Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OBEC Awards ระดับประเทศ

OBEC Awards ระดับประเทศ

Published by Mansharee S., 2015-08-25 03:49:18

Description: OBEC Awards ระดับประเทศ

Search

Read the Text Version

11.1. คณุ สมบตั เิ บอ้ื งตน้ เชงิ ประจักษ์ คุณสมบตั ติ ามเกณฑ์ประเมนิ ของผ้เู สนอผลงานขอรับรางวัล ที่ รายการประเมิน  ดารงตาแหน่งเจา้ หนา้ ทบ่ี รรณารักษข์ องห้องสมดุ เฉลิมพระ เกียรติ 84 พรรษาโรงเรยี นสันปุาตองวทิ ยาคม สังกดั1.1.1 ดารงตาแหนง่ ลกู จ้างปฏิบตั ิงานใน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา หรอื สานกั งานพ้ืนท่ี  เขา้ เริ่มทางานในตาแหนง่ เจา้ หนา้ ทบ่ี รรณารักษ์ตง้ั แต่วันท่ี การศกึ ษามัธยมศกึ ษา 1 มิถนุ ายน 2554 ถงึ ปัจจบุ ัน1.1.2 ปฏบิ ตั หิ น้าท่ใี นตาแหนง่ ลูกจ้าง  ทางานในตาแหนง่ เจา้ หน้าทบี่ รรณารกั ษ์ โดยไม่เคยถูก มาแล้วไม่น้อยกวา่ 2 ปี นบั ถึงวนั ที่ ลงโทษทางวนิ ยั ย่นื ขอรับการประเมนิ1.1.3 เปน็ ผไู้ มเ่ คยถูกลงโทษทางวนิ ัย ภายใน 2 ปีถึงวนั ทย่ี ่ืนขอรับการ ประเมิน1.2. การครองตนที่ รายการประเมิน คุณสมบัตติ ามเกณฑ์ประเมิน ของผู้เสนอผลงานขอรบั รางวลั1.2.1 เปน็ ผปู้ ฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ เปน็  เปน็ ผแู้ ตง่ กายสุภาพเรยี บร้อยตัวอย่างแก่บคุ คลโดยท่วั ไป  เป็นตัวอย่างท่ีดีแก่เพื่อนร่วมงานและบุคคลท่ัวไป ไม่เคย ต้องคดอี กุ ฉกรรจ์  ปฏบิ ตั ติ นได้เหมาะสมกบั บุคคลกาลเทศะ  ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอย่างท่ีดีต่อนักเรียนและประชาชนทั่วไป เชน่ การแต่งกายการพูดและการแสดงความเคารพต่อผอู้ น่ื  มจี ติ สานึกดีเปน็ บุคคลท่ีมีความตงั้ ใจขยันหม่ันเพียร มีมานะ พ ย า ย า ม ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี บ ร ร ณ า รั ก ษ์ อ ย่ า ง เ ต็ ม ความสามารถ  ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความมีระเบียบวินัยในตนเองทั้งด้านวินัย การเป็นผู้มีระเบียบวินัยการแต่งกาย การตรงต่อเวลา การ ปฏิบัติงานด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต การปฏิบัติตนตาม กฎระเบียบของราชการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายของ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและรฐั บาล  ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับท่ีประชาชนชาวไทยต้อง ปฏบิ ตั ิเพอื่ ใหส้ ังคมอยู่ร่วมกนั ไดอ้ ย่างปกตสิ ุข1.2.2 เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นที่  มี ค ว า ม รั ก ศ รั ท ธ า เ ทิ ด ทู น ใ น ส ถ า บั น ช า ติ ศ า ส น ายอมรับของเพ่ือนร่วมงานในวงการ พระมหากษัตริย์มุ่งมั่นในการทางานในหน้าที่บริการวชิ าชีพ วชิ าการดว้ ยความเสียสละต่อนกั เรียนครชู มุ ชน  มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ปฏิบัติงานโดยคานึงถึงความ อาวุโสของเพ่ือนร่วมงานมาก่อนอันดับแรก รับฟังความ คิดเห็นของเพื่อนร่วมงานที่มีอาวุโสหรืออายุงานมากกว่า เพื่อนาเอาความคิดเห็นนั้นมาปรับปรุงตนเองและรวมถึง การปรับปรงุ งาน

21.2 การครองตน (ต่อ)ที่ รายการประเมิน คณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ประเมิน ของผูเ้ สนอผลงานขอรับรางวลั1.2.2 เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นท่ี  มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมโดยใชห้ ลกั คณุ ธรรมโดยการมีคุณธรรมยอมรับของเพื่อนร่วมงานในวงการ ทั้งต่อตนเองต่อผู้อื่นช่วยเหลือเพ่ือนร่วมงานในการวชิ าชพี ปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ ให้ความรักความเมตตาต่อ นักเรียน มีจิตบริการ ใช้หลักธรรมในการดารงชีวิตประชา วันอันได้แก่ พรหมวหิ าร 4  ช่วยเหลือในการพัฒนาสังคมชุมชนเขตพ้ืนที่บริการของ โรงเรียนอย่างสม่าเสมอเกิดผลดีต่อนักเรียนโรงเรียนและ ชุมชน  เป็นสมาชิกของชมรมบรรณารักษ์โรงเรียน สมาคม หอ้ งสมุดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมป์  เป็นสมาชิกของชมรมห้องสมุดเชียงใหม่ โดยปฏิบัติหน้าที่ เป็นรองประธานชมรมห้องสมุดเชียงใหม่ แผนกการ สง่ เสรมิ การอ่าน1.2.3 เป็นผู้ตรงต่อเวลาและมีวินัยใน  รับผิดชอบหน้าที่เปิดห้องสมุด ต้ังแต่เวลา 7.30 – 16.30ตนเอง น. เป็นประจาทุกวนั  เป็นผู้ท่ีตรงต่อเวลาในการปฏิบัติราชการหรือการนัดหมาย ครูนักเรียนผู้บังคับบัญชาอย่างเคร่งครัดไม่ทาผิดวินัยเช่น การตรงต่อเวลาการไมข่ าดราชการ  มีความรบั ผดิ ชอบปฏบิ ัติตามวินัยข้อบังคับและกฎหมายท้ัง ในฐานะเจ้าหน้าท่ีและในฐานะพลเมืองดีทาให้เกิดผลดีต่อ ตนเองและสงั คม  รู้จกั รกั ษาและไมท่ าลายสาธารณะสมบตั ิโดยปฏิบัติงานเป็น แบบอยา่ งตอ่ ผูใ้ ต้บังคับบญั ชานักเรียนและบุคคลทั่วไป1.3. การครองคน คณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ประเมิน ที่ รายการประเมิน ของผูเ้ สนอผลงานขอรับรางวลั1.3.1 เปน็ ผทู้ ีท่ างานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ดีและ  เป็นผู้ท่ีมีมนุษยสัมพันธ์ดีเยี่ยม เข้ากับเพ่ือนร่วมงานได้เป็น เป็นท่ียอมรบั ของเพื่อนร่วมงาน อยา่ งดีทั้งกับเพ่ือนร่วมงานร่นุ น้องและผอู้ าวโุ ส  มีความสามารถในการให้บริการผู้ผู้มาติดต่องานอย่างมี อัธยาศัยไมตรี ถ้อยทีถ้อยอาศัย และมีจิตบริการ จนได้ รั บ ค า ย ก ย่ อ ง จ า ก ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า เ พ่ื อ น ร่ ว ม ง า น แ ล ะ หนว่ ยงานอนื่ ๆอย่างสมา่ เสมอ  ให้บริการต้อนรับผู้ที่มีติดต่อราชการ หรือเข้ามาศึกษาดู งานกับทางห้องสมุด และโรงเรียนด้วยจิตบริการอย่าง สม่าเสมอ  ใช้ถ้อยคาท่ีสุภาพเหมาะสมต่อการเป็น เจ้าหน้าท่ี บรรณารกั ษ์ มมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ดี่ ตี อ่ ผมู้ าติดต่องานราชการ

31.3. การครองคน (ตอ่ )ที่ รายการประเมนิ คุณสมบัตติ ามเกณฑ์ประเมนิ ของผ้เู สนอผลงานขอรบั รางวลั1.3.1 เป็นผทู้ ี่ทางานรว่ มกับผู้อนื่ ได้ดแี ละ  เป็นบคุ คลท่ีสามารถประสานงานกับบุคคลทั่วไปหน่วยงานเปน็ ทีย่ อมรับของเพื่อนร่วมงาน ราชการหนว่ ยงานรัฐวสิ าหกจิ และหนว่ ยงานเอกชนได้อย่าง(ต่อ) มีประสิทธิภาพทาให้ได้รับความร่วมมือในการพัฒนา ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ เช่น การได้รับบริจาคหนังสือ ภาษาต่างประเทศจากมูลนิธิหนังสือเพื่อไทย การได้รับ บริจาคหนงั สือเยาวชนจากสานกั พิมพแ์ จม่ ใส เปน็ ตน้  ปฏิบัติงานร่วมกับคณะครู บุคลากร คณะกรรมการ สถานศกึ ษา สมาคม ชมรม องค์กรชมุ ชนท้องถ่นิ ตา่ งๆ1.3.2 เปน็ ผู้ทมี่ คี วามเออ้ื เฟ้ือเผ่ือแผ่  มีความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเพ่ือนร่วมงานและทางเสยี สละ เหน็ แก่ประโยชนส์ ว่ นรวม โรงเรียนในการจัดกจิ กรรม  ทุ่มเทเสียสละเวลาและกาลังกาย เพื่อปรับปรุงและ พัฒนาการให้บรกิ ารของหอ้ งสมดุ ในทกุ ด้าน เช่น การติดตั้ง ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULiBM จาเป็นต้องจัดทาข้อมูล ทรัพยากรสารสนเทศกว่าหมื่นเล่มเข้าไปในฐานข้อมูล และ จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศทุกชิ้นให้อยู่ในสภาพพร้อม บรกิ ารอยู่เสมอ1.3.3 เป็นผู้มีความอ่อนน้อมถ่อมตน  เข้าร่วมงานแสดงมุฑิตาจิตเกษียณอายุราชการอย่างเคารพในอาวุโสของผูอ้ ่ืน สม่าเสมอเป็นประจาทุกปี และมักได้โอกาสในการร่วมจัด กิจกรรมการแสดงเพ่ือแสดงมุฑิตาจิตแก่ผู้เกษียณอายุ ราชการเป็นประจา  มีความอ่อนน้อมถ่อมตน รับฟังความคิดเห็นของเพ่ือน ร่วมงานท่ีมีอาวุโสหรืออายุงานมากกว่า เพื่อนาเอาความ คดิ เหน็ น้ันมาปรบั ปรุงตนเอง1.4. การครองงาน คุณสมบัตติ ามเกณฑ์ประเมนิ ที่ รายการประเมนิ ของผ้เู สนอผลงานขอรับรางวัล1.4.1 เปน็ ผู้ท่รี ู้จกั ใชท้ รพั ย์สินของทาง  นาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM (Union Library ราชการให้เป็นประโยชน์ ประหยดั และคมุ้ ค่า Management) ซ่ึงพัฒนาข้ึนโดยมหาวิทยาลัย มหาสารคาม เข้ามาใช้ในห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการจัดหา และใช้ความสามารถ ด้ า น ฐ า น ข้ อ มู ล ข อ ง ต น เ อ ง ใ น ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ก า ร ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ  ปฏิบัติงานด้วยหลักความพอเพียง ใช้งบประมาณเท่าที่ จาเป็น เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในห้องสมุด และชุมชน เน้นการกลับมาใช้ใหม่ โดยเลือกใช้เทคโนโลยีที่ประหยัด และประยุกตใ์ ห้เหมาะสมกับสถานการณ์

41.4. การครองงาน (ตอ่ )ที่ รายการประเมิน คณุ สมบัตติ ามเกณฑ์ประเมิน ของผ้เู สนอผลงานขอรับรางวลั1.4.1 เปน็ ผู้ท่ีรูจ้ ักใช้ทรพั ยส์ นิ ของทาง  ดูแลรักษาและบูรณะทรัพย์สินของราชการให้อยู่ในสภาพดีราชการใหเ้ ป็นประโยชน์ อยู่เสมอ คอยดูแลหนังสือหรือวัสดุท่ีชารุด ให้สามารถนาประหยัด และคุม้ ค่า (ตอ่ ) กลบั มาให้บริการ  มีการเพ่ิมการหมุนเวียนทรัพยากรเดิมภายในห้องสมุด เช่น นา หนังสือที่มีการใช้น้อยออกมาแสดงเป็นนิทรรศการ ประจาเดอื น  มุ่งสู่ e-office ด้วยการนาเทคโนโลยีท่ีไม่เสียค่าบริการมา ประยุกต์ใช้ โดยสามารถนามาใช้งานได้จริง และมี ประสิทธิภาพ เช่น Google Drive, Facebook1.4.2 เป็นผู้ที่มีความอดทนไม่ย่อท้อต่อ  มีความขยนั หมั่นเพียรแสวงหาความรู้ใหม่ๆมาพัฒนาตนเองปญั หา อปุ สรรคในการปฏบิ ัติงาน และงานท่ีรับผิดชอบอยู่เสมอ เช่น การศึกษาหาความรู้ใน ระดับปริญญาโทและการเข้ารับการอบรม ประชุมสัมมนา กบั หนว่ ยงานองค์การเอกชนอยา่ งน้อยปีละ 1 ครง้ั  จัดให้มีการสารวจเพื่อศึกษาผู้ใช้ และสอบถามปัญหาของ ผู้ใช้เป็นประจาทุกปี เพ่ือนาเอาปัญหาท่ีได้มาพัฒนาและ ปรับปรุงบรกิ ารท่มี ีอยู่ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากข้ึน  มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงาน และการตัดสินใจของ ตนเอง โดยนอกจากจะเป็นผู้รับผิดชอบงานด้านระบบ เครือข่ายและฐานข้อมูลทั้งหมดของห้องสมุดแล้ว ยังเป็น ผรู้ บั ผิดชอบงานบริการท้ังหมดของห้องสมุด1.4.3 เป็นผู้ที่มีคว ามสามารถแล ะ  จ บ ก า ร ศึ ก ษ า จ า ก ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ ส า ข า วิ ช าปฏิภาณไหวพริบในการแกป้ ัญหา บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดยตรง จึงนา ความรู้ความสามารถเขา้ มาใช้ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหา ของหอ้ งสมดุ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและถูกต้อง  ใช้หลักการจัดการความเปลี่ยนแปลงเข้ามาใช้ในการ ตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หาตา่ งๆทีเ่ กิดข้ึนระหว่างการให้บริการ ห้องสมุด เพอื่ ใหส้ อดคล้องต่อสภาพสงั คมโลกาภวิ ฒั น์  มีความสามารถทางด้านเทคโนโลยี ICT สามารถปรับแก้ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในหอ้ งสมุด และเครื่องแม่ ข่าย (Server) ของโรงเรียน เพื่อให้สามารถให้บริการ Library Online ผา่ นเวบ็ ไซตข์ องห้องสมดุ ได้  ปรับปรุงและพัฒนาห้องเก็บของให้กลายเป็นห้อง มัลติมีเดียสาหรับให้นักเรียนชมภาพยนตร์และสาหรับ ครผู ้สู อนใชท้ าการสอนหรอื ทากจิ กรรมตา่ งๆ  จัดสวนรกร้างระหว่างอาคารให้กลายเป็นสวนความรู้และ มุมอาเซียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และยังเป็น สถานทใ่ี หน้ ักเรียนไดเ้ ข้ามาใชพ้ กั ผอ่ นหย่อนใจในเวลาว่าง

52.1 การประเมนิ สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ าน2.1.ความรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีท่ี รายการประเมิน คณุ สมบัตติ ามเกณฑ์ประเมิน ของผู้เสนอผลงานขอรับรางวลั2.1.1 มีความตั้งใจปฏิบตั ิงานให้ไดร้ ับ  ปฏิบัติหน้าท่ีเจ้าหน้าท่ีบรรณารักษ์ด้วยความตั้งใจ ท้ังในความสาเร็จ เวลาทาการและนอกเวลาทาการ เพ่ือให้สามารถทางานที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ความสาเร็จ เพื่อให้ผูใ้ ช้บริการได้รับความพึงพอใจสูงสดุ  ออกแบบและจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเชิงสร้างสรรค์ อย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง โดยเลือกจัดกิจกรรมแบบนอก กรอบ สง่ ผลใหม้ ผี เู้ ข้าใช้หอ้ งสมุดเพ่ิมมากขึน้  จัดให้มีบริการและกิจกรรมใหม่ท่ีตอบสนองต่อความ ตอ้ งการของผู้ใช้ และประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก เช่น บรกิ ารยมื หนงั สอื ชว่ งปดิ เทอม กจิ กรรมพบนักเขยี น เป็นต้น  จัดทาแบบประเมินความพึงพอใจในการดาเนินการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และบริการของห้องสมุดทุกครั้งท่ี จัดกิจกรรม โดยนาเอาผลท่ีได้จากการประเมินมาใช้ในการ จดั กิจกรรมหรือบริการต่อๆไป2.1.2 ปฏิบตั งิ านในหนา้ ท่ี ความ  รับผิดชอบหน้าที่เปิดห้องสมุด ตั้งแต่เวลา 7.30 – 16.30 น.รบั ผิดชอบท่ไี ด้รบั มอบหมาย เป็นประจาทุกวนัอย่างมีประสิทธิภาพ  ปรับเปล่ียนบรกิ ารให้เขา้ กบั ความต้องการและพฤติกรรมของ ผู้ใช้อยู่เสมอ เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ใช้เข้ามาใช้ ห้องสมุดทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยจะเห็นได้จากสถิติการ เข้าใช้หอ้ งสมดุ ท่ีเพิม่ ขน้ึ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั  จัดทาสารสนเทศการใช้งานห้องสมุดอย่างละเอียดเป็น ประจาทุกวันสุดท้ายของเดือน เพ่ือนามาใช้เป็นข้อมูล ประกอบในการตดั สินใจของฝุายบรหิ าร  ประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยการประเมินผลความพึงพอใจ ในการให้บริการห้องสมุดเป็นประจาทุกปี โดยนาผลที่ได้รับ จากการวิจัยเชิงสารวจมาปรับปรุง พัฒนา แก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นจากการทางาน มาปรับปรุงหรือจัดทาบริการใหม่ใน ทุกปกี ารศึกษา2.1.3 ให้ความร่วมมือและช่วยเหลอื ใน  จัดบริการห้องสมุดที่สนับสนุนและช่วยเหลือครูในการการปฏบิ ัตงิ าน ปฏิบัติงานจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ใน ฐานะท่เี ปน็ แหล่งเรยี นรหู้ ลักของโรงเรยี น  ให้ความช่วยเหลือในการปฏิบัติงานกิจกรรมต่างๆของ โรงเรียนอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมที่ได้รับคาส่ังเป็นลาย ลักษณ์อักษรโดยตรง หรือว่าจะเป็นกิจกรรมที่มีเพื่อน รว่ มงานมารอ้ งขอความช่วยเหลอื หรือไม่กต็ าม

62.1. ความรู้ความสามารถและความพึงพอใจในการปฏบิ ัติตนท่ี รายการประเมิน คุณสมบัติตามเกณฑ์ประเมิน ของผู้เสนอผลงานขอรับรางวัล2.2.1 มีความสามารถในการนาความรู้  จ บ ก า ร ศึ ก ษ า จ า ก ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ ส า ข า วิ ช าท่มี อี ยู่ไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงานได้ บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดยตรง จึงนาเป็นอย่างดี ความรู้ความสามารถเข้ามาใช้ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหา ของห้องสมุดไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและถกู ตอ้ ง  ใช้ความสามารถทางด้าน ICT มาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง แก้ไขระบบเครือข่ายภายในห้องสมุด และเครื่องแม่ข่าย เพ่ือให้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเป็นไปอย่างเสถียรภาพ และ สามารถใหบ้ ริการไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้นึ  นาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM ซ่ึงมีมาตรฐานระดับ สากล ทั้งในด้านการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศภายใน ห้องสมุด จัดเก็บฐานข้อมูลวัสดุสารสนเทศด้วยระบบ MARC ซึ่งเป็นมาตรฐานการลงรายการที่เป็นสากล ทาให้ สามารถให้บริการผ่านทางเว็บไซต์ของห้องสมุด รองรับการ เช่ือมต่อ และการแลกเปลีย่ นขอ้ มูลกบั ห้องสมดุ ไดท้ ัว่ โลก2.2.2 มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา  เปน็ ผทู้ ่มี ีความสามารถทางด้านเทคโนโลยี ICT โดยสามารถและมปี ฏิภาณไหวพรบิ ในการ ปรับแก้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในห้องสมุด และปฏิบัตงิ าน เคร่ืองแม่ข่าย (Server) ของโรงเรียน เพ่ือให้เหมาะสมต่อ การทางานของระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ ULibM  ทาการวิจัยเพื่อศึกษาผู้ใช้ ประกอบกับการใช้หลักการ จัดการความเปล่ียนแปลงเข้ามาใช้ในการตัดสินใจและ แก้ปัญหาต่างๆที่เกิดข้ึนระหว่างการให้บริการห้องสมุด เช่น ปรับเปลี่ยนสื่อการสอนผู้ใช้ให้เป็นแบบภาพเคลื่อนไหว โดย เปิดใหบ้ ริการผา่ น YouTube ของหอ้ งสมดุ2.2.3 รกั และชอบทจี่ ะปฏิบตั งิ านใน  เปน็ ผมู้ จี ิตบรกิ าร ยิ้มแยม้ แจ่มใสและมีไมตรีกับผู้ใช้ทุกคนในหน้าที่ ความรบั ผิดชอบ หรอื หอ้ งสมดุ โดยไมม่ กี ารเลอื กปฏิบัติงานที่ได้รบั มอบหมายด้วยความ  จัดสถานที่ภายในห้องสมุดให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะเตม็ ใจ ใหบ้ รกิ ารอยู่เสมอ เพือ่ ให้เกิดความมนั่ ใจว่าผูเ้ ข้ามาใช้บริการ หอ้ งสมดุ ทกุ คนจะไดร้ บั บริการท่ีดีที่สุด  มีการพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ เข้าร่วมการอบรม หรือ การสัมมนาในหัวข้อที่คาดว่าจะมีประโยชน์ต่อการให้บริการ และสามารถนามาพัฒนาการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย อย่างนอ้ ยปีละ 1 คร้งั  มีความกระตือรือร้นในการค้นหาข้อมูลข่าวสารใดๆซ่ึงคาด ว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ นามาเผยแพร่และให้บริการผ่าน ทางบริการข่าวสารทันสมัยผ่านทาง Facebook ที่เป็น เทคโนโลยีที่ทันสมัย และตรงต่อความสนใจของนักเรียนใน ศตวรรษท่ี 21

72.3. ความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรคแ์ ละปรบั ปรงุ งานท่ี รายการประเมิน คุณสมบัตติ ามเกณฑ์ประเมิน ของผเู้ สนอผลงานขอรับรางวัล2.3.1 มีความสามารถในการคดิ รเิ รมิ่ หา  นาหลักการตลาดและการประชาสัมพันธ์เข้ามาใช้ในงานหลกั การ แนวทาง วิธกี ารใหม่ ๆ หอ้ งสมุด เพ่ือดึงดูดให้ผู้ใช้บริการข้ามาใช้บริการ และสร้างมาใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั งิ าน ภาพลกั ษณท์ ่ดี ีของห้องสมดุ  สร้างนวัตกรรมใหม่ในการปฏิบัติงาน ซ่ึงก่อให้เกิดบริการ และความรู้ใหม่ในการปฏิบัติงานในเชิงบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ เป็นประโยชน์ต่อวงการห้องสมุด โรงเรยี นในภาพรวม เชน่ o โต๊ะนีม้ ีความรู้ นาเอาหลกั การการเรียนรู้มาประยุกต์ให้ เข้ากับโต๊ะ ทาให้โต๊ะตัวเก่าภายในห้องสมุดกลายเป็น อีกหนึ่งแหล่งเรียนรู้สาคัญ และยังเพ่ิมคุณค่า (Value) ให้กับโตะ๊ ตัวเก่าในหอ้ งสมดุ o นิทรรศการเคลื่อนท่ี ใช้ร่มกระดาษสามาเป็นเคร่ืองมือ ในการจัดนิทรรศการ โดยสามารถเคลื่อนย้าย นิทรรศการและนาไปตกแต่งได้ตามต้องการ โดย สามารถร้ือออก พับเก็บ และยังสามารถนากลับมา ใชไ้ ด้อีกในอนาคต o นิทรรศการ Reuse เป็นการประยุกต์ใช้ด้านหลังของ แ ผ่ น ไ ว นิ ล พ ล า ส ติ ก ที่ ไ ม่ ใ ช้ แ ล้ ว ม า จั ด เ ป็ น แ ส ด ง นิทรรศการ ทาให้เกิดนิทรรศการรูปแบบใหม่ท่ี สร้างสรรค์ ประหยดั และยงั คงความเปน็ หอ้ งสมดุ  นาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทางาน เช่น การนา แบบฟอรม์ อเิ ลค็ ทรอนิกส์มาให้บรกิ ารแกน่ ักเรยี นครู เพื่อลด การใช้กระดาษ และยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงให้การ ปฏิบัติงานเป็นระบบ e-Office ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพิม่ เติม  นาเอาสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เช่น Facebook , YouTube เข้ามาใชใ้ นงานบรกิ ารหอ้ งสมุดเชน่ การเผยแพร่ ข่าวสารของห้องสมุดให้ผู้ใช้ได้รับทราบ หรือสารสนเทศที่ น่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าใช้บริการได้ตลอดเวลา อีกทั้งยังเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่าง บรรณารักษ์กับผใู้ ช้ไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมง2.3.2 มคี วามสามารถในการปรบั ปรุงงาน  ปรับปรุงส่ือการสอนการใช้ห้องสมุดในรูปแบบที่ให้มีประสทิ ธิภาพย่ิงขน้ึ หลากหลาย เช่น การจัดทาแผ่นพับการสอนการใช้ ห้องสมุด การทาคู่มือการใช้บริการห้องสมุดผ่านเว็บไซต์ การจัดทาสื่อการสอนการใช้บริการห้องสมุดผ่านเว็บไซต์ ท า ง YouTube โ ด ย ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ ท่ี http://www.youtube.com/svklibrary ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

82.3. ความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์และปรบั ปรงุ งาน (ต่อ)ที่ รายการประเมนิ คณุ สมบัตติ ามเกณฑ์ประเมนิ ของผู้เสนอผลงานขอรบั รางวัล2.3.2 มคี วามสามารถในการปรบั ปรุง  เปลี่ยนระบบการทางานของห้องสมุดจากเดิมใช้ระบบงานให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น (ตอ่ ) บัตรรายการ มาใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM (Union Library Management) ซ่ึงพัฒนาขึ้นโดย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้ามาใช้ในห้องสมุดเฉลิมพระ เกียรติ 84 พรรษา ทาให้สามารถให้บริการสืบค้นและ บริการอื่นๆ เช่น การยืมหนังสือต่อ การจองหนังสือ การ แนะนาหนังสือ หรือติดต่อกับบรรณารักษ์ ทาให้สามารถ ปฏิบตั งิ านหอ้ งสมุดโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง แม่นยา และมี ประสทิ ธิภาพ  จัดการบริการเชิงรุกเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผู้สอน เข้าใช้ห้องสมุดในฐานะแหล่งเรียนรู้ และเพ่ือส่งมอบ ข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียน การสอนในทกุ กลุ่มสาระวิชา เช่น o บรกิ าร Book Delivery ท่ีครูผู้สอนสามารถใช้บริการ ห้องสมุดผ่านนักเรียนยุวบรรณารักษ์ ทาให้สถิติการ ใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมุดของครูเพิ่มขน้ึ อยา่ งเห็นไดช้ ัด o บริการสนับสนุนการสอน และการจัดบริการ ห้องเรียน เช่น ห้องมัลติมีเดีย และห้องสืบค้นทาง อินเทอร์เน็ต โดยให้บริการจองผ่านทางเว็บไซต์ของ ห้องสมดุ ทาใหม้ ีการใช้ห้องสมุดในฐานะแหล่งเรียนรู้ เพ่มิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง2.3.3 มีความสามารถในการทางานท่ี  นาเอาระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาให้บริการแก่ห้องสมุดได้ยากหรืองานใหมใ่ ห้สาเร็จเป็นผลดี ภายในระยะเวลา 10 วนั นับจากวันที่เร่ิมปฏิบัติงานในวัน แรก และสามารถให้เปิดบริการผ่านระบบห้องสมุด ออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์ของห้องสมุด ได้อย่างมี ประสิทธิภาพภายในระยะเวลา 2 เดือนนับจากวันท่ีเร่ิม ปฏิบตั งิ าน  ฝึกฝนและปลูกฝังนักเรียนยุวบรรณารักษ์ให้เป็นตัวแทน ด้านการอ่านแก่นักเรียนอื่นๆภายในโรงเรียน จนกระท่ัง สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เทียบเท่ากับบรรณารักษ์ และยัง เปน็ ผดู้ าเนินกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นของหอ้ งสมดุ อีกดว้ ย  ปรับปรุงสื่อการสอนการใช้ห้องสมุดให้อยู่ในรูปแบบท่ีเป็น พลวัต น่าสนใจ และดึงดูด เช่น การจัดทาส่ือมัลติมีเดีย สอนการใช้ห้องสมุดในรูปแบบภาพยนตร์สั้นเชิงสารคดี เรื่อง “สิ่งที่ Google ไม่เคยสอน” ซึ่งได้แพร่ภาพทาง รายการ กบจูเนียร์ OPEN ทางช่อง ทีวีบรู พา

92.4 ความพากเพยี รในการทางานและผลงานเป็นท่ีพอใจที่ รายการประเมนิ คณุ สมบัติตามเกณฑ์ประเมนิ ของผู้เสนอผลงานขอรับรางวลั2.4.1 มคี วามกระตือรอื รน้ ต้องการทีจ่ ะ  ทุ่มเทเสียสละเวลาและกาลังกาย เพื่อปรับปรุงและปฏิบตั งิ านทร่ี บั มอบหมายจนสาเรจ็ พัฒนาการให้บริการของห้องสมุดในทุกด้าน เช่น การ ติดต้ังระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULiBM จาเป็นต้องจัดทา ข้ อ มู ล ท รั พ ย า ก ร ส า ร ส น เ ท ศ ก ว่ า ห มื่ น เ ล่ ม เ ข้ า ไ ป ใ น ฐานขอ้ มูล และจดั เตรียมทรัพยากรสารสนเทศทุกช้ินให้อยู่ ในสภาพพรอ้ มบรกิ ารอยู่เสมอ  จัดทาสารสนเทศการให้บริการห้องสมุดเป็นประจา สม่าเสมอทุกเดือน เพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศของห้องสมุด เปน็ ปจั จุบัน พร้อมใหบ้ ริการอยู่เสมอ  ให้ความสาคัญทางด้านการสอนการใช้ห้องสมุด เพ่ือ ส่งเสริมการเข้าใช้บริการห้องสมุดผ่านทางเว็บไซต์ของ ห้องสมุด โดยได้จัดทาสื่อการสอนการใช้ห้องสมุดผ่านทาง สื่อมัลติมีเดียออนไลน์ เช่น YouTube เพ่ือให้บริการแก่ ผู้ใช้ที่ไม่สะดวกเข้ามาใช้บริการในห้องสมุด อีกทั้งยังเป็น การสร้างภาพลักษณท์ ่ีทันสมัยใหก้ บั ห้องสมุด  เข้ารว่ มการประชมุ อบรม สมั มนาในหัวข้อใหม่ๆท่ีสามารถ นามาพัฒนางานและการใหบ้ ริการ2.4.2 มีความขยนั หม่ันเพียร เสียสละ  จัดทาโครงการฝึกหัดยุวบรรณารักษ์ ในการดาเนินงานและอุทศิ เวลาใหแ้ กร่ าชการหรือ ห้องสมุดให้เทียบเท่าบรรณารักษ์ เช่น การให้บริการยืม-งานทร่ี ับผดิ ชอบ คืน และงานเทคนิคของห้องสมุดเบ้ืองต้น เช่น การ ลงทะเบียนหนังสือ การจัดหนังสือข้ึนช้ัน จนได้มาซ่ึง นกั เรยี นยวุ บรรณารักษท์ ีม่ ีจิตอาสา จิตบรกิ ารและมีความรู้ ด้านห้องสมดุ  มุ่งส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมท่ี สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาตนเองโรงเรียนและสังคม เช่น การ ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนกลุ่มยุวบรรณารักษ์ได้ใช้ ความสามารถในการจัดทาส่ือมัลติมีเดียในการทาส่ือการ สอนการใช้ห้องสมุด และระบบสารสนเทศ ทาให้นักเรียน ยุวบรรณารักษ์มีการพัฒนาเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดี ทั้ง ด้านความประพฤติ ความฉลาดทางอารมณ์ และผลการ เรียน2.4.3 ได้รับการยกย่องในความสาเร็จของ ผลงานตอ่ โรงเรียนงาน  ห้องสมุดฯ ได้รับรางวัลพระราชทาน ห้องสมุดโรงเรียน ขนาดใหญด่ เี ดน่ ระดบั ภาคเหนือ จากสมาคมห้องสมุดแห่ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ป์  ได้รับรางวัลโ รงเรียนส่งเสริมการอ่านยอดเย่ียม ระดับประเทศ จากโครงการนานมีบุ๊คส์รีดด้ิงคลับ ครั้งที่ 12 โดยบรษิ ัทนานมบี ๊คุ ส์พบั ลเิ คช่นั ส์

102.4 ความพากเพยี รในการทางานและผลงานเป็นท่พี อใจ (ตอ่ )ที่ รายการประเมนิ คุณสมบัติตามเกณฑ์ประเมนิ ของผเู้ สนอผลงานขอรับรางวลั2.4.3 ได้รบั การยกยอ่ งในความสาเร็จของ ผลงานต่อนกั เรียนงาน (ต่อ)  เด็กหญิงกัญญาภัค จาเอ้ย นักเรียนยุวบรรณารักษ์ ได้รับ คัดเลือกให้เป็น “ผู้นาการอ่านยอดเย่ียมระดับประเทศ” ในโครงการนานมีบ๊คุ สร์ ีดดิงคลับ ครัง้ ที่ 12  สารคดีเร่ือง “สิ่งท่ี Google ไม่เคยสอน” ของยุว บรรณารักษ์ ได้แพร่ภาพทางรายการ กบจูเนียร์ OPEN ทางชอ่ ง ทวี บี รู พา ผลลงานต่อตนเอง  ไ ด้ รั บ ร า ง วั ล คุ ณ ค รู ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร อ่ า น ย อ ด เ ย่ี ย ม ระดับประเทศ จากโครงการนานมีบุ๊คส์รีดดิ้งคลับ คร้ังที่ 12 โดยบริษทั นานมบี ุ๊คสพ์ ับลิเคช่นั ส์  ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองประธานชมรมห้องสมุด เชียงใหม่ แผนกสง่ เสรมิ การอ่าน2.5. การคานึงถงึ ประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนท่ี รายการประเมิน คุณสมบัตติ ามเกณฑ์ประเมนิ ของผู้เสนอผลงานขอรับรางวลั2.5.1 ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ยึ ด ห ลั ก  ยดึ ผลประโยชน์ของผูใ้ ชบ้ ริการเป็นหลักในการตัดสินใจและผลประโยชน์ของส่วนรวมและ ดาเนินงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งบริการท่ีตรงต่อความต้องการประชาชน ของผู้ใช้ และยังเกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน ในภาพรวม โดยแบ่งผู้ใช้ออกเป็น 3 กลุ่มตามลาดับ คือ นักเรยี น ครู และชมุ ชน  ใช้การหลักจัดการการเปลี่ยนแปลงเข้ามาใช้ในการ ปฏิบัติงาน ข้ึนอยู่กับกระแสความเปล่ียนแปลงของสังคม และผใู้ ช้ ไมย่ ดึ ตดิ กบั กฎเกณฑต์ ายตัว คานึงถึงผลประโยชน์ ของสว่ นรวมมากกวา่ ความสะดวกในการทางาน2.5.2 ใ ช้ วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ  ปฏิบัติงานด้วยหลักความพอเพียง เลือกใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่สาธารณูปโภคได้อย่างประหยัด ในห้องสมุด และชุมชน เน้นการกลับมาใช้ใหม่ โดยเลือกใช้และเหมาะสม เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ป ร ะ ห ยั ด แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ สถานการณ์ ใช้งบประมาณเท่าท่ีจาเป็นเท่าน้ัน เช่น o กิจกรรม ASEAN Walkpath การนาเอาตู้หนังสือเดิม ในห้องสมุดมาจัดเป็นทางเดินอาเซียนเชื่อมระหว่าง อาคาร o กิจกรรม Human Library การนาครูภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาใหค้ วามรูด้ า้ นภมู ิปญั ญา เช่น การตัดตุง การทาขนม เทียน การพับดอกกุหลาบใบเตย เพื่อสืบสาน วัฒนธรรมล้านนา

112.5. การคานึงถงึ ประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน (ต่อ)ที่ รายการประเมิน คณุ สมบัติตามเกณฑ์ประเมิน ของผู้เสนอผลงานขอรับรางวลั2.5.2 ใ ช้ วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ  นาเอาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM (Union Libraryสาธารณูปโภคได้อย่างประหยัด Management) โดยใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติน้ีผ่านและเหมาะสม (ต่อ) ท า ง เ ค ร่ื อ ง แ ม่ ข่ า ย ท่ี มี อ ยู่ แ ล้ ว ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ ทาให้ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการจัดหาโปรแกรม ห้องสมุดอัตโนมัติและด้านการดาเนินงานเบ้ืองต้น ทาให้ สามารถรองรับการเช่ือมต่อ และแลกเปล่ียนข้อมูลกับ หน่วยงานอื่นๆได้ในอนาคตและยังสามารถให้บริการสืบค้น และบรกิ ารอ่นื ๆผา่ นทางเวบ็ ไซตข์ องหอ้ งสมุดได้อกี ดว้ ย  ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทางาน เพื่อลดการใช้ กระดาษสนิ้ เปลือง เช่น การนาแบบฟอร์มอิเลคทรอนิกส์มา ให้บริการแก่นักเรียนครู ทาให้สามารถลดการใช้กระดาษ หรือวัสดุสิ้นเปลือง และยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงให้การ ปฏิบัติงานเป็นระบบ e-Office ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพิม่ เติม  สร้างนวัตกรรม“โต๊ะนี้มีความรู้” ซึ่งเป็นการให้บริการใหม่ โดยปรับปรุงโต๊ะบริการอ่านหนังสือเดิม ให้กลายเป็นโต๊ะที่ สามารถให้ความรู้แก่ผู้ใช้ได้ ด้วยการนใบความรู้เรื่องภูมิ ปัญญาท้องถิ่นของอาเภอสันปุาตอง และอาเซียนมาติดบน โต๊ะ ซ่ึงเป็นนวัตกรรมต้นแบบ ที่มักถูกนาไปอ้างอิงในการ เรียนการสอนในระดบั มหาวทิ ยาลัยอยู่เสมอ  สรา้ งนวัตกรรม “นทิ รรศการ Reuse”ซง่ึ การแสดงผลงาน โดยใช้วสั ดุเหลือใช้ โดยการการนาเอาดา้ นหลังของแผน่ ปูาย ไวนลิ มาใช้เป็นสถานที่แสดงนิทรรศการ โดยนามาตัดให้มี ขนาดเท่ากบั กระดาษหนังสอื พมิ พ์ และเสียบกับไมเ้ สียบ หนงั สอื พิมพ์ ทาใหเ้ กดิ นิทรรศการรูปแบบใหมท่ ่สี รา้ งสรรค์ ประหยดั และยงั คงความเป็นห้องสมดุ อย่างเต็มเปย่ี ม2.5.3 รว่ มมือ ช่วยเหลือ และ  จัดบริการห้องสมุดที่สนับสนุนและช่วยเหลือผู้ใช้ในการประสานงานระหว่างราชการกบั ปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดการเรียนการสอน หรือประชาชน ว่ า จ ะ เ ป็ น ด้ า น ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร อ่ื น ๆ ท่ี เกี่ยวข้องกับห้องสมุด ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ไม่ว่าจะเป็น บริการห้องมัลติมีเดีย หรือบริการห้องสืบค้นทาง อนิ เทอร์เน็ต หรอื บริการห้องถา่ ยเอกสาร  แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ด้วยการจัดกิจกรรมยุวบรรณารักษ์ อาสา ให้คาปรึกษาและจัดหอ้ งสมดุ ทีข่ าดแคลนบรรณารักษ์ ที่มีความรู้ด้านการบริหารงานห้องสมุด โดยท่ีผ่านมาได้ไป จัดกิจกรรมทห่ี อ้ งสมดุ โรงเรียนบ้านเปยี ง และบ้านกาด (เขม วงั ส์ฯ)

123.1ผลงานท่ปี ฏิบัติเกย่ี วกบั หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบท่ี รายการประเมิน คณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ประเมนิ ของผเู้ สนอผลงานขอรับรางวัล3.1.1 เ อ า ใ จ ใ ส่ ดู แ ล ก า ร บ ริ ก า ร  ให้บริการผู้ผู้มาติดต่องานอย่างมีอัธยาศัยไมตรีถ้อยทีถ้อยประชาชน อาศัยและมีจิตบริการจนได้รับคายกย่องจากผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานและหนว่ ยงานอื่นๆอยา่ งสมา่ เสมอ  มีแนวคิดในการทางานท่ียึดเอาผู้ใช้บริการ คือ นักเรียน และครู เป็นหลักในการตัดสินใจและดาเนินงานอยู่เสมอ เพ่ือให้ได้มาซึ่งบริการท่ีตรงต่อความต้องการของผู้ใช้ และ ยงั เกดิ ประโยชน์ต่อการจดั การเรียนการสอนในภาพรวม  ให้ความสาคัญทางด้านการสอนการใช้ห้องสมุด โดยมี เปูาประสงค์เพ่ือส่งเสริมการเข้าใช้บริการห้องสมุดผ่านทาง เว็บไซต์ของห้องสมุด โดยได้จัดทาส่ือการสอนการใช้ ห้องสมุดผ่านทางสื่อมัลติมีเดียออนไลน์ เช่น YouTube เพ่อื ให้บริการแกผ่ ใู้ ช้ทีไ่ ม่สะดวกเข้ามาใช้บริการในห้องสมุด3.1.2 งานท่ีปฏิบัติสาเรจ็ ด้วยความ  ปฏิบัติหน้าที่ดูแลความเรียบร้อยภายในห้องสมุด ทาให้เรยี บร้อย ห้องสมุดอยู่ในสภาพพร้อมที่จะให้บริการอยู่เสมอ เพ่ือ สามารถส่งมอบบริการท่ีดีให้แก่ผู้ใช้ ท้ังนักเรียน และครูอยู่ ตลอดเวลา  จัดทาสารสนเทศการใช้งานห้องสมุดอย่างละเอียดเป็น ประจาทุกเดือน เช่น สถิติการเข้าใช้ห้องสมุดแบ่งตาม ประเภทของผู้ใช้ สถิติการเข้าใช้ห้องสมุดแบ่งตามช่วงเวลา สถิตกิ ารยมื หนงั สือแบง่ ตามประเภทของหนังสอื เป็นต้น3.1.3 ปฎบิ ตั ดิ ้วยความรวดเร็ว ไมล่ า่ ชา้  นาเอาระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาให้บริการแก่ห้องสมุดได้ทนั ตามกาหนด ภายในระยะเวลา 10 วัน นับจากวันที่เร่ิมปฏิบัติงานในวัน แรก และสามารถให้บริการผ่านระบบออนไลน์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพภายในระยะเวลา 2 เดือนนับจากวันที่เร่ิม ปฏิบตั ิงาน  ใช้หลักการจัดการที่ดีในการจัดการบริการยืม-คืน ที่มี ประสิทธภิ าพ โดยจัดทาผังงานบรกิ ารทีใ่ ช้งานได้จรงิ เพ่ือให้ การบริการเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน เป็นระบบและมี ประสิทธภิ าพ

133.2. ผลงานดงั กลา่ วเป็นประโยชนต์ ่อราชการและสังคมที่ รายการประเมนิ คณุ สมบัตติ ามเกณฑ์ประเมนิ ของผูเ้ สนอผลงานขอรบั รางวัล3.2.1 เป็นผลงานท่ีทางราชการได้รับ  โรงเรยี นได้รบั ช่ือเสียงจากการได้รบั รางวัลดังตอ่ ไปนี้ประโยชน์ o รางวัลพระราชทาน ห้องสมุดโรงเรียนขนาดใหญ่ดีเด่น ระดับภาคเหนือ จากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมป์ o รางวัลโรงเรียนส่งเสริมการอ่านยอดเย่ียมระดับประเทศ จากโครงการนานมีบุ๊คส์รีดดิ้งคลับ คร้ังท่ี 12 โดยบริษัท นานมีบุค๊ ส์พบั ลิเคชน่ั ส์ o รางวัลคุณครูส่งเสริมการอ่านยอดเย่ียมระดับประเทศ จากโครงการนานมีบุ๊คส์รีดด้ิงคลับ คร้ังที่ 12 โดยบริษัท นานมบี คุ๊ ส์พับลเิ คชนั่ ส์ o รางวัลนักเรียนผู้นาส่งเสริมการอ่านยอดเยี่ยม ระดับประเทศ จากโครงการนานมีบุ๊คส์รีดด้ิงคลับ คร้ังท่ี 12 โดยบรษิ ทั นานมีบุ๊คส์พบั ลเิ คชัน่ ส์3.2.2 ประชาชนได้รบั ประโยชน์จาก  การจัดเรียนการสอนของโ รงเรียนเป็นไปอย่างมีผลงานทป่ี ฏิบัตงิ าน ประสิทธิภาพ จากการให้บริการห้องสมุดในฐานะแหล่ง เรียนรู้ ซ่ึงทาให้เกิดทักษะการสืบค้น และนิสัยรักการอ่าน และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซ่ึงจะเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้ ประเทศชาติพัฒนาไปในทางทางทด่ี ีในอนาคต  นักเรียน ครู บุคลากร และบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึง บริการ และข่าวสารต่างของห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ 84 พ ร ร ษ า ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง ห้ อ ง ส มุ ด ท า ง http://library.svk.ac.th ได้ตลอด 24 ชว่ั โมง  การนาข่าวสารของห้องสมุด หรือสาระบันเทิงที่มีประโยชน์ แผยแพร่ลงใน Facebook ของห้องสมุด เป็นการส่งเสริม การรู้สารสนเทศ (Information Literacy) และการรู้สื่อ (Media Literacy) ให้กับผู้ท่ีเข้ามากดชื่นชอบ (Like) ใน แฟนเพจของห้องสมุด  จัดบริการเชิงรกุ เพ่ือให้บริการแก่ครูผู้สอนท่ีไม่สะดวกเข้ามา ใชบ้ รกิ ารเองโดยสามารถใช้บริการห้องสมุดผ่านนักเรียนยุว บรรณารักษ์ทาให้สถิติการยืมหนังสือของครูเพ่ิมขึ้นอย่าง เห็นไดช้ ัด  จัดกิจกรรมยุวบรรณารักษ์อาสา โดยให้นักเรียนยุว บรรณารักษ์แสดงความมจี ิตอาสา แสดงความรับผิดชอบต่อ สังคม ด้วยการไปชว่ ยจดั และให้ความรู้แก่ห้องสมุดโรงเรียน ใกล้เคียง เช่น ห้องสมุดโรงเรียนบ้านเปียง ห้องสมุด โรงเรยี นบ้านกาด (เขมวงั ส์)

143.2. ผลงานดังกล่าวเปน็ ประโยชนต์ อ่ ราชการและสงั คม (ตอ่ )ท่ี รายการประเมนิ คณุ สมบัติตามเกณฑ์ประเมนิ ของผ้เู สนอผลงานขอรับรางวัล3.2.3 ใชง้ บประมาณของทางราชการ  ใช้ความสามารถทางด้านICT มาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขนอ้ ยแต่ไดร้ บั ประโยชนม์ าก ระบบเครือข่ายภายในห้องสมุดและเคร่ืองแม่ข่ายนาระบบ ฐานข้อมูลเขา้ มารเิ รมิ่ ใชใ้ นงานห้องสมุดโดยสามารถปรับแก้ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในห้องสมุดและเคร่ืองแม่ ข่าย (Server) ของโรงเรียนเพื่อให้เหมาะสมต่อการทางาน ข อ ง ร ะ บ บ ห้ อ ง ส มุ ด อั ต โ น มั ติ ULibMโ ด ย ไ ม่ มี ค่ า ใ ช้ จ่ า ย เพ่ิมเติมในด้านการจัดหาโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ และ ค่าดาเนินการด้านเครอื ข่าย  ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทางาน เพื่อลดการใช้ กระดาษส้ินเปลือง ทาให้สามารถลดการใช้กระดาษหรือ วัสดุส้ินเปลือง และยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงให้การ ปฏิบัติงานเป็นระบบ e-Office ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพิ่มเติม  จัดบริการห้องเรียนเช่นห้องมัลติมีเดียและห้องสืบค้นทาง อนิ เทอรเ์ นต็ โดยให้บริการจองผ่านทางเว็บไซต์ของห้องสมุด ทาให้มีการใช้ห้องสมุดในฐานะแหล่งเรียนรู้เพิ่มข้ึนอย่าง ต่อเน่ือง และยังเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผู้สอน เข้าใชห้ อ้ งสมุดในฐานะแหล่งเรียนรู้ เป็นประโยชน์ทางอ้อม ต่อการจัดการเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระวิชา ทาให้การ เรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพมากย่งิ ขึ้นในภาพรวม  ฝึกฝนและปลูกฝังนกั เรียนยุวบรรณารกั ษ์ให้เปน็ ตัวแทนด้าน การอ่านแก่นักเรียนอ่ืนๆภายในโรงเรียน จนกระท่ังได้รับ รางวัล “ผู้นาการอ่านยอดเย่ียมระดับประเทศ” ใน โครงการนานมีบุ๊คส์รีดดิงคลับ ครั้งท่ี 12 ซ่ึงคัดเลือกจาก นักเรียนที่ทาบันทึกการอ่านมากท่ีสุด 100 อันดับแรกของ ประเทศไทย

153.3. เปน็ ผลงานการบริการประชาชนที่สามารถใชเ้ ป็นตวั อย่างแก่บุคคลอน่ื ๆได้ที่ รายการประเมนิ คณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์ประเมิน ของผูเ้ สนอผลงานขอรับรางวัล3.3.1 ผลงานเปน็ ทยี่ อมรบั นับถือ  ได้รับรางวัลคุณครูส่งเสริมการอ่านยอดเยี่ยมระดับประเทศ จากแก่บุคคลอื่น โครงการนานมีบุ๊คส์รีดด้ิงคลับ ครั้งที่ 12 โดยบริษัทนานมีบุ๊คส์ พบั ลเิ คชนั่ ส์  ได้รับคัดเลือกให้เป็นรองประธานชมรมห้องสมุดเชียงใหม่ แผนก ส่งเสรมิ การอา่ น  ได้รับเชิญให้ไปเป็นวิทยากรทางด้านการส่งเสริมการอ่าน และ ด้านการเขียนภายในเขตจังหวัดเชียงใหม่ เช่น การเป็นวิทยากร ด้านการส่งเสริมการอ่านให้แก่ชุมนุมห้องสมุด โรงเรียนพระ หฤทยั เชยี งใหม่  ได้รับเชิญให้เข้าไปช่วยเหลือ ปรับปรุง แก้ไขปัญหา และจัดการ อบรมทางด้านการจัดการห้องสมุด ให้แก่ห้องสมุดที่อยู่ในบริเวณ ใกล้เคยี ง เชน่ โรงเรียนบา้ นเปียง โรงเรยี นบา้ นกาด (เขมวังส)์3.3.2 เป็นลักษณะผลงานทป่ี รากฏ  มีผลงานปรากฏอยา่ งชัดเจนใหเ้ หน็ ไดช้ ดั เจน o เวบ็ ไซต์ http://library.svk.ac.th o YouTube http://youto.be/svklibrary  Facebook http://fb.me/svklibraryสถิติของห้องสมุดดีข้ึน อย่างเห็นได้ชัด ทั้งสถิติการเข้าใช้ห้องสมุด สถิติการยืมหนังสือ และสถิติการเข้าเว็บไซต์ห้องสมุด ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 ท่ีได้ เข้ามาทางานเป็นครั้งแรกจนกระทัง่ ถงึ ปัจจบุ ัน  สารคดีเร่ือง “สิ่งที่ Google ไม่เคยสอน” ได้แพร่ภาพทาง รายการ กบจูเนียร์ OPEN ทางช่อง ทีวีบรู พา  ไดร้ บั รางวลั พระราชทาน หอ้ งสมุดโรงเรียนขนาดใหญ่ดีเด่นระดับ ภาคเหนือ จากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระบรมรา ชูปถัมป์  ได้รับรางวัลโรงเรียนส่งเสริมการอ่านยอดเยี่ยมระดับประเทศ จากโครงการนานมีบุ๊คส์รีดด้ิงคลับ ครั้งท่ี 12 โดยบริษัทนาน มบี คุ๊ ส์พบั ลิเคชั่นส์  ได้รับรางวัลคุณครูส่งเสริมการอ่านยอดเยี่ยมระดับประเทศ จาก โครงการนานมีบุ๊คส์รีดดิ้งคลับ ครั้งท่ี 12 โดยบริษัทนานมีบุ๊คส์ พับลเิ คชนั่ ส์

163.3. เป็นผลงานการบรกิ ารประชาชนทส่ี ามารถใช้เป็นตวั อยา่ งแกบ่ คุ คลอน่ื ๆได้ท่ี รายการประเมิน คุณสมบตั ติ ามเกณฑ์ประเมิน ของผู้เสนอผลงานขอรับรางวัล3.3.3 บุคคลอ่ืนสามารถนาไปใชเ้ ปน็  สร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อวงการห้องสมุดในตวั อย่างได้ ระดับประเทศ โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ท่ีหาง่าย ราคาไม่แพง และสามารถนามาใช้ประโยชน์ไดจ้ ริง เชน่ o โต๊ะนี้มีความรู้ ซ่ึงได้นาเอาใบความรู้มาจัดรูปแบบให้ สวยงามและติดลงบนโต๊ะที่นาออกให้บริการการอ่าน ทาให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้ได้เพียงมานั่งที่โต๊ะตัวนี้ และ เป็นการเพม่ิ มูลค่าให้กับโต๊ะตัวเดิมที่มีอยู่ในห้องสมุดให้ สามารถกลายเปน็ แหล่งเรยี นร้ขู องนกั เรยี นได้อีกด้วย o นิทรรศการเคล่อื นท่ี เปน็ การจดั นทิ รรศการรปู แบบใหม่ ท่ีใช้ร่มซึ่งเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีชื่อเสียงของ จังหวัดเชียงใหม่มาเป็นเคร่ืองมือในการจัดนิทรรศการ ทาให้สามารถเคลื่อนย้ายนิทรรศการและนาไปตกแต่ง ได้ตามต้องการ โดยสามารถรื้อออก พับเก็บ และยัง สามารถนากลับมาใช้ไดอ้ ีกในอนาคต o นิทรรศการ Reuse เป็นการนาเอาแผ่นปูายไวนิล ซ่ึง เป็นวัสดุท่ีมักจะกลายเป็นขยะหลังจากท่ีใช้เสร็จมาใช้ ใหม่ โดยการประยุกต์ใช้ด้านหลังของแผ่นไวนิล พลาสติกมาใช้เป็นสถานที่แสดงนิทรรศการ โดยนามา ตดั ให้มีขนาดเท่ากับกระดาษหนังสือพิมพ์ และเสียบกับ ไม้เสียบหนังสือพิมพ์ ทาให้เกิดนิทรรศการรูปแบบใหม่ ท่ีสร้างสรรค์ ประหยัด และยังคงความเป็นห้องสมุด อย่างเต็มเปยี่ ม3.4. เป็นผลงานท่เี กิดจากความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ที่ รายการประเมิน คณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์ประเมิน ของผเู้ สนอผลงานขอรับรางวัล3.4.1 มีความคดิ ริเร่ิมการพัฒนางาน  นาเอาเทคโนโลยีใหม่ๆมาปรับใช้ให้เข้ากับการทางาน เช่น การนาแบบฟอร์มอิเลคทรอนิกส์มาให้บริการแก่นักเรียนครู เพ่ือลดการใช้กระดาษสิ้นเปลืองทาให้สามารถลดการใช้ กระดาษหรือวัสดุสิ้นเปลืองและยังเป็นการพัฒนาปรับปรุง ใหก้ ารปฏิบัตงิ านเปน็ ระบบ e-Office  พัฒนาบริการการสอนการใช้ห้องสมุดให้เป็นส่ือมัลติมีเดีย ภาพเคลื่อนไหวประกอบคาบรรยาย ที่เข้าใจง่าย ส่งเสริม การใช้บรกิ ารหอ้ งสมุดผ่านทางเวบ็ ไซต์  ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทางานเช่นการนาแบบฟอร์ม อิเล็คทรอนิกส์มาให้บริการแก่นักเรียนครูเพ่ือลดการใช้ กระดาษสิ้นเปลืองและยังเป็นการพัฒนาปรับปรุงให้การ ปฏบิ ัตงิ านเปน็ ระบบ e-Office

173.4. เปน็ ผลงานทเ่ี กิดจากความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ (ต่อ)ท่ี รายการประเมิน คุณสมบัตติ ามเกณฑ์ประเมิน ของผ้เู สนอผลงานขอรับรางวลั3.4.2 นาเทคนิค วิธกี ารใหม่ๆ มาใช้ใน  นาหลักการตลาดและการประชาสัมพันธ์มาใช้ในห้องสมุดการปฏิบัตงิ าน โรงเรียน โดยจัดทาแผนกลยุทธ์การตลาดและการ ประชาสัมพันธ์ห้องสมุดโรงเรียน เพื่อดึงดูดให้นักเรียนและ ครเู ขา้ ใชบ้ ริการห้องสมุดมากขึ้น สร้างภาพลักษณ์ท่ีดีให้แก่ ห้องสมุดผ่านช่องทางต่างๆทั้งทางออนไลน์ และยังใช้ หลักการตลาดการสร้างแบรนด์ผ่านยุวบรรณารักษ์ท่ีเป็น เหมอื นตวั แทนของหอ้ งสมดุ  ใช้การบูรณาการเพ่ือสร้างนวัตกรรมและบริการใหม่ในการ ให้บริการ โดยเน้นหลักเศรษฐกิจพอเพียง เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ หรือทรัพยากรท่ีมีอยู่ในชุมชนก่อน โดยคานึงถึง ผลประโยชน์สูงสุดท่ีจะเกิดข้ึนต่อผู้ใช้เป็นหลัก เช่น การ จัดทานวัตกรรมโต๊ะน้ีมีความรู้ ซ่ึงเป็นการปรับเปลี่ยนโต๊ะ ภายในห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และกิจกรรม ASEAN Walkpath ที่นาเอาตู้ไม้ตัวเก่าของโรงเรียนมาจัดบริเวณ ทางเดินเชื่อมระหว่างอาคารให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทาง อาเซียน  ปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขระบบเครือข่ายภายในห้องสมุด และเครื่องแม่ข่ายนาระบบฐานข้อมูลเข้ามาริเริ่มใช้ในงาน ห้องสมุดโดยสามารถปรับแก้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ภายในห้องสมุดและเครื่องแม่ข่าย (Server) ของโรงเรียน เพื่อให้เหมาะสมต่อการทางานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM  ใช้ Infographic มาบูรณาการในการให้บริการสารสนเทศ หองสมุด โดยนาหลักการการเรียนรู้ของสมองมารวมกับ ศลิ ปะ ทาใหเ้ กิด Infographic ทสี่ วยงาม ดงึ ดูดผู้ใช้ทุกกลุ่ม และงา่ ยต่อการรับรู้ขอ้ มูล  นาหลักการ Human Library หรือห้องสมุดมนุษย์ เข้ามา เป็นบริการใหม่ของห้องสมุด โดยเน้นการเรียนรู้ทักษะที่ เปน็ ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ เปน็ หลกั3.4.3 ผลงานปฏบิ ัติงานเกิดการพัฒนาที่  จานวนผู้เข้าใช้ห้องสมุด และจานวนผู้ยืมหนังสือเพ่ิมข้ึนดีขนึ้ อย่างต่อเนื่อง โดยจะเห็นได้จากสถิติการเข้าใช้บริการ หอ้ งสมุด สถติ ิการยมื หนังสือ และสถิตกิ ารเขา้ เวบ็ ไซต์  จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่แปลกใหม่ และนอกกรอบ โดยเลือกกิจกรรมที่แปลกใหม่และน่าสนใจมากยิ่งข้ึนไปใน ทุกปี และคงกิจกรรมเป็นท่ีนิยมเอาไว้ เช่น การพาไปทัศน ศึกษาท่งี าน CMU Book Fair กิจกรรมนักอ่านพบนักเขียน เป็นตน้

183.4. เป็นผลงานทเ่ี กิดจากความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ (ต่อ)ท่ี รายการประเมิน คุณสมบัติตามเกณฑ์ประเมนิ ของผู้เสนอผลงานขอรบั รางวลั3.4.3 ผลงานปฏบิ ตั ิงานเกิดการพฒั นาทดี่ ี  จากการจัดทาสอื่ การสอนการใช้ห้องสมดุ ในรูปแบบขนึ้ กระดาษ ก็ได้พฒั นาให้เปน็ สื่อสอนการใช้หอ้ งสมดุ แบบ มัลตมิ เี ดียในรปู แบบของสารคดี เพื่อดึงดดู ความสนใจของ ผูใ้ ช้ และพัฒนาระดบั และรูปแบบการสอนการใช้ใหด้ ีมาก ย่งิ ขึ้น3.5. เปน็ ผลงานท่ตี ้องปฏบิ ัติดว้ ยความเสยี สละ วิรยิ ะ อุตสาหะที่ รายการประเมนิ คณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์ประเมนิ ของผเู้ สนอผลงานขอรบั รางวลั3.5.1 ปฏิบัติงานในเวลาราชการโดยไม่  ปฏิบัติงานเปิดห้องสมุดตั้งแต่เวลา 7.30 – 16.00 น. ทุกบกพร่อง วัน โดยมีหน้าที่ควบคุมดูแลห้องสมุด ถือกุญแจของ ห้องสมุดเพื่อทาการเปิด หรือปิดห้องสมุด ดูแลความ เรียบร้อยภายในห้องสมุด ท้ังในเวลาก่อนเข้าเรียน และ หลังเลกิ เรียนให้เปน็ ไปอยา่ งเรยี บร้อย3.5.2 อุทิศตนปฏิบัติงานนอกเหนือเวลา  ปฏบิ ัติงานห้องสมดุ อยา่ งเขา้ อกเข้าใจในตัวผู้ใช้ เพ่ือดาเนินราชการ กิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ไม่ว่าจะทางการเรียนการสอน หรือต้องการใช้สถานท่ีเพ่ือประกอบการอ่ืนใ ดท่ีไม่ ก่อให้เกดิ ความเส่ือมเสียทั้งในและนอกเวลาราชการ  อยู่ปฏิบัตงิ านนอกเวลาราชการอยู่เสมอ หากเกิดภาระงาน คั่งค้าง หรือมีงานพิเศษอ่ืนท่ีได้รับมอบหมายจาก ผู้บังคับบัญชา เช่น การทาเอกสารงานประเมินภายใน หรือการทาเอกสารเพื่อส่งโรงเรียนเข้ารับการประเมิน โรงเรียนพระราชทาน3.5.3 มีความพากเพียรพยายามในการ  มีความขยันหม่ันเพียรพยายามแสวงหาความรู้ใหม่ๆมาทางาน พัฒนาตนเอง และงานท่ีรับผิดชอบอยู่เสมอเช่นการศึกษา หาความรู้ในระดับปริญญาโทและการเข้ารับการอบรม ประชุมสมั มนากบั หนว่ ยงานองค์การเอกชนอย่างสม่าเสมอ เพื่อนาเอาความรู้ความสามารถท่ีได้เรียนรู้จากการศึกษาดู งานมาใช้พัฒนาบริการและงานห้องสมุดในอนาคต  มีความพากเพียรพยายามในการจัดการ แก้ปัญหาต่างๆ ภายในห้องสมุด โดยใช้ความสามารถทางด้าน ICT มา ปรับปรุงเปล่ียนแปลง แก้ไขระบบเครือข่ายภายใน ห้องสมุด และเคร่ืองแม่ข่าย เพ่ือให้ระบบห้องสมุด อตั โนมตั เิ ป็นไปอย่างเสถยี รภาพ  จัดทาสื่อการสอนการใช้ห้องสมุดในรูปแบบที่แปลกใหม่ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ และส่งเสริมการเข้าใช้งาน ห้องสมุดผ่านทางบริการ Library Online ซึ่งได้กลายเป็น บรกิ ารที่มีไดร้ ับความนิยมมากข้นึ เร่ือยๆ

19 ห้องสมุดเฉลมิ พระเกียรติ 84 พรรษา โรงเรียนสันป่าตองวทิ ยาคม จงั หวัดเชยี งใหม่วิสัยทัศน์ “แหลง่ เรยี นรู้ที่มชี วี ติ สูเ่ ทคโนโลยี มคี วามเปน็ ล้านนา นาหน้าส่อู าเซียน”พนั ธกิจ มุ่งเน้นการจัดหารทรัพยากรสารสนเทศและบริการทุกรูปแบบเพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นร้ใู นเชงิ รกุ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถพฒั นาศกั ยภาพของตนเองพนื้ ที่ของห้องสมดุ ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนสันปุาตองวิทยาคม มีพ้ืนที่ทั้งหมด 1,300 ตารางเมตร มีท่ีน่ังให้บริการอ่านหนังสือจานวน 300 ที่น่ัง มีหนังสือประมาณ 46,000 เล่ม โดยมีอัตราส่วนนักเรียน 1 คน ต่อหนงั สอื 17 เล่ม ประกอบดว้ ยพืน้ ที่ 3 ส่วน ดงั ตอ่ ไปนี้อาคาร 4 อาคาร 5พ้นื ท่ี 320ตารางเมตร พ้ืนที่ 280 ตารางเมตร จานวน 60 ทน่ี ่ังจานวน 120ทนี่ ่งั ประกอบดว้ ยประกอบด้วย  หนังสอื ทวั่ ไป บรกิ ารห้องมลั ตมิ ีเดีย  นวนิยาย บรกิ ารหนังสอื อา้ งองิ  หนังสือเยาวชน บริการวารสารล่วงเวลา  หนังสอื สารอง  หนังสอื ยอดนยิ มสวนความรู้พน้ื ที่ 700 ตารางเมตรจานวน 120 ทน่ี ั่งประกอบด้วย วารสาร หนังสอื พมิ พ์ มุมทาการบ้าน มมุ อาเซยี น มมุ ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ หอ้ งสืบคน้ ทางอนิ เทอร์เนต็ ร้านถ่ายเอกสาร

20บรกิ ารของห้องสมุด  บรกิ ารทรพั ยากรสารนเิ ทศ (หนังสอื , วารสาร, วิดิทัศน์ และอนื่ ๆ)  บรกิ ารยมื – คืนทรัพยากรสารนเิ ทศ  บริการหอ้ งมัลตมิ ีเดยี  บริการหอ้ งสมุดออนไลน์ (Library Online)  บรกิ ารตอบคาถามและช่วยค้นคว้า  บริการหอ้ งสืบค้นด้วยอินเทอรเ์ นต็  บริการข่าวสารทนั สมยั ทาง Social network  บรกิ าร Library Onlineสทิ ธิการยืมหนังสือของนกั เรยี น ประเภทวสั ดุ จานวน ระยะเวลา ค่าปรบั /วัน หนังสือทัว่ ไป 5 เล่ม 7 วัน 2 บาท หนังสือสารอง 3 เลม่ 3 วัน 3 บาท ซดี ี,วซี ีดี,ดีวดี ี 3 แผน่ 3 วัน 5 บาททรัพยากรสารสนเทศ  หนงั สอื จานวน 50,000เล่ม  วีดิทัศน์ จานวน 1,100 เรอ่ื ง  วารสาร จานวน 40 ช่ือเร่ือง  หนงั สอื พิมพ์ จานวน 14 ฉบบัประเภทของทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมดุ  หนงั สอื อาเซยี น  หนังสอื ทั่วไป  หนังสือพระราชนพิ นธ์  หนังสือเยาวชน  วิดีทัศน์  นวนยิ าย  หนังสอื อิเลค็ ทรอนิกส์  หนังสือไดร้ บั รางวลั  วารสาร  หนงั สอื อา้ งองิ  วารสารเย็บเลม่  สิ่งพิมพล์ ้านนา

21 บรกิ ารหอ้ งสมดุ ออนไลน์ Library Online เปิดใหบ้ ริการครั้งแรกในวันท่ี 17 มิถนุ ายน พ.ศ. 2554 โดยใช้โปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิยูลิบเอม็ (UlibM : Union Library Management) ซงึ่ พฒั นาโดยสานักวทิ ยบริการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคามซ่ึงใช้มาตรฐานการลงรายการแบบ MARC21 (การลงรายการใหเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรอ์ า่ นได้Machine-ReadableCataloging) ซ่งึ เป็นระบบที่ไดม้ าตรฐานเทยี บเทา่ กับระดับสากล และสามารถใหบ้ ริการได้อยา่ งรวดเร็วและแมน่ ยา ด้วยระบบ Barcode ผู้ใช้สามารถสืบคน้ ผ่านทางอินเทอรเ์ น็ตได้ 24 ชัว่ โมงไดท้ าง http://library.svk.ac.th โดยสามารถตรวจสอบข้อมลู สมาชกิ ได้ด้วยตนเอง และสามารถทาการยืมตอ่ โดยไมจ่ าเป็นต้องมายังห้องสมดุ ทาให้การสอ่ื สารระหวา่ งบรรณารักษแ์ ละสมาชกิ เปน็ ไปได้อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึน้ บริการของหอ้ งสมุดออนไลน์ ประกอบไปด้วยบริการต่างๆดังต่อไปน้ี  บรกิ ารสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ  บรกิ ารจองหนังสือ  บรกิ ารยืมต่อ  บรกิ ารจองห้อง  บริการขา่ วสารทนั สมัย  บรกิ ารแนะนาสารสนเทศที่น่าสนใจ และอืน่ ๆ

22 กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น ปีการศกึ ษา 2554-2556 ห้องสมดุ เฉลมิ พระเกียรติ 84 พรรษา โรงเรียนสนั ป่าตองวทิ ยาคม1. บนั ทึกการอา่ นเฉลมิ พระเกยี รติ 84 พรรษา มหาราชินี ห้องสมุดเฉลมิ พระเกียรตฯิ ได้ เข้ารว่ มกิจกรรมบันทึกการอ่านกับบรษิ ัทนานมีบุค๊ สต์ ิดต่อกันเปน็ ระยะเวลา 2 ปี โดยร่วมมือกับกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยในการจัดทา นกั เรียนทุกคนมบี นั ทึกการ อ่านเปน็ ของตนเอง และกระต้นุ ให้นักเรียนอ่านหนังสอื ดว้ ยการจดั ซื้อจดั หาหนงั สือท่นี ่าสนใจเขา้ มา ใหบ้ ริการในห้องสมดุ เป็นประจาทุกเดือน2. แตง่ ต้งั ยุวบรรณารักษห์ อ้ งสมุด3. กิจกรรมแนะนาหนังสือผา่ นส่ือต่างๆ เช่น o แจกรายช่อื หนงั สือใหม่แกค่ ณะครูในการประชมุ ครูประจาเดอื น o ใหน้ กั เรียนจดั ทาบอร์ดแนะนาหนงั สอื ที่มสี ถติ กิ ารยืมสงู o โพสภาพตวั อยา่ งหนงั สือใหม่ลงในส่อื สังคม Social Network ของห้องสมุด เชน่ Facebook o นาหนงั สือทน่ี ่าสนใจแตม่ กี ารใช้น้อยออกมาแสดงตามหวั ข้อตา่ งๆในแตล่ ะเดือน เช่น หนงั สอื พระราชนพิ นธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ หนงั สอื ภาษาญปี่ ุน หนังสอื ท่องเทีย่ ว เป็นตน้4. พัฒนาแหลง่ เรยี นร้เู พ่ือสง่ เสริมการอ่าน ห้องสมุดไดจ้ ดั ทามุมต่างๆภายในหอ้ งสมดุ โดยมีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ o ห้องสืบค้นทางอนิ เทอร์เนต็ o ห้องมลั ตมิ ีเดีย o มมุ อาเซียน o มุมภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ o มุมเยาวชน o สวนความรู้5. จัดทา Facebook ของหอ้ งสมุดเฉลมิ พระเกียรตฯิ เพ่ือเปน็ ชอ่ งทางในการประชาสัมพนั ธ์และ ตดิ ตอ่ ส่ือสารกับผใู้ ช้6. โต๊ะนีม้ ีความรู้ ร่วมกบั กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษาและวัฒนธรรม โดยนาความรู้มาติดบนโต๊ะอ่านหนงั สอื ทกุ ตัว ในห้องสมุด เพอ่ื ให้นักเรยี นสามารถเข้าถึงความรไู้ ดต้ ลอดเวลา อาคาร 4 : ความรู้ดา้ นแหลง่ เรียนรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น อาคาร 5 : ความร้เู ร่ืองอาเซยี น7. Library Cinema จัดฉายภาพยนตรท์ ุกวันจนั ทร์-ศุกร์ เวลา 11.00-12.30 ทกุ วนั โดยรว่ มกับกลมุ่ สาระ ภาษาต่างประเทศ8. การสอนการใชห้ ้องสมุด9. ปฐมนเิ ทศการใช้งานหอ้ งสมดุ10. พธิ ีมอบเกียรตบิ ัตรรกั การอ่านประจาปีการศกึ ษา มอบเกียรตบิ ัตรให้แก่ครูและนกั เรยี นทมี่ ียอดการยมื และการเข้าใช้ 20 อันดับแรก โดยอ้างอิงจาก

23 ระบบสถติ ิจากโปรแกรมห้องสมดุ อัตโนมตั ิ เพ่อื เป็นการส่งเสริมให้ครแู ละนักเรียนเข้าใช้ห้องสมดุ เพิ่มขึน้ o ผู้ยมื หนงั สือมากที่สดุ 20 อันดับ o ผู้เข้าใช้บริการมากทีส่ ดุ 20 อันดบั o ยวุ บรรณารักษด์ เี ด่น o นกั เรยี นรักการอา่ นดเี ดน่ o ครรู กั การอ่านดีเดน่11. กิจกรรมพบนกั เขียน o พบนักเขยี นซีไรต์ และศลิ ปินแหง่ ชาติ คุณเจริญ มาลาโรจน์ เจา้ ของนามปากกา มาลา คา จันทร์ o พบนกั เขียนนอกสถานที่ ณ พิพธิ ภณั ฑพ์ ระพฆิ เนศ คุณณชิ า ตันติเฉลมิ สนิ เจา้ ของ นามปากกา ณารา o กิจกรรมการอา่ นสู่การเขียน พบนกั เขยี นสร้างแรงบนั ดาลใจ กบั ซอ่ นกลนิ่ และอุมารกิ าร์ o รักการอ่าน เรียนรภู้ าษาอังกฤษกบั นักเขยี นวยั ใสหัวใจอินเตอร์ โดยคุณแพรกานต์ นริ ันดร (ปอเปีย๊ ะ) นามปากกา Pieretta Dawn o การอา่ นสู่การเขยี นโดยนกั เขียนมืออาชีพกบั คณุ ฐาวรา ศรีพพิ ฒั น์ หรือ Dr.Pop12. คา่ ยผู้นาเยาวชนรกั การอา่ น13. เลอื กหนงั สอื ดีกบั Nanmeebooks14. แขง่ ขนั ตอบปญั หาสารานุกรมไทย15. ประกวดหนังสือทามือเล่มเล็ก16. อักษรศิลป์สู่เสียงดนตรี เรยี นร้องเพลงกับห้องสมุด17. สมดุ บนั ทึกการอา่ นออนไลน์ เขา้ รว่ มกิจกรรมบนั ทึกการอา่ นออนไลน์ของสานกั พิมพ์แจม่ ใส โดยรว่ มมือกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้การ งานอาชีพและเทคโนโลยี18. แข่งขันเปิดพจนานุกรมภาษาอังกฤษ19. ทัศนศึกษางาน CMU Book Fair20. งานวนั เดก็ 2556 “เด็กดที รี่ ักการอา่ น” ณ โรงเรยี นเทศบาลวดั ดอนเปา21. ยุวบรรณารกั ษ์อาสา22. ทายปญั หา ทวีปญั ญา วนั สนุ ทรภู่23. แต่งกายชุดอาเซย๊ นด้วยหนงั สือพิมพ์ เป็นตน้

24

25


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook