ บา นและสามารถปรับใชก ับชมุ ชนไดอยา งยง่ั ยนื วารสารวิชาการ สพม. เขต 42 37

การแขง ขนั จดั ข้นึ ระหวา งวนั ที่ 20 - 21 พฤศจิกายน 2563 ไดรบั รางวลั ท่ี 4 กจิ กรรม TOT-TRRO2020 Young Smart Kids Code การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การเขียนโปรแกรมควบคุมหุนยนตเบื้องตน รุนท่ี 1 (สําหรับโรงเรียนท่ีผานการคัดเลือกการอบรมจาก สพป.นว.1) นกั เรียนทีเ่ ขาอบรมและแขง ขนั 1. นายวันชยั เมฆคุม bprobot 2. นายธรี ภทั ร มาเทศ bprobot ครูผคู วบคุมฝก ซอ ม 1. นางวลิ าวลั ย นาคภพ 2. นายสทิ ธิพร พุม เกิด ไดรับรางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 1 กจิ กรรม TOT-TRRO2020 Young Smart Kids Code การ อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารการเขยี นโปรแกรมควบคุมหนุ ยนตเบื้องตน รุน ที่ 2 นักเรียนท่ีอบรมและแขงขัน 1. นายวนั ชัย เมฆคมุ bprobot1 2. นายธีรภทั ร มาเทศ bprobot1 ครทู ี่ควบคมุ ฝกซอม 1. นางวลิ าวัลย นาคภพ 2. นางสาวอาทติ ยา ชมุ แปน การประกวดวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน เลศิ (Best Practice) โครงการ Coaching Teams ผูอํานวยการ และคณะครูโรงเรยี นบรรพตพิสัยพิทยาคมเขา รบั รางวัลการประกวด Best Practice โครงการ Coaching Teams เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาจากนายสริ ิรัฐ ชุมอปุ การ ผูวาราชการจงั หวัด นครสวรรค ในวนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2563 ณ หองพิกลุ ทอง กศน.จังหวดั นครสวรรค ซงึ่ มีดงั น้ี ประเภทผบู ริหารสถานศกึ ษา ระดับคณุ ภาพยอดเย่ยี ม รางวลั ชนะเลิศ นางชรนิ รัตน แผงดี ผอู าํ นวยการโรงเรียนบรรพตพสิ ัยพิทยาคม ประเภทผสู อน ระดับคณุ ภาพยอดเยี่ยม รางวัลชนะเลศิ นางปญจพร ศิริชู ครู โรงเรยี นบรรพตพิสัยพิทยาคม รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั ที่ 1 นายมรรคนา คารวะ ครู โรงเรียนบรรพตพสิ ัยพิทยาคม 38 วารสารวิชาการ สพม. เขต 42

การใชโปรแกรม ZipGrade พฒั นานักเรยี นในรายวชิ าเคมี 3 (ว32222) ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2562 การวเิ คราะหผ ลการเรยี นรขู องนกั เรยี นเปน รายบคุ คล สาํ หรบั โรงเรยี นทมี่ จี าํ นวนนกั เรยี น เปน จาํ นวนมาก จะทําไดยาก และใชเวลานาน ขาพเจา จงึ ใชโปรแกรม ZipGrade มาชว ยในการวเิ คราะหผ ลการเรยี นรูของนักเรยี น แตละคน โดยมวี ัตถุประสงค เพือ่ เพิ่มผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ของนกั เรยี น นกั เรยี นทราบผลการเรียนรขู องตนเอง รายจดุ ประสงค ใชขอมูลท่ีไดม าพัฒนานักเรยี นรายบคุ คล วิธีการใช นักเรยี นจะทําขอสอบและตอบลงในกระดาษคาํ ตอบแบบ Zip Grade ทีเ่ ราสรา งข้นึ มาเองตาม จาํ นวนขอ ในขอ สอบจากโปรแกรม ซง่ึ อาจเปน แบบปรนยั ชนดิ เลอื กคาํ ตอบทถี่ กู ตอ งหรอื ชนดิ เตมิ ตวั เลข ในการตรวจ จะใช ZipGrade App ในสมารท โฟน ผลการศึกษาพบวา คะแนนเฉล่ียปลายภาคเรยี นสงู กวากลางภาคเรียน คิดเปน รอยละ 6.6 นักเรียนทราบผลการเรยี นรูของตนเองรายขอ รายจดุ ประสงค ครูมีขอ มูลมาพฒั นานักเรียนรายจดุ ประสงค โดยสอนซอมเสรมิ ชว งพักกลางวนั การใช ZipGrade App ตรวจขอ สอบสาํ หรบั ผทู ี่ใชไมเ กนิ 100 ใบตอ เดอื นสามารถใชฟ รีได แตถ า ใชเ กนิ น้ี กจ็ ะมีคา ใชจ า ย โดย ครกู ัญญารัตน วัดสิงห กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี โรงเรียนหนองฉางวิทยา จงั หวัดอทุ ยั ธานี วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42 39

40 วารสารวชิ าการ สพม. เขต 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook