Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20001-1002 (3)

20001-1002 (3)

Published by bbcmarketing5, 2020-10-27 06:09:06

Description: 20001-1002 (3)

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ วิชาพลังงาน ทรพั ยากรและสิง่ แวดล้อม (Energy, Resources and Environment Conservation) รหัสวชิ า ๒๐๐๐๑-๑๐๐๒ รายวชิ าพลงั งาน ทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม จานวน ๒ หนว่ ยกิต 2–0-2 จุดประสงคร์ ายวิชา เพ่อื ให้ 1. เขา้ ใจหลักการวิธกี ารปอ้ งกันแกไ้ ข้ ปัญหาและการอนุรกั ษพ์ ลังงาน ทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม 2. สามารถประยุกต์ใชห้ ลักการและวิธกี ารเพื่อปอ้ งกันแก้ไข้ ปญั หาและอนรุ กั ษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ มในงานอาชพี 3. มีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ การอนุรกั ษพ์ ลังงาน ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมในงานอาชีพ สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั พลงั งาน ทรพั ยากรและสิง่ แวดล้อม หลักการและวธิ ีการปอ้ งกนั แก้ไขปญั หาและอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม 2. วิเคราะหส์ ภาพปัญหาและผลกระทบท่ีเกิดจากการใชพ้ ลงั งาน ทรพั ยากรและสิง่ แวดล้อม 3. วางแผนป้องกนั แกไ้ ข้ ปัญหาและผลกระทบท่ีเกิดจากการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ มในงานอาชีพ 4. วางแผนการอนุรักษ์พลังงาน ทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อมในงานอาชีพ คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาเกี่ยวกับพลังงานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ประเภทของพลังงาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมความสัมพันธ์ของพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมกับการดํารงชีวิต การใช้ประโยชน์ของพลังงาน พลังงานทดแทนและทรัพยากร สถานการณ์ปัญหาและ ผลกระทบที่เกิดจากการใช้พลังงานและทรัพยากรแนวทางป้องกันและแก้ไข ปัญหาพลังงาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม หลักการและ วิธีการอนรุ ักษพ์ ลังงานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม กฎหมายและนโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง

หน่วยที่ 3 สารชีวโมเลกลุ ในอาหาร

โปรตนี คาร์โบไฮเดรต สาร ชีวโมเลกลุ ไขมนั

สารชีวโมเลกลุ (Biomolecule)  สารชีวโมเลกุล เป็ นสารเคมีที่มีอยู่ในสิ่ งมีชีวิต อยู่ในกลุ่มของ สารอินทรี ย์ มีหลายชนิด ทาหน้าที่ต่างๆ กันในร่ างกาย เช่น เป็ น องคป์ ระกอบของอวยั วะต่างๆ ใชใ้ นการสร้างพลงั งาน ทาให้ร่างกาย เจริญเติบโต ทาใหร้ ่างกายทางานเป็นปกติ เป็นน้ายอ่ ย รวมท้งั เป็นสาร พนั ธุกรรม  สารชีวโมเลกุลจะประกอบดว้ ยธาตุหลายชนิด ธาตุหลกั ท่ีพบมาก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซลั เฟอร์ และฟอสฟอรัส ธาตุ ต่าง ๆ เหล่าน้ีจะรวมตัวกันหลายรู ปแบบ เกิดเป็ นโมเลกุลของ สารประกอบชนิดต่างๆ ข้ึน

1. คาร์โบไฮเดรต คาร์โบไฮเดรต คือ สารอินทรีย์ท่ีประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิด คือ คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) โดยมีอตั ราส่วนของ คาร์บอน : ไฮโดรเจน : ออกซิเจน เป็น 1 : 2 : 1 มีสูตรทวั่ ไปคือ (CH2O)n

1.1 ชนิดของคาร์โบไฮเดรต 1. น้าตาลโมเลกลุ เดี่ยว (Monosaccharide) เป็นคาร์โบไฮเดรตท่ีมี โมเลกลุ เลก็ ที่สุด ประกอบดว้ ยคาร์บอน 3-8 อะตอม โดยมีชื่อตาม คาร์บอนอะตอม ดงั น้ี - ไตรโอส (triose) คือ น้าตาลที่ประกอบดว้ ย คาร์บอน 3 อะตอม - เทโทรส (tetrose) คือ น้าตาลที่ประกอบดว้ ย คาร์บอน 4 อะตอม - เพนโทส (pentose) คือ น้าตาลที่ประกอบดว้ ย คาร์บอน 5 อะตอม - เฮกโซส (hexose) คือ น้าตาลท่ีประกอบดว้ ย คาร์บอน 6 อะตอม -เฮปโทส (heptose) คือ น้าตาลท่ีประกอบดว้ ย คาร์บอน 7 อะตอม -ออกโทส (octose) คือ น้าตาลที่ประกอบดว้ ย คาร์บอน 8 อะตอม

1.1 ชนิดของคาร์โบไฮเดรต น้าตาลโมเลกลุ เดี่ยวที่มีความสาคญั ท่ีสุดคือ น้าตาลเฮกโซส เน่ืองจากเป็นน้าตาลที่สามารถเปลี่ยนองคป์ ระกอบเป็นคาร์โบไฮเดรต ชนิดอ่ืนได้ น้าตาลเฮกโซส ที่สาคญั ไดแ้ ก่  กลูโคส พบมากในธรรมชาติและเป็นแหล่งพลงั งานที่สาคญั  ฟรุกโทส เป็นน้าตาลท่ีมีความหวานท่ีสุด มีลกั ษณะเป็นผลึก สีขาว ละลายน้าไดด้ ีมาก  กาแลกโทส เป็นไอโซเมอร์ของกลูโคส มกั พบมากรวมตวั อยกู่ บั กลูโคส ในรูปของน้าตาลโมเลกลุ คู่หรือน้าตาลโมเลกลุ ใหญ่

1.1 ชนิดของคาร์โบไฮเดรต 3. น้าตาลหลายโมเลกลุ หรือคาร์โบไฮเดรตโมเลกลุ ใหญ่ เกิดจาก น้าตาลโมเลกลุ เด่ียว (ส่วนใหญ่ คือ กลูโคส) หลายโมเลกลุ รวมตวั ต่อกนั เป็นสายยาว โดยอาจรวมตวั กนั เป็นแบบโซ่ตรงหรือโซ่ก่ิงกไ็ ด้ การเรียง ตวั ที่แตกต่างกนั น้ี ทาใหเ้ กิด คาร์โบไฮเดรตโมเลกลุ ใหญ่หลายชนิด ที่มี สมบตั ิแตกต่างกนั ไดแ้ ก่ - แป้ง เป็ นคาร์โบไฮเดรต ที่สะสมอยู่ในพืช แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ อะไมโลสและอะไมโลเพคติน - ไกลโคเจน เป็นคาร์โบไฮเดรต ท่ีถูกสะสมไวใ้ นกลา้ มเน้ือและตบั - เซลลูโลส (Cellulose) เป็นคาร์โบไฮเดรต ท่ีพบมากที่สุดในธรรมชาติ มี ลกั ษณะเป็นเสน้ ใย

1.1 ชนิดของคาร์โบไฮเดรต 2. น้าตาลโมเลกลุ คู่ (Disaccharide) เป็นน้าตาลท่ีเกิดจากน้าตาล โมเลกลุ เด่ียวสองโมเลกลุ รวมตวั กนั โดยยดึ เหน่ียวกนั ดว้ ยพนั ธะไกลโค ไซด์ (Glycoside bond) และในการรวมตวั กนั แต่ละคร้ังจะไดโ้ มเลกลุ ของน้าเกิดข้ึน 1 โมเลกุล น้าตาลโมเลกลุ คู่ที่พบมากในธรรมชาติ ไดแ้ ก่ - ซูโครส (Sucrose) เกิดจากการรวมตวั ระหวา่ งโมเลกลุ ของน้าตาลกลูโคส และน้าตาลฟรุกโตส อยา่ งละ 1 โมเลกลุ - แลกโทส (Lactose) เกิดจากการรวมตวั ระหวา่ งโมเลกลุ ของน้าตาลกลูโคส และน้าตาลกาแลกโทส อยา่ งละ 1 โมเลกุล - มอลโทส (Maltose) เกิดจากการรวมตวั ระหวา่ งโมเลกลุ ของน้าตาลกลูโคส 2 โมเลกลุ

1.2 สมบตั ิของคาร์โบไฮเดรต  ส่วนใหญ่มีรสหวาน ยกเวน้ แป้งไม่มีรสหวาน  โมโนแซคคาไรด์และไดแซคคาไรด์ละลายน้าได้ ส่วนโพลิแซคคาไรด์ ไม่ละลายน้า โดยการละลายน้าจะเพิม่ ตามอุณหภูมิ  เมื่อมีความร้อนจะหลอมตวั และไหม้  เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสโดยใช้กรดเจือจาง ไดผ้ ลิตภณั ฑ์เป็ นโมโน แซคคาไรด์  เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชนั กบั ตวั ออกซิไดซ์ของน้าตาลที่มหี มู่ -CHO

1.3 การทดสอบคาร์โบไฮเดรต 2. ปฏิกิริยากบั สารละลายไอโอดีน (Iodine solution) คาร์ โบไฮเดรตจาพวกแป้ งจะทาปฏิกิ ริ ยากับไอโอดี นได้ตะกอน สีน้าเงิน ไกลโคเจนทาปฏิกิริยากบั สารละลายไอโอดีนให้สารสีแดงเขม้ แต่ โมโนแซคคาไรดแ์ ละไดแซคคาไรด์ รวมถึงเซลลูโลสไม่เกิดปฏิกิริยา น้ี

1.3 การทดสอบคาร์โบไฮเดรต

1.3 การทดสอบคาร์โบไฮเดรต 1. ปฏิกิริยากบั สารละลายเบเนดิกต์ (Benedict solution) น้าตาลพวกมอนอแซคคาไรด์และไดแซคคาไรด์ (ยกเวน้ ซูโครส) ทาปฏิกิริยากบั สารละลายเบเนดิกตอ์ ย่ใู นสารละลายเบเนดิกตต์ ะกอนสี แดงอิฐ (สีฟ้า) ใหต้ ะกอนสีแดงอิฐของ Cu2O ส่วนแป้ง ไกลโคเจนและ เซลลูโลสไม่ทาปฏิกิริยากบั สารละลายเบเนดิกต์

1.3 การทดสอบคาร์โบไฮเดรต

2. โปรตีน โปรตีนเป็ นสารประกอบท่ีสาคญั ของสิ่งมีชีวิต มีขนาดโมเลกุล ใหญ่และซบั ซอ้ นมาก เป็นส่วนประกอบที่สาคญั ของกลา้ มเน้ือ ฮอร์โมน และแอนติบอดี ประกอบด้วยธาตุสาคัญ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจนและออกซิเจน โดยมีกามะถนั ฟอสฟอรัสและเหล็ก อยู่บา้ ง โปรตีนเป็ นพอลิเมอร์ขนาดใหญ่ มีสมบตั ิเป็ นคอลลอยด์ เม่ือแยกสลาย โปรตีน จะไดก้ รดอะมิโน (Amino acid) ซ่ึงสายพอลิเมอร์ดงั กล่าว เช่ือม กนั ดว้ ย พนั ธะเพปไทด์ (Peptide bond) พบโปรตีนในเน้ือสัตว์ ไข่ นม พืชผกั ต่างๆ โดยเฉพาะถวั่ เหลือง

2. โปรตนี

2.1 กรดอะมิโน (Amino acid) กรดอะมิโน เป็นสารอินทรียท์ ่ีมีหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโน รวมอยใู่ นโมเลกลุ เดียวกนั กรดอะมิโนในร่างกายคนมี 20 ชนิด แบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี  กรดอะมิโนจาเป็น (Essential amino acid) เป็นกรดอะมิโนท่ีร่างกายไม่ สามารถสงั เคราะห์เองได้ ตอ้ งรับจากการบริโภคอาหารเท่าน้นั  กรดอะมิโนไม่จาเป็น (Non–essential amino acid) เป็นกรดอะมิโนที่ ร่างกายสามารถสงั เคราะห์ไดเ้ อง

2.2 พนั ธะเพปไทด์ (Peptide bond) พนั ธะเพปไทด์เป็ นพนั ธะที่เช่ือมระหว่างหมู่คาร์บอกซิลิก ของ กรดอะมิโนโมเลกุลหน่ึงกบั หมู่อะมิโน ของกรดอะมิโนอีกโมเลกุลหน่ึง โดยจะมีน้าเกิดข้ึนมา 1 โมเลกุล

2.3 โครงสร้างของโปรตีน  โครงสร้างระดบั ไพรมารี เป็นลาดบั ท่ี ของกรดอะมิโน ที่เรียงอยใู่ นสาย ของพอลิเพปไทด์

2.3 โครงสร้างของโปรตนี  โครงสร้างระดบั เซคนั ดารี เป็นโครงสร้างของสายพอลิเพปไทด์ มี 3 แบบ คือ  แอลฟา-เฮลิก สายพอลิเพปไทดจ์ ะเป็นเกลียววนขวาแบบสปริง  บีตา-ชีท สายพอลิเพปไทดจ์ ะเป็นแผน่ มีการหกั ข้ึนหกั ลงแบบพลีท เหมือนรอยหยกั  บีตา-เบนด์ เป็นจุดหกั มุมของสายแอลฟา-เฮลิกหรือบีตา-ชีท คลา้ ย ขอ้ ต่อของสายพอลิเพปไทด์

2.3 โครงสร้างของโปรตนี  โครงสร้างระดบั เทอร์เทียรี เป็ นโครงสร้างสายพอลิเพปไทด์ที่เป็ นกลุ่ม กอ้ น เกิดอยา่ งไร้ระเบียบ แบ่งเป็น  โปรตีนแบบโกลบูลาร์ เป็นแบบกอ้ นกลม  โปรตีนแบบไฟบรัสเป็นแบบสายยาว

2.3 โครงสร้างของโปรตนี  โครงสร้างระดบั ควอเตอนารี เป็นโครงสร้างของโปรตีนท่ีมีการรวมกนั ของโปรตีนเป็นกอ้ นหลายๆ กอ้ น

2.4 ประเภทของโปรตนี 2. โปรตนี ก้อนกลม  เอนไซม์ เป็น โปรตีนชนิดหน่ึง ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั เร่งปฏิกริ ิยา เอนไซม์ ช่วยทาใหป้ ฏิกิริยาเกิดไดเ้ ร็วข้ึน  ไมโอโกลบิน เป็นโปรตีนกอ้ นกลมที่มีขนาดเลก็ พบในเซลลก์ ลา้ มเน้ือ มีหนา้ ท่ีจบั กบั ออกซิเจน เพอื่ เกบ็ สะสมและขนส่งไปยงั ไมโทคอนเดรีย เพือ่ ใชใ้ นปฏิกิริยาออกซิเดชนั ของสารอาหาร  เฮโมโกลบิน เป็นโปรตีนกอ้ นกลม พบในเมด็ เลือดแดงทาหนา้ ทข่ี นส่ง ออกซิเจน

2.4 ประเภทของโปรตีน 1. โปรตนี เส้นใย  เคราติน เป็ นโปรตีนเส้นใยท่ีพบมากในสัตวท์ ี่มีกระดูกสันหลงั ทุกชนิด เป็ น ส่วนประกอบของ ผม ขน เขา และเล็บ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ แอลฟาเคราตินและบีตาเคราติน  คอลลาเจน เป็ นโปรตีนเส้นใยที่เป็ นส่วนประกอบของเน้ือเยื่อเกี่ยวพนั เช่น กระดูก ฟัน กระดูกอ่อน และ เอ็น ถ้านาคอลลาเจนมาต้มใน สารละลายกรดเป็นเวลานานจะไดเ้ จลลาติน  ไฟโบรอิน เป็ นโปรตีนเส้นใยที่พบใน เส้นไหม เส้นใยแมงมุม ขนนก เกลด็ ของสตั วเ์ ล้ือยคลาน มีคุณสมบตั ิเหนียว ยดื ไดน้ อ้ ย

2.5 การเปลยี่ นสภาพของโปรตีน (Protein denature) การเปลี่ยนสภาพของโปรตีนหรือการดีเนเจอร์ คือการท่ีโครงสร้าง ของโปรตีน เปล่ียนสภาพไปจากเดิมโดยไม่มีการทาลายพนั ธะเพปไทด์ กระบวนการน้ีเก่ียวขอ้ งกบั การทาใหโ้ ปรตีนท่ีบิดงอหรือเป็นเกลียวน้นั คลายตวั ออก ซ่ึงจะทาใหส้ มบตั ิของโปรตีนเปล่ียนแปลงไป การดีเน เจอร์โปรตีนน้ีจะเป็นแบบชว่ั คราวหรือถาวรกไ็ ด้ ผลของการดีเนเจอร์น้ี จะทาใหโ้ ปรตีนตกตะกอน

2.6 สมบตั ขิ องโปรตนี  โปรตีนบริสุทธ์ิจะไม่มีรสและกลิ่น เมื่อไดร้ ับความร้อนสูงจะเปล่ียนเป็น สีดาและเหมน็ ไหม้  ตามปกติโปรตีนจะไม่ละลายน้า แต่มีโปรตีนบางชนิดละลายน้าได้  โปรตีนที่มีกรดอะมิโนทริปโทเฟน ไทโรซินและฟี นิลอะลานีน สามารถ ดูดกลืนแสงอลั ตราไวโอเลตท่ีความยาวคลื่น 280 nm ได้  โปรตีนมีคุณสมบตั ิความเป็ นกรดและเบสได้ตามคุณสมบตั ิของกรด อะมิโนท่ีเป็นองคป์ ระกอบ

3. ไขมนั ไขมนั (Lipid) คือ สารอินทรียท์ ี่เกิดจากการรวมตวั ของกลีเซอรอล กบั กรดไขมนั โดยไขมนั ท่ีประกอบดว้ ยกรดไขมนั 1 โมเลกลุ จะเรียกว่า โมโนกลีเซอไรด์ ถ้าประกอบด้วยกรดไขมัน 2 โมเลกุล จะเรียกว่า ไดกลีเซอไรด์ ถา้ ประกอบดว้ ยกรดไขมนั 3 โมเลกุล จะเรียกว่า ไตรกลี เซอร์ไรด์ ไขมนั ที่พบในพชื และสตั วม์ ากท่ีสุด คือ ไตรกลีเซอไรด์

3.1 กรดไขมัน (Fatty acid) กรดไขมนั เป็นกรดอินทรียช์ นิดหน่ึง สูตรทว่ั ไปเป็น R-COOH สมบตั ิของกรดไขมนั ข้ึนอยกู่ บั หมู่ไฮโดรคาร์บอน (R-) กรดไขมนั แบ่ง ออกไดเ้ ป็น 2 ชนิด คือ 1. กรดไขมนั อิ่มตวั (Saturated Fatty acid) 2. กรดไขมนั ไม่อ่ิมตวั (Unsaturated Fatty acid)

3.2 ประเภทของไขมัน 1.ไขมนั อยา่ งง่าย คือ ไขมนั ท่ีเป็นเอสเทอร์ของกรดไขมนั กบั กลีเซอรอล เรียกวา่ กลีเซอไรด์ เช่น น้ามนั แวกซ์และไข

3.2 ประเภทของไขมัน 2.ไขมนั เชิงประกอบ คือ ไขมนั อยา่ งง่าย ที่มีองคป์ ระกอบอยา่ งอ่ืนเพ่มิ เขา้ มาในโมเลกลุ ดว้ ย แบ่งออกเป็น 3 พวก ตามชนิดของสารที่เพิม่ เขา้ มาใน โมเลกลุ คือ  ฟอสโฟไลปิ ด (Phospholipid)  ไกลโคไลปิ ด (Glycolipid)  ไลโพโปรตีน (Lipoprotein)

3.2 ประเภทของไขมัน 3.อนุพนั ธ์ลิพิด เป็นสารท่ีเป็นผลิตภณั ฑข์ องการไฮโดรไลซไ์ ขมนั อยา่ ง ง่ายและไขมนั เชิงประกอบ - สเตียรอยด์ (steroid) - คอเลสเตอรอล (cholesterol)

3.3 แวกซ์ (wax) และขผี้ งึ้ (beewax)  แวกซ์ คือ เอสเทอร์ท่ีเกิดเองตามธรรมชาติ ประกอบดว้ ยกรดคาร์บอก ซิลิกโซ่ยาวกบั แอลกอฮอลโ์ ซ่ยาว เป็นของแขง็ ที่มีจุดหลอมเหลวต่า มี ลกั ษณะเหมือนข้ีผ้งึ  ข้ีผ้งึ คือ สารที่ผ้งึ ผลิตข้ึนสาหรับรัง มีจุดหลอมเหลว 60 – 82 ๐C และ เป็นของผสมของเอสเทอร์ เมื่อนามาไฮโดรไลซจ์ ะไดก้ รดคาร์บอกซิลิก โซ่ตรงที่มีคาร์บอนอยรู่ ะหวา่ ง 26-28 อะตอม และไพรมารีแอลกอฮอลท์ ี่ มีคาร์บอนอยรู่ ะหวา่ ง 30 – 32 อะตอม

3.4 ปฏกิ ริ ิยาเคมขี องน้ามนั และไขมนั  ปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจน  การเกิดกลิ่นเหมน็ หืน  ปฏิกิริยากบั ไอโอดีน  ปฏิกิริยาแซพอนิฟี เคชนั

3.5 สมบตั ทิ ัว่ ไปของไขมัน  ไม่ละลายน้าแต่ละลายในตวั ทาละลายอินทรีย์ เช่น อีเทอร์ อะซิโตน  มีความหนาแน่นต่ากวา่ น้า  ประกอบดว้ ยคาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน แต่ก็อาจมีไนโตรเจน และฟอสฟอรัสบา้ ง ไขมนั และน้ามนั เป็ นเอสเทอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยา กลีเซอรอลกบั กรดไขมนั

3.6 สบู่และผงซักฟอก  สบู่ คือ เกลือของกรดอินทรีย์ ที่ไดจ้ ากปฏิกิริยาสะปอนิฟิ เคชนั ของกรด ไขมัน โครงสร้างของสบู่ประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนท่ีเป็ น สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซ่ึงเป็ นโมเลกุลไม่มีข้วั และไม่ละลายน้า และส่วนท่ีเป็ นหมู่คาร์บอกซิล ซ่ึงเป็ นโมเลกุลมีข้วั ละลายน้าได้ เม่ือเจอ คราบสกปรกซ่ึงมักเป็ นพวกไขมนั สบู่จะหันด้านที่ไม่มีข้วั เขา้ หาสิ่ง สกปรก ส่วนดา้ นที่มีข้วั จะหนั เขา้ หาน้า เกิดเป็นไมเซล  ผงซักฟอก คือ สารประกอบเกลืออินทรีย์ คลา้ ยสบู่ เป็ นสายยาว มีสอง ส่วนเหมือนสบู่ทาการชาระลา้ งสิ่งสกปรกไดค้ ลา้ ยกนั

2.7 การทดสอบโปรตนี ปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ในการทดสอบโปรตีนมีหลายวิธี แต่ที่นิยมคือ การทดสอบไบยเู ร็ต โดยใหโ้ ปรตีนทาปฏิกิริยากบั สารละลายคอปเปอร์ (II) ซลั เฟต เจือจางในสารละลายเบส NaOH ซ่ึงจะไดส้ ารสีน้าเงินม่วง หรือสีชมพูถา้ เป็ นโปรตีน โดยปฏิกิริยา CuSO4 ในสารละลายเบสจะทา ปฏิกิริยากับองค์ประกอบย่อยของโปรตีน คือ กรดอะมิโน ได้สาร สีน้าเงินม่วง ซ่ึงเป็ นสารประกอบเชิงซอ้ นระหว่าง Cu2+ กบั ไนโตรเจน ในสารท่ีมีพนั ธะเพปไทด์ ต้งั แต่ 2 พนั ธะข้ึนไป

2.7 การทดสอบโปรตนี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook