Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Binder1

Binder1

Published by Ckrit Rukk, 2020-09-09 01:13:09

Description: Binder1

Search

Read the Text Version

รายงาน โครงการศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาอา่ วค้งุ กระเบน เสนอ ดร.สธุ รี า อานามวงษ์ จดั ทำโดย นายคณติ บรรเจิด 016230641010-9 นายอภิสิทธ์ิ คหู ะมะณี 016230641011-7 นายเจษฎา ผสมทรพั ย์ 016230641012-5 นายศคิ รินทร์ สกุ ใส 016230641013-3 นายจกั รกฤษณ์ รุกขะเสรณีย์ 016230641015-8 นายสรวิชญ์ โชตวิ งศ์วชิร 016230641016-6 นายณัฐกฤต เรา้ เรอื งวฒั นากุล 016230641018-2 รายงานน้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของวิชาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ้ มกับชวี ิต ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วทิ ยาเขตบางพระ

คำนำ รายงานนี้เป็นส่วนหนงึ่ ของวชิ าวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และส่งิ แวดล้อมกับชีวติ รายงานเล่มนี้จดั ทำข้นึ เพ่ือ ศกึ ษาขอ้ มลู เกีย่ วกบั โดยในรายงานฉบับนี้จะมเี น้อื หาเกี่ยวกบั ความเปน็ มา วัตถปุ ระสงค์ หลักการและเหตผุ ล ของโครงการศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาอา่ วคุ้งกระเบน หากในรายงานฉบบั นม้ี ีข้อผดิ พลาดประการใดก็ขออภยั มา ณ ทีน่ ี้ดว้ ย คณะผูจ้ ดั ทำ

สารบัญ เรอ่ื ง หน้า ทตี่ ง้ั โครงการ 2 หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบโครงการ 3 ระยะเวลาดำเนนิ การ 4 พน้ื ทด่ี ำเนินการ ความเป็นมาของโครงการ 5 วตั ถปุ ระสงค์ 7 ผลการดำเนนิ การท่ีผ่านมา 8 ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั 9 หลักการและเหตุผล 11 บรรณานกุ รม 12

1 ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาอ่าวค้งุ กระเบน โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลย เดช ทีแ่ สดงให้เหน็ ถึงพระอจั ฉริยภาพ และความหว่ งใยที่พระองค์ทรงมีต่อราษฎรในพืน้ ทตี่ า่ ง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน สร้างขึ้นเพื่อทำการฟื้นฟูและจัดการทรัพยากรชายฝั่งหรือ ป่าชายเลนอย่างยั่งยืน ตั้งอยู่ที่อ่าวคุ้งกระเบน ตำบลคลองขุด อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี มีเนื้อที่รอบชายฝั่ง ประมาณ 2,000 ไร่ และถ้ารวมพื้นที่รอบนอกในเขตตำบลคลองขุด ตำบลสนามไชย และพื้นที่ใกล้เคียงที่เป็นเขต หมู่บ้านประมงตลอดแนวชายฝั่งทะเล อกี ทั้งเขตเกษตรกรรมแล้ว กจ็ ะมีพน้ื ทีร่ าว 32,000 ไร่

2 ทตี่ ้งั โครงการ พื้นที่ดำเนนิ งานและพื้นที่ขยายผลศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ครอบคลุม 33 หมู่บ้าน ในตำบลคลองขุด, ตำบลรำพัน, ตำบลโขมง อำเภอทา่ ใหม่ และ ตำบลสนามไชย, ตำบลกระแจะ อำเภอนายายอาม จงั หวดั จนั ทบุรี มีพน้ื ทปี่ ระมาณ 71,025 ไร่ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1. ที่ตง้ั ศนู ย์การศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ตง้ั อย่ทู ี่ชายฝั่งทะเลตะวนั ออก บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน หมู่ที่ 3, 4, 7, 9 และ 10 ตำบลคลองขุด อำเภอท่าใหม่ และหมู่ที่ 7 ตำบลสนามไชย อำเภอนายายอาม จังหวัด จนั ทบุรี มีพ้นื ทีป่ ระมาณ 4,000 ไร่ 2. หมู่บ้านรอบศูนย์ ได้แก่ ตำบลคลองขุด ตำบลสนามไชย ตำบลรำพัน ตำบลกระแจะ พื้นท่ี ใกลเ้ คียง ซึง่ เป็นเขตเกษตรกรรม และหม่บู า้ นประมงแนวฝั่งทะเล มพี ้ืนท่ปี ระมาณ 57,025 ไร่ การดำเนินกิจกรรม มุง่ เนน้ การสง่ เสริมการเกษตรแบบบรู ณาการ

3 3. พื้นที่ขยายผลการดำเนินงาน ได้แก่ ตำบลรำพัน ตำบลโขมง ตำบลเสม็ดโพธิ์ศรี อำเภอท่าใหม่ และ พื้นที่ใกล้เคียงศูนย์ฯ มีพื้นที่ประมาณ 10,000 ไร่ เป็นการส่งเสริมและพัฒนา อาชพี ทีป่ ระสบความสำเรจ็ ในศูนยฯ์ สู่พน้ื ที่โดยรอบศนู ย์ ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กบั อำเภอแกง่ หางแมว และอำเภอเขาคชิ ฌกูฎ ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั อำเภอแหลมสิงหแ์ ละอ่าวไทย ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กับ อำเภอเขาคิชฌกฎู และอำเภอเมืองจนั ทบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกบั อำเภอนายายอาม หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบโครงการ ในการปฏิบัติงานบริเวณศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ จะเป็นทั้งรูปแบบการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการส่งเสริมพัฒนาอาชีพของราษฎรตลอดจนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ สงู สดุ ในการทีห่ นว่ ยงานหนงึ่ หนว่ ยงานใดจะเป็นทั้ง “ นกั อนรุ กั ษ์และนักพัฒนา” ในคราวเดียวกันน้ันยอ่ มยากต่อ การประสบความสำเร็จอีกทั้งการจัดการทรัพยากรมักจะมีข้อขัดแย้งมากมายระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การ อนรุ ักษป์ ่าชายเลนกับการพัฒนาการเลี้ยงกุ้งทะเล เนอื่ งจากการจัดการทรัพยากรธรรมชาติน้นั เป็นรปู แบบ “ สหวิทยาการ (INTERDISCIPINARY)” มิใช่การจัดการแบบเบ็ดเสร็จ การที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ จะบรรลุถึงวัตถุประสงค์นั้นจะต้องมีหน่วยงานที่หลากหลายเข้าร่วมโครงการเพื่อการประสานแผน (INTEGRATED PLANNING) การดำเนินงานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดความยั่งยืน ตลอดไป โดยมีหน่วยงานร่วมดำเนินการประกอบด้วยหน่วยงานในระดับพื้นที่ จำนวน 36 หน่วยงาน จาก 22 กรม/สำนัก ใน ๗ กระทรวง โดย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม เป็นหนว่ ยงานกระทรวงหลกั ในการพัฒนา

4 ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มดำเนนิ การปี 2536 พื้นทด่ี ำเนนิ การ พืน้ ที่ดำเนนิ การและพ้ืนทข่ี ยายผลศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาอา่ วคุ้งกระเบนฯ ครอบคลุม ๓๓ หมู่บ้าน ในตำบลคลองขดุ , ตำบลรำพัน, ตำบลโขมง อำเภอทา่ ใหม่ และ ตำบลสนามไชย, ตำบลกระแจะ อำเภอนายายอาม จงั หวดั จนั ทบรุ ี มีพ้ืนที่ประมาณ 71,025 ไร่ โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ 1. พน้ื ท่ศี ูนยก์ ลาง ได้แก่ บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน และพื้นที่โดยรอบ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ ประมาณ 4,000 ไร่ การ ดำเนินกจิ กรรมจะเป็นการผสมผสานระหวา่ งปา่ ไมแ้ ละ ประมง 2. พืน้ ท่รี อบนอก ไดแ้ กพ่ ้ืนทีต่ ำบลคลองขดุ ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ และตำบลสนามไชย ตำบล กระแจะ อำเภอ นายายอาม ซ่งึ เปน็ ทงั้ เขตเกษตรกรรม และเขตหมูบ่ ้านประมงตลอดแนวชายฝงั่ มีพื้นท่ีประมาณ 57,025 ไร่ การดำเนินกิจกรรมมุ่งเนน้ การสง่ เสริมการเกษตรแบบบูรณาการ 3. พน้ื ทีข่ ยายผล ได้แก่ พื้นที่ ตำบลรำพัน ตำบลโขมง ตำบลเสม็ดโพธ์ิศรี อำเภอท่าใหม่ และพื้นที่ใกล้เคยี ง ศูนยฯ์ มีพื้นที่ประมาณ 10,000 ไร่ เป็นการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพที่ประสบความสำเร็จ ในศูนย์ฯ สู่ พน้ื ที่โดยรอบ

5 ความเปน็ มาของโครงการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสิน ที่จังหวัดจันทบุรี เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2524 โดยมพี ระราชดำรแิ ก่ นายบุญนาค สายสวา่ ง ผู้ว่าราชการจงั หวัดจันทบุรี สรปุ ไดว้ ่า “...ให้พิจารณาพื้นที่ที่เหมาะสม จัดทำโครงการพัฒนาด้านอาชีพการประมงและการเกษตร ในเขตพื้นที่ ชายฝ่ังทะเลตะวันออก ของจนั ทบุรี...”และได้พระราชทานเงินทร่ี าษฎรจงั หวัดจันทบรุ ีได้รว่ มทลู เกล้าทูลกระหม่อม ถวายในโดยเสดจ็ พระราชกศุ ลในโอกาสดงั กลา่ วเป็นทนุ เร่ิมดำเนินการ

6 ต่อมาเม่ือวนั ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2524 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ได้มีพระราชดำริเพม่ิ เติม ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สาระสรุปไดว้ ่า “...ให้พิจารณาจัดหาพื้นที่ป่าสงวนเสื่อมโทรมหรือพื้นที่สาธารณประโยชน์ เพื่อจัดตั้งเป็นศูนย์ศึกษาก าร พัฒนาเช่นเดียวกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ให้เป็นศูนย์ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาในเขตที่ดินชายทะเล ...” ทางจังหวัดจันทบุรีจึงได้ร่วมกันหารือกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อพิจารณาความเหมาะสม และกำหนดพื้นท่ี บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี เป็นพื้นที่จัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ มกี รมประมงเปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการประสานการดำเนินงานในพ้นื ที่ ผู้ว่าราชการจังหวัดในขณะนั้น จึงรับสนองพระราชดำริ ก่อตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2524 ที่ตำบลคลองขุด อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี โดยได้รับความ ร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมประมง กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานจังหวัดจันทบุรี กรมที่ดิน ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โครงการชลประทานจังหวัดจันทบุรี กรมชลประทาน สำนักนโยบายแล ะ สิ่งแวดลอ้ ม กรมปา่ ไม้ สำนกั งานปศุสตั ว์จังหวัด กรมปศสุ ตั ว์ และอน่ื ๆ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ มีพื้นที่เป้าหมายของโครงการอยู่ ณ บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน ครอบคลุมชายฝั่งทะเลโดยรอบ รวม 200 ไร่ ส่วนพื้นที่รอบนอกได้แก่ พื้นที่เขตตำบลคลองขุด ตำบลสนามไชย พน้ื ทใี่ กล้เคยี งซ่งึ เป็นเขตหมูบ่ ้านประมงตลอดแนวชายฝง่ั ทะเล และเขตเกษตรกรรม ประมาณ 32,000 ไร่ และเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2531 ได้มีพระราชดำริเกี่ยวกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ใน โอกาสที่ประธานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ นำผู้เข้าร่วมสัมมนา และบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเฝ้าฯ เพื่อรับพระราชทานพระบรมราโชบายเกี่ยวกับการดำเนินงานในช่วงต่อไป ณ ศาลาดุสิดาลัย สาระโดยสรุป คุ้งกระเบนเป็นการศึกษาเกี่ยวกับชายทะเล ต้นไม้ต่าง ๆ ชายทะเล และปลา การ ประมง

7 วัตถปุ ระสงค์ 1.ศึกษารปู แบบการจดั การทรัพยากรชายฝง่ั อย่างยงั่ ยนื 2.เป็นศูนย์กลางในการอบรมเผยแพร่ ผลการศึกษาการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ให้แก่ส่วน ราชการและภาคเอกชนทั่วไป 3.ยกระดับฐานะความเป็นอยู่ และอาชีพของราษฎรบริเวณอ่าวคุ้งกระเบน และพื้นที่ใกล้เคียง โดยมุ่งเน้นพัฒนาชว่ ยเหลอื ราษฎรท่ีมีฐานะยากจน 4.พัฒนาด้านการประมงและการเพาะเล้ียงสตั ว์น้ำ เพื่อเพิ่มผลผลิตของประเทศ ตลอดจนพัฒนา กจิ กรรมอืน่ ๆ ควบคไู่ ปด้วย 5.อนุรักษ์สภาพแวดล้อมและดุลยภาพทางธรรมชาตใิ ห้คงลักษณะพิเศษของพืน้ ทเ่ี อาไว้ 6.สง่ เสริมสนบั สนุนและพฒั นาการทอ่ งเท่ียวเชงิ พฒั นา 7.เพอ่ื อนรุ กั ษ์สภาพปา่ ทสี่ มบรู ณ์ให้คงสมบูรณ์ตลอดไป 8.เพ่อื ฟื้นฟูสภาพป่าท่เี สอ่ื มโทรมให้กลบั ฟ้ืนคืนสภาพป่าท่ีสมบรู ณโ์ ดยการปลูกสรา้ งสวนป่า 9.เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ให้ราษฎรในโครงการฯ และบริเวณใกล้เคียงมีจิตสำนึกในการ อนรุ ักษ์ป่า

8 ผลการดำเนนิ การท่ผี า่ นมา บทบาทหน้าท่หี ลักของงานพัฒนาท่ดี ิน - ดำเนนิ การสำรวจ ศึกษาทดลอง สาธิตทดสอบ อบรมเผยแพรค่ วามรู้ - ด้านวิชาการ และให้บริการส่งเสริมเกยี่ วกับ การพฒั นาฟืน้ ฟูทรัพยากรดิน - จดั ทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ การปรับปรุงบำรงุ ดนิ การใช้ปยุ๋ พชื สด - ผลติ ปุย๋ หมักและน้ำหมกั ชวี ภาพ ปรบั ปรงุ พืน้ ทด่ี ินเปรีย้ วดนิ กรด - ใหบ้ ริการเกบ็ ตวั อยา่ งดินและวเิ คราะห์ดนิ - ส่งเสริมการปลูกและแจกจ่ายกล้าหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ ในพื้นที่ โครงการ หมู่บ้านบริวาร และหมบู่ า้ นขยายผล ผลการดำเนนิ งานพฒั นาและขยายผล ในอดีต 1.ศึกษาวจิ ยั ทดสอบด้านวิชาการเกีย่ วกับงานพฒั นาที่ดนิ 2.สาธติ และสง่ เสริมการปรับปรุงบำรงุ ดนิ ด้วยปุย๋ อินทรยี ์ 3.จดั ทำระบบการอนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ 4.ส่งเสริมการปลูกหญา้ แฝกเพอ่ื การอนุรกั ษด์ นิ และนำ้ ฯ 5.ส่งเสริมการปรบั ปรุงฟน้ื ฟพู นื้ ที่ดินเปรี้ยวและดนิ กรด 6.อบรมเผยแพร่ความรู้ด้านการพัฒนาทีด่ ิน 7.ส่งเสริมการจดั ต้งั กลมุ่ เกษตรกรผลิตป๋ยุ อินทรยี ์

9 ผลการดำเนนิ งานพัฒนาและขยายผล ในปัจจุบนั - สง่ เสรมิ และพัฒนาการฟนื้ ฟทู รัพยากรทด่ี ิน - สง่ เสรมิ การปรับปรงุ บำรุงดิน - ส่งเสรมิ การผลติ ปยุ๋ หมกั และนำ้ หมักชีวภาพ - จดั ทำระบบอนรุ กั ษด์ นิ และน้ำ - ส่งเสริมการปลูกหญา้ แฝกและแจกจ่ายกล้าหญา้ แฝก - จัดตั้งกลมุ่ เกษตรกรใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทดแทนปุ๋ยเคม/ี สารเคมี - ส่งเสริมการเก็บดนิ การวิเคราะห์ดนิ และใหค้ ำแนะนำ - จดั ทำจดุ เรยี นรู้การพฒั นาที่ดินในพน้ื ทโ่ี ครงกา - การก่อสร้างแหลง่ นำ้ ในไร่นา นอกเขตชลประทาน - อบรมเผยแพรค่ วามรู้ และบูรณาการงานโครงการพระราชดำรฯิ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ 1. เป็นศนู ย์กลางในการอบรมและเผยแพร่การศึกษาด้านการจัดการทรัพยากรชายฝั่งแก่สว่ นราชการและ ประชาชนทว่ั ไปและเป็นหน่วยสาธิตการเลีย้ งสัตวน์ ำ้ การทำฟาร์มทะเล 2. ยกระดับฐานะความเปน็ อยู่ ลดตน้ ทุนการผลติ ในอาชพี ด้านการประมงและการเพาะเลยี้ งสตั ว์น้ำชายฝ่ัง ทำให้เกษตรกรมรี ายได้เพ่มิ ขึน้ จากการนำความรทู้ ี่ไดจ้ ากศนู ยฯ์ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การประกอบอาชพี 3. ทำให้การปฏิบัติงานของศูนย์ฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามแผนงาน/โครงการ นอกจากนี้ศูนย์ฯ ยังมีศักยภาพ โดยเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์จนเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่รู้จักมาก ข้ึน

10

11 หลกั การและเหตุผล โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนใช้หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมโดย การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยคำนึงถึงระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนาน และก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด รวมทั้งต้องมีการ กระจายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างทั่วถึงโดย 1. การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมโดยทางตรง ซงึ่ ปฏิบัตไิ ดใ้ นระดับบุคคล องค์กร และระดบั ประเทศ คือ การบำบัดและการฟื้นฟู เป็นวิธีการที่จะช่วยลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรด้วย การบำบดั กอ่ น ส่วนการฟืน้ ฟเู ป็นการรื้อฟ้ืนธรรมชาติใหก้ ลบั สู่สภาพเดิม 2. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยทางอ้อม การเฝ้าระวังดูแลและป้องกัน เปน็ วิธกี ารที่จะไม่ให้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมถกู ทำลาย คือ การพัฒนาคุณภาพประชาชน โดยสนับสนุนการศึกษาด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องตามหลักวิชา ซึ่งสามารถทำได้ทุก ระดบั อายุ ทง้ั ในระบบโรงเรียนและสถาบนั การศึกษาต่างๆ และนอกระบบโรงเรียน ผ่านสื่อสารมวลชนต่างๆ เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและ ความจำเป็นในการอนุรักษ์ เกิดความรักความหวงแหน และให้ความร่วมมืออย่าง จริงจงั ส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถ่นิ ได้มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ ช่วยกันดูแลรักษาให้ คงสภาพเดิม ไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม เพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิตในท้องถ่ิน ของตน การประสานงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักระหว่าง หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน ให้มีบทบาทหน้าที่ใน การปกป้อง คมุ้ ครอง ฟน้ื ฟูการใชท้ รัพยากรอย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชนส์ ูงสดุ

12 บรรณานกุ รม http://www.rdpb.go.th/th/Studycenter https://sites.google.com/site/ploypraphatf/khorngkar-phra-rachdari https://www.edtguide.com/tat/454531 https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/khung-kraben-mangrove-forest-learning- tourism.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook