Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่-303

หน่วยที่-303

Published by wiratnunprom, 2018-09-05 03:25:39

Description: หน่วยที่-303

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 3โครงสรา้ งเครือข่าย เสนอ ครู เพียรวทิ ย์ ขาทวี จดั ทาโดย นาย วิรัตน์ หนุนพรอ้ ม ปวส.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ(ม.6) เลขที่ 21

ลกั ษณะการเชื่อมต่อเครอื ข่าย ลกั ษณะของการเช่อื มโยงออกเปน็ 4 ลักษณะ คือ 1.เครอื ข่ายแบบดาว (Star Network) จะมีคอมพิวเตอรห์ ลักเป็นโฮสต์ (Host) ตอ่ สาย สอ่ื สารกบั คอมพิวเตอรย์ อ่ ยท่ีเปน็ ไคลเอนต์ (Client) คอมพิวเตอร์ท่ีเป็นไคลเอนตแ์ ตล่ ะ เครอ่ื งไม่สามารถตดิ ต่อกันได้โดยตรง การติดต่อจะตอ้ งผ่านคอมพิวเตอร์โฮสต์ทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลาง ขอ้ ดขี องเครอื ขา่ ยแบบดาว1.) มีความคงทนสูง คือ หากสายเคเบิลของบางโหนดเกิดขาดก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบโดยรวม โดยโหนดอน่ื ๆ ยงั สามารถใชง้ านได้ตามปกติ2.) เนือ่ งจากมีจุดศูนยก์ ลางอยูท่ ีฮ่ บั (Hub) ดงั น้ัน การจัดการและการบรกิ ารจะงา่ ยและสะดวก ข้อเสยี ของเครอื ข่ายแบบดาว1.) ใช้สายเคเบิลมากเท่ากับจานวนเคร่ืองท่ีเช่ือมตอ่ หมายถึง ค่าใช้จา่ ยที่สงู ข้ึนด้วย แต่ก็ใช้สายเคเบลิ มากกวา่ แบบ BUS กบั แบบ RING2.) การเพ่ิมโหนดใด ๆ จะต้องมีพอร์ตเพียงพอต่อการเชื่อมโหนดใหม่ และจะต้องโยงสายจากพอร์ตของฮบั (Hub) มายงั สถานทท่ี ่ตี ง้ั เครื่อง3.) เน่ืองจากมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ (Hub) หากฮับเกิดข้อขัดข้องหรือเสียหายใช้งานไม่ได้คอมพวิ เตอรต์ ่าง ๆ ทเ่ี ชื่อมตอ่ เข้ากับฮับ (Hub) ดงั กลา่ วกจ็ ะใชง้ านไม่ไดท้ ง้ั หมด

2. เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือข่ายท่ีเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอร์ด้วยสาย เคเบลิ เดยี วในลักษณะวงแหวนไมม่ เี ครื่องคอมพวเตอรเ์ ปน็ ศูนย์กลาง ขอ้ มูลจะตอ้ งผ่านไปยัง คอมพิวเตอร์รอบ ๆ วงแหวน และผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเพื่อไปยังสถานีที่ ต้องการ ซ่งึ ข้อมลู ทส่ี ่งไปจะไปในทิศทางเดยี วกนั การวิ่งของขอ้ มูลในเครือข่ายวงแหวนจะใช้ ทิศทางเดียวเท่าน้ัน เม่ือคอมพิวเตอร์เคร่ืองหนึ่งส่งข้อมูลจะส่งไปยังเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตัว ถัดไป ถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรงตามที่คอมพิวเตอร์ต้นทางระบุก็จะส่งผ่านไปให้คอมพิวเตอร์ เครื่องถัดไป ซึ่งจะเป็นขั้นตอนแบบน้ีไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่ถูก ระบตุ ามทอี่ ยจู่ ากเครอ่ื งตน้ ทาง ขอ้ ดีของเครือขา่ ยแบบวงแหวน1.) แต่ละโหนดในวงแหวนมโี อกาสทจ่ี ะสง่ ขอ้ มูลได้เท่าเทียมกนั2.) ประหยัดสายสัญญาณ โดยจะใช้สายสญั ญาณเทา่ กับจานวนโหนดทีเ่ ช่ือมตอ่3.) งา่ ยต่อการตดิ ตง้ั และการเพ่ิม/ลบจานวนโหนด ขอ้ เสยี ของเครือขา่ ยแบบวงแหวน1.) หากวงแหวนเกิดขาดหรือเสยี หายจะสง่ ผลตอ่ ระบบทั้งหมด2.) ยากต่อการตรวจสอบ ในกรณีที่มีโหนดใดโหนดหน่ึงเกิดขัดข้อง เน่ืองจากตอ้ งตรวจสอบทีละจดุ วา่ เกิดข้อขดั ข้องอยา่ งไร

3. เครือขา่ ยแบบบสั (Bus Network) จะมกี ารเช่ือมต่อคอมพิวเตอรบ์ นสายเคเบิล ซง่ึ เรยี นวา่บสั คอมพวิ เตอร์เคร่อื งหน่ึง ๆ สามารถสง่ ถา่ ยขอ้ มูลไดเ้ ป็นอิสระในการส่งขอ้ มูลน้ันจะมีเพียงคอมพิวเตอร์ตวั เดียวเทา่ น้ันท่สี ามารถส่งขอ้ มลู ไดใ้ นช่วงเวลาหนง่ึ ๆ จากน้ันขอ้ มลู จะว่ิงไปตลอดความยาวของสายเคเบลิ แล้วคอมพิวเตอรป์ ลายทางจะรบั ขอ้ มลู ทว่ี ่ิงผา่ นมา ขอ้ ดขี องเครือขา่ ยแบบบัส1.) เป็นโครงสร้างทไี่ ม่ซับซ้อน และตดิ ตั้งงา่ ย2.) งา่ ยตอ่ การเพ่มิ จานวนโหนด โดยสามารถเชื่อมตอ่ เข้ากับสายแกนหลักได้ทนั ที3.) ประหยดั สายส่งข้อมลู เนอ่ื งจากใชส้ ายแกนเพียงเส้นเดียว ขอ้ เสยี ของเครอื ข่ายแบบบัส1.) หากสายเคเบิลทเี่ ปน็ สายแกนหลกั ขาดจะสง่ ผลให้เครือข่ายตอ้ งหยดุ ชะงกั ในทันที2.) กรณรี ะบบเกดิ ขอ้ ผิดพลาดใด ๆ จะหาข้อผิดพลาดไดย้ าก3.) ระหวา่ งโหนดแตล่ ะโหนดจะต้องมีระยะห่างตามขอ้ กาหนด

4. เครอื ข่ายแบบผสม (Hybrid Network) เป็นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ผี สมผสานระหวา่ งรูปแบบต่าง ๆ หลาย ๆ แบบเขา้ ดว้ ยกนั คอื มีเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรย์ อ่ ยหลาย ๆ เครือขา่ ยเพ่ือให้เกิดประสิทธภิ าพสงู สุดในการทางานเครือข่ายบรเิ วณกวา้ ง ซึ่งเครือขา่ ยทถ่ี ูกเชื่อมต่ออาจจะอยูห่ า่ งกนั คนละจังหวด หรืออาจจะอยคู่ นละประเทศก็เปน็ ได้

ลกั ษณะโครงสรา้ งเครอื ขา่ ย โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (NETWORK TOPOLOGY)คือ การนาคอมพิวเตอร์มาเช่ือมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารรูปแบบการจัดวางคอมพิวเตอร์ ซึ่งแตล่ ะแบบก็มีจดุ เดน่ ทีต่ ่างกัน สามารถแบง่ ตามลกั ษณะของการเช่ือมตอ่ หลักได้ดังนี้ 1.โครงสร้างเครือข่ายแบบแมช (mesh topology) เป็นรูปแบบของการเช่ือมตอ่ ที่มีความ นิยมมากและมีประสิทธิภาพสูงเน่ืองจากถ้ามีเส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ใดคู่หน่ึงขาดจากกัน การติดต่อส่ือสารระหว่างคู่นั้นยังสามารถติดต่อได้โดยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (router) จะทา การเช่ือมต่อเส้นทางใหม่ไปยังจุดหมายปลายทางอัตโนมัติ การเช่ือมต่อแบบน้ีมักนิยมสร้าง บนเครือข่ายแบบไร้สาย รูปร่างเครือข่ายแบบแมช ระบบนี้ยากต่อการ เดินสายและมีราคา แพงมาก จงึ ยังไม่เป็นทน่ี ิยมมากนกั2.โครงสร้างเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบดาว (star topology)โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบดาว ภายในเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรจ์ ะตอ้ งมจี กุ ศูนย์กลางในการควบคมุ การเชอ่ื มตอ่ คอมพวิ เตอร์ หรอื ฮบั (hub) การส่อื สารระหวา่ งเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

ตา่ งๆ จะส่ือสารผา่ นฮับก่อนท่จี ะส่งขอ้ มลู ไปส่เู ครื่องคอมพิวเตอร์เคร่อื งอนื่ ๆ โครงสรา้ งเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ แบบดาวมขี ้อดี คือ ถ้าตอ้ งการเชื่อมตอ่ คอมพิวเตอร์เคร่ืองใหม่ก็สามารถทาได้งา่ ยและไม่กระทบต่อเครือ่ งคอมพิวเตอรอ์ ่ืนๆ ในระบบ ส่วนขอ้ เสยี คอื คา่ ใช้จา่ ยในการใชส้ ายเคเบิ้ลจะคอ่ นข้างสงู และเม่อื ฮับไม่ทางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอรท์ ัง้ ระบบก็จะหยุดตามไปด้วย3.โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบวงแหวน (ring topology)โครงสรา้ งเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบวงแหวน มีการเชือ่ มต่อระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์โดยทแี่ ต่ละการเช่ือมตอ่ จะมีลักษณะเปน็ วงกลม การส่งข้อมูลภายในเครอื ข่ายน้ีกจ็ ะเป็นวงกลมดว้ ยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเปน็ ทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนงึ่ จนถึงปลายทาง ในกรณีท่มี ีเคร่อื งคอมพิวเตอร์เครือ่ งใดเครอ่ื งหนึง่ ขดั ขอ้ ง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนดิ นจ้ี ะไม่สามารถทางานตอ่ ไปได้ ขอ้ ดขี องโครงสรา้ ง เครือขา่ ยแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิล้ นอ้ ย และถา้ตัดเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ่ีเสยี ออกจากระบบ กจ็ ะไมส่ ่งผลตอ่ การทางานของระบบเครือขา่ ยน้ี และจะไมม่ กี ารชนกนั ของขอ้ มลู ทแ่ี ตล่ ะเครอ่ื งสง่4.โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology)โครงสรา้ งเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบวงแหวน มีการเชือ่ มต่อระหวา่ งเครือ่ งคอมพิวเตอร์โดยท่แี ต่ละการเชือ่ มต่อจะมีลกั ษณะเปน็ วงกลม การส่งขอ้ มูลภายในเครือขา่ ยนี้กจ็ ะเปน็ วงกลมด้วย

เช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเปน็ ทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ในกรณีทมี่ เี คร่ืองคอมพิวเตอร์เครอ่ื งใดเครือ่ งหนึ่งขัดข้อง การสง่ ข้อมลู ภายในเครือขา่ ยชนดิ นี้จะไม่สามารถทางานตอ่ ไปได้ ขอ้ ดขี องโครงสร้าง เครอื ข่ายแบบวงแหวนคอื ใช้สายเคเบล้ิ น้อย และถา้ตัดเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ่เี สียออกจากระบบ กจ็ ะไมส่ ง่ ผลต่อการทางานของระบบเครอื ขา่ ยน้ี และจะไมม่ กี ารชนกนั ของขอ้ มลู ทแ่ี ตล่ ะเครอ่ื งสง่5. โครงสรา้ งเครือข่ายแบบผสม (Hybrid Topology) คือ เป็นเครือขา่ ยที่ผสมผสานกันท้งั แบบดาว แบบวงแหวน และแบบบัสเช่น วทิ ยาเขตขนาดเล็กที่ มีหลายอาคาร เครือขา่ ยของแต่ละอาคารอาจใชแ้ บบบสั เชือ่ มต่อกับอาคารอ่นื ๆทใี่ ช้แบบดาว และแบบวงแหวน

ส่วนประกอบของเครือข่าย Network Component ในชวี ิตประจาวันของเรานัน้ เกีย่ วข้องกบั เครอื ขา่ ยตลอดเวลา เพระทกุ การ ตดิ ตอ่ ส่ือสารน้ันต้องผา่ นระบบเครอื ขา่ ยมาแล้วทง้ั สน้ิ ไมว่ า่ จะเป็น โทรศพั ท์ SMS ATM วทิ ยุ โทรทศั น์ ล้วนเปน็ ระบบเครือขา่ ยท้งั สิน้ โดยที่ Internet เป็นระบบ เครอื ข่ายที่ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก ในที่นี้จะกลา่ วถงึ สว่ นประกอบของระบบเครือข่าย ซ่งึ ประกอบไปด้วย- เครอ่ื งบริการขอ้ มูล (Server)- เครอ่ื งลกู ขา่ ยหรือสถานี (Client)- การ์ดเครอื ขา่ ย (Network Interface Cards)- สายเคเบลิ ทใี่ ชบ้ นเครือขา่ ย (Network Cables)- ฮับหรือสวติ ช์ (Hubs and Switches)- ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Networkoperating System)เครอ่ื งศนู ยบ์ รกิ ารข้อมูลโดยมักเรียกว่า เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีทาหน้าที่บริการทรัพยากรให้กับเครื่องลูกข่าย เช่น การบริการไฟล์ การบริการงานพิมพ์ เป็นต้น เนื่องจากเคร่ืองเซฟเวอร์มกั ต้องรบั ภารกิจหนักในระบบจึงมกั ใช้เครือ่ งทม่ี ีขีดความสามารถมาเป็นเครอ่ื งแม่ขา่ ย

เครอ่ื งลูกขา่ ยหรอื สถานีเครือขา่ ยเคร่อื งลูกขา่ ยเป็นคอมพวิ เตอร์ท่ีเช่ือมต่อเข้ากับระบบเครือขา่ ย ซ่ึงอาจเรยี กว่าเวริ ก์ สเตชนั กไ็ ด้ โดยมกั เปน็ เครอ่ื งของผู้ใชง้ านท่ัวไปสาหรับติดตอ่ เพื่อขอใช้บรกิ ารจากเซิร์ฟเวอร์ ซ่งึ สามารถจะขอหรือนา software ทัง้ ขอ้ มูลจากเครอื่ งแมข่ ่ายมาประมวลผลใชง้ านได้และยังตดิ ต่อส่อื สาร รบั -สง่ ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เคร่อื งอ่นื ๆในเครอื ขา่ ยได้การ์ดเครือขา่ ยแผงวงจรสาหรับใช้ในการเช่อื มต่อสายสญั ญาณของเครอื ข่าย คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองในเครอื ขา่ ยจะตอ้ งมีอปุ กรณน์ ้ี และหนา้ ทขี องการ์ดกค็ ือ แปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร์ส่งผา่ นไปตามสายสญั ญาณทาให้คอมพวิ เตอร์ในเครอื ขา่ ยแลกเปล่ยี นข้อมูลกนั ได้สายเคเบิลทใ่ี ช้บนเครอื ขา่ ยเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์จาเปน็ ตอ้ งมีสายเคเบลิ เพอื่ ใชส้ าหรบั เช่อื มต่อคอมพิวเตอรต์ ่าง ๆใหอ้ ยบู่ นเครอื ขา่ ยเดียวกนั เพ่อื สอื่ สารกันได้ นอกจากนี้เครอื ข่ายยังสามารถสอื่ สารระหว่างกนั โดยไมใ่ ช้สายกไ็ ด้ เรยี กวา่ เครือขา่ ยไรส้ ายโดยสามารถใช้คลน่ื วิทยหุ รอื อนิฟาเรด เป็นตวั กลางในการปลงสญั ญาณ อกี ทั้งยังสามารถนาเครอื ข่ายแบบมีสายและเครอื ขา่ ยแบบไรส้ ายมาเชอ่ื มต่อเข้าด้วยกนั เป็นเครอื ข่ายเดยี วกันได้ฮบั และสวติ ช์เปน็ อปุ กรณ์ฮบั และสวติ ชม์ กั นาไปใชเ้ ป็นศูนยก์ ลางของสายเคเบลิ ทีเ่ ชอ่ื มต่อเครือข่ายเขา้ ไวด้ ้วยกนั ซง่ึ ฮับหรือสวติ ช์จะมีพอร์ตเพื่อให้สายเคเบลิ เชอ่ื มต่อเข้าระหวา่ งฮบั กับคอมพวิ เตอร์ โดยจานวนพอรต์ จะข้ึนอยูก่ บั แตล่ ะชนดิ เชน่ แบบ 4 , 8, 16 , 24 พอร์ตยงั สามารถนาฮับหรือสวติ ช์หลายๆตัว มาเชอ่ื มต่อเขา้ ด้วยกันเพื่อขยายเครือข่ายได้อกีดว้ ยระบบปฏบิ ัติการเครือข่ายเครอื่ งแมข่ า่ ยของระบบจาเป็นต้องติดตัง้ ระบบปฏิบัติการเครือขา่ ยไว้ เพ่ือทาหนา้ ท่ีควบคมุ และรองรบั การทางานของเครอื ข่ายไว้ เครือข่ายที่มีประสทิ ธิภาพจาเป็นต้องพึง่Software ทมี่ ปี ระสิทธิภาพตามด้วยเช่นกัน

รูปแบบของเครอื ข่าย แบง่ เปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่1. เครือข่ายแบบ Client/Server2. เครือขา่ ยแบบ Peer To Peerเครือขา่ ยแบบ Client/Serverเปน็ เครอื ข่ายท่ีมีคอมพิวเตอรเ์ ครื่องหนง่ึ ทาหนา้ ทเ่ี ปน็ เซริ ฟ์ เวอร์ ไว้คอยบรกิ ารข้อมลู ใหก้ บั ลูกเครือข่าย โดยมีฮับหรอื สวติ ซเ์ ปน็ ตัวกลาง โดยคอมพิวเตอร์ทกุ เคร่ืองจะถกู เชื่อมตอ่ กับฮับเพื่อทาหน้าท่เี ชื่อมตอ่ ระหา่ งกนั และสมารถขอใชบ้ ริการ web server , mail server , file server และprint server ได้ เครือข่ายประเภทนี้อาจมเี ซฟเวอร์ตัวหนง่ึ ทาหนา้ ทหี่ ลายๆหนา้ ที่บนเครอื่ งเดยี วหรืออาจทาหนา้ ที่เฉพาะก็ได้ข้อดี ขอ้ เสยี ของระบบ Client/Server ขอ้ ดี1.เครอื ขา่ ยมเี สถยี รภาพสงู และสามารถเพิม่ ลดได้ตามต้องกนั2.มีความปลอดภัยสงู ทง้ั ด้านข้อมลู และการจดั การ user ขอ้ เสยี1.ตอ้ งใช้ทุนในการลงทนุ สงู2.ต้องพ่งึ พาผู้ควบคมุ ทีม่ คี วามรู้ มคี วามเชีย่ วชาญ

เครอื ข่าย Peer To Peerเป็นระบบทเ่ี คร่อื งคอมพวิ เตอร์ทกุ เคร่อื งบนเครือขา่ ยมฐี านะเทา่ เทียมกันโยทีท่ กุ เครอื่ งจะต่อสายเคเบิลเขา้ กบั ฮบั หรือสวิตซท์ ุกเครือ่ งสามารถใช้ไฟล์ในเครอ่ื งอน่ื ได้และสามารถใหเ้ ครือ่ งอืน่ มาช้ไฟลข์ องตนเองได้เช่นกัน ระบบเครือข่ายประเภทนม้ี ักจะใชง้ านในหนว่ ยงานขนาดเล็กหรอื ใช้คอมพิวเตอรไ์ มเ่ กิน 10 เครื่อง อาจมปี ัญหาเรื่องความปลอดภยั ในระบบเน่ืองจากขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ความลับถกู สง่ ไปยงั คอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่นื ด้วยเชน่ กนัข้อดี ขอ้ เสียของระบบ Peer To Peerข้อดี1.ลงทนุ ต่า2.ไม่ตอ้ งดูแลผู้ดูแลระบบ3.ตดิ ตัง้ ง่ายข้อเสีย1. มีขีดความสามารถจากัด2. มรี ะบบความปลอดภยั ตา่3. มปี ัญหาเกยี่ วกบั การขยายเครอื ข่าย

อุปกรณ์ที่ใช้เช่อื มต่อระบบเครือขา่ ยรีพตี เตอร(์ Repeater) : ในระบบ Lan โดยทัว่ ไปน้นั ยิง่ คอมพิวเตอร์แตล่ ะเครอ่ื งอยูไ่ กลกนั มากเท่าไร สญั ญาณที่จะส่ือถึงกนั เร่ิมเพีย้ นและจะจางหายไปในท่สี ุดจงึ ตอ้ งมอี ุปกรณ์เสรมิ พเิ ศษที่เรียกว่า รพี ตี เตอร์ ข้ึนมาทาหนา้ ท่ีในการเดนิ สญั ญาณคือชว่ ยขยายสญั ญาณไฟฟ้าทีส่ ่งบนสายLan ให้แรงขึ้นและจดั รปู สัญญาณทีเ่ พื้ยนใหก้ ลบั เป็นเหมอื นเดิมฮับ(Hub) : ทาหน้าท่เี ปรียบเสมือนศูนย์กลางทกี่ ระจายข้อมลู ชว่ ยใหค้ อมพิวเตอรต์ ่างๆบนเครอื ข่ายสามารถสอ่ื สารถึงกนั ได้ คอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะเครอื่ งจะตอ่ เข้ากับฮับโยสายเคเบิลแลว้ ส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอรจ์ ากเคราองหนง่ึ ไปยงั อีกเครือหนงึ่ โยงผา่ นฮบั ฮับไม่สามารถระบุแหล่งที่มาขอ้ มลู และปลายทางของข้อมูลทส่ี ง่ ไปได้ ดังน้ันฮบั จะส่งข้อมลู ไปใหก้ ับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทเี่ ชอื่ มต่อกับฮับทุกเครอ่ื งรวมถึงเครอ่ื งที่ส่งขอ้ มูลดว้ ย ฮับไม่สามรถรบั และส่งข้อมลูไดใ้ นเวลาเดียวกนั จึงทาให้ฮับทางานช้ากวา่ สวติ ซ์ การเชอื่ มตอ่ แบบนี้ หากเชิร์ฟเวอรไ์ มไ่ ดเ้ ปดิ ใช้งานอยู่ เครอื่ งลูกข่ายก็ไมส่ ามารใช้งานบรกิ ารได้ สวติ ซ(์ Switch) : อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ทพี่ ัฒนามาจากฮับ ลกั ษณะทางกายภาพของเน็กเวิรด์ สวิตซ์น้นั จะเหมอื นกับเน็ตเวิรด์ ฮบั ทกุ อยา่ ง แตกตา่ งกนั ตรงท่ี - สวติ ส์จะเลือกสง่ ขอ้ มูลถงึ ผรู้ บั เท่านั้น

- สวิตส์มีความร็วสูง- มีความปลอดภยั สูงกว่า- สามารถรบั ส่งขอ้ มูลได้ในเวลาเดยี วกันบริดจ์(Bridge) : เป็นอปุ กรณเ์ ครอื ขา่ ยที่เชอ่ื ม 2 เครอื ข่ายเข้าด้วยกัน เสมือนเปน็ สะพานเชือ่ มโยงระหวา่ ง 2 เครอื ข่ายบริดจม์ คี วามสามารถมากกวา่ ฮับและรพี ตี เตอร์ กล่าวคอื สามารถกรองข้อมลู ที่จะสง่ ได้ โดยตรวจสอบวา่- ตรวจสอบความสามารถของขอ้ มลู- สง่ ข้อมลู ไปในเครอ่ื งทตี่ อ้ งการเทา่ นัน้- จัดการความหนาแนน่ ของข้อมูลได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เร้าเตอร์(Router) : จะชว่ ยใหเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์สามารถส่อสารหากันไดแ้ ละสามารสง่ ผ่าน ขอ้ มูลระหว่าง 2 เครอื ข่าย เชน่ เครือขา่ ยในบา้ นกับอนิ เตอร์เน็ตโยทีแ่ บบมสี ายและไรส้ าย นอกจากน้เี รา้ เตอร์ยงั มรี ะบบรักษาความปลอดภยั คือ ไฟลว์ อร์

เกตเวย์(Gateway) : เป็นอปุ กรณท์ ท่ี าหนา้ ทีเ่ ชื่อมต่อเครือขา่ ยต่างๆให้เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2ระบบมคี วามแตกตา่ งกัน คือ- มีโปรโตคลอท่ตี า่ งกนั- มีขนาดเครอื ข่ายต่างกัน- มรี ะบบเครอื ขา่ ยต่างกน เช่นเครอ่ื ง PC และ เครอื่ ง MAX ทาให้สามารถเชอื่ มต่อเครือข่ายระหว่างกนั ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook