Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี นาฏศิลป์) ม 3

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี นาฏศิลป์) ม 3

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี นาฏศิลป์) ม 3

Search

Read the Text Version

ความนา การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการศึกษาของชาติแต่ละครั้งถือเป็นการเปล่ียนแปลงระบบการศึกษาของชาติ ใหม่ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ที่ผ่านมาเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีมีความเหมาะสม ชัดเจน ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการ พฒั นาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดย ได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรี ยนรู้ และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร โครงสร้างแต่ละชั้นปี และเปิดโอกาสให้สถานศึกษา เพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น ทั้งปรับกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การจบ การศกึ ษาแตล่ ะระดบั ให้มีความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัด ในการจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษาคร้งั น้ี โรงเรียนวดั ใหม่ลานกแขวกได้ยดึ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ยดึ นโยบายของเขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร ความต้องการของท้องถ่ิน และ ความต้องการของผู้เรียนเป็นหลักในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล

วสิ ยั ทศั น์ โรงเรยี นวัดใหม่ลานกแขวก มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นทุกคน ซ่งึ เป็นกาลังสาคัญของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล ทั้งดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข มคี วามรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ังเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และมีความรู้และทักษะพ้ืนฐานการ ประกอบอาชพี ดารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตสาธารณะ โดยกาหนดวิสัยทศั น์ ดังนี้ โรงเรยี นวัดใหม่ลานกแขวก เป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ ตามมาตรฐานการศกึ ษา บริหารงานตามหลกั ธรรมมาภิบาล

ภารกิจ ๑. ปฏริ ูปกระบวนการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น ๒. พัฒนาบุคลากรเพ่อื เพม่ิ ประสิทธิภาพในการทางาน ๓. เสริมสรา้ งคณุ ภาพของผเู้ รียนในด้านคุณธรรม จริยธรรม ๔. สนับสนุนการจัดการเรยี นการสอนด้วยเทคโนโลยที ที่ นั สมยั ๕. ส่งเสรมิ การใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ และสร้างเอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย ๖. จดั การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐานการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาและความตอ้ งการของชมุ ชน

เปา้ หมาย ๑. นักเรียนมีการสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย ๒. นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม รกั ความเปน็ ไทยและใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ๓. บุคลากรได้รบั การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพอยู่ตลอดเวลา ๔. โรงเรยี นมเี ทคโนโลยีช่วยสอนท่ีทันสมยั ๕. โรงเรียนมมี าตรฐานการศกึ ษาตามกระบวนการประกนั คุณภาพการศึกษา ๖. ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นอยา่ งต่อเนือ่ ง ๗. โรงเรียนมกี ระบวนการ การจดั การท่มี ีประสทิ ธภิ าพ

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน โรงเรียนวัดใหม่ลานกแขวก มงุ่ เนน้ พัฒนานักเรียนให้มสี มรรถนะหลักพื้นฐาน ๕ ประการตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ดงั นี้ ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โรงเรียนวดั ใหมล่ านกแขวก มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ือให้สามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ประกอบด้วย ๘ ประการ ดงั น้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซ่อื สัตย์สุจริต ๓. มวี ินยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุง่ ม่ันในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ

โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั ใหม่ลานกแขวก ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้/กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนต้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) วทิ ยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ (๔ นก) (๔ นก) (๔ นก) * ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ * หน้าทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรมและ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) การดาเนนิ ชีวิตในสังคม * เศรษฐศาสตร์ * ภูมิศาสตร์ * ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๑ นก) (๑ นก) (๑ นก) สขุ ศกึ ษา พละศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒ นก) (๒ นก) (๒ นก) ศลิ ปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒ นก) (๒ นก) (๒ นก) การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๒ นก) (๒ นก) (๒ นก) ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก) (๓ นก) (๓ นก) รวมเวลาเรียน(พ้นื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ (๒๒ (๒๒ (๒๒ นก) นก) นก)

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดใหม่ลานกแขวก ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) เวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ กล่มุ สาระการเรียนรู้  กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - แนะแนว - ลูกเสือ/ยุวกาชาด - ชมรม/ชุมนุม สง่ เสริมการ เรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ - กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะ ประโยชน์  กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ปีละ ๔๐ ชวั่ โมง ปลี ะไม่เกิน ๒๐๐ ชัว่ โมง - หนา้ ทพ่ี ลเมือง รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ ชว่ั โมง/ปี ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชวั่ โมง/ปี

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพฒั นาใหผ้ เู้ รียนเกิดความรู้ความเขา้ ใจ มีทกั ษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงในคุณค่าของศิลปะ เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสาคญั คือ  ทศั นศิลป์ มีความรู้ความเขา้ ใจองคป์ ระกอบศิลป์ ทศั นธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทาง ทศั นศิลป์ จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม รวมท้งั สามารถใชเ้ ทคนิค วธิ ีการ ของศิลปิ น ในการสร้างงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณค่างานทศั นศิลป์ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ ระหว่างทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะท่ีเป็ นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล ช่ืนชม ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั  ดนตรี มีความรู้ความเขา้ ใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวนั เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ท่ีเป็ น มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เสียงดนตรี แสดงความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งดนตรีกบั ประเพณีวฒั นธรรม และเหตุการณ์ในประวตั ิศาสตร์  นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่าง สร้างสรรค์ ใช้ศพั ท์เบ้ืองตน้ ทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรคก์ ารเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกตใ์ ช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจาวนั เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ กบั ประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ ท่ีเป็ นมรดกทาง วฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทศั นศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่างาน ทศั นศิลป์ ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ ท่ี เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล

จบช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓  รู้และเขา้ ใจเรื่องทศั นธาตุและหลกั การออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการ สร้างงานทศั นศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพ่ือส่ือความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ วเิ คราะห์รูปแบบเน้ือหาและประเมินคุณคา่ งานทศั นศิลป์ ของตนเองและผอู้ ่ืน สามารถเลือกงานทศั นศิลป์ โดยใชเ้ กณฑท์ ี่กาหนดข้ึนอยา่ งเหมาะสม สามารถ ออกแบบรูปภาพ สัญลกั ษณ์ กราฟิ ก ในการนาเสนอขอ้ มูลและมีความรู้ ทกั ษะท่ีจาเป็นดา้ นอาชีพท่ีเกี่ยวขอ้ งกนั กบั งานทศั นศิลป์  รู้และเขา้ ใจการเปล่ียนแปลงและพฒั นาการของงานทศั นศิลป์ ของชาติและทอ้ งถิ่น แตล่ ะยคุ สมยั เห็น คุณคา่ งานทศั นศิลป์ ที่สะทอ้ นวฒั นธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทศั นศิลป์ ที่มาจากยคุ สมยั และวฒั นธรรมตา่ ง ๆ  รู้และเขา้ ใจถึงความแตกตา่ งทางดา้ นเสียง องคป์ ระกอบ อารมณ์ ความรู้สึกของบทเพลงจากวฒั นธรรม ตา่ ง ๆ มีทกั ษะในการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ท้งั เดี่ยวและเป็นวงโดยเนน้ เทคนิคการร้องบรรเลงอยา่ งมีคุณภาพ มี ทกั ษะในการสร้างสรรคบ์ ทเพลงอยา่ งง่าย อา่ นเขียนโนต้ ในบนั ไดเสียงท่ีมีเคร่ืองหมาย แปลงเสียงเบ้ืองตน้ ได้ รู้และ เขา้ ใจถึงปัจจยั ท่ีมีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องคป์ ระกอบของผลงานดา้ นดนตรีกบั ศิลปะแขนงอื่น แสดง ความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกท่ีมีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล มี ทกั ษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึงอาชีพต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ดนตรีและบทบาท ของดนตรีในธุรกิจบนั เทิง เขา้ ใจถึงอิทธิพลของดนตรีท่ีมีตอ่ บุคคลและสังคม  รู้และเขา้ ใจทมี่ า ความสัมพนั ธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแตล่ ะวฒั นธรรมในยคุ สมยั ตา่ ง ๆ วเิ คราะห์ ปัจจยั ท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ  รู้และเขา้ ใจการใชน้ าฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครในการแปลความและสื่อสาร ผา่ นการแสดง รวมท้งั พฒั นารูปแบบการแสดง สามารถใชเ้ กณฑง์ ่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพการแสดง วจิ ารณ์เปรียบเทียบงาน นาฏศิลป์ โดยใชค้ วามรู้เรื่ององคป์ ระกอบทางนาฏศิลป์ ร่วมจดั การแสดง นาแนวคิดของการแสดงไปปรับใชใ้ น ชีวติ ประจาวนั  รู้และเขา้ ใจประเภทละครไทยในแตล่ ะยคุ สมยั ปัจจยั ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ พ้นื บา้ น ละครไทย และละครพ้ืนบา้ น เปรียบเทียบลกั ษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ จากวฒั นธรรม ตา่ ง ๆ รวมท้งั สามารถออกแบบและสร้างสรรคอ์ ุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์ และละคร มีความ เขา้ ใจ ความสาคญั บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชีวติ ประจาวนั

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. เปรียบเทียบองคป์ ระกอบท่ีใชใ้ นงาน  การเปรียบเทียบองคป์ ระกอบในงาน ศิลปะ ดนตรีและงานศิลปะอื่น - การใชอ้ งคป์ ระกอบในการ ๒. ร้องเพลง เล่นดนตรีเด่ียว และรวมวง สร้างสรรคง์ านดนตรีและศิลปะ โดยเนน้ เทคนิคการร้อง การเล่น การ แขนงอื่น แสดงออก และคุณภาพสียง ๓. แตง่ เพลงส้นั ๆ จงั หวะง่าย ๆ - เทคนิคท่ีใชใ้ นการสร้างสรรคง์ าน ดนตรีและศิลปะแขนงอ่ืน ๔. อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้ องคป์ ระกอบดนตรีในการสร้างสรรค์  เทคนิคและการแสดงออกในการขบั ร้อง งานดนตรีของตนเอง และบรรเลงดนตรีเด่ียวและรวมวง ๕. เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ ง  อตั ราจงั หวะ ๒ และ ๔ งานดนตรีของตนเองและผอู้ ื่น ๔๔ ๖. อธิบายเกี่ยวกบั อิทธิพลของดนตรี  การประพนั ธ์เพลงในอตั ราจงั หวะ ๒ และ ๔ ที่มีต่อบุคคลและสังคม ๔๔  การเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบในการ สร้างสรรคบ์ ทเพลง - การเลือกจงั หวะเพอ่ื สร้างสรรค์ บทเพลง - การเรียบเรียงทานองเพลง  การเปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลง - สาเนียง - อตั ราจงั หวะ - รูปแบบบทเพลง - การประสานเสียง - เคร่ืองดนตรีท่ีบรรเลง  อิทธิพลของดนตรี - อิทธิพลของดนตรีตอ่ บุคคล - อิทธิพลของดนตรีตอ่ สังคม

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๗. นาเสนอหรือจดั การแสดงดนตรี  การจดั การแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมโดยการบูรณาการกบั สาระ การ - การเลือกวงดนตรี เรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ - การเลือกบทเพลง - การเลือกและจดั เตรียมสถานท่ี - การเตรียมบุคลากร - การเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือ - การจดั รายการแสดง ๑. บรรยายววิ ฒั นาการของดนตรีแต่ละ  ประวตั ิดนตรีไทยยคุ สมยั ต่าง ๆ ยคุ สมยั  ประวตั ิดนตรีตะวนั ตกยคุ สมยั ตา่ ง ๆ ๒. อภิปรายลกั ษณะเด่นที่ทาใหง้ านดนตรี  ปัจจยั ท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ น้นั ไดร้ ับการยอมรับ

ตารางมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัด กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ : ดนตร-ี นาฏศิลป์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ัด สาระที่ 2 : ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทาง 1. เปรียบเทียบองคป์ ระกอบท่ีใช้ในงานดนตรแี ละงานศลิ ปะอ่ืน ดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ 2. ร้องเพลง เลน่ ดนตรเี ดี่ยวและรวมวง โดยเน้นเทคนคิ การรอ้ ง การเล่น วิพากษ์วิจารณ์คณุ ค่าดนตรี ถ่ายทอดความรสู้ กึ การแสดงออก และคุณภาพเสียง ความคิดต่อดนตรีอย่างอสิ ระ ช่ืนชมและ 3. แต่งเพลงสนั้ ๆ จังหวะง่าย ๆ ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน 4. อธบิ ายเหตผุ ลในการเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรีในการสร้างสรรค์ งานดนตรขี องตนเอง 5. เปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อน่ื 6. อธิบายเกีย่ วกับอิทธพิ ลของดนตรีท่ีมีต่อบุคคลและสงั คม 7. นาเสนอหรือจัดการแสดงดนตรที ่เี หมาะสมโดยการบรู ณาการกับสาระ การเรียนรูอ้ ่ืนในกลมุ่ ศลิ ปะ มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่าง ดนตรีประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรมเหน็ คุณคา่ 1. บรรยายววิ ฒั นาการของดนตรแี ต่ละยคุ สมยั ของดนตรีทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา 2. อภิปรายลกั ษณะเดน่ ท่ีทาใหง้ านดนตรนี น้ั ได้รับการยอมรับ ท้องถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล

สาระที่ 3 : นาฏศิลป์ 1. ระบโุ ครงสร้างของบทละครโดยใช้ศพั ทท์ างการละคร มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทาง 2. ใช้นาฏยศพั ทห์ รือศพั ท์ทางการละครทีเ่ หมาะสมบรรยายเปรยี บเทียบ นาฏศิลป์อยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณค์ ณุ คา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ การแสดงอากปั กิริยาของผ้คู นในชีวิตประจาวนั และในการแสดง ความคิดอย่างอิสระ ชืน่ ชมและประยุกต์ใชใ้ น 3. มีทักษะในการใชค้ วามคดิ ในการพัฒนารปู แบบการแสดง ชีวติ ประจาวนั 4. มที กั ษะในการแปลความและการสอ่ื สารผ่านการแสดง 5. วิจารณเ์ ปรียบเทยี บงานนาฏศิลป์ทมี่ ีความแตกตา่ งกนั โดยใชค้ วามรูเ้ รื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ 6. ร่วมจดั งานแสดงในบทบาทหนา้ ทีต่ า่ ง ๆ 7. นาเสนอแนวคิดจากเน้ือเร่ืองของการแสดงทสี่ ามารถนาไปปรับ ใชใ้ นชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่าง นาฏศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ 1. ออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์และเคร่ืองแต่งกายเพอื่ แสดงนาฏศลิ ป์ คุณคา่ ของนาฏศลิ ปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม และละครที่มาจากวฒั นธรรมต่าง ๆ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล 2. อธบิ ายความสาคญั และบทบาทของนาฏศลิ ป์และการละครในชีวติ ประจาวนั 3. แสดงความคิดเหน็ ในการอนุรักษ์ ทีม่ า : หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธกิ าร

ตารางวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงกบั มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ : ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 2 : ดนตรี สาระท่ี 3 : นาฏศลิ ป์ และ ศ 2.1 ศ 2.2 ศ 3.1 ศ 3.2 ตวั ชี้วัด หนว่ ยการเรียนรู้ 1234567121234567123 สาระดนตรี 1. องคป์ ระกอบงานดนตรี  2. การขับร้องและบรรเลงดนตรี  3. หลกั การประพนั ธ์เพลง 4. การเปรียบเทียบงานดนตรี  5. อิทธิพลทางดนตรี  6. การจดั แสดงดนตรี  7. วิวัฒนาการของดนตรี สาระนาฏศลิ ป์  8. ละคร  9. นาฏยศัพท์และภาษาทา่ 10. ราวงมาตรฐาน  11. การแสดงนาฏศลิ ป์  12. การประดิษฐ์ท่ารา  13. องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์  14. สร้างสรรคง์ านแสดง 15. นาฏศิลป์และกาละคร  สรุป    111 1 11111 1 2 111 1 1 111

ศ 23103 ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ คาอธิบายรายวชิ า ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1 หนว่ ยกิต ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับองคป์ ระกอบงานดนตรี การขบั ร้องและบรรเลงดนตรี หลักการประพนั ธ์เพลง การเปรียบเทียบงานดนตรี อิทธิพลทางดนตรี การจัดการแสดงดนตรีในงานต่าง ๆ วิวัฒนาการของดนตรีไทยและสากล องคป์ ระกอบของบทละคร นาฏยศัพทแ์ ละภาษาท่า ราวงมาตรฐาน การแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง การประดษิ ฐท์ า่ รา ประกอบการแสดง องค์ประกอบของนาฏศลิ ป์ การสรา้ งสรรค์งานแสดงนาฏศิลปอ์ าเซยี น 10 ประเทศ ความสาคญั และบทบาทของนาฏศิลปแ์ ละการละครในชีวิตประจาวัน และการอนรุ กั ษ์นาฏศลิ ป์ กจิ กรรมการเรียนรูใ้ หผ้ ู้เรียนสังเกตภาพ ศึกษาใบความรู้ โดยใชก้ ระบวนการคิดวเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณจ์ าแนก ประเภท อธิบาย เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง การสรุปความรู้และการจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ เพื่อให้ ผ้เู รยี นเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ สร้างและนาเสนอผลงานด้านดนตรีและนาฏศิลป์ให้ได้ผลตามท่ีต้องการ สามารถสื่อสารให้ผู้อ่ืน เขา้ ใจความคดิ ความรสู้ กึ ของตนเอง เข้าใจความไพเราะและงดงามของดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ บรรยายและอธิบายเกย่ี วกบั ดนตรไี ด้ สมั พันธ์และเชอ่ื มโยงกบั ประวัตศิ าสตร์และวฒั นธรรม เห็นความสาคัญและคุณคา่ ของดนตรแี ละนาฏศิลป์นาความรดู้ ้านดนตรแี ละนาฏศิลป์ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั และบรู ณาการการเรียนรู้กับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่ืน ๆ ตลอดจนสร้างสรรคผ์ ลงานดา้ นดนตรีและนาฏศิลป์ เช่ือม่ัน ภาคภมู ิใจในการแสดงออก รับผดิ ชอบ มุง่ มั่นในการปฏบิ ตั งิ านร่วมกบั ผอู้ ่นื เหน็ คุณค่าของดนตรีและนาฏศลิ ป์ ท่เี ปน็ มรดกและเอกลกั ษณ์ของชาติ รหสั ตัวช้วี ัด ศ 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7 ศ 2.2 ม.3/1, ม.3/2 ศ 3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม3/6, ม.3/7 ศ 3.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 รวมทัง้ หมด 19 ตวั ชว้ี ัด

โครงสรา้ งรายวิชาพน้ื ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ : ดนตร-ี นาฏศิลป์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 20 ช่วั โมง ลาดบั ชือ่ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสาคัญ ภาคเรยี นที่ 1 ( 20ชม./ปี ) = 9 ตวั ชี้วัด ที่ หนว่ ยการเรียนรู้ ตวั ชี้วัด เวลา นา้ หนัก (ชว่ั โมง) คะแนน 1 องค์ประกอบ ศ 2.1 ม.3/1 ดนตรที ่มี ีความไพเราะ จะตอ้ งมอี งคป์ ระกอบดนตรี 3 งานดนตรี ที่ครบถ้วนสมบรู ณ์จะทาให้บทเพลงไพเราะ น่าฟัง 2 และสามารถนาดนตรมี าใช้ควบคู่กับศิลปะ เพ่ือใหเ้ กิด 3 2 การขบั ร้อง ศ 2.1 ม.3/2 การสร้างสรรคผ์ ลงานดา้ นศิลปะให้มีเอกลักษณ์ 2 และบรรเลง สวยงามน่าสนใจ ดนตรี การขับร้องและการบรรเลงดนตรโี ดยใชเ้ ทคนคิ การขับร้องและบรรเลงจะทาใหข้ บั รอ้ งและบรรเลง 3 หลักการ ศ 2.1 ม.3/3, ม. ดนตรไี ดอ้ ย่างถูกต้องและไพเราะ ผฟู้ งั เกิดความ ประพันธ์เพลง 3/4 ช่ืนชอบประทบั ใจ การแต่งเพลงผ้ปู ระพันธเ์ พลงตอ้ งมีความร้คู วาม 4 การ ศ 2.1 ม.3/5 เข้าใจในองค์ประกอบของดนตรี มีความรู้ ความสามารถในการแตง่ เพลงและมจี ินตนาการ เปรยี บเทยี บ เพื่อใหส้ ามารถประพนั ธ์บทเพลงไดอ้ ยา่ งไพเราะ น่า ฟัง งานดนตรี การเปรยี บเทยี บงานดนตรีเป็นสงิ่ ทีท่ าให้ผู้ฟังเข้าใจ ลักษณะของบทเพลงและทาใหผ้ ู้ประพันธเ์ พลง สามารถนามาใชส้ ร้างสรรค์ผลงานในบทเพลงและ เข้าใจถงึ ลักษณะบทเพลงของตนเองและผ้อู ่ืน

โครงสร้างรายวชิ าพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ : ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง (ต่อ) ภาคเรียนที่ 1 ( 20ชม./ปี ) = 9 ตวั ช้ีวัด ลาดั ชอื่ มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั คะแนน บท่ี หนว่ ยการ ตัวช้ีวดั (ช่วั โมง) เรยี นรู้ 5 อิทธิพล ศ 2.1 ม.3/6 1. ดนตรีมีอทิ ธิพลต่อมนุษยแ์ ละสังคมเปน็ สิง่ ท่ี 1 ทางดนตรี ศ 2.2 ม.3/2 สรา้ งความสนกุ สนานผ่อนคลายให้กับคนใน สงั คม และใช้ประกอบพธิ กี ารตา่ ง ๆ อกี ท้ังยังช่วย พฒั นาดา้ นอารมณ์ จิตใจ และสตปิ ัญญาของ มนุษย์ 2. ปัจจยั ที่ทาใหง้ านคนตรีได้รับการยอมรับ มีหลายประการซงึ่ เปน็ ส่งิ ท่ีทาใหด้ นตรีเป็นที่ รจู้ ักนิยมชื่นชอบตอ่ คนในสังคม 6 การจดั แสดง ศ 2.1 ม.3/7 การจัดการแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆ ควรมีการ 1 ดนตรี วางแผนขั้นตอนในการจดั งาน จะทาให้การจัดงาน มีความเรียบรอ้ ย สมบูรณ์ มคี ุณภาพ อีกทัง้ ในการ จัดงานแสดงดนตรยี งั สามารถบูรณาการกบั ศิลปะ ดา้ นตา่ ง ๆ เพ่ือให้การแสดงมีความนา่ สนใจมากข้ึน 7 วิวฒั นาการ ศ 2.2 ม.3/1 ดนตรีไทยและดนตรีสากลมีวิวฒั นาการมาต้งั แต่ 8 ของดนตรี สมัยอดตี จนถึงปัจจุบัน ซึง่ พัฒนาขึน้ มาเพือ่ สร้าง ความสุข ความสนุกสนาน ผ่อนคลายใหก้ บั มนุษย์ และใช้ในประเพณี พิธกี รรมต่าง ๆ ทีเ่ กิดข้นึ ในสงั คม เป็นสงิ่ ทีค่ วรได้รับการพฒั นาสง่ เสรมิ ใหอ้ ยคู่ ู่ ประเทศชาตสิ บื ไป รวมทง้ั ส้นิ 20

โครงสรา้ งรายวิชาพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ : ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 20 ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 2 ( 20ชม./ปี ) = 10 ตัวชว้ี ดั ลาดับ ชอ่ื มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคญั เวลา นา้ หนักคะแนน ท่ี หนว่ ยการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัด (ชวั่ โมง) 8 ละคร ศ 3.1 ม.3/1, ละครเปน็ การแสดงทเ่ี ป็นเร่ืองราวซ่งึ จะตอ้ ง 2 ม.3/7 ประกอบด้วยองค์ประกอบของละครจะทาให้ ละครมคี วามสมบรู ณ์อีกท้ังละครยังเป็นสงิ่ ที่ สะทอ้ นวถิ ีชีวติ เรื่องราวของสังคมซึ่งผู้ชม สามารถนาข้อคิดท่ีไดจ้ ากละครมาปรับใช้ ในชีวิตได้ 9 นาฏยศพั ท์ ศ 3.1 ม.3/2 นาฏยศัพท์และภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์เปน็ สิ่งท่ีใช้ 2 และภาษาท่า ในการแสดงนาฏศลิ ป์ทาใหก้ ารแสดงมีความ สมบูรณ์ สวยงาม และมีเอกลักษณ์ 10 ราวง ศ 3.1 ม.3/2 ราวงมาตรฐานเป็นการแสดงท่ีพฒั นามาจากการ 2 มาตรฐาน เลน่ ราโทนเป็นการแสดงท่สี ร้างความสนกุ สนาน ผอ่ นคลายใหก้ ับคนในชาตแิ ละเปน็ ศิลปะ การแสดงท่ีแสดงถงึ เอกลักษณข์ องชาติท่ี ควรอนรุ กั ษ์ไว้สบื ไป 11 การแสดง ศ 3.1 ม.3/3 การแสดงนาฏศลิ ป์เปน็ การแสดงทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ 8 นาฏศลิ ป์ ของชาติไทยท่ีมคี วามสวยงามแตกต่างกันไป ตามรูปแบบลักษณะของการแสดงซ่ึงเปน็ สงิ่ ที่ แสดงถึงความเจรญิ รงุ่ เรอื งด้านศิลปวฒั นธรรม ของชาติ เปน็ มรดกของชาตทิ ี่ควรอนรุ กั ษ์ และสืบสานไว้ใหค้ งอยตู่ ่อไป

โครงสรา้ งรายวชิ าพ้นื ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ : ดนตร-ี นาฏศลิ ป์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 20 ชัว่ โมง (ต่อ) ภาคเรยี นท่ี 2 ( 20ชม./ปี ) = 10 ตัวชวี้ ัด ลาดบั ชือ่ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั คะแนน ที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด (ช่วั โมง) 12 การประดิษฐ์ ศ 3.1 ม.3/4 การประดิษฐ์ท่าราที่ใชใ้ นการแสดงเป็นการ 1 ท่ารา สร้างสรรค์การแสดงให้มีความสมบรู ณ์ สวยงาม 1 ซง่ึ ในการประดิษฐ์ท่าราจะต้องสรา้ งสรรคท์ า่ รา 2 13 องค์ประกอบ ศ 3.1 ม.3/5 ใหม้ ีความเหมาะสมและสมั พันธก์ ับการแสดง ของนาฏศิลป์ เพ่ือให้การแสดงมีความงดงาม น่าชม 2 องคป์ ระกอบนาฏศิลป์เป็นสงิ่ ที่ทาใหก้ ารแสดง 14 สร้างสรรค์ ศ 3.1 ม.3/6 นาฏศิลปม์ คี วามสมบรู ณ์ สวยงาม น่าสนใจ และมี งานแสดง ศ 3.2 ม.3/1 เอกลักษณ์ การสรา้ งสรรคก์ ารแสดงนาฏศิลป์สากลในกลุ่ม 15 นาฏศลิ ป์ ศ 3.2 ม.3/2, ม. ประเทศอาเซียนจะต้องคานึงถึงความเหมาะสม และ 3/3 ของงานและการออกแบบอุปกรณ์และ การละคร เคร่ืองแต่งกายเพ่ือการแสดงนาฏศลิ ป์จะต้องมี ความเหมาะสมกบั ชุดการแสดงเพ่ือให้การแสดงมี ความสวยงาม น่าประทบั ใจ และมีเอกลักษณ์ การแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละการละครเป็นส่งิ ที่แสดง ถงึ เอกลกั ษณข์ องชาตทิ ่ีทรงคุณค่าสร้าง ความผอ่ นคลายใหก้ บั คนในชาติและเปน็ ศลิ ปวฒั นธรรมของชาตทิ ี่ควรอนุรักษ์ไว้สบื ไป รวมทั้งส้นิ 20 100 คะแนน

โครงสร้างการจดั เวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ : สาระดนตรี-นาฏศิลป์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 20 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรู้/แผนการจดั การเรียนรู้ เวลาเรียน (ชั่วโมง) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 องค์ประกอบงานดนตรี 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 องคป์ ระกอบของงานดนตรี 1 1 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 องคป์ ระกอบของงานดนตรี 2 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 การเปรยี บเทียบองค์ประกอบในงานดนตรีและศลิ ปะ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การขับร้องและบรรเลงดนตรี 1 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 เทคนิคและการแสดงออกในการขับร้องเดยี่ ว 1 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 เทคนิคและการแสดงออกในการขับร้องหมู่ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 เทคนิคและการแสดงออกในการบรรเลงดนตรีเดี่ยว 1 และรวมวง แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 7 เทคนิคและการแสดงออกในการบรรเลงดนตรรี วมวง 1 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 หลักการประพนั ธเ์ พลง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 หลักการประพันธ์เพลง 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 การเลอื กใช้องคป์ ระกอบในการสรา้ งสรรค์บทเพลง 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 การเปรียบเทียบงานดนตรี 1 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 10 การเปรยี บเทยี บงานดนตรี (1) 1 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 11 การเปรียบเทยี บงานดนตรี (2) หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5 อิทธพิ ลทางดนตรี แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 12 อิทธิพลทางดนตรี (1) แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 อทิ ธิพลทางดนตรี (2)

โครงสรา้ งการจัดเวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ : สาระดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 20 ช่ัวโมง หน่วการเรียนรู้/แผนการจดั การเรียนรู้ เวลาเรียน (ชว่ั โมง) หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 การจัดแสดงดนตรี 1 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 14 การจดั งานแสดงดนตรี (1) 1 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 15 การจดั งานแสดงดนตรี (2) 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 การจดั งานแสดงดนตรี (3) 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 17 การจดั งานแสดงดนตรี (4) 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 18 การจัดงานแสดงดนตรี (5) 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 วิวฒั นาการของดนตรี 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 19 ประวตั ิดนตรีไทยยคุ สมัยต่าง ๆ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 20 ประวตั ดิ นตรีตะวันตกยุคสมัยตา่ ง ๆ 20 รวม

โครงสรา้ งการจัดเวลาเรียน กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ : สาระดนตรี-นาฏศลิ ป์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรู้/แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลาเรียน (ชว่ั โมง) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 8 ละคร 1 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 21 องค์ประกอบของบทละคร 1 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 22 ละครกับชีวติ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 9 นาฏยศัพทแ์ ละภาษาทา่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 23 นาฏยศพั ท์ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 24 ภาษาทา่ 1 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 ราวงมาตรฐาน แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 25 ราวงมาตรฐาน (1) 1 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 26 ราวงมาตรฐาน (2) 1 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 11 การแสดงนาฏศลิ ป์ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 27 การแสดงเปน็ หมู่ : เซ้งิ โปงลาง 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 28 การแสดงเป็นหมู่ : เซ้งิ โปงลาง (2) 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 29 การแสดงเดี่ยว : รามโนราหบ์ ูชายัญ (1) 1 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 30 การแสดงเดีย่ ว : รามโนราหบ์ ูชายญั (2) 1 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 31 การแสดงละคร (1) แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 32 การแสดงละคร (2) 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 33 การแสดงเปน็ ชดุ เป็นตอน ราฉุยฉายวนั ทอง แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 34 การแสดงเป็นชดุ เป็นตอน ราฉุยฉายวนั ทอง (2) 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 12 การประดษิ ฐท์ ่ารา แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 35 การประดษิ ฐ์ท่ารา หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 13 องค์ประกอบของนาฏศิลป์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 36 องค์ประกอบของนาฏศิลป์

โครงสร้างการจัดเวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ : สาระดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง หน่วการเรียนรู้/แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลาเรยี น (ชว่ั โมง) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 14 สรา้ งสรรคง์ านแสดง 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 37 วธิ กี ารเลือกการแสดง 1 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 38 การออกแบบและสร้างสรรคอ์ ุปกรณ์และเครื่อง แต่งกายเพ่อื การแสดง 1 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 15 นาฏศิลป์และการละคร แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 39 ความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์การละครใน ชวี ิตประจาวัน แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 40 การอนุรกั ษน์ าฏศลิ ป์ รวม 20

ตารางแสดงน้าหนกั การวดั -ประเมินผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดนตรี-นาฏศิลป์ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วย น้าหนกั คะแนน รวม การเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั (รายวชิ าพน้ื ฐาน) K PA ท่ี A รป ศ ๒.๑ ม.๓/๑ ๕ - ๑๐ - ๑๕ ๑ เปรียบเทียบองคป์ ระกอบที่ใช้ในงานดนตรแี ละงานศลิ ปะอ่ืน ๒ ศ ๒.๑ ม.๓/๒ - ๕ - ๕ ๑๐ ร้องเพลง เล่นดนตรเี ด่ียวและรวมวง โดยเน้นเทคนคิ การร้อง การเลน่ การแสดงออก ศ ๒.๑ ม.๓/๓ แตง่ เพลงสั้นๆ จงั หวะงา่ ยๆ - - ๕ ๕ ๑๐ - - ๑๐ ๕ ๑๕ ๓ ศ ๒.๑ ม.๓/๔ - - ๑๐ ๕ ๑๕ อธิบายเหตผุ ลในการเลือกใช้องคป์ ระกอบดนตรีในการสร้างสรรค์ ๕ - ๕ - ๑๐ งานดนตรขี องตนเอง - ๕ -- ๕ ๔ ศ ๒.๑ ม.๓/๕ - ๕ - ๕ ๑๐ เปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อืน่ ศ ๒.๑ ม.๓/๖ อธบิ ายเก่ียวกบั อธพิ ลของดนตรีท่มี ีต่อบคุ คลและสังคม ๕ ศ ๒.๒ ม.๓/๒ อภปิ รายลักษณะเดน่ ที่ทาให้งานดนตรีนน้ั ได้รับการยอมรับ ศ ๒.๑ ม.๓/๗ ๖ นาเสนอหรือจัดการแสดงดนตรที ่ีเหมาะสม โดยบูรณาการกบั สาระการเรียนรู้อน่ื ในกลมุ่ ศิลปะ ๗ ศ ๒.๒ ม.๓/๑ ๕ ๕ - - ๑๐ บรรยายวิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยุคสมัย ๑๕ ๒๐ ๔๐ ๒๕ ๑๐๐ รวม (ระหว่างเรียน ๘๐ คะแนน/ปลายภาค ๒๐ คะแนน)

ตารางแสดงนา้ หนักการวัด-ประเมินผล กลุม่ สาระการเรียนรู้ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ หน่วย นา้ หนักคะแนน รวม การเรียนรู้ K PA ตัวช้ีวัด (รายวชิ าพื้นฐาน) รป ที่ A ศ ๓.๑ ม.๓/๑ -๕ - - ๕ ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร ๘ ศ ๓.๑ ม.๓/๗ ๕- - - ๕ นาเสนอแนวคิดจากเน้ือเรื่องของการแสดงที่สามารถนาไปปรับใช้ ในชวี ิตประจาวนั ศ ๓.๑ ม.๓/๒ - - ๑๐ - ๑๐ ๙,๑๐ ใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครท่เี หมาะสม บรรยายเปรยี บเทียบ - ๕ - ๕ ๑๐ - - ๑๐ - ๑๐ การแสดงอากปั กิรยิ าของผคู้ นในชวี ติ ประจาวนั และในการแสดง ๕ ๕ - - ๑๐ - - ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๑๑ ศ ๓.๑ ม.๓/๓ - - ๑๐ - ๑๐ มีทกั ษะในการใช้ความคดิ ในการพฒั นารปู แบบการแสดง ๑๒ ศ ๓.๑ ม.๓/๔ มีทกั ษะในการแปลความและสอื่ สารผา่ นการแสดง ศ ๓.๑ ม.๓/๕ ๑๓ วิจารณเ์ ปรียบเทยี บงานนาฏศิลป์ทมี่ ีความแตกต่างกนั โดยใชค้ วามรู้ เรอื่ งองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ ศ ๓.๑ ม.๓/๖ ร่วมจดั งานการแสดงในบทบาทหนา้ ท่ีต่างๆ ๑๔ ศ ๓.๒ ม.๓/๑ ออกแบบและสร้างสรรค์อปุ กรณ์และเครื่องแต่งกายเพื่อแสดง นาฏศิลป์และละครทม่ี าจากวัฒนธรรมตา่ งๆ

ตารางแสดงนา้ หนกั การวดั -ประเมินผล (ต่อ) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ หนว่ ย ตวั ชวี้ ัด (รายวิชาพื้นฐาน) น้าหนักคะแนน รวม การเรียนรู้ K PA ๕ รป ๑๕ ท่ี A ศ ๓.๒ ม.๓/๒ - ๕ - - อธบิ ายความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลปแ์ ละการละครในชีวิตประจาวัน ศ ๓.๒ ม.๓/๓ ๑๕ แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ์ ๕ - - ๑๐ รวม ๑๕ ๒๐ ๔๐ ๒๕ ๑๐๐ (ระหว่างเรียน ๘๐ คะแนน/ปลายภาค ๒๐ คะแนน)