Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Anamai-Plan-Covid19

Anamai-Plan-Covid19

Published by popetorn_23, 2021-11-21 05:37:00

Description: Covid19

Search

Read the Text Version

แแนนววปปฏฏิบบิ ัตตั ิยยิ กกรระะดดับับคคววาามมปปลลออดดภภยั ยั มมั่นัน่ ใใจจสสุขุขออนนาามมยั ยั ไไรรโ้โ้ คคววดิ ดิ --1199รระะลลออกกใใหหมม่ ่ ใในนสสถถาานนศศึกึกษษาา ISBN 978-616-11-4614-6



แแนนววปปฏฏบิ บิ ัตัติยยิ กกรระะดดบั บั คคววาามมปปลลออดดภภยั ยั มมั่นนั่ ใใจจสสขุ ุขออนนาามมัยยั ไไรรโ้โ้ คคววดิ ิด--1199รระะลลออกกใใหหมม่ ่ ใในนสสถถาานนศศึกึกษษาา

แนวปฏบิ ตั ิยกระดบั ความปลอดภยั มัน่ ใจสขุ อนามัย ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกึ ษา ISBN 978-616-11-4614-6 พมิ พ์คร้งั ท่ี 1 พฤษภาคม 2564 จ�ำ นวน 5,000 เลม่ จดั พมิ พ์และเรยี บเรยี ง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ท่ีปรกึ ษา ดร.สภุ ทั ร จ�ำ ปาทอง ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นายแพทยส์ ุวรรณชยั วัฒนายง่ิ เจรญิ ชยั อธิบดีกรมอนามัย บรรณาธกิ าร ดร.ศรีชยั พรประชาธรรม หวั หนา้ ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร ดร.เกศทิพย ์ ศภุ วานิช ผ้ตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ นายแพทยส์ ราวุฒิ บุญสขุ รองอธบิ ดกี รมอนามยั นายทวีสทิ ธ์ิ ใจหา้ ว ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั ตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผล สำ�นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร นายแพทย์เอกชยั เพยี รศรวี ัชรา ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักส่งเสริมสขุ ภาพ กรมอนามัย นางปนดั ดา จั่นผอ่ ง สำ�นักส่งเสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั พมิ พท์ ่ี โรงพิมพ์ชมุ นมุ ส​ หกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย ​จำ�กัด ​ ภาคเี ครอื ขา่ ย  กระทรวงสาธารณสขุ  กระทรวงศึกษาธกิ าร  ราชวิทยาลยั กุมารแพทย์แหง่ ประเทศไทย  สมาคมโรคตดิ เชื้อในเดก็ แหง่ ประเทศไทย  องค์การทุนเพอ่ื เดก็ แหง่ สหประชาชาตปิ ระจ�ำ ประเทศไทย (UNICEF)

ค�ำ นำ� แนวปฏบิ ตั ยิ กระดบั ความปลอดภยั มนั่ ใจสขุ อนามยั ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศกึ ษา ฉบับน้ี จัดท�ำขึ้นเป็นแนวทางการปฏิบัติส�ำหรับสถานศึกษารองรับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ ท่ีเกิดข้ึนอีกตั้งแต่ช่วงเดือนเมษายน 2564 จนถงึ ปจั จบุ นั ทวคี วามรนุ แรงขยายวงกวา้ ง เกดิ การเจบ็ ปว่ ย และสญู เสยี ชวี ติ จ�ำนวนมาก ท�ำให้ประชาชนทุกครอบครัวทุกชุมชนทุกองค์กรทุกหน่วยงานได้รับผลกระทบ ตอ่ วถิ กี ารด�ำเนนิ ชวี ติ ความเปน็ อยยู่ ากล�ำบาก ระมดั ระวงั ความเสยี่ ง และปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื โรค ดังน้ัน ในโอกาสเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา จึงเล็งเห็นถึงความส�ำคัญอย่างย่ิง ในการสอ่ื สารประชาสมั พนั ธใ์ หท้ ราบถงึ ความจ�ำเปน็ ในการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น ในการเฝา้ ระวงั ด้วยการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาและบุคลากรทัง้ นกั เรียน ครู และ ผู้ท่ีเข้ามาในสถานศึกษา อาทิ ประเมินความเสี่ยง ผ่าน Thai Save Thai (TST) ประเมินความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรยี น ผา่ น Thai Stop Covid (TSC) ยกระดบั มาตรการ ความปลอดภยั มั่นใจสุขอนามยั ไร้โควดิ -19 และก�ำกบั ติดตามประเมนิ ผล รวมถึงสอ่ื สาร รอบรสู้ ขุ ภาพสโู้ ควดิ -19 เปน็ ตน้ ลว้ นแตเ่ ปน็ ประโยชนส์ �ำหรบั สถานศกึ ษาจะตอ้ งถอื ปฏบิ ตั ิ ตามอย่างเข้มข้น เข้มงวด และเข้มแข็งต่อเน่ืองจนกว่าสถานการณ์คลี่คลายดีขึ้นกลับสู่ สภาวะปกติ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า แนวปฏิบัติฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับสถานศึกษา ครู บคุ ลากรสาธารณสขุ และผูเ้ กีย่ วขอ้ ง สามารถน�ำไปใช้เปน็ แนวปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างมีคุณค่า คณะผู้จัดท�ำ พฤษภาคม 2564



สารบัญ ค�ำนำ� สารบญั สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 ในเด็ก 7 แนวปฏิบัติการเปิดเรยี นในสถานการณโ์ ควดิ -19 12 ในตา่ งประเทศ แนวทางการใช้ ชุดตรวจ SARS-CoV-2 antigen detecting 15 rapid diagnostic tests (SARS-CoV-2 Ag-RDTs) แนวปฏิบตั ิยกระดับความปลอดภัยม่นั ใจสขุ อนามัย 16 ไร้โควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศกึ ษา 18 เตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี น 20 21 1) การประเมนิ ความเสี่ยง ผา่ น Thai Save Thai 23 2) การเตรียมความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรียน (Reopening) 27 3) การประเมินตนเองเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรยี น ผา่ น Thai Stop Covid 4) การยกระดบั มาตรการความปลอดภยั ม่ันใจสุขอนามยั ไรโ้ ควิด-19 5) การก�ำกับตดิ ตามประเมนิ ผลร่วม ศธ.-สธ. สอ่ื รอบรสู้ ขุ ภาพสู้โควดิ -19 28 เอกสารอา้ งองิ 37 รายชือ่ คณะท�ำงาน 38

แนวปฏบิ ัตยิ กระดบั ความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามยั ไร้โควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศกึ ษา

แนวปฏบิ ตั ิยกระดบั ความปลอดภยั มน่ั ใจสขุ อนามัย 7 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา สถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคโควดิ -19 ในเดก็ สถานการณก์ ารระบาดของโรคโควดิ -19 สง่ ผลกระทบตอ่ ระบบการศกึ ษา สถานศกึ ษา ตอ้ งเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มในการจดั การเรยี นการสอนรปู แบบใหมท่ ส่ี อดรบั กบั มาตรการปอ้ งกนั การระบาด พร้อมกับเตรียมมาตรการต่างๆ เพ่อื ป้องกันไม่ใหผ้ เู้ รียนได้รบั ผลกระทบจากรปู แบบ การเรียนท่ีเปลี่ยนไป ในช่วงการระบาดระลอกที่ผ่านมาโรงเรียนมีมาตรการปิดโรงเรียน เพื่อลดช่องทางการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส แต่การปิดโรงเรียนส่งผลให้นักเรียนส่วนใหญ่ เสยี โอกาสในการเรยี นรู้ โดยเฉพาะนักเรยี นในครอบครวั ทีม่ ฐี านะยากจน ทมี่ ีรายไดไ้ มม่ ากพอ ในการสนบั สนนุ การเรยี นของเดก็ เพม่ิ เตมิ และการปดิ โรงเรยี นอาจท�ำใหเ้ ดก็ กลมุ่ นอ้ี อกจาก ระบบการศกึ ษา ซงึ่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี ตอ่ ชวี ติ เดก็ ในระยะยาว จากผลการส�ำรวจอนามยั โพล ประเดน็ “ความร้สู ึกกังวลตอ่ สถานการณ์โควดิ -19 และการเปดิ เรยี นเดือนมิถุนายน 2564” ระหว่างวันที่ 18-24 พฤษภาคม 2564 พบวา่ ผู้ปกครองมีความกังวลตอ่ สถานการณโ์ ควิด-19 สงู ถงึ รอ้ ยละ 95.6 โดยประเดน็ ทมี่ คี วามกงั วลสงู 3 อนั ดบั แรก คอื การดแู ลสขุ อนามยั สว่ นบคุ คล ของครูและนกั เรยี น รอ้ ยละ 33.1 การจดั ภาพแวดล้อมในสถานศกึ ษา 22.8 และโรงเรยี น ต้องผา่ นเกณฑ์ประเมนิ ความพรอ้ มของสาธารณสขุ รอ้ ยละ 15.3 ตามล�ำดับ อย่างไรกต็ าม สิง่ ที่จ�ำเป็น คือ การวางแนวทางเปดิ โรงเรยี นเพื่อให้เดก็ ได้ไปโรงเรียนอกี ครัง้ โดยให้สอดคลอ้ งกับ ระดับความรุนแรงของสถานการณ์ ควบคู่กับการใช้มาตรการทางด้านสาธารณสุขและ มาตรการทางสงั คมอยา่ งเคร่งครดั

8 แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภยั มน่ั ใจสุขอนามัย ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา สถานการณ์วัคซนี ในกลุ่มผทู้ ่ีมีอายุต�่ำกวา่ 20 ปี วัยเด็กเป็นช่วงท่ีเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยมากที่สุด และเป็นช่วงเวลาที่จ�ำเป็นต้อง ได้รับการป้องกันมากที่สุด เด็กที่อายุต�่ำกว่า 18 ปี คิดเป็น 32% ของประชากรทั่วโลก ในขณะที่มีการควบคุมโรคระบาด การป้องกันในกลุ่มเด็กเป็นส่ิงท่ีจ�ำเป็นอย่างเร่งด่วน เมื่อความเส่ียงของโรคเพิ่มสูงข้ึน เด็กมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคโควิด-19 ค่อนข้างต่�ำ คิดเป็น 1 ใน 9 ของการติดเช้ือ SARS-CoV-2 และมีเพียง 2% ท่ีต้องได้รับการรักษา ในโรงพยาบาล การติดเช้ือในเด็กส่วนใหญ่ไม่รุนแรงและฟื้นตัวได้ แต่เป็นท่ีรู้กันว่า เด็กเป็นกลุ่มท่ีแพร่เช้ือไวรัสไปยังผู้อ่ืน ส่วนมากได้รับเช้ือแต่ไม่แสดงอาการ การเปิดเรียนมีความส�ำคัญต่อการศึกษาและพัฒนาการของเด็ก การมีเด็กกลุ่มใหญ่ ที่ไม่ได้รับวัคซีน จะมีความเสี่ยงต่อการติดเช้ือและการแพร่เชื้อน้อยกว่า ซึ่งมีความส�ำคัญ หากมกี ารระบาดเพม่ิ ขนึ้ ในชมุ ชน ดงั นนั้ เดก็ ควรถกู รวมไวใ้ นกลมุ่ ทคี่ วรไดร้ บั วคั ซนี โควดิ -19 เพอื่ ใหไ้ ด้รับประโยชนจ์ ากการฉีดวัคซีน ขณะเดยี วกนั ควรต้องมหี ลกั ฐานท่ชี ัดเจนเก่ยี วกับ ความปลอดภยั ของการฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคโควดิ -19 ในเดก็ ขณะนปี้ ระเทศทมี่ กี ารฉดี วคั ซนี ในเดก็ ได้แก่ แคนาดา สหรฐั อเมรกิ า เป็นตน้ แคนาดา เป็นประเทศแรกท่ีอนุมัติให้ใช้วัคซีน Pfizer ในผู้ที่อายุ 12-15 ปี ประกาศเมอ่ื 5 พฤษภาคม 2564 สหรฐั อเมรกิ า วคั ซนี ท่ี FDA อนมุ ตั ใิ หใ้ ชใ้ นกลมุ่ ผอู้ ายตุ ำ่� กวา่ 20 ปี มี 3 ชนดิ ไดแ้ ก่  Pfizer ใชใ้ นผูท้ ่อี ายุ 16 ปี เป็นต้นไป ตอ่ มา US FDA อนุมัตใิ หฉ้ ดี Pfizer ในเด็กอายุ 12-15 ปี ประกาศเมื่อ 10 พฤษภาคม 2564  Moderna ใช้ในผูท้ อ่ี ายุ 18 ปี เป็นตน้ ไป และอยู่ระหว่างการทดลองระยะ 2 และ 3 กลุม่ ตวั อยา่ ง ในกลุ่มอายุ 12-17 ปี จ�ำนวน 3,700 คน หลงั ฉดี วคั ซนี ครบ 2 โดส ไมพ่ บผตู้ ดิ เชอื้ โควดิ -19 เทยี บกบั กลมุ่ ทไ่ี ดร้ บั การหลอก พบผตู้ ดิ เชอ้ื 4 ราย บริษัทจะย่ืนขออนุมัติวัคซีนให้ใช้ในกรณีฉุกเฉินกับกลุ่มวัยรุ่น ในช่วงต้นเดือนมิถุนายน 2564 ประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเช้ือโควดิ -19 ในคนกลมุ่ อายนุ ้ี 100%  Johnson & Johnson ใชใ้ นผ้ทู ่อี ายุ 18 ปี เปน็ ต้นไป สงิ คโ์ ปร์ อนมุ ตั ใิ หฉ้ ดี Pfizer ในเดก็ อายุ 12-15 ปี ประกาศเมอ่ื 18 พฤษภาคม 2564

แนวปฏิบัตยิ กระดบั ความปลอดภัยมัน่ ใจสขุ อนามัย 9 ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา สถานการณ์การตดิ เชอ้ื ในกลุ่มเยาวชน จ�ำนวสนถเายนากวาชรนณท์กี่ตาิดรตเชดิ ้ือเชแื้อบใ่งนตกาลมุ่มปเยราะววชัตนเิ ส่ยี ง รายวนั จานวนเยวาวันชนทท่ีตี่ 9ิดเชื้อพแบฤ่งตษามปภระาวคตั เิ สมี่ยง ร–ายว9นั วมนั ทถิ ่ี 9ุนพฤาษยภานคม –295มถิ6ุน4ายน 2564 300 250 จานวนผู้ ิตดเ ้ืชอ (ราย) 200 150 100 50 0 4-มิ.ย. 6-มิ.ย. 8-มิ.ย. 9-พ.ค. 11-พ.ค. 13-พ.ค. 15-พ.ค. 17-พ.ค. 19-พ.ค. 21-พ.ค. 23-พ.ค. 25-พ.ค. 27-พ.ค. 29-พ.ค. 31-พ.ค. 2-มิ.ย. ผสู้ มั ผสั ระหวา่ งสอบสวน สถานบนั เทิง/ร้านอาหาร ชุมชน/ท่ีเส่ียง/ท่ีแออดั ท่องเที่ยว/ไปมาหาสู่ คน้ หาเชิงรุก งานเล้ียง สมั ผสั ในครอบครัว ติดในโรงพยาบาล กิจกรรมทางศาสนา จากการประกอบอาชีพ ติดในสถานศึกษา ติดในเรือนจา สถาสนสถกถสาานราถนณกานก์ากราการณราณตร์กณดิ์กาเา์รกชรตืา้อตรดิใดิตนเชเดิกชื้อลเื้อช่ใมุ ใื้อนนเยใกนกาลวลก่มุ ชุ่มลเน่เมุ ยยเาายววาชชวนนชน1% 1จ%านว1%นจาเ1ยน%9าจ%ววานชนนจเยวาท9นาน%ต่ีวเวยดิช9นาเน%ชวเยทื้อช9าแตนี่%วบดิทช่งเตน่ีตชดิทื้าอมเต่ีแชสบดิื้อตไัญ่เงแท่าชตงบชยื้อดาา่งแา้ตมตวบิสา่งมไอตัญตท่ืน่าสางชยๆไอตัญมดทาื่น่าา้สงตชยๆวดตไอัญาิ า้ท่ืน่าตวงชยๆิดาา้ตวิสสัดัดสสส่่วัดวนนส่ปวปนรระะปววรตัตัะเิวเิ สสตั ่ียี่ยเิ งสงใ่ีใยนนงกกในลลุ่มกุ่มลเเย่ยุมาาเวยวชาชนวนชททนตี่ ต่ี ทิดิดต่ีเชเิดชื้อเื้อชื้อ อ่ืนๆ 1% สัดส3่7ว30%0น%%1ป31%0%ร%ะ1ว1%5ตั %เิ ส7่ีย%ง7ใ2น8%%%กล1ุ่ม5%เย15า%ว•••• ช2น28มทขอแ8%%%ทหาอีเ้ีบ%พศงล2า้ต่ี่อืย8กัน่ง%ใน%บิดัชคนบุตมา้เพชขลาช้ ้นนืาาืน้อยดตท••••เ/ิดี่เช••••สเ่นช่ีย้ือ••••งมขอแทมอขมอทแอีหาาอีเ้ีบพศชหาาอีเ้ีบงลาพ้ชศ่อืยีพทมขอแอกังนล่าง้ ่อืใียพนกัหาาอบีเ้ีนับคช่งคพนชศในบงับคชลุตามา้ค้า้นือ่ียพพกัขนบ่ขุงตามลา้ช้า้ในพบั้ขนคานืชาขคาลาช้นนยบยดุต้านมาืน้ตทาาา้นพขยเข/ยลาดช้ิดตที่เชส้นาืนาาเ/นเิด่น่ีเชยชยี่ดยสตทเ่น้ือเง/ชิ่ีดมย่ีเชส้ืองเี่นมชี่ยี้ืองมี 90%90% 90% 30% อาชีพคา้ ขาย จานวน90เ%ยาวชนทตี่ ดิ เชื้อแบ่งตามกล่มุ อายุ (จราานยว)นเยาวช(จนรา(จาทนรยาี่ตาวน)ยิดน(จว)ชรเานย้าือนเยายวว)านชวเนชยนาทวที่ตชี่ติดนิดชทชตสสค้ือี่ติ้ดนื้อมถั ิดใาหผนนชสัาโบเ้ืใอชรนนัิงงคเรพทุกรยิงอา/บรบ้าคานลรสคสตอคสสตัวิดน้ัมถาิดน้ถมั ใหาหผใาหผนนสานนัาคสตสสัารโบเใโบเชิดน้ถัมใรชนนรันิในง3าัหผงิงงนคนรเพ7คสรเัทาพทุกรุโบกเ%รตกชงยใิชงยอิงราอนุินิดจามั/าิง/นงบรบบรกบใชครเพ้าทเ้านครุาคกลนรานนยริลงรลส้อีรย/าอม/อทัวัวงบถรบาทา่ีเ้าาคสาหหนนาลรี่ยงาาอศัวงศรรึกา/าทห•••ษส3ี่แาาน7อรา%กตชงองชกตาไมส3ดิุิาดจมัุิิดจมนนปก7ีใผมัชกใชเนรเ%เนลชตงกในูร้ผลนลราส้หีุิริยดจม/ส้สียั่น/มนทมงกถทใชญงถกทเี่กเนรทาลน่ีเสาบตผทจ่มัสนารบัส้ียนา่ี/ยางสิูด้มอ่่ีาทเยศงงถกเงพศศใอพัมงงทศึกี่เ/กานาสึเกท่ือ/ผุม้ทานาือ่•ษ••สทาี่เ•••ษยสสงี่นแัรรเี่ยนศาน่ีแลงศือปาอนวึก/อา่นานอท/รา•••ษไสอสไมะดัจี่แปาสไมนดักปาีผอัมมปอีาผมัอเใูผ้าลบเใมไสูดหผ้หัลสั่นอหปีผมัาสัญ่นกาสกเญใู้ผชกลบผตจท่มักู่หบัีพสัาบตจผท่มสิู่ัดน้อ่าบเักเญพาสิูดกใ้อ่อพัมงาเกกเกพนเใอ่ือพัมบตจผทง่มผุัม้ทือ่บัากนเเาสิ่ือูดสผนุ้มอ่ั้รารเทเ่ีอ่ืยนากเพลเืใอพัมปสองนัวรรเ่ียนกนล่นเ่อืืน/ผุมปอร้ทวือ่ไาเ่นะสนนจั/รรเรี่ปยนไลกืาปอะวจมป่นอนก/ราาไมบะอจหปากอาบาหมอาสอาชาบู่าหสีพอชาู่ าีพสชู่ ีพ จานวจนาเยนาจววานชนเนยวทานวต่ี เยชดิ านเชวทื้ชอต่ีแนบดิท่งเต่ีชตดิื้อา1เมแ3ชก%บื้อล่งแ่มุตบอา่งามตยกาุ มล่กมุ ลอ่มุายอุายุ 13%13% 0-2 431%3% 13% 0-20-2 3-5 43%43% 13%103-2% 3-53-5 6-11 43% 13% 3-5 6-116-1112-18 31% 12-1128-18 316%-11 31%31% 12-18 ทมี่ า : กรมควบคมุ โรค, มถิ ุนายน 2564

10 แนวปฏบิ ตั ยิ กระดับความปลอดภยั ม่นั ใจสุขอนามยั ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา สถานการณก์ ารติดเชื้อ ในบคุ ลากรทางการศึกษา จ�ำนวนสบถุคานลกาการรณท์กางารกตาดิรเศชึกื้อษในาทกลต่ี ่มุิดบเชุคื้อลาแกบรง่ทตางากมาปรรศะึกวษัตาิเสี่ยง รายวนั จานวนบุคลากรวทานั งกทารศี่ ึก9ษาทพตี่ ิดฤเชื้ษอ แภบ่งาตาคมปมระว-ตั ิเส9่ียง รมายถิวนั นุ วนัาทย่ี 9นพฤษ2ภ5าคม6-49 มถิ ุนายน 2564 14 สัดส่วนแยกตามประวตั เิ ส่ียง 1% 12 จานวนผู้ ิตดเ ้ืชอ (ราย) 10 15% 10% 8 11% 16% 7% 1% 6 37% 2% 4 2 0 9-May 10-May 11-May 12-May 13-May 14-May 15-May 16-May 17-May 18-May 19-May 20-May 21-May 22-May 23-May 24-May 25-May 26-May 27-May 28-May 29-May 30-May 31-May 1-Jun 2-Jun 3-Jun 4-Jun 5-Jun 6-Jun 7-Jun 8-Jun 9-Jun อยรู่ ะหวา่ งการสอบสวน ชุมชน/ที่เส่ียง/ท่ีแออดั ทอ่ งเที่ยว/ไปมาหาสู่ คน้ หาเชิงรุก งานเล้ียง ผสู้ มั ผสั สมั ผสั ในครอบครัว สัมผสั ในที่ทางาน ติดในโรงพยาบาล สถานการณ์การตดิ เชื้อในกลุ่มบุคลากรทางการศึกษา สัดส่วนบุคลากรทตี่ ดิ เชื้อตามการคดั กรอง สัดส่วนบุคลากรทตี่ ดิ เชื้อตามอาชีพ 8% 11% 1.ผปู้ ่ วย PUI 7% 2.สมั ผสั ผตู้ ิดเช้ือ 3% 1% 3.ต่างชาติมาจากตา่ งประเทศ 7% 11% 6.เฝ้าระวงั ARI/ pneumonia 12% 8.สารวจกลุ่มเส่ียง (survey) 4% 9.ขอตรวจหาเช้ือเอง 1% 58% 10.อื่นๆ จานวนบุคลากรทีต่ ิดเชื้อแบ่งตามช่วงอายุ และเพศ 70+ อายุเฉลย่ี 38 ปี ชาย 77% จานวนบุคลากรฯท่ีติดเช้ือ (ราย) 50-59 หญิง 30-39 ครู หน่วยสนบั สนุน อาจารย์ ไมร่ ะบุ อื่นๆ >18 -20 -10 0 10 20 30 40 ทมี่ า : กรมควบคมุ โรค, มิถนุ ายน 2564

แนวปฏิบตั ิยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสขุ อนามัย 11 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา สถานการณโ์ รคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สถานการณ์โรคติดเใชนื้อไชวว่รัสงโค1โรเนดาอื20น19ทใ่ีผนชา่ ่วนงม1าเดือนที่ผ่านมา 300 จ�ำนวนผู้ตดิ เชอื้ โควดิ -19 เปรยี บเทียบจำ� นวนเยาวชน* จานวนผู้ติดเชื้อแโคลวดิ ะ-1บ9ุคเปรลียบาเทกยี รบจทานาวงนเยกาวาชรน*ศแกึละษบุคาลากรทางการศึกษา 4000 จานวนผู้ ิตดเ ้ืชอ (ราย) 9-พ.ค. 10-พ.ค. 11-พ.ค. 12-พ.ค. 13-พ.ค. 14-พ.ค. 15-พ.ค. 16-พ.ค. 17-พ.ค. 18-พ.ค. 19-พ.ค. 20-พ.ค. 21-พ.ค. 22-พ.ค. 23-พ.ค. 24-พ.ค. 25-พ.ค. 26-พ.ค. 27-พ.ค. 28-พ.ค. 29-พ.ค. 30-พ.ค. 31-พ.ค. 1- ิม.ย. 2- ิม.ย. 3- ิม.ย. 4- ิม.ย. 5- ิม.ย. 6- ิม.ย. 7- ิม.ย. 8- ิม.ย. 9- ิม.ย. จานวนเยาวชน และ ุบคลากรทางการ ึศกษา ่ีท ิตดเ ้ืชอ (ราย) 3500 250 3000 2500 200 2000 150 1500 100 1000 10% ของผตู้ ิดเช้ือรายวนั เป็นผทู้ ่ีมีอายนุ อ้ ยกวา่ 18 ปี 50 500 00 *เยาวชน หมายถึง ผทู้ ่ีมีอายนุ อ้ ยกวา่ 18 ปี จานวนผตู้ ิดเช้ือในประเทศ (ไม่รวมเรือนจา) ครู/อาจารย/์ พนกั งาน เยาวชน สรปุ ผลการวเิ คราะห์  ตงั้ แตว่ ันที่ 9 พฤษภาคม – 9 มถิ ุนายน 2564  มจี �ำนวนผ้ตู ิดเชือ้ ในประเทศ ไม่รวมการตดิ เชื้อในเรือนจ�ำ ทั้งหมด 72,444 ราย แบ่งเป็น  การตดิ เช้อื ในเยาวชน 7,501 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.35 สรุปผลการวเิ คราะห์  อายเุ ฉลี่ย 10 ปี (1 เดือน – 18 ปี)  ส่วนใหญอ่ ย่ใู นกลุ่มอายุ 12-18 ปี  การตดิ เชอื้ ในกล่มุ บคุ ลากรทางการศกึ ษา 155 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 0.21 ราะห์น–รดมะ9ื7ออเ,นาท5มย0–ศิุถ111ุน2ไร8-า1มาป8ยย่รี )นปวคี มิด2เก5ป6า็นร4รต  ้อิดยเลช ะกกใ้ือนาา1ใ รบร0นโนจตต.ดคุ 3าเอิดริดยล5กกือเอโเาจชคชนากา้อืรยื้อรกจงจุททในากาี่เนยี้าาพทกงรเงั ่ิมก้งยักกมขหาราาใี น้ึะรนวรมตอสศชเดรนุ้ง่อกึนอ่ื ผภก7ษงลูม2ขไสาตป,อคิ 4่ว่อกงมุ้ใ4นคกนาก4วใารแนั าหรรสหใรมาญัมน่วลยเสมกผ่ง่ แ่ยีลงสัชเางบมุ่ปสุมนจค่ง็น่วชาเรเนลกกนปู ีย้ใพก็านหงารบ1/รญง0นวไ00า่า�%%ป่นำมพอสใสยารู่นมัาะังหจบเสผวสา่ชางารสััดกกา้ืรองสนรสค่กโวจออ0รนบ์ล-อสงาก2ขวเ่มุนกีกอบรงดเียค้าปพว้สนนรนถยะือ่ายนใวหบนังตันนัรมเเิทสอืคงิจคี/ี่ยรใ้า3รางวนน-อก5อแาาแหยมเบากหรพคตคล่ือารชม่งรุอมนชชชัวบน่วมุร/มทงคเี่่วสชอา่ียลมา6งน/ยย-ทุม1งทุแี่ ใังอ1ขนาอเ่ีบดัพกอนล้างิ่ม่มุ กเนขเปทยา่อึ้นางน็รวเมทฉชยี่ตวาน1ดี/ไน้2ปกวม-1าคักห8าสซวู่ นี่า ล2คว,ตล4นา่อ4กคใ4รหวทราญาามยง่เกเสแปาี่บยร็ นศง่งจกึกเปาษาก็ นราก1น 10า50าร%5พไ รปาาเสยชสทแมััค้ดือั้งลสิดผๆจ่ะวเสันากปทขกน็านีม่ อรคอีกงรจป้าอนกอรรยบะใงรวลวนวา้ตั ะบันคิเสคร0ซ่ียรหว.งีน2มอแร1ใยรืบอนกาตใกยคานลชมรุื่อ่ชแมัว่วมหบมงาอุคลาานยล่งยาุ ชใางนันกุมบกแรลชลา้่คุมว้นนเรยกูาททวต็มี่คช่ีเาพาน่อมกิม่นกขขคตว้้ึนานิด้ ใหา่งนาสเกตชถิงาร่นาาุกศรึกษ(าตบิดางเชโปรตง้ือราดิ นงใะเนลจเโ้ียวรรงางตัียพกยเิานสบกามล่ียางีครรอูทอผกี่ลสิูจ้ กมักงรผรสัทมไทเาะปยงศเาาสบใวนานีชยนนแเหพจสาัมีลยกผกบสัาง่งใรุคนปชครล4ะรอกุมาบอบคกครอชัวารชนีพน) ษา การสมั ผสั ส่วนใหญ่ มาจากกลุ่มเพ่ือน จากเพอ่ื นร่วมงาน เป็นตน้ ผสู้ มั ผสั 37% 37% ขมอิคงุม้ กกานั รใรน่วมกงลาุ่มนคเลรู้ียพง0บ%/งอวายรู่า่นะหใวสา่ งนกงั ารบสสอ0บาร-ส2งรวนโคร์ อสงถเาีกนรบดียนั เทวน้ ิง/รยย้า3น-องั5าหมารีควชุมาชมน/ทค่ีเสี่ยร6ง/-ทอ1แี่ อ1บอดั คลทุมอ่ งขเทยี่ อว1/ไง2ปม-1าห8าสู่ สมั ผสั ในครอบครัว 30% 16% ชุมชน/ท่ีเส่ียง/ท่ีแออดั 15% 11% งานเล้ียง ผสู้ ัมผสั ท่องเท่ียว/ไปมาหาสู่ 2% 7% ติดในโรงพยาบาล กิจกรรมทางศาสนา ทมี่ า : กรมควบคมุ โรค, มิถนุ ายน 2564 องวคั ซีนในกลุ่มบุคลากรครูท่ีค่อนขา้ งต่า (บางโรงเรียนมีครูท่ีลงคน้ หาเชิงรุกสมั ผสั ในครอบครัว ตดิ ในสถานศกึ ษา จากการประกอบอาชีพ ๆครทัว่ีมมีกาายรรงั วบบา้ รนวมมราากยกชว่ือา่มกาานราตนิดแเลชว้ ้ือกจต็ าากมการออกไปในแหล่งชุมชน ในแหล่งชุมชนที่เพิม่ ข้ึน ประวตั เิ สี่ยง เยาวชน บุคลากร

12 แนวปฏบิ ัตยิ กระดับความปลอดภยั ม่นั ใจสขุ อนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา แนวปฏิบตั ิการเปิดเรยี น ในสถานการณโ์ ควดิ -19 ในต่างประเทศ การเปดิ เรียนในสถานการณโ์ ควิด-19 ในตา่ งประเทศ ประเทศอังกฤษ โรงเรียนในประเทศอังกฤษเริ่มเปิดเรียน เด็กนักเรียนสามารถกลับเข้าไปเรียน ในโรงเรียนได้อกี คร้งั หลงั จากตอ้ งเรียนทางไกล นาน 2 เดือน ในชว่ งการระบาดของโควดิ -19 การเปดิ เรยี นนบั เปน็ ขนั้ ตอนแรกในแผนการ 4 ขน้ั ตอน ส�ำหรบั ผอ่ นคลายมาตรการ โควดิ -19 ของรัฐบาลอังกฤษ การเปิดเรียนมีความส�ำคัญไม่ใช่เพียงด้านการศึกษา แต่ยังมีผลดีต่อ สขุ ภาพจิตของเดก็ และพ่อแมส่ ามารถกลบั ไปท�ำงานได้ตามปกติ ประชาชนมากกว่าคร่ึงในประเทศอังกฤษได้รับวัคซีนโควิดเข็มแรกแล้ว อังกฤษเป็น ประเทศทมี่ สี ดั สว่ นประชากรทไ่ี ดร้ บั วคั ซนี เขม็ แรกสงู เปน็ อนั ดบั สองของโลกรองจากอสิ ราเอล ทง้ั นอ้ี งั กฤษอาจยกเลกิ มาตรการควบคมุ ทง้ั หมดภายในเดอื น มถิ นุ ายน 2564 หากแผนทกุ อยา่ ง และการฉีดวคั ซีนเป็นไปตามที่วางไว้ มมี าตรการการผ่อนคลาย ดังนี้ ระยะท่ี 1 ระยะท่ี 2 ภายในมีนาคม 2564 ภายในเมษายน 2564 โรงเรยี นสามารถเปดิ เรยี นได้ สนามกฬี าในร่ม และนกั เรยี นสามารถออกก�ำลงั กาย สระวา่ ยน้�ำ ธรุ กจิ ร้านคา้ จ�ำหน่าย และเล่นกฬี าหลังเลกิ เรยี นได้ รวมถงึ สามารถ ออกนอกบ้านและรวมกลุ่มในกลุ่มเล็กๆ อาหารและเคร่อื งด่ืม กลางแจง้ ไดไ้ มเ่ กนิ 6 คน สถานที่เลน่ กีฬา ในลักษณะกลางแจ้ง กลางแจ้งสามารถเปิดท�ำการได้ และ สถานทเี่ สริมความงาม อนุญาตใหเ้ ดนิ ทางออกจากพนื้ ที่ได้ สามารถเปดิ ท�ำการได้ ระยะที่ 3 ภายในพฤษภาคม 2564 สามารถออกนอกบา้ น และรวมกลุ่มในกลมุ่ เล็กๆ ในอาคารไมเ่ กิน 6 คน ธุรกจิ บรกิ ารและโรงแรม สามารถเปิดได้

แนวปฏิบัตยิ กระดับความปลอดภัยมน่ั ใจสขุ อนามยั 13 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา แนวปฏบิ ตั ิ Reopening โรงเรยี น ปี 2563 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ในต่างประเทศ สภาวะ จีน เดนมารค์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ ไตห้ วัน บริบท เร่มิ เปดิ โรงเรียน เปิดโรงเรียน เปดิ โรงเรยี น เปดิ โรงเรยี นจนถงึ ไมป่ ิดโรงเรียน ต้ังแตม่ ีนาคม 15 เมษายน 2564 27 เมษายน 2564 8 เมษายน 2564 แต่โรงเรยี น 2564 ในเดก็ อายุ ส�ำหรบั เด็ก และไดป้ ดิ โรงเรยี น จะปิดช่วั คราว มากกวา่ 12 ปี เกรด 1 - 4 เนอ่ื งจากสถานการณ์ ตามความจ�ำเป็น การแพรร่ ะบาด การคดั กรอง คัดกรองอณุ หภมู ิ วดั อุณหภมู ิ วัดอณุ หภมู ิ คดั กรองอุณหภูมิ วัดอณุ หภมู ิ สุขภาพ ตรวจสอบอาการ ตรวจสอบอาการ ตรวจสอบอาการ ตรวจสอบอาการ ตรวจสอบอาการ อยา่ งนอ้ ย เมอื่ มาถงึ โรงเรยี น เมอื่ มาถงึ โรงเรยี น วันละ 2 คร้ัง เมอื่ มาถงึ โรงเรยี น วันละ 2 คร้งั นโยบาย หากพบเด็ก เดก็ ทปี่ ว่ ย ถา้ ป่วย มกี ฎหมาย กรณีพบผู้ปว่ ย การกักตวั มีอาการปว่ ย ให้อยูบ่ ้าน ให้พกั อยู่บ้าน เม่อื เด็กมกี าร ยืนยนั 1 ราย และ กักตัว 48 ชว่ั โมง จนไม่มอี าการ ตดิ ต่อใกลช้ ดิ จะปดิ ช้นั เรียน 14 วัน การปิด จนกวา่ จะหาย 1 วนั กบั ผูป้ ่วยยนื ยัน พบผปู้ ว่ ยมากกวา่ โรงเรยี น โรงเรยี นจะปดิ 2 ราย โรงเรียน ท�ำความสะอาด จะปิด 14 วัน ขนาดกลุม่ ลดขนาดจ�ำนวน ลดขนาด จ�ำกัดจ�ำนวน ในห้องเรียน ไม่มหี ้องเรยี น และ นักเรยี น จ�ำนวนนักเรียน นกั เรยี น เกรด 1-4 ใหเ้ ว้นระยะห่าง ทีม่ จี �ำนวนเดก็ พนกั งาน จาก 50 คน ให้มีระยะหา่ ง จ�ำนวน 15 คน 1-2 เมตร (3-6 ฟตุ ) มากเกิน เปน็ 30 คน ประมาณ 2 เมตร จ�ำกัดจ�ำนวน ไมม่ กี ารเวยี นเรยี น ตามบริบทพนื้ ท่ี นกั เรยี น เกรด 5-7 ให้ครูเดินมาสอน จ�ำนวน 20 คน พ้ืนท่ี มกี ารแยกโตะ๊ จดั ระยะหา่ ง 2 เมตร มกี ารเวน้ ระยะหา่ ง แยกโตะ๊ เรียน มีการแยกโต๊ะ หอ้ งเรียน ในช้นั เรยี น ในหอ้ งเรียน ในห้องเรียน ตง้ั แตเ่ กรด 3 ในช้ันเรียน การเวน้ การใชพ้ น้ื ทก่ี ลางแจง้ แนะน�ำใหใ้ ชพ้ น้ื ท่ี และเวน้ ระยะห่าง ระยะหา่ ง โรงยมิ และในโรงเรยี น ขา้ งนอกในการเรยี น 1-2 เมตร (3-6 ฟตุ ) เดก็ ปฐม ข้ันตอน ก�ำหนดทางเขา้ ผปู้ กครอง ผดู้ แู ลเดก็ ผปู้ กครอง ผดู้ แู ลเดก็ ผปู้ กครอง ผดู้ แู ลเดก็ ผปู้ กครอง ผดู้ แู ลเดก็ การเข้ามา ห้องเรียน เข้าได้ ไมใ่ หเ้ ขา้ มาในพน้ื ที่ ไมใ่ หเ้ ขา้ มาในพนื้ ท่ี ไมใ่ หเ้ ขา้ มาในพน้ื ท่ี ไมใ่ หเ้ ขา้ มาในพนื้ ท่ี หลายทาง

14 แนวปฏบิ ตั ิยกระดบั ความปลอดภัยมั่นใจสขุ อนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา แนวปฏิบัติ Reopening โรงเรยี น ปี 2563 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในต่างประเทศ (ต่อ) สภาวะ จนี เดนมาร์ค นอร์เวย์ สิงคโปร์ ไต้หวนั มอ้ื อาหาร กนิ ขา้ วทโี่ ตะ๊ เรยี น นั่งประจ�ำท่ี กนิ ขา้ วท่โี ต๊ะเรียน ก�ำหนดทน่ี ั่ง กินข้าวทโ่ี ตะ๊ เรยี น ก�ำหนดที่นั่ง ไมร่ ับประทาน หรือก�ำหนดทนี่ ั่ง โรงอาหาร แบง่ ช่วงเวลา ในโรงอาหาร อาหารรว่ มกัน ในโรงอาหาร เวน้ ระยะห่าง กินอาหาร 1-2 เมตร (3-6 ฟุต) สนั ทนาการ บางโรงเรียน เดก็ อยนู่ อกหอ้ งเรยี น เดก็ อยนู่ อกหอ้ งเรยี น งดกิจกรรมกีฬา ยกเลิกวชิ า ยกเลิกวชิ า มากทีส่ ุด มากท่ีสุด ระหวา่ งโรงเรียน พละศึกษา พละศึกษา ถา้ ท�ำกิจกรรม แต่ถ้าท�ำกิจกรรม ในโรงเรยี น ในหอ้ งเรียน ในหอ้ งเรียน แบง่ เปน็ กลุม่ เล็ก ให้จ�ำกัดเวลา จัดเปน็ กลุ่มเล็กๆ จ�ำกดั เวลา และจัดเปน็ กลุ่มเลก็ ๆ การขนส่ง รถโรงเรียน ในรถโรงเรยี น ขอความร่วมมือ รถเมลร์ ถขนสง่ รถเมลร์ ถขนส่ง ให้จดั เว้นระยะหา่ ง ให้จดั นักเรยี น รถขนส่งเอกชน สาธารณะ สาธารณะ 1 คนตอ่ แถว จัดนกั เรยี น ยังเปดิ ให้บรกิ ารปกติ ยงั เปดิ ให้บรกิ ารปกติ 1 คน ตอ่ แถว โดยใหท้ �ำความสะอาด ทุก 8 ชัว่ โมง สุขอนามยั ภาครฐั สนบั สนนุ ลา้ งมือบอ่ ยๆ ฝึกอบรม ล้างมอื บอ่ ยๆ ภาครฐั สนับสนนุ ใหส้ วม Mask จัดให้มีโปสเตอร์ บคุ ลากรเกี่ยวกับ จัดให้มโี ปสเตอร์ ให้สวม Mask และลา้ งมือบอ่ ยๆ และวดี ีโอ สขุ อนามัย และวีดีโอ และจดั ให้มีการ ใหค้ �ำแนะน�ำ เน้นการลา้ งมือ ใหค้ �ำแนะน�ำ ระบายอากาศทีด่ ี บ่อยๆ จัดใหม้ ี โปสเตอรแ์ ละ วดี โี อใหค้ �ำแนะน�ำ ความ แนะน�ำการ แนะน�ำการ แนะน�ำให้ ท�ำความสะอาด แนะน�ำการ สะอาด ท�ำความสะอาด ท�ำความสะอาด ท�ำความสะอาด พืน้ สัมผัสรว่ ม ท�ำความสะอาด และฆ่าเชือ้ และฆ่าเชื้อ บอ่ ยๆ และให้ ทุก 2 ชว่ั โมง พ้นื ทีส่ มั ผัสรว่ ม ภาครัฐสนบั สนุน นักเรยี นช่วยท�ำ และใหน้ ักเรียน และฆา่ เช้ือ เจ้าหน้าที่ ความสะอาด ชว่ ยท�ำความ ท�ำความสะอาด สะอาด และเครอ่ื งวดั อณุ หภมู ิ ทม่ี า : https://learningpolicyinstitute.org/product/reopening-schools-covid-19-brief

แนวปฏบิ ัติยกระดับความปลอดภยั มั่นใจสขุ อนามยั 15 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา แนวทางการใช้ ชุดตรวจ SARS-CoV-2 antigen detecting rapid diagnostic tests (SARS-CoV-2 Ag-RDTs) การตรวจคดั กรองการตดิ เชอื้ โควดิ -19 มคี วามสำ� คญั ในการแยกผตู้ ดิ เชอื้ และการควบคมุ การกระจายของโรค องคก์ ารอนามยั โลกไดม้ แี นวทางในการใชช้ ดุ ตรวจ SARS-CoV-2 Ag-RDTs ในโรงเรียนที่อยู่ในพ้ืนท่ีท่ีมีการแพร่ระบาดของโรค เพ่ือคัดกรองเบื้องต้น โดยมีข้อแนะน�ำดงั นี้ 2.การตรวจต้องตรวจ 1.ต้องใช้ชดุ ตรวจทผ่ี ่านเกณฑม์ าตรฐาน และควรใช้ โดยผู้ตรวจท่ีผ่านการ ชุดตรวจในพื้นท่ีท่ีเข้าถึงการตรวจแบบมาตรฐาน เช่น RT-PCR ท�ำได้ยาก หรือในพื้นที่ท่ีสถานบริการ ฝึกอบรบ และควรปฏิบัติ สาธารณสขุ ไมส่ ามารถใหบ้ รกิ ารไดเ้ นอื่ งจากมภี าระงาน ตามข้อแนะน�ำการใช้งาน มากจากสถานการณ์การระบาด ของผลติ ภณั ฑอ์ ยา่ งเครง่ ครดั Flowchart การใช้ Ag-RDTS ในพน้ื ท่รี ะบาด (modified) ตรวจโดย: Trained operator ประเมนิ ตนเองผ่าน Thai save Thai หรือ สถานท:่ี หน่วยบริการ หรอื หน่วยจดั ตงั้ แบบประเมินความเสี่ยง แล้วมีความเสี่ยงสูง Sample management colleacntdeRdebsaiopssirpaafeterotriynyrssetarqumuciprteiloemniessnftosr use Patient management Ag-RDT performed using sample Results are interpretedmanually or via instrument SARS-CoV-2 NOT DETECTED SARS-CoV-2 DETECTED แนะนำ� ปฏบิ ตั ติ นตาม 6 มาตรการหลกั ส่งต่อหนว่ ยบริการ 1. เว้นระยะหา่ ง 2. สวมหนา้ กากตลอดเวลา 3. ล้างมือบ่อยๆ หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์ 4. วดั ไข้ สังเกตอาการ 5. ลดการแออัด ลดการไปในพนื้ ท่ีเส่ียง 6. ท�ำความสะอาดพ้ืนผวิ สมั ผัสร่วม เอกสารอ้างองิ World health organization. SARS-CoV-2 antigen-detecting rapid diagnostic tests: an implementation guide. 2020.

16 แนวปฏบิ ัตยิ กระดบั ความปลอดภยั มน่ั ใจสขุ อนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา แนวปฏิบตั ิยกระดบั ความปลอดภยั มัน่ ใจสขุ อนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหมใ่ นสถานศึกษา เตรยี มความพรอ้ มเปิดภาคเรยี น ก�ำกบั ตดิ ตาม ประเมินความเสี่ยง ประเมินผลรว่ ม ศธ.-สธ. Thai Save Thai ยกระดับปลอดภัย 51 เตรยี มความพรอ้ ม กอ่ นเปดิ ภาคเรียน 6 มติ ิ 6x6 มาตรการหลกั -เสรมิ -เฉพาะ 54 ข้อปฏบิ ตั ิ 2 3 ประเมนิ ตนเองเตรยี มความพรอ้ ม กอ่ นเปดิ ภาคเรยี น Thai Stop Covid

แนวปฏบิ ัตยิ กระดับความปลอดภยั ม่ันใจสุขอนามัย 17 ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 5 ข้อปฏบิ ัตเิ ตรยี มความพรอ้ มเปิดภาคเรียน 1 2 3 ประเมินความเสี่ยง เตรียมพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียน สถานศกึ ษาประเมนิ ความพร้อม กอ่ นเปิดภาคเรียน (TSC Plus) นกั เรยี น นกั ศกึ ษา บคุ ลากร ตามมาตรการ 6 มิติ ผปู้ กครอง สมาชิกในครอบครวั https://stopcovid.anamai. ประเมินความเส่ียงด้วยตนเอง 1. ความปลอดภยั จากลดแพรเ่ ช้อื โรค moph.go.th/th/school 2. การเรียนรู้ กอ่ นออกจากบา้ นทกุ วนั 3. การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส ผ่าน Thai Save Thai 4. สวสั ดิภาพและการคุม้ ครอง 5. นโยบาย 6. การบริหารการเงนิ 45 ยกระดบั มาตรการปลอดภยั ม่นั ใจสขุ อนามยั กำ� กับติดตามประเมนิ ผล ไรโ้ ควดิ -19 6+ มาตรการหลกั (DMHT-RC)  ระบบ MOE (COVID-19) ศธ. http://covid.moe.go.th/survey/1/ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) มาตรการเฉพาะ  กลไกติดตามประเมินผลรว่ ม ศธ.-สธ.

18 แนวปฏิบตั ยิ กระดบั ความปลอดภยั ม่นั ใจสุขอนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 1. การประเมนิ ความเสี่ยง ผา่ น Thai Save Thai ครู นักเรยี น ผปู้ กครอง ชุมชน และประชาชนทกุ คน ท�ำการประเมนิ ความเสยี่ งของตนเอง กอ่ นออกจากบ้านทุกวนั ผา่ นระบบ Thai Save Thai https://savethai.anamai.moph.go.th ระบบเซฟไทย (Save Thai) พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนให้คนไทยได้มีแนวทางการปฏิบัติตน อยา่ งเหมาะสมในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) วัตถปุ ระสงค์ 1 เพ่ือประเมิน 2 ความเสย่ี งและใหค วามรู แกป ระชาชนในสถานการณ การแพรระบาดโควิด-19 เพ่อื ให้ความรู้ ด้านการป้องกันและ ควบคุมการแพรร่ ะบาดโควิด-19 แก่สถานประกอบการ 3 ให้สามารถดำ� เนินการตามมาตรการ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง รวมทงั้ คัดกรองความเสีย่ ง แก่พนักงานของสถานประกอบการ เพ่อื ประเมนิ สถานการณ์ การแพรร่ ะบาดโควิด-19 ในภาพรวมของประเทศ

แนวปฏิบัติยกระดบั ความปลอดภยั มน่ั ใจสุขอนามัย 19 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา รายการประเมิน 2 1 ประเมนิ อาการเสย่ี ง ประเมินสถานทเี่ สี่ยง และพฤตกิ รรมเสย่ี ง 3 4 ประเมินความเสยี่ ง ประเมินความเส่ยี ง กรณมี ผี ลตรวจ กรณีฉีดวคั ซนี จากโรงพยาบาล QR code ไฟล์ ระบบ Thai Save Thai

20 แนวปฏบิ ตั ยิ กระดบั ความปลอดภยั ม่นั ใจสขุ อนามัย ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 2. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรียน (Reopening) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทุกประเทศท่ัวโลกทวีความรุนแรงขยายวงกว้างต่อเนื่อง อัตราป่วยและเสียชีวิตมากข้ึน ตามล�ำดับ รวมถงึ ประเทศไทยมีการแพรร่ ะบาดของโรคขยายวงกวา้ งทกุ จังหวัดท่วั ประเทศ ตามสถานการณ์ความเส่ียงแต่ละพื้นที่ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จะทวคี วามรนุ แรงมากขน้ึ สง่ ผลใหป้ ระชาชนทกุ ครอบครวั ทกุ ชมุ ชนทกุ องคก์ รทกุ หนว่ ยงาน ได้รับผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่อย่างมาก บางส่วนมีอาการรุนแรงต่อชีวิต รวมถึงกิจกรรมทางการศึกษา กรณีเปิดท�ำการเรียนการสอนส�ำหรับนักเรียนนักศึกษา จึงต้องมีข้อก�ำหนดให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน (Reopening) แบบเข้มข้น ตามกรอบแนวทาง 6 มิติ ประกอบด้วย 1) ความปลอดภัยจากการลด การแพร่เช้อื โรค 2) การเรียนรู้ 3) การครอบคลุมถงึ เด็กดอ้ ยโอกาส 4) สวัสดิภาพและการคมุ้ ครอง 5) นโยบาย 6) การบรหิ ารการเงนิ (ท่ีมา : องคก์ ารเพอื่ เดก็ แหง่ สหประชาชาติและองคก์ รภาค)ี ตามคู่มือการปฏิบัติส�ำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19, 2563 กรมอนามยั 1 ความปลอดภัย 6 2จากการลด การแพรเ่ ชอ้ื โรค การบริหาร 6 มติ ิ การเรียนรู้ การเงิน เตรียมความพรอ้ ม กอ่ นเปิดภาคเรยี น นโยบาย ของสถานศึกษา การครอบคลุม (Reopening) ถึงเดก็ 5 3 ดอ้ ยโอกาส สวัสดิภาพ และ การค้มุ ครอง 4

แนวปฏิบัติยกระดบั ความปลอดภยั มั่นใจสขุ อนามัย 21 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 3. การประเมนิ ตนเองเตรยี มความพรอ้ ม กอ่ นเปดิ ภาคเรยี น ผา่ น Thai Stop Covid สถานศึกษาท�ำการประเมินตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ผา่ น Thai Stop Covid กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ หรอื MOE (COVID-19) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตามแบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษา จ�ำนวน 44 ข้อ ประกอบด้วย มิติท่ี 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพรเ่ ชื้อโรค จ�ำนวน 20 ขอ้ มติ ิท่ี 2 การเรยี นรู้ จ�ำนวน 4 ขอ้ มติ ทิ ี่ 3 การครอบคลุมถงึ เด็กดอ้ ยโอกาส จ�ำนวน 6 ข้อ มิติที่ 4 สวัสดิภาพและการคมุ้ ครอง จ�ำนวน 5 ข้อ มิตทิ ี่ 5 นโยบาย จ�ำนวน 5 ข้อ มิติท่ี 6 การบริหารการเงิน จ�ำนวน 4 ข้อ ผลการประเมนิ เกณฑป์ ระเมนิ Ranking ผ่านทั้งหมด 44 ขอ้ สเี ขียว ผ่านขอ้ 1 - 20 ทกุ ข้อ สีเหลอื ง แตไ่ ม่ผา่ น ขอ้ 21 - 44 ข้อใดข้อหนึง่ ไม่ผา่ นข้อ 1 - 20 ขอ้ ใดข้อหนึ่ง สแี ดง การแปลผล • สเี ขยี ว หมายถงึ โรงเรียนสามารถเปดิ เรียนได้ • สเี หลือง หมายถึง โรงเรยี นสามารถเปดิ เรยี นได้ แต่ตอ้ งด�ำเนนิ การปรบั ปรงุ ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานท่กี �ำหนด • สีแดง หมายถงึ โรงเรียนไม่สามารถเปิดเรียนได้ ต้องด�ำเนินการปรับปรุง ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานทกี่ �ำหนด และ/หรอื ประเมนิ ตนเองซำ้� จนกว่าจะผา่ นทั้งหมด โรงเรียนสามารถเปดิ เรยี นได้

22 แนวปฏิบตั ิยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา หมายเหตุ : 1. สถานศึกษาประเมนิ ตนเองเตรียมความพรอ้ ม กอ่ นเปิดภาคเรียน ผ่านระบบ Thai stop covid กรมอนามัย ได้ท่ี https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th หรอื https://tsc.anamai.moph.go.th/public/workflow.php?wfp=WNzNrMmw0Z TR3NDA1ZzRhNHI0bzRmM3E1aTRwNHEzdzNiMjg0dzJ6Mm8zaTNvMw== หรอื www.moe.go.th/คู่มือการปฏิบตั ิส�ำหรับ-2/42782 2. รายงานผลการประเมินตนเอง ของสถานศกึ ษา เตรยี มความพร้อม กอ่ นเปดิ ภาคเรียนท่ี 1/2564 รองรบั สถานการณ์ COVID-19 (แสดงผลตามเกณฑเ์ ขียว เหลอื ง แดง) ผ่าน TSC https://tsc.anamai.moph.go.th/dashboard3/ 3. สถานศกึ ษาประเมนิ ตนเอง ผ่านครบ 44 ข้อ จะไดร้ บั เกียรติบัตรรบั รองการประเมินตนเอง ทาง E-mail โดยผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ลงนามรบั รองการประเมนิ ตนเอง

แนวปฏิบัติยกระดบั ความปลอดภัยม่นั ใจสุขอนามยั 23 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา ภาพแสดงรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา เตรียมความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาคเรียนที่ 1/2564 รองรับสถานการณ์ COVID-19 https://tsc.anamai.moph.go.th/dashboard3/ https://tsc.anamai.moph.go.th/dashboard3/ https://tsc.anamai.moph.go.th/dashboard3/

24 แนวปฏิบตั ิยกระดบั ความปลอดภัยมั่นใจสขุ อนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 4. ยกระดบั ความปลอดภัยม่นั ใจสุขอนามัย ไรโ้ ควิด-19 6+ x 6 มาตรการหลักมาตรการเสรมิ มาตรการเฉพาะ 6+ มาตรการหลกั (DMHT-RC) 1. Distancing (D) เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คลอย่างน้อย 1-2 เมตร 2. Mask wearing (M) นักเรียนนกั ศกึ ษา (มธั ยม-อดุ มศึกษา) สวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั 100% ตลอดเวลาทอ่ี ยใู่ นสถานศกึ ษา เมอื่ ออกจากเคหสถานหรอื อยู่ในทส่ี าธารณะ 3. Hand washing (H) ลา้ งมือบ่อยๆ ดว้ ยสบู่และนำ�้ นาน 20 วนิ าที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ 4. Testing (T) คัดกรองวัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผัสเส่ียงทุกคน กอ่ นเขา้ สถานศกึ ษา 5. Reducing (R) ลดการแออัด ลดเข้าไปในพน้ื ที่เส่ยี ง กลุม่ คนจ�ำนวนมาก กรณีพื้นทสี่ แี ดงเข้ม ห้ามจัดกจิ กรรมรวมคนมากกวา่ 20 คน กรณีพืน้ ทส่ี แี ดง สสี ม้ ห้ามจัดกจิ กรรมรวมคนมากกว่า 50 คน ทง้ั น้ี ตามทรี่ ฐั ก�ำหนด 6. Cleaning (C) ท�ำความสะอาดพนื้ ผิวสัมผัสร่วม

แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัยม่ันใจสุขอนามยั 25 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) 1. Self-care (S) ดูแลตนเอง ดูแลใส่ใจ ปฏิบัติตน มีวินัย รับผิดชอบตนเอง ปฏิบัติตามมาตรการอยา่ งเคร่งครัด 2. Spoon (S) ใช้ช้อนส่วนตัว กินอาหารทุกคร้ัง กินแยก ไม่กินร่วมกัน ลดสัมผัสร่วมกับผ้อู น่ื 3. Eating (E) กินอาหารปรุงสุกใหม่ร้อนๆ กรณีอาหารเก็บเกิน 2 ชั่วโมง น�ำมาอ่นุ ให้ร้อนเดอื ดทวั่ ถงึ กอ่ นกนิ อกี คร้ัง 4. Thai chana (T) ลงทะเบยี นไทยชนะตามที่รัฐก�ำหนด ดว้ ย app ไทยชนะ หรือลงทะเบยี นบนั ทึกการเข้า-ออกอย่างชดั เจน 5. Check (C) ส�ำรวจตรวจสอบบุคคล นักเรียน หรือกลุ่มเส่ียงท่ีเดินทาง มาจากพ้นื ท่ีเสย่ี ง เพอ่ื เข้าสกู่ ระบวนการคดั กรอง 6. Quarantine (Q) กักกันตวั เอง 14 วัน เม่อื เข้าไปสัมผัสหรอื อยู่ในพื้นทเี่ สย่ี ง ท่ีมีการระบาดของโรค

26 แนวปฏบิ ัตยิ กระดับความปลอดภยั ม่ันใจสุขอนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา มาตรการเฉพาะ 1. รถรบั -ส่งนักเรยี น 2. หอพักนกั เรยี น 3. สถานทป่ี ฏิบัติศาสนกิจ 4. กรณเี ฉพาะความพิการ

แนวปฏบิ ตั ิยกระดับความปลอดภยั มนั่ ใจสุขอนามัย 27 ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 5. การกำ� กับติดตามประเมนิ ผล มีระบบการก�ำกับติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการด�ำเนินการ ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) โดยคณะกรรมการบูรณาการฝ่ายการศึกษาและสาธารณสุข (ตาม matching) โดยผ้ตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร ศกึ ษาธกิ ารภาค ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด ผูอ้ �ำนวยการ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ี และทีมตรวจราชการระดับพื้นท่ี ร่วมกับฝ่ายกระทรวงสาธารณสุข โดยผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขหรือผู้แทน และผู้อ�ำนวยการศูนย์อนามัยในพ้ืนที่ และหน่วยงานสาธารณสุขของจังหวัดในเขตพื้นที่โรงเรียนเป้าหมาย สถานศึกษารายงานผล ผา่ นระบบ MOE (COVID–19) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถานศกึ ษารายงานผลผ่านระบบ MOE (COVID - 19) www.covid.moe.go.th http://www.covid.moe.go.th/app/ กลไกการก�ำกบั ติดตามประเมินผลร่วม ศธ.-สธ.

28 แนวปฏบิ ัตยิ กระดบั ความปลอดภยั ม่นั ใจสขุ อนามัย ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา Campaign

แนวปฏิบตั ิยกระดบั ความปลอดภยั มัน่ ใจสขุ อนามยั 29 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา สื่อรอบรูส้ ุขภาพสู้โควิด-19 1. คลปิ รอบรสู้ ขุ ภาพกอ่ นเปดิ ภาคเรียน 1) คลปิ เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาคเรยี นรองรบั สถานการณโ์ ควดิ -19 https://www.youtube.com/watch?v=rg2aGsvb4J0&feature=youtu.be 2) คลปิ ลา้ งมือถูกวธิ ี ด้วย 7 ขน้ั ตอน ปลอดภัย ไร้โควิด-19 New normal https://fb.watch/5I1snLBI82

30 แนวปฏิบตั ิยกระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามยั ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 3) คลิป New normal วถิ ีใหมก่ ารแปรงฟันในโรงเรยี น https://covid19.anamai.moph.go.th/th/video/view/MDY1cDBzNnM0NHIyb3Ezc3E2NnEyNDk0cDRyOTQzcjQ5Ng== 4) คลปิ 6x6 มาตรการหลกั มาตรการเสริม https://fb.watch/5I03rPhIh1/ 5) คลิป สนับสนนุ กา้ วท้าใจ Season 3 ในสถานศึกษา โดย ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร https://drive.google.com/file/d/1uUC5MSsKUO1PJM-Jx7gkoWCs6fsQBwXG/view

แนวปฏบิ ัตยิ กระดับความปลอดภัยมั่นใจสุขอนามัย 31 ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 2. สอ่ื ภาพรอบรู้สขุ ภาพสู้โควิด-19 1 นกั เรยี นนกั ศกึ ษา (มธั ยม-อดุ มศกึ ษา) สวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั 100% ตลอดเวลาทอ่ี ยใู่ นสถานศึกษา เมื่อออกจากเคหสถานหรอื อยูใ่ นทส่ี าธารณะ 2 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โควดิ -19 ส�ำหรบั ครู เดก็ อายุ 18 ปขี นึ้ ไป และ/หรอื เดก็ โต ตามทร่ี ัฐก�ำหนด

32 แนวปฏบิ ัติยกระดบั ความปลอดภยั ม่นั ใจสขุ อนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 3 แนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของสถานศกึ ษา : ห้องเรียน ห้องพยาบาล ห้องสมุด ห้องพักครู หอประชุม หอพักนักเรียน ห้องนอนเด็กเล็ก สถานที่แปรงฟัน โรงยิม สนามกีฬา สนามเด็กเล่น โรงอาหาร ห้องส้วม หอ้ งเรยี น หอ้ งพยาบาล หอ้ งสมุด หอ้ งพักครู หอประชุม หอพกั นักเรียน หอ้ งนอนเด็กเล็ก สถานทแี่ ปรงฟนั โรงยมิ สนามกีฬา สนามเด็กเล่น โรงอาหาร ห้องส้วม

แนวปฏิบัตยิ กระดับความปลอดภยั มั่นใจสุขอนามยั 33 ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 4 แนวปฏบิ ตั กิ ารคดั กรองสขุ ภาพนกั เรยี น 5 แนวปฏบิ ตั กิ ารคดั กรองสขุ ภาพครู และบุคลากร 6 แนวปฏิบัติเมื่อพบผ้ปู ว่ ยยนื ยนั ตดิ เช้อื โควดิ -19 7 แนวปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยติดเชื้อ ทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มก้อน (Cluster)

34 แนวปฏบิ ตั ยิ กระดบั ความปลอดภยั มน่ั ใจสุขอนามัย ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 8 6 มาตรการป้องกันโควิด-19 9 แนวปฏิบตั ิเม่ือพบผมู้ อี าการปว่ ย ในสถานศึกษา อยใู่ นสถานศกึ ษา 10 ค�ำแนะน�ำส�ำหรบั ผ้ทู �ำหน้าท่คี ัดกรอง 11 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผปู้ กครอง 12 สุขอนามยั สุขลกั ษณะ 13 รถรับ-สง่ นักเรียน

แนวปฏบิ ัติยกระดับความปลอดภยั มั่นใจสขุ อนามัย 35 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 14 แนวปฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกนั โควดิ -19 ส�ำหรับโรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม 6 มิติ เตรียมพรอ้ มเปิดภาคเรยี น 6 มาตรการหลกั แนวปฏิบตั ิการเปดิ ภาคเรยี น สามเณร ลา้ งมือ 7 ขนั้ ตอน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม สขุ อนามยั ลา้ งมอื 7 ขน้ั ตอน คู่มือสุขอนามยั สถานทีจ่ �ำวัดสามเณร โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม วิธีการตรวจรา่ งกาย 10 ท่า ตรวจคดั กรองสุขภาพสามเณร

36 แนวปฏิบตั ิยกระดับความปลอดภยั มน่ั ใจสุขอนามัย ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา 3. คูม่ ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา https://bit.do/schoolcovid-19 1 คู่มือการปฏบิ ตั สิ �ำหรับสถานศกึ ษา http://bit.do/schoolcovid-19-v2risk ในการป้องกนั การแพรร่ ะบาด ของโรคโควดิ -19 แแนนววปปฏฏิบบิ ตั ัตยิ ยิ กกรระะดดบั ับคคววาามมปปลลออดดภภัยยั มม่ันั่นใใจจสสขุ ขุ ออนนาามมัยยั 2 คูม่ ือการเฝ้าระวังติดตามและ ไไรรโ้โ้ คคววิดิด--1199รระะลลออกกใใหหมม่ ่ แผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 ใในนสสถถาานนศศึกึกษษาา ในสถานศึกษา 34eVu8p ISBN 978-616-11-4614-6 http://bit.do/schoolcovid-19-v3 3 แนวปฏิบัติยกระดับความปลอดภัย มั่นใจสขุ อนามัย ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา

แนวปฏิบตั ยิ กระดบั ความปลอดภัยมั่นใจสขุ อนามัย 37 ไรโ้ ควดิ -19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร

38 แนวปฏิบัติยกระดบั ความปลอดภยั ม่นั ใจสขุ อนามยั ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา เอกสารอ้างองิ กรมควบคุมโรค. แนวปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศึกษา, มกราคม 2564. กรมอนามยั . คมู่ อื การปฏบิ ตั สิ �ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด ของโรคโควิด-19, พฤษภาคม 2563. กรมอนามยั . ค่มู อื การเฝ้าระวงั ติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19, ตุลาคม, 2564. กระทรวงศึกษาธิการ, รายงานผลการก�ำกับติดตามประเมินผลการจัด การเรียนการสอนและการด�ำเนินงานตามมาตรการป้องกันในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (C0VID-19) ภาคเรียนที่ 2/2563 ครั้งท่ี 4 ระหวา่ งวันท่ี 18 มนี าคม- 9 เมษายน 2564), เมษายน 2564. https://learningpolicyinstitute.org/product/reopening-schools-covid-19-brief https://www.fda.gov/news-events/press-announcements/coronavirus-covid- 19-update-fda-authorizes-pfizer-biontech-covid-19-vaccine-emergency- use#:~:text=Today%2C%20the%20U.S.%20Food%20and,through%20 15%20years%20of%20age. https://www.canada.ca/en/health-canada/news/2021/05/health-canada- authorizes-use-of-the-pfizer-biontech-covid-19-vaccine-in-children-12-to-15- years-of-age.html https://www.straitstimes.com/singapore/health/singapore-approves-use-of- pfizer-covid-19-vaccine-for-those-aged-12-to-15 World health organization. SARS-CoV-2 antigen-detecting rapid diagnostic tests: an implementation guide. 2020.

แนวปฏิบัติยกระดบั ความปลอดภยั มั่นใจสขุ อนามยั 39 ไรโ้ ควิด-19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา รายชื่อคณะทำ�งาน คณะที่ปรกึ ษา 1. ดร.สภุ ทั ร จ�ำปาทอง ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธบิ ดีกรมอนามัย 3. ศ.นายแพทย์สมศกั ด์ิ โลห่ เ์ ลขา ประธานราชวิทยาลยั กุมารแพทย์ แห่งประเทศไทย 4. รศ.(พเิ ศษ) นายแพทยท์ วี โชตพิ ิทยสนุ นท์ นายกสมาคมโรคติดเชือ้ ในเดก็ แหง่ ประเทศไทย 5. ดร.ศรีชัย พรประชาธรรม หวั หนา้ ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 6. นายแพทยส์ ราวุฒิ บุญสุข รองอธบิ ดกี รมอนามยั คณะจดั ทำ� 1. ทันตแพทยห์ ญิงปิยะดา ประเสริฐสม ผู้ทรงคุณวฒุ กิ รมอนามัย 2. ดร.จนิ ตนา พัฒนพงศ์ธร ผู้ทรงคณุ วฒุ กิ รมอนามยั 3. นายแพทย์กิตตพิ งศ์ แซเ่ จง็ ผู้ทรงคณุ วฒุ กิ รมอนามยั 4. นายแพทย์เอกชยั เพียรศรวี ัชรา ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั ส่งเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย 5. รศ.แพทยห์ ญิงลดั ดา เหมาะสุวรรณ ราชวิทยาลัยกุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย 6. ผศ.นพ.ดร.นพพร อภิวัฒนากลุ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศ์ าสตร์ รพ.รามาธบิ ดี 7. รศ.แพทยห์ ญิง วารุณ ี วานเดอ พทิ ท์ สถาบันสขุ ภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ 8. แพทย์หญิงสธุ าทพิ ย์ เอมเปรมศลิ ป ์ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศ์ าสตร์ รพ.รามาธิบดี 9. ดร.รงั สรรค์ วบิ ลู อปุ ถมั ภ์ ผแู้ ทนองค์การยูนเิ ซฟประเทศไทย (UNICEF Thailand) 10. นางปนดั ดา จ่ันผอ่ ง ส�ำนักส่งเสริมสขุ ภาพ กรมอนามยั 11. แพทย์หญิงพันทนยี ์ ธิติชัย กองระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค 12. สัตวแพทยห์ ญิงอรพิรฬุ ห์ ยุรชัย กองโรคติดต่อทัว่ ไป กรมควบคุมโรค 13. นางสาวณัฐทิชา หงส์สามสบิ หก กองโรคตดิ ต่อทัว่ ไป กรมควบคมุ โรค 14. นางสาวจันทร์ชนก โยธนิ ชชั วาล สถาบันสขุ ภาพจติ เดก็ และวัยร่นุ ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต

15. นายทวีสทิ ธิ ์ ใจหา้ ว ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั ตรวจราชการและติดตาม ประเมนิ ผล สป.กศธ. 16. นางปิยศริ ิ วรธนาวงศ ์ ส�ำนกั ตรวจราชการและติดตามประเมินผล สป.ศธ. 17. นางสาวจริ าพร โสดากุล หัวหนา้ กลุ่มพฒั นาการจัดการศกึ ษา ส�ำนักบูรณาการกจิ การการศกึ ษา ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 18. นายนิติ นาชติ ผูอ้ �ำนวยการส�ำนกั มาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวิชาชพี ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 19. พ.ต.ท.สวัสด ิ์ ค�ำภิรานนท์ รองผ้กู �ำกบั ฝา่ ยอ�ำนวยการ 7 บก.อก.บช.ตชด. 20. นางอุษา สมบูรณ์ นายกสมาคมโรงเรียนนานาชาติแห่งประเทศไทย 21. นางปูนัม สัจเดว อปุ นายกสมาคมโรงเรยี นนานาชาติแหง่ ประเทศไทย 22. นางภัทราดา ยมนาค อปุ นายกสมาคมโรงเรยี นนานาชาตแิ ห่งประเทศไทย 23. นางพรพิมล เจริญ อปุ นายกสมาคมโรงเรียนนานาชาติแหง่ ประเทศไทย 24. นางพรพรรณ มนตรพี ศิ ทุ ธิ ์ ผอู้ �ำนวยการกลมุ่ งานโรงเรียนสามญั ศกึ ษา ส�ำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน 25. นายแพทย์ธีรชัย บุญยะลีพรรณ รองผอู้ �ำนวยการสถาบนั พัฒนาอนามยั เด็กแห่งชาติ 26. นางสาวคัทลียา โสดาปดั ชา ส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 27. นางสาววัลนภิ า ชัณยะมาตร ์ ส�ำนกั ส่งเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย 28. นางสาวนฤมล แก้วโมรา ส�ำนกั สง่ เสริมสขุ ภาพ กรมอนามยั 29. นางพชั รินทร์ กสบิ ุตร ส�ำนกั อนามยั การเจริญพันธุ์ กรมอนามยั 30. นางสาวพรเพชร ศกั ดศิ์ ริ ิชัยศลิ ป์ ส�ำนักสขุ าภบิ าลอาหารและน�้ำ กรมอนามยั 31. นางสาวภาพิมล บุญอง้ึ ส�ำนกั โภชนาการ กรมอนามัย 32. นางสาวขนษิ ฐา ระโหฐาน กองกจิ กรรมทางกายเพื่อสุขภาพ 33. ทนั ตแพทยห์ ญิงจริ าพร ขดี ดี ส�ำนักทันตสาธารณสุข 34. นางสาวชนิกา โรจน์สกลุ พานิช ส�ำนักทันตสาธารณสุข หมายเหตุ เปน็ ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ขบั เคลอื่ นการพฒั นาดา้ นสขุ ภาพนกั เรยี นตามแนววถิ ชี วี ติ ใหม่ (New Normal) แบบบรู ณาการ ปงี บประมาณ 2564 “เตรยี มการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น รองรบั สถานการณโ์ ควิด - 19 ระลอกใหม่ในสถานศกึ ษา” เมอ่ื วันที่ 20 เมษายน 2564 ณ หอ้ งประชมุ สมบรู ณ์ วชั โรทยั อาคาร 1 ชน้ั 2 กรมอนามยั และผา่ นระบบ Cisco Webex



http://bit.do/schoolcovid-19-v3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook