Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit-5

Unit-5

Published by วันวิสา มากสินธิ์, 2021-11-15 07:33:01

Description: Unit-5

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 05 การออกแบบ ตัวอักษรและรูปวาด

สาระสำ�คัญ โปรแกรม Adobe InDesign สามารถนำ�ขอ้ ความจากโปรแกรมตา่ ง ๆ เขา้ มา จัดทำ�เป็นสง่ิ พิมพไ์ ด้อย่างสะดวก รวดเร็ว อกี ทง้ั หากต้องการกำ�หนดระยะในการพิมพ์ ข้อความไว้อย่างแน่นอน ก็สามารถทำ�ได้ด้วยการตั้งแท็บ และหากต้องการเพิ่ม ความโดดเด่นใหก้ บั ผลงาน การก�ำ หนดตัวอักษรแรกใหม้ ขี นาดใหญก่ ็ช่วยได้เป็น อยา่ งดี สาระการเรียนรู้ 1. การพิมพ์ข้อความและจัดรูปแบบตัวอักษร 2. การใส่สัญลักษณ์และเลขลำ�ดับ 3. การนำ�ข้อความจากโปรแกรมอื่นมาใช้งาน 4. การแก้คำ�ผิดและแทนที่คำ� ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. สามารถพิมพ์ข้อความและจดั รปู แบบตวั อกั ษรตามท่ีกำ�หนดให้ได้ 2. สามารถใส่สัญลกั ษณแ์ ละเลขลำ�ดับได้ 3. สามารถนำ�ขอ้ ความจากโปรแกรมอื่นมาใชง้ านในโปรแกรม Adobe InDesign ได้ 4. สามารถแก้คำ�ผดิ และแทนทีค่ �ำ ได้ PAGE 1

การออกแบบตัวอักษรและรูปวาด การวาดและตกแต่งรูปทรง จัดเป็นการทำ�งานหนึ่งที่สำ�คัญของโปรแกรม Adobe InDesign เนื่องจากผลงานที่ปรากฏขึ้นมานั้นจะประกอบด้วยไปด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นข้อความ รูปภาพ รวมถึงรูปทรงต่าง ๆ ทั้งเส้นตรง สี่เหลี่ยม รูปวงกลม หรือรูปหลายเหลี่ยม อีกทั้งยังสามารถตกแต่งพื้น รวมถึงเส้นขอบของ รูปทรงนั้น ๆ ให้สวยงามมากขึ้นได้ตามต้องการ ในกรณีที่จัดพิมพ์ผลงานไว้เรียบร้อยแล้ว พบว่ามีข้อความที่พิมพ์ผิด หรือหาก ต้องการตรวจสอบความถูกต้องของข้อความทั้งหมดก็สามารถทำ�ได้ผ่านทาง Edit Story ซึ่ง Edit Story เปรียบเสมือนคำ�สั่ง Find and Replace ของโปรแกรม Microsoft Word ที่ใช้ในการค้นหาข้อมูลและแทนที่ข้อความ โดยการทำ�งานดังกล่าวจะช่วยทำ�ให้ ประหยัดเวลาและเป็นการลดข้อผิดพลาดในการที่จะต้องค้นหาข้อความต่าง ๆ ทั้งหมดเอง สไตล์ (Style) เป็นสิ่งที่ช่วยให้การจัดการเกี่ยวกับตัวอักษรเป็นไปด้วยความรวดเร็ว มากยิ่งขึ้น ซึ่งปกติโปรแกรมได้เตรียมสไตล์มาตรฐานไว้ให้ใช้งานจำ�นวนหนึ่งอยู่แล้ว แต่เพื่อให้สอดคล้องกับการทำ�งานมากยิ่งขึ้น จึงสามารถสร้างสไตล์ขึ้นมาเพื่อกำ�หนด ให้ข้อมูลในแต่ละส่วน เช่น ชื่อบท หัวข้อหลัก หัวข้อรอง เนื้อหา มีรูปแบบที่เหมือน และแตกต่างกันไปในแต่ละส่วนได้อีกด้วย PAGE 2

การพิมพ์ข้อความและจัดรูปแบบตัวอักษร พิมพ์ขอ้ ความลงบนหน้าส่งิ พมิ พ์ สำ�หรับการพิมพ์ข้อความลงบนหน้ากระดาษสิ่งพิมพ์สามารถทำ�ได้ด้วยปุ่ม Type Tool โดยเมื่อต้องการเปลี่ยนภาษาที่ใช้ในการพิมพ์ให้เป็นภาษาอื่น ๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือภาษาญี่ปุ่น ก็จะต้องกดปุ่มเปลี่ยนภาษา ที่อยู่ทางมุมบน ด้านซ้ายของคีย์บอร์ดเพื่อสลับให้เป็นภาษาที่ต้องการก่อนด้วย 1. คลิกปุ่ม Text Tool ที่ทูลบาร์ จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น I 2. คลิกบริเวณตำ�แหน่งที่ต้องการโดยสามารถลากเมาส์เพื่อกำ�หนดขอบเขต ในการพิมพ์ข้อความก็ได้เช่นกัน PAGE 3

3. พิมพ์ข้อความลงไปบนกระดาษ โดยเมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่สามารถ ทำ�ได้ด้วยการกดปุ่ม Enter ที่คีย์บอร์ด จดั การกบั รปู แบบตวั อกั ษร ภายหลังจากได้พิมพ์ข้อความที่ต้องการไว้เรียบร้อยแล้วยังสามารถจัดการกับ ข้อความที่พิมพ์ไว้อีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนรูปแบบและขนาดตัวอักษร กำ�หนดข้อความให้ดูแตกต่าง ตกแต่งข้อความด้วยสีปรับช่องไฟหรือระยะห่าง ระหว่างตัวอักษร โดยมีรายละเอียดดังนี้ PAGE 4

เปลย่ี นรูปแบบและขนาดตวั อกั ษร รูปแบบตัวอักษรหรือบางครั้งเรียกว่าฟอนต์ จะช่วยให้การแสดงผลของข้อความ มีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป โดยบางฟอนต์เหมาะสำ�หรับงานที่เป็นทางการ แต่บางฟอนต์จะทำ�ให้ข้อความดูอ่านง่ายมากยิ่งขึ้น ซึ่งหากต้องการปรับเปลี่ยน รูปแบบและขนาดของฟอนต์ตัวอักษรสามารถทำ�ได้ดังนี้ 1. ลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบของฟอนต์ 2. คลิกเมนู Type > Font และเลือกรูปแบบของฟอนต์ที่ต้องการ PAGE 5

3. ข้อความที่เลือกไว้จะมีรูปแบบเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมทันที 4. ลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนขนาดของฟอนต์ 5. คลิกเมนู Type > Size และเลือกขนาดที่ต้องการ โดยค่ามากจะทำ�ให้ฟอนต์ มีขนาดมากขึ้น PAGE 6

6. ข้อความที่เลือกไว้จะมีขนาดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมทันที ตกแตง่ ข้อความด้วยสี การตกแต่งข้อความด้วยสีจัดเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่จะช่วยให้ผลงานที่ได้ มีความสวยงามมากยิ่งขึ้น ซึ่งโดยปกติข้อความที่พิมพ์ไว้จะเป็นสีดำ� แต่หากต้องการ เปลี่ยนให้เป็นสีอื่น ๆ สามารถทำ�ได้ดังนี้ PAGE 7

1. ลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนสี 2. คลิกเลือก SWATCHES จากนั้นเลือกลักษณะสีตัวอักษรที่ต้องการ 3. ข้อความที่เลือกไว้จะมีสีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมทันที PAGE 8

ก�ำ หนดตัวหอ้ ย/ตวั ยก สำ�หรับบางข้อความหรือตัวเลขบางตัว เช่น เลขฐานหรือเลขยกกำ�ลัง ที่ต้องการ ปรับเปลี่ยนตำ�แหน่ง ให้กลายเป็นตัวห้อยหรือตัวยก สามารถทำ�ได้ดังนี้ 1. ลากเมาส์เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนตำ�แหน่ง 2. คลิกเลือก Superscript ข้อความเป็นตัวยก PAGE 9

3. คลิกเลือก Subscript ข้อความเป็นตัวห้อย PAGE 10

การใส่สัญลักษณ์และเลขลำ�ดับ การใส่สัญลักษณ์และเลขลำ�ดับหน้าข้อความ จะช่วยให้ผลงานที่ได้ดูเป็นระเบียบ มีความสวยงามมากยิ่งขึ้น ซึ่งการทำ�งานดังกล่าวสามารถเลือกกำ�หนดว่าต้องการให้ ปรากฏขึ้นมาภายในขอบเขตใด ๆ ได้อีกด้วย ขั้นตอนการใส่สัญลักษณ์และเลขลำ�ดับ ส�ำ หรบั ขอ้ ความในแต่ละยอ่ หนา้ หรือข้อความแต่ละบรรทดั ที่ไดจ้ ากการกดปมุ่ Enter จะสามารถเลอื กใหป้ รากฎสญั ลกั ษณห์ รอื เลขล�ำ ดับขึ้นมาดา้ นหน้าได้ ดงั ข้นั ตอนต่อไป 1. คลิกย่อหน้าหรือเลือกข้อความที่ต้องการใส่สัญลักษณ์หรือเลขลำ�ดับ PAGE 11

2. คลิกเลือกเมนู Type>>Glyphs 3. เลือกรูปแบบฟอนต์ที่ต้องการ (ฟอนต์ที่เป็นสัญลักษณ์ เช่น Symbol, Webdings, Wingdings, Wingdings2, Wingdings3) เป็นต้น จากนั้นเลือก รูปแบบสัญลักษณ์ที่ต้องการ PAGE 12

4. แสดงสัญลักษณ์ที่เลือก PAGE 13

การนำ�ข้อความจากโปรแกรมอื่นมาใช้งาน ไม่เพียงการพิมพ์ข้อความจากปุ่มเครื่องมือ Text Tool เท่านั้น แต่หากมีไฟล์ ต้นฉบับที่สร้างไว้จากโปรแกรมอื่น ๆ เช่น Microsoft Word, Microsoft Excel รวมถึงข้อมูลที่นำ�มาจากเว็บเพจก็สามารถนำ�มา จัดวางลงในโปรแกรม Adobe InDesign ได้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ นำ�เข้าตัวอักษรจากโปรแกรมอื่น เราสามารถนำ�ข้อความจากไฟล์อื่น เช่น Microsoft word มาลงในโปรแกรม InDesign ได้ดังนี้ 1. ไปที่คำ�สั่ง File > Place... หรือกด Ctrl + D จากแป้นคีย์บอร์ด PAGE 14

2. เลือกไฟล์ที่ต้องการ แล้วกด Open (หากเป็นไฟล์ Microsoft Office ควรจะเป็นไฟล์นามสกุล 2003 หรือต่ำ�กว่า) 3. ข้อความทั้งหมดที่อยู่ในไฟล์นั้นก็จะมาอยู่ในโปรแกรม InDesign PAGE 15

การค้นหาและแก้ไขข้อความผ่าน Edit Story ในกรณีที่จัดทำ�ผลงานไว้เรียบร้อย แล้วพบว่ามีข้อความที่พิมพ์ผิด หรือหาก ต้องการตรวจสอบความถูกต้องของข้อความทั้งหมดก็สามารถทำ�ได้ผ่านทาง Edit Story ซึ่ง Edit Story เปรียบเสมือนค�ำ ส่ัง Find and Replace ของโปรแกรม Microsoft Word ทใ่ี ชใ้ นการค้นหาและแทนทข่ี ้อความโดยการทำ�งานดังกลา่ วจะชว่ ยใหป้ ระหยดั เวลา และเป็นการลดขอ้ ผดิ พลาดในการทีจ่ ะต้องคน้ หาข้อความต่างๆทั้งหมดเอง การแก้ไขคำ�ผิดและการแทนที่ค�ำ โดยปกติในขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงานของ Adobe InDesign จะทำ�อยู่บน หน้ากระดาษ แต่หากต้องการค้นหาทแทนที่ หรือตรวจสอบคำ�ผิด ก็จะต้องทำ�ดังนี้ 1. เลือกข้อความที่ต้องการค้นหา แทนที่ หรือตรวจสอบคำ�ผิด PAGE 16

2. หน้าต่าง Find/Chang จะปรากฏขึ้นมา 3. ช่อง Find what ให้ใส่คำ�ที่ต้องการค้นหา 4. ช่อง Chang to ให้ใส่คำ�ที่พิมพ์ถูกหรือคำ�ที่ต้องการแก้ไข 5. ช่อง Search เป็นรูปแบบของการค้นหา เช่น All Document 6. คลิกปุ่ม Chang All เพื่อแก้ไขข้อความทั้งเอกสาร PAGE 17

7. จะมีหน้าต่างโปรแกรมขึ้นมาแจ้งให้ทราบว่ามีคำ�ที่ถูกแก้ทั้งหมดกี่คำ� จากนั้น คลิก OK เพื่อยืนยันการแก้ไขข้อความ 8. คลิกปุ่ม Done หลังจากแก้ไขข้อความเสร็จเรียบร้อยแล้ว PAGE 18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook