Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การฟังและการอธิบาย

การฟังและการอธิบาย

Published by janejirakamkongkaew, 2022-01-20 08:47:01

Description: การฟังและการอธิบาย

Search

Read the Text Version

ทกั ษะการฟัง และการอธบิ าย

ทกั ษะ การฟัง

ความหมายการฟัง การฟัง หมายถึง กระบวนการของการไดย้ นิ เสียงโดยผฟู้ ังจะตอ้ งสนใจและต้งั ใจฟังเสียงน้นั แลว้ ใช้ สมองแปลความหมายของเสียงจนเกิดความเขา้ ใจ และมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อเสียงน้นั ได้ การฟังเป็ นการสื่อสารท่ีใชม้ ากและสาคญั ที่สุดในชีวิตประจาวนั ของมนุษยโ์ ดยประสาทหูรับเสียง ต่าง ๆโดยเฉพาะเสียงพดู ของมนุษย์ การฟังนบั เป็นทกั ษะข้นั พ้นื ฐานของชีวติ ที่จะโยงใยถึงทกั ษะอ่ืน ๆ อีก 3 ทกั ษะ คือ การพดู การอ่าน และการเขียน

กระบวนการฟัง การฟังทด่ี ีต้องมกี ระบวนการฟังซึ่งแบ่งได้เป็ น 2 ประการ คือ 1 กระบวนการฟังเพ่ือวเิ คราะห์ -ฟังอยา่ งละเอียด ต้งั แตต่ น้ จนจบ -แยกขอ้ เทจ็ จริงกบั ขอ้ คิดเห็นออกจากกนั -ใชค้ วามรู้ และประสบการณ์แยกแยะส่วนที่ดี และส่วนท่ีบกพร่องอยา่ งมีเหตุผล -เมื่อฟังจนจบตอ้ งบอกไดว้ า่ เร่ืองท่ีฟังมีคุณค่าอยา่ งไร

กระบวนการฟัง (ต่อ) กระบวนการฟังเพื่อวจิ ารณ์ -แยกแยะขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเรื่องท่ีฟัง -ประเมินคา่ ความเช่ือถือไดข้ องขอ้ มูลวา่ เป็นความจริง -แสดงกริยาตอ่ เร่ืองที่ฟัง เช่น ความประทบั ใจต่อเร่ืองที่ฟัง -การนาไปใช้ เช่น นาความรู้ท่ีไดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชห้ รือพฒั นา

หลกั การฟัง ฟังอยา่ งมีมารยาท คือแสดงความสนใจต่อผพู้ ูด ไม่แสดงอาการเฉยเมย หรือขดั จงั หวะ คอยซักถามเม่ือผพู้ ูด ใหโ้ อกาส ฟังดว้ ยความอดทนและมีใจกวา้ ง ถา้ เป็นการฟังในท่ีประชุมควรใหเ้ กียรติ ผพู้ ดู ดว้ ยการปรบมือ ฟังอย่างมีวิจารญาณ คือ เอาใจจดจ่อต่อการฟัง คอยติดตามเรื่องท่ีฟังและแยกแยะส่วนที่เป็ นเหตุผลท่ี แทจ้ ริง และความคิดเห็นส่วนตวั ของผพู้ ดู ฟังใหไ้ ดส้ ารประโยชน์ คือ จบั สาระสาคญั ให้ไดก้ ่อนรายละเอียดหรือพลความ อาจจดบนั ทึกหัวขอ้ ความรู้ สาคญั เพอื่ ทุ่นเวลาและช่วยความจาพร้อมกนั ไปดว้ ย ฟังให้ไดค้ ุณค่าทางจิตใจ โดยทาใจให้คลอ้ ยไปตามเรื่องท่ีฟัง เพ่ือให้เกิดอารมณ์สนุกสนานเพลิดเพลิน เช่น การฟังบทละคร บทโทรศพั ท์ ปาฐกถาธรรม บทเพลง

หลกั การฟัง (ต่อ) ฟังอยา่ งต้งั ใจและมีสมาธิ การฟังที่ดีผฟู้ ังตอ้ งพุง่ ความสนใจไปยงั เรื่องที่กาลงั ฟังอยู่ โดยไม่ยอมใหส้ ่ิงอ่ืน ใดมารบกวนจิตใจและร่างกาย เพ่อื จะทาใหก้ ารฟังไดร้ ับประโยชนม์ ากที่สุด ต้งั จุดมุ่งหมายในการฟัง การฟังทุกคร้ังผูฟ้ ังตอ้ งต้งั จุดมุ่งหมายทุกคร้ังวา่ การฟังน้นั เพ่ืออะไร เช่น เพื่อ จบั ใจความสาคญั จบั ใจความโดยละเอียด ฟังเพื่อสรุปและหาเหตุผลมาโตแ้ ยง้ หรือคลอ้ ยตาม ฟังเพ่ือให้ เกิดความซาบซ้ึง หรือฟังเพ่ือส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็ นตน้ เพ่ือจะไดน้ าเร่ืองท่ี ฟังไปใชใ้ หต้ รงตามความตอ้ งการ วิเคราะห์จุดประสงคข์ องผพู้ ูด การฟังที่ดีผฟู้ ังจะตอ้ งทราบจุดประสงคข์ องผูพ้ ูดวา่ มีจุดประสงคอ์ ะไร เช่น เพื่อใหค้ วามรู้ เพอื่ ชกั ชวน วงิ วอน ขอร้อง ขอความร่วมมือ หรือ ช้ีแจง ไม่มีอคติตอ่ ผพู้ ดู และเร่ืองท่ีฟัง การฟังท่ีดี ผฟู้ ังตอ้ งมีใจเป็นกลาง ไม่มีอคติต่อผพู้ ูด หรือ ต่อเร่ืองที่ผพู้ ูด นามาพูด ผฟู้ ังควรนาเร่ืองท่ีไดฟ้ ังมาพิจารณาละวเิ คราะห์ดว้ ยความเป็ นธรรม ดว้ ยเหตุดว้ ยผล เช่น การ ฟังแถลงนโยบายของพรรคการเมือง

ความสาคญั ของการฟัง 1。 การฟังทาใหไ้ ดร้ ับความรู้ การฟังมีความสาคญั ในชีวิตประจาวนั ในทกั ษะท้งั สี่ คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ทกั ษะในการฟังเป็นทกั ษะท่ีใชม้ ากท่ีสุด การฟังทาให้ผฟู้ ังไดร้ ับความรู้เพิ่มมากข้ึน เช่น การ ฟังการบรรยายในช้นั เรียน 2。 การฟังทาใหเ้ กิดความคิดกวา้ งไกล การสร้างนิสยั การฟังท่ีดี ทาใหเ้ กิดความคิดไปในดา้ นตา่ งๆ สามารถ แกป้ ัญหา สร้างงาน วเิ คราะห์ พิจารณาเร่ืองต่างๆที่เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งมีเหตุมีผล 3。 การฟังทาใหเ้ กิดการพฒั นาตนเอง การฟังเรื่องราวต่างๆทาใหไ้ ดร้ ับความรู้มากมาย ผฟู้ ังสามารถนามา ปรับปรุงและพฒั นาการดาเนินชีวิตประจาวนั ท้งั ในครอบครัว การทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น การฟังทาใหเ้ กิดความจรรโลงใจ และซาบซ้ึง การฟังบทร้อยกรอง สุนทรพจน์ คาสอนของนกั ปราชญ์ ผนู้ าทาง ศาสนา การฟังบทเพลง การฟังเป็นการสร้างความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งกนั การฟังในครอบครัวมีความสาคญั ในระดบั แรก ที่ทา ใหค้ รอบครัวมีความสุข ความอบอุน่ การฟังในสังคม

มารยาทในการฟัง 1 เมื่อฟังอยู่เฉพาะหน้าผูใ้ หญ่ ควรฟังโดยสารวมกิริยามารยาท ฟังด้วยความสุภาพ 。 เรียบร้อย และต้งั ใจฟัง 2。 การฟังในท่ีประชุม ควรเขา้ ไปนงั่ ก่อนผพู้ ูดเร่ิมพดู โดยนง่ั ที่ดา้ นหนา้ ใหเ้ ตม็ ก่อนและควร ต้งั ใจฟังจนจบเรื่อง 3。 จดบนั ทึกขอ้ ความท่ีสนใจหรือขอ้ ความที่สาคญั หากมีขอ้ สงสัยเกบ็ ไวถ้ ามเมื่อมีโอกาสและถามดว้ ยกิริยา สุภาพ เม่ือจะซกั ถามตอ้ งเลือกโอกาสที่ผพู้ ูดเปิ ดโอกาสใหถ้ าม หรือยกมือข้ึนขออนุญาตหรือแสดงความ ประสงคใ์ นการซกั ถาม ถามดว้ ยถอ้ ยคาสุภาพ และไม่ถามนอกเรื่อง 4。 มองสบตาผพู้ ดู ไม่มองออกนอกหอ้ งหรือมองไปที่อื่น อนั เป็นการแสดงวา่ ไม่สนใจเรื่องที่พูด และไม่ เอาหนงั สือไปอ่านขณะที่ฟัง หรือนาอาหารเครื่องด่ืมเขา้ ไปรับประทานระหวา่ งฟัง

มารยาทในการฟัง (ต่อ) 5。 ฟังดว้ ยใบหนา้ ยิ้มแยม้ แจ่มใสเป็ นกนั เองกบั ผูพ้ ูด แสดงสีหนา้ พอใจในการพูด ไม่มีแสดงกิริยา กา้ วร้าว เบ่ือหน่าย หรือลุกออกจากท่ีนงั่ โดยไม่จาเป็นขณะฟัง 6。 ฟังดว้ ยความสุขุม ไม่ควรก่อความราคาญให้บุคคลอ่ืน ควรรักษามารยาทและสารวมกิริยา ไม่ หวั เราะเสียงดงั หรือกระทืบเทา้ แสดงความพอใจหรือเป่ าปาก 7。 ฟังดว้ ยความอดทนแมจ้ ะมีความคิดเห็นขดั แยง้ กบั ผพู้ ดู กค็ วรมีใจกวา้ งรับฟังอยา่ งสงบ 8。 ไม่พดู สอดแทรกขณะท่ีฟัง ควรฟังเร่ืองใหจ้ บก่อนแลว้ ค่อยซกั ถามหรือแสดงความคิดเห็น 9。 ควรให้เกียรติวิทยากรด้วยการปรบมือ เม่ือมีการแนะนาตวั ผูพ้ ูด ภายหลงั การแนะนา และเม่ือ วิทยากร พดู จบ

ประโยชน์ในการฟัง 1。 การฟังเป็ นเครื่องมือของการเขียน ผูท้ ี่เรียนหนงั สือไดด้ ีตอ้ งมีการฟังที่ดีดว้ ย คือ ตอ้ งฟังคาอธิบายให้รู้เร่ือง และจบั ใจความสาคญั ใหไ้ ดจ้ ึงจะทาใหก้ ารเรียนมี ประสิทธิภาพ 2。 การฟังช่วยให้ผูฟ้ ังพฒั นาความสามารถในการพูด พฒั นาความสามารถในการใชภ้ าษา เพราะ การฟังทาใหผ้ ฟู้ ังมีความรู้กวา้ งข้ึนและมีประสบการณ์มากข้ึน 3。 การฟังช่วยปูพ้ืนฐานความคิดท่ีดีใหก้ บั ผฟู้ ัง ซ่ึงจะไดจ้ ากการฟังเร่ืองราวที่มีคุณค่ามีประโยชน์จากผอู้ ่ืน ช่วย พฒั นาสติปัญญาแก่ผฟู้ ัง การไดร้ ับขอ้ คิดเห็นที่มีประโยชน์ทาใหเ้ กิดแนวความคิดใหม่ ๆ ได้ 4。 การฟังช่วยใหผ้ มู้ ีมารยาทในการฟัง สามารถเขา้ สังคมกบั ผอู้ ่ืนไดเ้ ช่น รู้จกั ฟังผอู้ ่ืน รู้จกั ซกั ถามโตต้ อบได้ ตามกาลเทศะ

ประโยชน์การฟัง(ต่อ) 5。 การฟังช่วยให้การพูดสมบูรณ์ องค์ประกอบของการพูดท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ ผูส้ ่งสาร ตวั สาร ส่ือ และจะ สมบูรณ์ไม่ไดถ้ า้ หากการพูดน้ันไม่มีผูฟ้ ัง การฟังท่ีดีจะช่วยให้การสื่อสารสัมฤทธ์ิผล และเกิดการ ตอบสนองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 6。 การฟังทาใหไ้ ดร้ ับความรู้ ความคิด ทศั นคติ การฟังทาใหไ้ ดร้ ับรู้เร่ืองราวที่แปลกใหม่ของบุคคลที่เรา สนทนารวมท้งั เร่ืองราวต่างๆอีกมากมายท่ียงั ไม่เคยไดย้ ินมาก่อน และสามารถนาไปใชป้ ระยุกตก์ บั ชีวติ ประจาวนั การทางาน และนาไปขยายผลต่อได้ 7。 การฟังทาให้ไดร้ ับความเพลิดเพลิน การเลือกฟังสิ่งท่ีเป็ นประโยชน์ทาให้มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรคส์ ่ิง ใหม่ๆ รวมท้งั ก่อใหเ้ กิดความสนุกสนานอีกดว้ ย 8。 การฟังช่วยให้เปลี่ยนทศั นคติ และช่วยยกระดบั จิตใจให้สูงข้ึน การฟังมากทาให้ผูฟ้ ังมองโลกไดก้ วา้ งข้ึน ยอมรับความเป็นจริง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน

ประโยชน์การฟัง(ต่อ) 9。 การฟังทาใหเ้ กิดวจิ ารณญาณ การฟังดว้ ยปัญญาทาใหส้ ามารถรับรู้เรื่องราวไดอ้ ยา่ งละเอียดถูกตอ้ งและ ลึกซ้ึงรู้จกั แยกเหตุแยกผลได้ สามารถตดั สินเร่ืองที่ไดฟ้ ังว่าเป็ นไปไดห้ รือเป็ นไปไม่ไดเ้ พราะอะไร และถา้ หากควรเช่ือหรือไม่ควรเชื่อเพราะอะไร 10。 การฟังทาให้เกิดปฏิภาณไหวพริบ การฟังมากและฟังดว้ ยความต้งั ใจ รู้จกั สังเกตและวิเคราะห์ ทาให้ สามารถอ่านความรู้สึกนึกคิด และรู้เท่าทนั ในการกระทาของผูอ้ ื่น รู้จกั การวเิ คราะห์พฤติกรรม จะช่วย ใหก้ ารดาเนินชีวิตเกี่ยวกบั เร่ืองการตดั สินใจไม่ผิดพลาด

ทกั ษะ การอธบิ าย

ความหมายการอธิบาย การอธิบาย หมายถึง ความสามารถในการพูดแสดงรายละเอียดและให้ตวั อยา่ งให้ผูเ้ รียนเขา้ ใจ หายจากขอ้ สงสัย เกิดความชดั เจนในส่ิงน้นั หรือขยายความในลกั ษณะท่ีช่วยให้ผูอ้ ื่นเขา้ ใจเร่ืองราวต่าง ๆ ไดช้ ดั เจนข้ึน ซ่ึงอาจกระทาไดโ้ ดยการบอก การตีความ การสาธิต การยกตวั อยา่ ง ฯลฯ บางคร้ังเพื่อใหก้ าร อธิบายเป็ นท่ีเขา้ ใจไดง้ ่าย อาจจะใชว้ สั ดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ประกอบการอธิบาย กจ็ ะช่วยทาให้ผฟู้ ังสนใจและ เขา้ ใจความหมายไดด้ ีข้ึน ทกั ษะการอธิบายมีความสาคญั และจาเป็ นต่อกระบวนการเรียนการสอน ทุกระดบั โดยเฉพาะ ปัจจุบนั พบวา่ วธิ ีสอนที่ครูส่วนมากนิยมคือการสอนแบบบรรยาย และการอธิบาย ซ่ึงทกั ษะการอธิบายจดั วา่ เป็ นส่วนหน่ึงท่ีจาเป็ นสาหรับการสอนสองวิธีน้ี การมีทกั ษะในการอธิบายที่ดีมีความหมายและสาคญั สาหรับครูมาก ทักษะการอธิบายควรจะไดร้ ับการ ฝึ กหัดและติดตามผลอยู่เสมอว่าช่วยให้ผูฟ้ ังเขา้ ใจ เร่ืองราวที่อธิบายมากนอ้ ยเพียงใด แลว้ หาทางแกไ้ ขปรับปรุงวธิ ีการอธิบายใหม้ ีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน

ลกั ษณะการอธิบาย เวลาท่ีใชใ้ นการอธิบายไม่ควรนานเกินไป โดยปกติใจความท่ีสาคญั อาจจะใชเ้ วลาในการอธิบายเพียง 1 นาที หรือนอ้ ยกว่าน้นั เวลาท่ีใชใ้ นการอธิบายเร่ืองใดเรื่องหน่ึงในแต่ละคร้ัง ไม่ควรเกิน 10 นาที เพราะ การใชเ้ วลาท่ียาวนานเกินไป จะทาให้ผูฟ้ ังขาดความสนใจ และเกิดการเบ่ือหน่าย ซ่ึงจะทาให้ยากแก่การ ทาความเขา้ ใจและจดจา ภาษาท่ีใชค้ วรจะง่ายแก่การเขา้ ใจ ไม่ตอ้ งแปล รัดกมุ ไม่เยน่ิ เยอ้ น่าฟัง ส่ือการสอนหรือตวั อย่างที่ใชป้ ระกอบการอธิบายควรจะมีลกั ษณะน่าสนใจ และช่วยให้เขา้ ใจเร่ืองที่ อธิบายไดง้ ่ายข้ึน การอธิบายควรจะใหค้ รอบคลุมใจความสาคญั ไดค้ รบถว้ น

ลกั ษณะการอธิบาย (ต่อ) การอธิบายควรเริ่มจากเรื่องที่เขา้ ใจง่ายไปหาเร่ืองท่ีเขา้ ใจยาก ควรใชท้ ่าทางประกอบเพอื่ ใหก้ ารอธิบายน่าสนใจ ควรใชแ้ นวความคิดหรือการอธิบายของนกั เรียนท่ีครูให้อธิบายมาเป็ นแนวทาง ในการอธิบายดว้ ย เพราะความเขา้ ใจตามแนวความคิดของนกั เรียน ถา้ ไดร้ ับการ อธิบายเพม่ิ เติมจะช่วยใหเ้ ขา้ ใจดีข้ึน ควรมีการสรุปประเดน็ ในการอธิบายดว้ ย

วธิ ีการอธิบาย ศึกษาคน้ ควา้ และรวบรวมขอ้ มูลของเร่ืองท่ีจะพดู ไวอ้ ยา่ งป็นระบบ กาหนดขอบเขต แนวคิดและประเดน็ ที่สาคญั หาเหตุผล คากลา่ วอา้ งและขอ้ คน้ พบต่าง ๆ ไวส้ นบั สนุนเน้ือหาสาระ เลือกตวั อยา่ งหรือกรณีศึกษาต่าง ๆ ไวป้ ระกอบการพดู เพ่ือเพ่ิมน้าหนกั และความน่าเช่ือถือ วางเคา้ โครงเรื่องและจดั ระบบความคิด

วธิ ีการอธิบาย(ต่อ) ร่างบทพดู ต้งั แตอ่ ารัมภบท เน้ือเร่ือง และบทสรุป หากตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ประกอบการบรรยาย ควรจดั เตรียมใหพ้ ร้อม และซกั ซอ้ ม การใชใ้ หช้ านาญ ก่อนการบรรยายควรทบทวนร่างเน้ือหา การจดั ลาดบั ก่อนหลงั ใหแ้ น่นอน และตอ้ งรักษาเวลาใหพ้ อดี ตามท่ีกาหนดให้ ขณะบรรยาย ควรคานึงถึงหลกั การพูดอยา่ งถูกวิธี เช่น การใชส้ ายตา การใชเ้ สียง การใชถ้ อ้ ยคา การใชท้ ่วงท่าและลีลาประกอบ

ความสาคญั ของการอธิบาย 1。 ช่วยใหผ้ ฟู้ ังไดร้ ับความรู้และเขา้ ใจความหมายของคาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2。 ช่วยใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจเร่ืองราวต่างๆ ไดช้ ดั เจน และกวา้ งขวางมากข้ึน 3。 ช่วยใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจสาระสาคญั อนั เก่ียวขอ้ งกบั สังคมและวฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4。 ช่วยใหผ้ ฟู้ ังเกิดองคค์ วามรู้ใหม่และมีประโยชนต์ ่อการเรียนการสอน 5。 ช่วยใหผ้ ฟู้ ังเกิดทศั นคติ และโลกทศั น์ในดา้ นตา่ งๆ ไดด้ ียง่ิ ข้ึน

องค์ประกอบของการอธิบาย 1。 ลกั ษณะของผูอ้ ธิบาย ผูอ้ ธิบายจะตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจในเน้ือหาที่จะอธิบายเป็ นอยา่ งดี สามารถ วิเคราะห์พฤติกรรมของผูฟ้ ังได้ มีความสามารถในการใช้ถ้อยคา มีไหวพริบปฏิภาณ แล ะมี บุคลิกภาพเหมาะสมน่าเชื่อถือ 2。 การนาเสนอ ตอ้ งเสนอเรื่องราวอยา่ งเป็นข้นั ตอน สรุปแนวคิดใหช้ ดั เจน ขยายความ และตีความได้ ถูกตอ้ ง ตลอดจนนาเสนอไดส้ อดคลอ้ งและบรรลุจุดมุ่งหมายของเรื่องราวน้นั ๆ 3。 บรรยากาศของการอธิบาย ตอ้ งมีสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ืออานวย เร่ืองที่พูดอยใู่ นความสนใจ ของผฟู้ ัง พยายามดึงผฟู้ ังใหม้ ีส่วนร่วม และสามารถควบคุมเวลาไดต้ ามกาหนด

มารยาทในการอธิบาย 1。 ตอ้ งรู้จกั กล่าวคาทกั ทาย เม่ือมีผแู้ นะนาใหข้ ้ึนไปพูด ควรลุกข้ึนอยา่ งกระฉับกระเฉงแต่เรียบร้อย เดิน ไปยงั ท่ีพดู หยดุ เวน้ ระยะเลก็ นอ้ ย แลว้ จึงกล่าวคาทกั ทายหรือคาปฏิสนั ถารท่ีเหมาะสม 2。 ตอ้ งเป็นผฟู้ ังที่ดี ผพู้ ดู ที่ดีตอ้ งเป็นคู่สนทนาท่ีดี ใหเ้ กียรติและรับฟังผอู้ ่ืนดว้ ย กรณีพดู ในท่ีประชุมเม่ือมี เสียงปรบมือหรือเสียงหัวเราะขณะพูดควรหยุดพูดชว่ั คราว รอให้เสียงน้นั เบาลงหรือหยุดจึงค่อยพูด ต่อไป ถา้ เป็ นระหว่างการสนทนาควรหยุดพูดตามความเหมาะสม เพื่อเปิ ดโอกาสใหผ้ ูอ้ ่ืนไดส้ นทนา บา้ ง เม่ือพดู จบแลว้ หยดุ เวน้ ระยะเลก็ นอ้ ย กม้ ศีรษะใหแ้ ก่ผฟู้ ังแลว้ กลบั ไปยงั ท่ีนง่ั 3。 ตอ้ งรู้จกั ควบคุมอารมณ์และน้าเสียง เมื่อมีผูฟ้ ังบางคนโห่ร้องหรือลอ้ เลียนระหว่างพูด อาจทาให้อารมณ์ เสียได้ ผูพ้ ูดตอ้ งใจเยน็ และควบคุมน้าเสียงตลอดจนกิริยาวาจาของตนไวใ้ ห้สุภาพเรียบร้อยอยูเ่ สมอ ท้งั ตอ้ งไม่พดู ดดั เสียงใหผ้ ิดปกติไปจากน้าเสียงท่ีเคยพูดตามปกติในชีวติ ประจาวนั

มารยาทในการอธิบาย (ต่อ) 4。 ตอ้ งไม่พูดจาดูถูกหรือข่มขู่ผูฟ้ ัง เม่ือพูดต่อหน้าท่ีประชุมไม่ควรพูดอวดตนหรืออวดภูมิ รวมท้งั ไม่ควรใชก้ ิริยาวาจาเชิงดูถูก กา้ วร้าว หรือข่มขผู่ ฟู้ ังแตอ่ ยา่ งใด 5。 ตอ้ งรู้จกั ใชค้ าสุภาพ เมื่อมีความคิดเห็นไม่ตรงกบั ผอู้ ่ืนระหวา่ งการสนทนา ไม่ควรพดู จา หยาบคาย รุนแรง แต่ควรรู้จกั กลา่ วคาขอบคุณ ขอโทษ หรือเสียใจในโอกาสอนั เหมาะสม

Thank you


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook