Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเมืองกาารปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา (3)

การเมืองกาารปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา (3)

Published by Thanyalak Chaiyamatr, 2021-01-30 12:13:37

Description: การเมืองกาารปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา (3)

Search

Read the Text Version

เรอ่ื ง การเมืองการปกครองสมัยกรงุ ศรีอยุธยา ผ้จู ดั ทา นางสาวกมลพร ธรรมะ 63202010098 นางสาวชุตมิ า พวงทอง 63202010102 นางสาวธัญลักษณ์ ไชยมาตร 63202010107 นางสาวปาริชาต พงึ่ เกดิ 63202010111 นางสาววภิ าวดี เจริญสขุ 63202010120 เอกสารฉบบั น้ีเปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรยี นรายวิชาประวัตศิ าสตร์ชาติไทย วทิ ยาลัยเทคนิคลพบรุ ี สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563



เรอ่ื ง การเมืองการปกครองสมยั กรงุ ศรีอยุธยา ผ้จู ดั ทา นางสาวกมลพร ธรรมะ 63202010098 นางสาวชุตมิ า พวงทอง 63202010102 นางสาวธัญลักษณ์ ไชยมาตร 63202010107 นางสาวปาริชาต พงึ่ เกดิ 63202010111 นางสาววภิ าวดี เจริญสขุ 63202010120 เอกสารฉบบั น้ีเปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรียนรายวิชาประวัตศิ าสตรช์ าติไทย วทิ ยาลัยเทคนิคลพบรุ ี สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

เร่ือง:การเมืองการปกครองสมยั กรุงศรีอยุธยา ผู้จดั ทา:นางสาวกมลพร ธรรมะ 63202010098 นางสาวชุติมา พวงทอง 63202010102 นางสาวธญั ลกั ษณ์ ไชยมาตร 63202010107 นางสาวปารชิ าต พึ่งเกดิ 63202010111 นางสาววภิ าวดี เจรญิ สขุ 63202010120 ท่ีปรึกษา:ครูศริ โิ สภา วศิ ิษฏ์วัฒนะ ปกี ารศกึ ษา:2563 บทคดั ย่อ เรือ่ ง การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยธุ ยา จดุ มุงหมายเพ่อื ศึกษาหาความรูเร่ือง การเมอื งการปกครองสมัย กรงุ ศรีอยุธยา เพื่อจะไดรรู ูปแบบของการปกครอง และเพื่อใหรสู ัดสวนของ การปกครอง ดวย รูปแบบ การศึกษาคนควา จัดทาเปนรูปแบบของโครงงานจากการคนควาหาขอมูล ทางส่ืออนิ เทอรเน็ต ผลการศึกษาค นควาและสรปุ ผลการ การปกครองสมัยอยุธยามีการปรับปรงุ ให เหมาะสมกับสถานการณทางการเมืองโดยมี จดุ มงุ หมายที่สาคัญคือพยายามรวมอานาจการปกครองสู สวนกลาง และควบคมุ การปกครองหวั เมืองตางๆให มปี ระสทิ ธภิ าพเพ่มิ ข้นึ พรอมกับพยายาม จัดรปู แบบการปกครอง เพื่อถวงดุลอานาจกับกลุมเจานายและขนุ นาง ซ่ึงเปนกลไกสาคัญในการ ปกครอง ดังนัน้ สมัยอาณาจักรอยุธยาจึงเกิดการแยงชิงอานายทางการเมือง ระหวางพระมหากษัตรยิ เจานาย และขนุ นาง ตลอดจนสน้ิ อยธุ ยา

กิตติกรรมประกาศ คณะผ้จู ัดทาขอขอบพระคุณเปน็ อย่างย่ิงจากบุคคลต่างๆ ที่ใหค้ วามกรุณาเก่ียวกับแนวคิดและ ขอ้ เสนอแนะ จนโครงการนี้สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี สุดทา้ ยนี้ขอขอบคณุ สมาชกิ ภายในกลมุ่ ทุกคนที่ใหค้ วามร่วมมือ ร่วมแรง รว่ มใจ ช่วยกนั ผา่ นปญั หา ตา่ งๆ จนทาให้โครงการเสรจ็ สมบรู ณ์ นางสาวกมลพร ธรรมะ นางสาวชตุ ิมา พวงทอง นางสาวธัญลกั ษณ์ไชยมาตร นางสาวปาริชาต พง่ึ เกดิ นางสาววิภาวดี เจรญิ สขุ

สารบัญ หนา้ ก เร่ือง ข บทคดั ย่อ ค กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญ สารบัญภาพ 1 บทท่ี 1บทนา 1 1 1.1 ความเป็นมา 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.3 ขอบเขต 2 1.4 ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั 2 บทท่ี 2 ทฤษฎที ่เี กย่ี วข้อง 2 2.1 วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย : สมยั อยุธยา 2.2 ลักษณะการปกครอง 3 2.3 รปู แบบการปกครองสมยั อยุธยา 3 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินงาน 3 3.1 กาหนดหัวขอ้ 3 3.2 แบง่ หน้าท่ี 3.3 หาข้อมูลและรวบรวม 4 3.4 จดั ทา 4 บทที่ 4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ 5 4.1 การปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น 4.2 การปกครองสมยั อยธุ ยาตอนกลาง ( 1991-2231) 6 4.3 การปกครองสมยั อยุธยาตอนปลาย ( ในชว่ ง 2231-2310) 6 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ ายผลและแนวทางในการพัฒนา 6 5.1 สรปุ ผล 7 5.2 ปญั หาและอปุ สรรคในการศกึ ษาค้นควา้ 8 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา บรรณานุกรม ประวัติผศู้ กึ ษา

สารบญั ภาพ ภาพท่ี 3.1 ขอ้ มูลจากเว็บไซต์ หนา้ ภาพที่ 3.2 ข้อมูลจากเว็บไซต์ 3 3

บทที่ 1 บทนา 1. ความเปน็ มา ประเทศไทยไดช้ ือ่ วา่ เป็นประเทศเกา่ แก่ มีประวตั ิความเป็นมายาวนานชาติหนึ่ง แม้ว่าหลกั ฐาน เกี่ยวกบั ปฐมกาเนดิ ของชาตไิ ทยจะไมส่ ามารถยืนยนั ได้แน่ชัดว่า ชนชาติไทยเปน็ ผ้ทู ่อี พยพมาจากทาง ตอนใต้ของประเทศจนี แถบมณฑลยนู าน หรือมีรกรากอยใู่ นสุวรรณภมู ิแห่งนม้ี าแต่เก่าก่อนก็ตาม การศกึ ษาวิวฒั นาการทางการเมอื งการปกครองสมควรจะเริ่มต้นตัง้ แตป่ ระเทศไทยต้งั อาณาจกั รม่นั คง ขน้ึ ในแหลมทอง เมื่อ พ.ศ. 1781 อาณาจักรแรกของชาติไทย คือ อาณาจักรสโุ ขทัย ซงึ่ สถาปนาโดย พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ ตน้ ราชวงศ์พระรว่ ง ประกาศตนเป็นอสิ ระจากขอมซง่ึ ยดึ ครองดินแดนแถบนน้ั อยู่ในสมัยนนั้ คนในกลุ่มได้ตกลงทาเรื่องน้เี พราะมีความสนใจในเรอื่ งการเมอื งการปกครองในสมยั นั้นวา่ มีความ เปน็ อย่างไร 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพือ่ ศึกษาหาความรูเร่ืองการเมอื งการปกครองสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา 2.2 เพ่ือจะไดรรู ูปแบบของการเมืองการปกครองสมยั กรงุ ศรีอยุธยา 2.3 เพอ่ื ใหรสู ัดสวนของการเมืองการปกครองสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา 3. ขอบเขต 3.1 สถานที่ - 3.2 ระยะเวลา 6 มกราคม 2564 – 30 มกราคม 2563 3.3 ตัวแปรหรอื ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 3.1 ประชากร คอื กัษตริย์ เจา้ นาย ขนุ นาง ไพร่ 3.2 กลุ่มตวั อย่าง คือ ประชาชนในปัจจบุ นั 4. ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 4.1 ไดร้ ู้เรือ่ งการเมืองการปกครองสมยั กรุงศรีอยธุ ยา 4.2 ไดร้ ู้รูปแบบของการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรอี ยุธยา 4.3 ไดร้ ู้สัดสวนของการเมืองการปกครองสมัยกรงุ ศรีอยุธยา

บทท่ี 2 ทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้อง ในการศึกษาเรื่องการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรอี ยุธยา ผูจ้ ัดทาไดร้ วบรวมแนวคดิ ทฤษฎแี ละ หลกั การต่างๆจากเอกสารที่เกย่ี วข้องดังต่อไปน้ี 2.1 วิวัฒนาการทางการเมอื งการปกครองของไทย : สมัยอยธุ ยา การเมืองการปกครองไทยต้งั แต่สมยั สโุ ขทยั จนกระทงั่ ถึงสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ก่อนหนา้ มกี ารเปลย่ี นแปลง การปกครอง เมื่อวนั ท่ี 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 อยู่ในรูปแบบระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ ซ่งึ มลี กั ษณะ คลา้ ยกบั ระบอบเผด็จการ เพราะวา่ อานาจสงู สดุ ในการปกครองเปน็ ของพระมหากษัตริยเ์ พียงพระองค์เดยี ว เท่านนั้ พระมหากษัตริย์ได้อานาจมาดว้ ยการสืบสันตติวงศ์ หรือการปราบดาภิเษก ประชาชนไม่มีสว่ นร่วมใน การสถาปนาหรือคัดเลือกพระมหากษตั รยิ เ์ ลย 2.2 ลกั ษณะการปกครอง 1. แบบธรรมราชา กษตั รยิ ์ปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมทางพุทธศาสนา 2. แบบเทวราชา กษตั ริย์เปน็ สมมติเทพ รับอิทธิพลมาจากขอม 2.3 รปู แบบการปกครองสมัยอยุธยา รปู แบบการปกครองสมัยอยุธยาน้ันแบง่ ได้ 3 ระยะตามลักษณะการปกครอง คือ การปกครองสมัย อยธุ ยาตอนตน้ อยุธยาตอนกลาง อยุธยาตอนปลาย

บทท่ี 3 วิธีศึกษาคน้ ควา้ กลา่ วถึงการดาเนินการโดยละเอยี ด 3.1 กาหนดหัวข้อ 3.2 แบง่ หน้าที่ 3.3 หาขอ้ มลู และรวบรวม 3.4 จดั ทา ภาพท่ี 3.1 ข้อมลู จากเวบ็ ไซต์ ภาพที่ 3.2 ข้อมลู จากเวบ็ ไซต์ 2

บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาค้นควา้ 4.1 การปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น การปกครองระยะนเี้ ริ่มเมอ่ื (พ.ศ.1893-1991 )สมัยพระเจา้ อทู่ องถึงสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี 2 แบง่ การปกครองได้ 2 สว่ น ส่วนท่ี 1) การปกครองสว่ นกลาง การ ปกครองในเขตราชธานี และบริเวณโดยรอบราชธานโี ดยได้ จัดรูปแบบการปกครองแบบเขมร จัดหน่วยการปกครองเป็น 4 หนว่ ย แตล่ ะหนว่ ยมเี สนาบดีบริหารงาน ไดแ้ ก่ กรมเวยี ง (ดแู ลในเขตเมืองหลวง) กรมวัง(ดแู ลพระราชสานักและพจิ ารณาคด)ี กรมคลงั (ดแู ลพระราชทรัพย์) กรมนา (จดั เกบ็ ภาษแี ละจัดหาเสบียงสาหรับกองทพั ) ส่วนที่ 2) การปกครองสว่ นหัวเมือง แบ่งเปน็ 4 ระดบั คือ 1. เมอื งลกู หลวง หรือเมืองหน้าด่าน ตงั้ อยรู่ อบราชธานี 4 ทศิ เช่น ลพบรุ ี นครนายก พระประแดง สพุ รรณบุรี ใหโ้ อรสหรอื พระราชวงศช์ ั้นสูงไปปกครอง 2. หัวเมอื งช้ันใน อยถู่ ัดจากเมอื งลกู หลวงออกไป ได้แก่ พรหมบรุ ี สงิ หบ์ ุรี ปราจนี บรุ ี ฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี ตะนาวศรี ไชยา นครศรีธรรมราช ใหข้ ุนนางทก่ี ษัตริย์แต่งตั้งไปปกครอง 3.หัวเมอื งชน้ั นอก หรือหวั เมืองพระยามหานครคอื หัวเมืองขนาดใหญ่หา่ งจากราชธานี ผู้ปกครองสืบเชื้อสายมาจากเจ้าเมืองเดิมหรอื ตวั แทนที่ราชธานีสง่ มาปกครอง 4. เมอื งประเทศราช เป็น เมอื งทยี่ งั ไดป้ กครองตนเองเพราะอย่ไู กลทสี่ ดุ มีความเป็นอสิ ระ เหมือนเดมิ แตต่ ้องส่งเคร่ืองราชบรรณาการตามกาหนดสง่ กองทัพ มาชว่ ยเวลาสงคราม เชน่ สุโขทัย เขมร เปน็ ตน้ 4.2 การปกครองสมัยอยธุ ยาตอนกลาง ( 1991-2231) ช่วงที่ 1 เปน็ ชว่ งสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงปรบั ปรุงการปกครองใหม่เนอ่ื งจากปจั จัย หลายๆอยา่ งเช่น เศรษฐกิจ ควบคุมหวั เมอื งได้ไม่ท่วั ถึง และเมอื งลกู หลวงหรอื เมืองหน้าดา่ นมอี านาจมากขึ้น และมกั แย่งชงิ บลั ลงั ก์อยู่เนืองๆ ประกอบกบั อาณาเขตทีก่ ว้างขวางกวา่ เดิมพระองค์ไดจ้ ัดการแยก ทหารและ พลเรือนออกจากกัน และจัดการรวมอานาจเขา้ สู่ศูนย์กลาง ทาใหร้ าชธานมี ีอานาจมากขึน้ มีการควบคุม เขม้ งวดมากขนึ้ มีการปฏริ ูปการปกครองแยกเป็น 2 สว่ น คอื สว่ นกลางและหัวเมือง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแยกการปกครองส่วนกลางเปน็ 2 ฝา่ ย คอื ทหารและพลเรือน ทหาร มี สมหุ กลาโหมดแู ล สว่ นพลเรือนมี สมหุ นายก ดแู ล สมหุ นายก มีอคั รมหาเสนาบดตี าแหนง่ สมหุ นายก ดูแล ขา้ ราชการฝา่ ยพลเรือนทั้งในราช สมหุ กลาโหม มีอคั รมหาเสนาบดตี าแหน่งสมหุ พระกลาโหมเปน็ ผู้ดูแลฝา่ ยทหาร ทั้งในราชานีและหัว เมือง และยังได้ปรบั ปรงุ จตุสดมภ์ภายใต้การดแู ลของ สมหุ นายก อคั รมหาเสนาบดีผู้ดูแลปรบั เปลี่ยนช่อื เป็น ออกญาโกษาธบิ ดี การปฏริ ูปสว่ นหัวเมือง แยกเป็น 3 ส่วน หัวเมอื งช้ันใน ยกเลิกหวั เมืองลกู หลวง จดั ตงั้ เป็นเมืองชั้นใน ทรงขุนนางไปครองเรียก ผรู้ ง้ั

หวั เมืองชัน้ นอก คือหัวเมืองประเทศราชเดมิ ถูกผนวกเป็นสว่ นหนง่ึ ของอยธุ ยาเรยี กว่า เมอื งพระยาม หานคร จดั การปกครองใกล้ชดิ เช่น พษิ ณโุ ลก นครศรีธรรมราช เปน็ เมืองช้ันเอก โท และตรี เมอื งประเทศราช คือ เมอื งชาวตา่ งชาตทิ ย่ี อมอยใู่ ต้อานาจ เชน่ ตะนาวศรี ทะวาย เขมร ให้เจ้านาย พน้ื เมืองเดมิ ปกครอง สง่ บรรณาการและกองทัพมาชว่ ยเวลาเกดิ สงคราม ชว่ งที่ 2 ตรงกบั สมยั พระเพทราชา ถ่วงดุลอานาจทางทหารโดยใหส้ มหุ กลาโหม และสมุหนายก ดูแล ทงั้ ทหารและพลเรือน โดยแบง่ หวั เมืองใต้ ใหส้ มุหกลาโหมดแู ลหัวเมอื งทางใต้และพลเรือน ส่วนพลเรือนและ ทหารฝ่ายเหนือให้ สมหุ กลาโหมดูแล 4.3 การปกครองสมยั อยุธยาตอนปลาย ( ในช่วง 2231-2310) พอถงึ สมัยสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ ครองราชย์ ทรงปรบั เปลย่ี นอานาจทางทหาร เพ่อื ถ่วงดุลมาก ขึ้นโดย ใหพ้ ระโกษาธิบดีหรอื พระคลงั ดแู ลทหารและพลเรือนทางใต้ แทนสมหุ กลา-โหม สว่ นสมหุ นายก ยงั คงเหมือนเดิม การปรับปรุงเปลย่ี นแปลงการปกครองสมัยอยุธยาต้งั แตต่ อนต้นจนถึงตอนปลายน้นั กระทา เพือ่ การรวมอานาจส่ศู ูนย์กลางใหม้ ากทีส่ ดุ เพื่อถ่วงอานาจ ระหว่างเจา้ นาย และ ขุนนาง ไม่ใหเ้ ป็นภยั ต่อ พระมหากษัตริยน์ ้นั เอง

บทที่ 5 สรปุ อภิปายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการทดลอง - จากการศึกษาคน้ คว้าเรือ่ งการเมอื งการปกครองในสมยั กรงุ ศรีอยุธยา มีการปรับปรุงใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ทางการเมือง มจี ุดม่งุ หมายเพื่อพยายามรวมอานาจการปกครองส่สู ว่ นกลางและควบคมุ การ ปกครองหัวเมืองต่างๆ 5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการศึกษาคน้ คว้า - คนในกลุม่ ไมค่ ่อยเข้าใจในเนื้อหาของแตล่ ะบททีต่ ้องคิดหาคาตอบ 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา - การจดั ทาเป็นภาพวดี ีโอ เผยแพร่แกบ่ คุ คลท่ัวไปได้รู้ถึงความเปน็ มา

บรรณานุกรม http://www.satit.up.ac.th https://sites.google.com https://sites.google.com

ประวัติผูจ้ ดั ทา ชื่อเรอ่ื งการเมอื งการปกครองสมัยกรุงศรอี ยุธยา 1.นางสาวกมลพร ธรรมะ ประวตั สิ ่วนตวั เกดิ วนั ท่ี 9 พฤศจิกายน 2546 ทอี่ ยู่ 171 หมู่ 7 ต.พระพุทธบาท อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี ประวัติการศึกษา พ.ศ.2551-2560 ชัน้ ป.6 ร.ร.อนบุ าลพระพุทธบาท พ.ศ.2551-2562 ชน้ั ม.3 ร.ร.ทศบาลพระพุทธบาท พ.ศ.2563 ช้นั ปวช.1 เลขท่ี 2 2.นางสาวชุติมา พวงทอง ประวตั สิ ่วนตัว เกิดวันที่ 22 มีนาคม 2548 อายุ 15 ท่ีอยู่ 33 หมู่ 7 ต.ทา่ เเค อ.เมือง จ.ลพบรุ ี ประวตั กิ ารศึกษา พ.ศ.2551-2560 ชน้ั ป.6 ร.ร.วดั ปา่ กลว้ ย พ.ศ.2551-2562 ชนั้ ม.3 ร.ร.โคกกะเทียมวทิ ยาลยั พ.ศ.2563 ชั้น ปวช.1 เลขที่ 6 3.นางสาวธัญลกั ษณ์ ไชยมาตร ประวัติส่วนตวั เกิดวันที่ 13 กนั ยายน 2547 อายุ 16 ทอี่ ยู่ 14 หมู่ 5 ต.ดอนโพธ์ิ อ.เมือง จ.ลพบุรี ประวตั กิ ารศึกษา พ.ศ.2551-2560 ชั้น ป.6 ร.ร.เทศบาล 3 ระบบสาธิตเทศบาลเมอื งลพบรุ ี พ.ศ.2551-2562 ชนั้ ม.3 ร.ร.เทศบาล 3 ระบบสาธติ เทศบาลเมอื งลพบุรี พ.ศ.2563 ชน้ั ปวช.1 เลขที่ 11

4.นางสาวปาริชาต พึ่งเกดิ ประวตั ิส่วนตัว เกดิ วนั ท่ี 13 ตุลาคม 2547 อายุ 16 ท่อี ยู่ 111 หมู่ 1 ต.งวิ้ ราย อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี ประวัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ.2551-2560 ชน้ั ป.6 ร.ร.เทศบาล 3 ระบบสาธิตเทศบาลเมืองลพบรุ ี พ.ศ.2551-2562 ชน้ั ม.3 ร.ร.เทศบาล 3 ระบบสาธติ เทศบาลเมืองลพบรุ ี พ.ศ.2563 ช้นั ปวช.1 เลขที่ 14 5.นางสาววภิ าวดี เจริญสขุ ประวตั สิ ่วนตัว เกิดวันท่ี 24 ตลุ าคม 2547 อายุ 16 ท่อี ยู่ 14 หมู่ 5 ต.ดอนโพธิ์ อ.เมือง จ.ลพบรุ ี ประวัติการศกึ ษา พ.ศ.2551-2560 ชน้ั ป.6 ร.ร.เทศบาล 3 ระบบสาธิตเทศบาลเมอื งลพบุรี พ.ศ.2551-2562 ชนั้ ม.3 ร.ร.เทศบาล 3 ระบบสาธิตเทศบาลเมืองลพบุรี พ.ศ.2563 ชน้ั ปวช.1 เลขท่ี 20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook