Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Education 4.0 active learning

Education 4.0 active learning

Published by natthatida-_-namning, 2016-10-04 04:16:07

Description: Education 4.0 active learning

Search

Read the Text Version

Education 4.0 active learning Education 4.0 คอื การเรียนการสอนท่ีสอนให้นกั ศกึ ษา สามารถนาองคค์ วามรู้ที่มีอยทู่ ุกหนทุกแห่งบนโลกน้ี มาบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ เพื่อพฒั นานวตั กรรมต่างๆ มาตอบสนองความตอ้ งการของสงั คม การเรียนการสอนในปัจจุบนั ยงั คงห่างไกลในหลายๆ มิติ เช่น เราไม่เคยสอนใหเ้ ดก็ ของเราไดค้ ิดเองทาเอง ส่วนใหญย่ งั คงสอนให้เดก็ ทาโจทยแ์ บบเดิมๆ อีกเรื่องคือเด็กเริ่มไม่รู้จกั สงั คม เด็กๆ ส่วนใหญใ่ ชเ้ วลาในโลกออนไลนไ์ ปกบั เกมส์ ชอ้ ปป้ิ ง แชท เฟสบุค๊ ไลน์ อนิ สตราแกรม ซ่ึงส่วนใหญ่มนั เป็นสงั คมมายา ซ่ึงเทคโนโลยไี ม่ไดผ้ ดิ แต่เหรียญมนั มีสองดา้ น เทคโนโลยกี เ็ ช่นกนั เราจะนาไปใชใ้ นดา้ นใดใหเ้ กิดประโยชน์มนั เป็นความยากและทา้ ทาย ผทู้ ี่ตอ้ งทาหนา้ ท่ีสอนเด็กๆ ในยคุ น้ี เพราะการเรียนการสอนในยคุ 4.0 ตอ้ งปล่อยใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชเ้ ทคโนโนยี ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ปลอ่ ยใหเ้ ด็กกลา้ คดิ และกลา้ ที่จะผดิ แต่ท้งั หมดก็ยงั คงตอ้ งอยใู่ นกรอบท่ีสงั คมตอ้ งการหรือยอมรบั ได้ ไม่ใช่ว่าเก่งจริง คิดอะไรใหม่ๆ ไดเ้ สมอมีความคดิสร้างสรรค์ แต่ไม่เป็นท่ียอมรับของสงั คม ซ่ึงเรื่องของ Education 4.0 ฟังดูเหมือนงา่ ยมากเพราะมนั มีปัจจยั หลกั ๆ แค่ 3 ปัจจยั คือ 1. Internet เครื่องมือสาคญั สาหรับการคน้ หาความรู้ เป็นแหล่งขอ้ มูลท่ีสาคญั ดงั น้นั ทางสถาบนั การศึกษาคงตอ้ งสนบั สนุนใหน้ กั เรียนนกั ศึกษาเขา้ ถึง Internet ไดง้ า่ ย มากกว่า มอง Internet เป็นผรู้ ้ายแลว้ กลวั ว่านกั เรียนนกั ศกึ ษาจะใช้ Internet ไปในทางท่ีไม่ดี เลยไม่สนบั สนุนโครงสร้างพ้ืนฐานเหล่าน้ีในสถาบนั 2. ความคดิ สร้างสรรค์ เรื่องของความคดิ สร้างสรรค์ หลกั สูตรการเรียนการสอนควรจะเปิ ด โอกาส ใหน้ กั เรียนนกั ศึกษากลา้ ท่ีจะคดิ นอกกรอบหรือต่อยอดจากตารา 3. การปฏิสัมพนั ธ์กบั สังคม เพ่อื ท่ีจะสามารถตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมและทางาน ร่วมกนั ในสงั คมได้ จุดน้ีไม่ใชเ่ พอื่ ความตอ้ งการของตลาด ทางสถาบนั การศึกษาเองควรมี

กจิ กรรมใหน้ กั เรียนนกั ศกึ ษาไดเ้ ขา้ ร่วมเป็นประจา มีการสนบั สนุนการทางานแบบเป็นกลมุ่ มากกว่างานเด่ียว ถา้ ปัจจยั ท้งั 3 ขอ้ ทาไดด้ ี Education 4.0 กจ็ ะสามารถสร้างและพฒั นาคน ให้สามารถคน้ หาความรู้ต่างๆ มาปะติดปะต่อและประยกุ ตเ์ ขา้ กบั งานที่ทา สามารถต่อยอดและพฒั นาสิ่งใหม่ๆ ได้นวตั กรรมการคิดในห้องเรียน Chula Engineering Education 4.0 หลงั จากคณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปิ ดตวั นวตั กรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ท่ีเรียกว่า \"การศกึ ษาระบบ 4.0 หรือ Chula Engineering Education 4.0\" อยา่ งเป็นทางการ จนทาใหเ้ กิดการปฏิวตั ิการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่่่ ที่ไม่เพยี งจะทาให้หลายคนกล่าวขานถึง หากยงั ทาใหห้ ลายคนอยากรู้ดว้ ยว่า \"การศึกษาระบบ 4.0หรือ Chula Engineering Education 4.0\" น้นั มีรายละเอยี ดเป็นอยา่ งไร การเรียนการสอนของไทยในอดีตมีลกั ษณะการถ่ายโอนความรู้ในทิศทางเดียวจากผสู้ อนสู่ผเู้ รียนหรือเรียกวา่ การศกึ ษาระบบ 1.0 และ 2.0 แต่เร่ิมเปลยี่ นแปลงไปดว้ ยอทิ ธิพลของอนิ เทอร์เน็ต จนนาไปสู่

การศกึ ษาระบบ 3.0 ในปัจจุบนั ท่ีผเู้ รียนตอ้ งเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ แต่ทางคณะวิศวะ จุฬาฯ ตอ้ งการพฒั นารูปแบบการเรียนรู้ท่ีจะสามารถผลติ บุคลากรในแบบเกง่ คิดและเก่งคน ผา่ นศาสตร์การคิดเชิงออกแบบ(Design Thinking) จึงไดพ้ ฒั นาการเรียนการสอนระบบ 4.0 หรือ Chula EngineeringEducation 4.0 ข้ึนมา การศกึ ษาระบบ 4.0 จะมุ่งเนน้ สร้างทกั ษะการฝึกฝนจากประสบการณ์ เพมิ่ ประสิทธิผลสูงสุดในเชิงธุรกจิ พร้อมเติมเตม็ ความตอ้ งการของมนุษยแ์ ละสงั คมอยา่ งตรงจุด จึงมีการริเริ่มรายวิชา CreativeDesign for Community ซ่ึงจดั สอนคร้งั แรกในภาคการศึกษาตน้ ปี การศกึ ษา 2557 เปิ ดรับนิสิตปี ท่ี 2-4 โดยรายวชิ าน้ี นิสิตมีโอกาสทาโปรเจก็ ตจ์ ริง โดยไดร้ บั โจทยจ์ ริงจากองคก์ รและผเู้ ช่ียวชาญจากภายนอก ท้งั หมดเป็นโปรเจก็ ตเ์ ชิงปัญหาสงั คม ท้งั ยงั เชิญวิทยากรภายนอกผเู้ ช่ียวชาญดา้ นกระบวนการคิดเชิงออกแบบมาร่วมสอนและใหค้ าแนะนาต่าง ๆ ในรายวิชาอีกดว้ ย ซ่ึงการเรียนการสอนรูปแบบดงั กล่าวจะถกู นามาใชก้ บั นิสิตทุกช้นั ปี ในอนาคต เพ่ือให้การสอนระบบ 4.0 เป่ี ยมประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน จาเป็นตอ้ งมีอปุ กรณ์และสภาพแวดลอ้ มที่มาส่งเสริมการเรียนการสอนใหเ้ ขม้ ขน้ ข้นึ จึงไดร้ บั การสนบั สนุนจากเชฟรอนประเทศไทยสารวจและผลติ ,ปตท.สารวจและผลิตปิ โตรเลียม, พีทีที โกบอล เคมิคอล และปูนซีเมนตไ์ ทย ดว้ ยการมอบทุนรายละกว่า2,580,000 บาท เพอื่ พฒั นาพฒั นาศนู ยก์ ารเรียนรู้ i-SCALE ศนู ยก์ ารเรียนรู้ i-SCALE เป็นลกั ษณะหอ้ งเรียนยคุ ใหม่ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นจุดศนู ยก์ ลางประกอบดว้ ยโต๊ะเรียนที่จดั รูปแบบง่าย สามารถปรับให้มีการเรียนรู้เป็นกลมุ่ เลก็ หรือใหญต่ ามความตอ้ งการเพอ่ื ก่อให้เกิดปฏสิ มั พนั ธก์ ารเรียนรู้ระหว่างผเู้ รียนนิสิตในกลุ่ม, จอแสดงผลท่ีให้ผสู้ อนและผเู้ รียนสามารถทาการสื่อสารแบบ 2 ทาง เพ่ือแลกเปลยี่ นผลงาน สร้างแรงกระตุน้ และส่งเสริมกลไกการเรียนรู้ร่วมกนั ท้งั ยงั จดั บรรยากาศห้องเรียนดว้ ยการตกแต่งให้มีสีสนั สดใส ทนั สมยั เพือ่ กระตุน้ พลงั ความคิดสร้างสรรคใ์ ห้พวกเขาเกดิ กระบวนการคิด และมีทกั ษะปฏิบตั ิเป็นเลิศดว้ ยการพฒั นาศูนย์ i-DESIGNWORKSPACE ข้นึ มารองรบั หลงั จากนิสิตผา่ นห้องการเรียนรู้จนทาใหพ้ วกเขามีความคิดในการสร้างนวตั กรรมใหม่ ๆ ผา่ นศูนย์การเรียนรู้ i-SCALE แลว้ ศูนย์ i-DESIGN WORKSPACE ยงั เป็นพ้ืนท่ีความคดิ ท่ีทาให้เขาเหล่าน้นั ลงมือปฏิบตั ิจริง โดยบรรยากาศภายในจะเป็นแบบ Engineering Playground มีบรรยากาศสีสนั สดใส มีอุปกรณ์การนาเสนอ และระบบส่ือสารที่พร้อมใหน้ ิสิตทาโครงงานต่าง ๆ รองรับ

การทา Digital Prototyping ไปจนถงึ Rapid Prototyping พ้นื ท่ีทาโครงงานที่ทาให้บณั ฑิตกา้ วจากการผลิตส่ิงประดิษฐส์ ู่การฝึกฝนความรู้และทกั ษะเพ่ือการผลิตนวตั กรรมต่อไป นบั วา่ เป็นระบบการเรียนรู้เพ่ือใหน้ ิสิตคิดเป็นและทาเป็น สร้างความพร้อมในการกา้ วสู่ความเป็นสากลภายใตแ้ นวคดิ ที่วา่ \"Foundation towards Innovation https://www.youtube.com/watch?v=5U70vYvK0cI Chula Education 4.0 หวั ใจสาคญั คือ Active Learning ผเู้ รียนจะตอ้ งเกิดแรงบนั ดาลใจทาใหเ้ กดิ Innovation ความรู้ปัจจุบนั 90% มาจากวีดีโอ มาจาก YouTube ตอ้ งยอมรบั ปัจจุบนั สามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยแหลง่ ขอ้ มูลไดม้ ากข้ึน ผนวกกบั ทดแบบทดสอบต่างๆ ในหอ้ งเรียน แลว้มาคยุ กนัลกั ษณะพเิ ศษ Education 4.0 การเขา้ ถงึ เน้ือหาความรู้มีลกั ษณะเปิ ด Open Education Resource เขา้ ถงึ ไดง้ ่าย ยง่ิ ในยคุ สมาร์ทโฟน Mobile Education การเขา้ ถงึ ยงิ่ สะดวกมากยง่ิ ข้ึน การแสวงหาความรู้จึงทาไดเ้ ร็วเด็ก เยาวชนยคุ ใหม่ มีลกั ษณะเป็น ชนพ้ืนเมืองดิจิทลั Digital native การเรียนการสอนแบบเกา่ ในห้องเรียน ที่ท่องบ่นเน้ือหา ตามแผนการสอน ตามกรอบหลกั สูตร หรือทาโจทย์ ทาขอ้ สอบแบบเดิมจึงไม่เหมาะกบั การศึกษายคุ ใหม่ การศกึ ษายคุ ใหม่ Next Generation Education ตอ้ งเนน้ แสวงหา เรียนรู้ไดเ้ อง อยา่ งทา้ทาย สร้างสรรคค์ วามรู้ใหม่ ต่อยอดความรู้เดิม คดิ และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้ เหมาะกบัตนเอง สงั คม ตามสถานะการณ์

การจดั การศกึ ษา 4.0 จึงตอ้ งนาเอาหลกั การ เก่ียวกบั ยคุ สมยั ใหม่ ที่ตรงความสนใจของ ชนพ้นื เมืองดิจิทลั ท่ีมีชีวติ ในโลกไซเบอร์ ซ่ึงประกอบดว้ ย การจดั การศึกษาท่ีกอ่ ใหเ้ กิดการทางานร่วมกนั บนไซเบอร์ โดยใชข้ ีดความสามารถของระบบเชื่อมโยงทางฟิ สิคลั กบั ไซเบอร์ ท่ีมีอุปกรณ์สมาร์ทสมยั ใหม่ช่วย เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเบลต็ ฯลฯ ตอ้ งรู้จกั ใช้เคร่ืองมือสมยั ใหม่เพ่อื การแสวงหาเรียนรู้จากความรู้อนั มหึมาบนคลาวด์ โดยการใชเ้ คร่ืองมือท่ีสมาร์ทสมยั ใหม่เช่ือมโยงส่ิงต่างๆเขา้ ดว้ ยกนัการจดั การศกึ ษายคุ ใหม่ตอ้ งใชเ้ ครื่องทุ่นแรงทาเร่ืองยากให้เขา้ ใจไดง้ า่ ยข้นึ และเรียนรู้ไดเ้ ร็วLearning curve สร้างกิจกรรมใหม่ๆบนไซเบอร์ โดยมีเคร่ืองมือทางดิจิทลั และเทคโนโลยเี กดิ ใหม่IoT เป็นส่ิงทุ่นแรงเหมือนเคร่ืองจกั รกลช่วยใหเ้ รียนรู้ในสิ่งที่ยาก และสูงข้ึน ใชร้ ูปแบบเสมือนจริงVirtualization ให้ผเู้ รียนใชร้ ูปแบบการใชเ้ ชื่อมต่อบนคลาวดแ์ บบเสมือนจริง เครื่องมือการเรียนรู้แบบใหม่ๆ เป็นการให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมแสดงออกในความคิดเห็น Socratic method การจดั การศึกษาให้มีรูปแบบการบริการ Service oriented และเขา้ ถึงไดใ้ นรูปแบบ realtime ตลอดเวลา ทงั่ ถึง ทุกที่ ทุกเวลา Ubiquitous การศกึ ษาตอ้ งไม่เนน้ กรอบการเรียนรู้ แต่เนน้ การต่อยอดองคค์ วามรู้ สร้างความรู้ใหม่ ไม่อยใู่ นกรอบหลกั สูตรแบบเดิม เป็นการเรียนรู้ตามความตอ้ งการมากข้ึน การศกึ ษา 4.0 จะมีผลกระทบกบั โรงเรียนแบบเกา่ ท่ีระบบการศึกษากาลงั กลบั ดา้ นจากดา้ นโรงเรียนมาสู่ผเู้ รียน การรับบริการการศกึ ษาดา้ นต่างๆบนไซเบอร์ทาได้ง่ายข้นึ ผเู้ รียนเลือกจากที่ต่างๆไดง้ า่ ย และตรงกบั โมเดลชาวพ้นื เมืองดิจิทสั โมเดลการจดั การศึกษาจะเปลี่ยนไป เหมือน การฟังเพลง เมื่อก่อนตอ้ งซ้ือเทป ซีดี หรือผเู้ รียนตอ้ งจ่ายค่าเล่าเรียน แต่การศึกษาแบบใหม่ การเขา้ ถึงบริการกิจกรรมการเรียนรู้บนไซเบอร์ จะเหมือนการฟังเพลงบนยทู ูปโดยไม่ตอ้ งจ่ายเงนิ ซ้ือเทปซีดี เพยี งการเขา้ ถงึ บนคลาวด์ ในโลกไซเบอร์ACTIVE LEARNING หมายถงึ อะไร

Active Learning การเรียนรู้แบบลงมือทา (ปฏิบตั ิ) Active Learning คอื กระบวนการจดั การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนไดล้ งมือกระทาและไดใ้ ช้กระบวนการคดิ เก่ียวกบั ส่ิงที่เขาไดก้ ระทาลงไป (Bonwell, 1991) เป็นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ภายใตส้ มมติฐานพ้นื ฐาน 2 ประการคอื 1) การเรียนรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย,์ 2) แต่ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกนั (Meyers and Jones, 1993)โดยผเู้ รียนจะถูกเปลยี่ นบทบาทจากผรู้ บั ความรู้(receive) ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้(co-creators) ( Fedler and Brent, 1996) Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนอยา่ งหน่ึง แปลตามตวั กค็ ือเป็นการเรียนรู้ผา่ นการปฏิบตั ิ หรือ การลงมือทาซ่ึง \" ความรู้ \" ที่เกดิ ข้ึนกเ็ ป็นความรู้ท่ีไดจ้ ากประสบการณ์ กระบวนการในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนตอ้ งไดม้ ีโอกาสลงมือกระทามากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว ตอ้ งจดักิจกรรมให้ผเู้ รียนไดก้ ารเรียนรู้โดยการอ่าน, การเขยี น, การโตต้ อบ, และการวิเคราะห์ปัญหา อกี ท้งั ให้ผเู้ รียนไดใ้ ชก้ ระบวนการคดิ ข้นั สูง ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์, การสงั เคราะห์, และการประเมินค่า ดงั กล่าวนนั่ เองหรือพดู ใหง้ ่ายข้ึนมาหน่อยกค็ ือ หากเปรียบความรู้เป็น \" กบั ขา้ ว \" อยา่ งหน่ึงแลว้ Active learningกค็ อื \" วิธีการปรุง \" กบั ขา้ วชนิดน้นั ดงั น้นั เพื่อให้ไดก้ บั ขา้ วดงั กล่าว เรากต็ อ้ งใชว้ ธิ ีการปรุงอนั น้ีแหละแต่วา่รสชาติจะออกมาอยา่ งไรกข็ ้ึนกบั ประสบการณ์ความชานาญ ของผปู้ รุงนนั่ เอง ( ส่วนหน่ึงจากผสู้ อนใหป้ รุงดว้ ย ) “เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้อยา่ งมีความหมาย โดยการร่วมมือระหวา่ งผเู้ รียนดว้ ยกนั ในการน้ี ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนและการใหข้ อ้ ความรู้แก่ผเู้ รียนโดยตรงลง แต่ไปเพม่ิ

กระบวนการและกจิ กรรมที่จะทาให้ผเู้ รียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทากิจกรรมต่างๆ มากข้ึน และอยา่ งหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลยี่ นประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภิปรายกบั เพอ่ื นๆ” กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทาให้ผเู้ รียนสามารถรกั ษาผลการเรียนรู้ให้อยคู่ งทนไดม้ ากและนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้ ActiveLearning สอดคลอ้ งกบั การทางานของสมองท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ความจา โดยสามารถเกบ็ และจาสิ่งท่ีผเู้ รียนเรียนรู้อยา่ งมีส่วนร่วม มีปฏิสมั พนั ธ์ กบั เพอ่ื น ผสู้ อน สิ่งแวดลอ้ ม การเรียนรู้ไดผ้ า่ นการปฏิบตั ิจริง จะสามารถเกบ็ จาในระบบความจาระยะยาว (Long Term Memory) ทาใหผ้ ลการเรียนรู้ ยงั คงอยไู่ ด้ในปริมาณท่ีมากกว่า ระยะยาวกวา่ ซ่ึงอธิบายไว้ ดงั รูป จากรูปจะเห็นไดว้ ่า กรวยแห่งการเรียนรู้น้ีไดแ้ บ่งเป็น 2 กระบวนการ คือกระบวนการเรียนรู้ Passive Learning  กระบวนการเรียนรู้โดยการอ่านท่องจาผเู้ รียนจะจาได้ในสิ่งท่ีเรียนไดเ้ พียง 10%  การเรียนรู้โดยการฟังบรรยายเพียงอยา่ งเดียวโดยที่ผเู้ รียนไม่มโี อกาสไดม้ ีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ดว้ ยกิจกรรมอื่นในขณะที่อาจารยส์ อนเม่ือเวลาผา่ นไปผเู้ รียนจะจาไดเ้ พียง 20%  ในการเรียนการสอนผเู้ รียนมีโอกาสไดเ้ ห็นภาพประกอบดว้ ยกจ็ ะทาใหผ้ ลการเรียนรู้คงอยู่ ไดเ้ พิม่ ข้นึ เป็น 30%  กระบวนการเรียนรู้ท่ีผสู้ อนจดั ประสบการณ์ให้กบั ผเู้ รียนเพมิ่ ข้นึ เช่น การใหด้ ูภาพยนตร์ การสาธิต จดั นิทรรศการใหผ้ เู้ รียนไดด้ ู รวมท้งั การนาผเู้ รียนไปทศั นศกึ ษา หรือดูงาน กท็ า ใหผ้ ลการเรียนรู้เพม่ิ ข้นึ เป็น 50% การบวนการเรียนรู้ Active Learning

 การใหผ้ เู้ รียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อยา่ งมีปฏสิ มั พนั ธจ์ นเกิดความรู้ ความ เขา้ ใจนาไปประยกุ ตใ์ ชส้ ามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ หรือ สร้างสรรคส์ ิ่งต่างๆ และพฒั นา ตนเองเต็มความสามารถ รวมถงึ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ให้เขาได้มีโอกาสร่วมอภิปรายใหม้ ี โอกาสฝึกทกั ษะการสื่อสาร ทาให้ผลการเรียนรู้เพม่ิ ข้นึ 70%  การนาเสนองานทางวิชาการ เรียนรู้ในสถานการณจ์ าลอง ท้งั มีการฝึกปฏิบตั ิ ในสภาพจริง มีการ เช่ือมโยงกบั สถานการณ์ ต่างๆ ซ่ึงจะทาใหผ้ ลการเรียนรู้เกิดข้นึ ถงึ 90%ลกั ษณะของ Active Learning (อา้ งองิ จาก :ไชยยศ เรืองสุวรรณ)  เป็นการเรียนการสอนท่ีพฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ไดแ้ ก่ การคดิ การแกป้ ัญหา การนาความรู้ไป ประยกุ ตใ์ ช้  เป็นการเรียนการสอนท่ีเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้  ผเู้ รียนสร้างองคค์ วามรู้และจดั ระบบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง  ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน มีการสร้างองคค์ วามรู้ การสร้างปฎิสมั พนั ธร์ ่วมกนั และ ร่วมมือกนั มากกวา่ การแขง่ ขนั  ไดเ้ รียนรู้ความรับผดิ ชอบร่วมกนั การมีวนิ ยั ในการทางาน และการแบ่งหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ  เป็นกระบวนการสร้างสถานการณใ์ ห้ผเู้ รียนอ่าน พดู ฟัง คิด  เป็นกจิ กรรมการเรียนการสอนเนน้ ทกั ษะการคิดข้นั สูง  เป็นกจิ กรรมท่ีเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนบูรณาการขอ้ มูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลกั การสู่การสร้าง ความคิดรวบยอดความคิดรวบยอด  ผสู้ อนจะเป็นผอู้ านวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รียนเป็นผปู้ ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง  ความรู้เกดิ จากประสบการณ์ การสร้างองคค์ วามรู้ และการสรุปทบทวนของผเู้ รียนบทบาทของครู กบั Active Learning ณชั นนั แกว้ ชยั เจริญกจิ (2550) ไดก้ ลา่ วถงึ บทบาทของครูผสู้ อนในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางของ Active Learning ดงั น้ี  จดั ใหผ้ เู้ รียนเป็นศูนยก์ ลางของการเรียนการสอน กจิ กรรมตอ้ งสะทอ้ นความตอ้ งการในการพฒั นา ผเู้ รียนและเนน้ การนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตจริงของผเู้ รียน  สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโตต้ อบท่ีส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีปฏิสมั พนั ธท์ ี่ดีกบั ผสู้ อนและเพื่อนในช้นั เรียน

 จดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ ป็นพลวตั ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในทุกกจิ กรรมรวมท้งั กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนประสบความสาเร็จในการเรียนรู้  จดั สภาพการเรียนรู้แบบร่วมมือ ส่งเสริมใหเ้ กิดการร่วมมือในกลุ่มผเู้ รียน  จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนใหท้ า้ ทาย และให้โอกาสผเู้ รียนไดร้ ับวธิ ีการสอนที่หลากหลาย  วางแผนเกีย่ วกบั เวลาในจดั การเรียนการสอนอยา่ งชดั เจน ท้งั ในส่วนของเน้ือหา และกิจกรรม  ครูผสู้ อนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของท่ีผเู้ รียน อ้างอิงประชาชาติธุรกจิ ออนไลน์. “นวตั กรรมการคิดในห้องเรียน Chula Engineering Education4.0”, [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก:http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1416982570. (2557) สืบคน้ เมื่อ 28 กนั ยายน 2559สานกั วชิ าสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย. “ACTIVE LEARNING หมายถึงอะไร?”, [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://social.crru.ac.th/activeLearning.(ม.ป.ป.) สืบคน้ เมื่อ 28 กนั ยายน 2559Natthaphat suyaai. “EDUCATION 4.0”, [ออนไลน์] เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://natthaphatr.blogspot.com/2016/09/smart-factory- industry-4_1.html?showComment=1472802890413. (2559) สืบคน้ เมื่อ 28 กนั ยายน 2559Phuttarak Mulmuang. “Chula Education 4.0”,[ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก :https://plus.google.com/+PhuttarakMulmuangplus/posts/hnjRV6jy5FM. (2558)

สืบคน้ เม่ือ 28 กนั ยายน 2559 161213 วิชา นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา Innovations Information Technologies for education เสนอ ดร.วิลาวลั ย์ สมยาโรน จดั ทาโดย 58200409 นางสาวณฏั ฐธิดา มาดหมาย 58200487 นางสาวณิชกาณต์ จีรัตน์ 58200498 นางสาวณิชาภทั ร เกตุพนั ธ์ 58200533 นางสาวทศั นีย์ นอ้ ยมนต์ หลกั สูตรการศกึ ษาบณั ฑิต สาขาวชิ าการศกึ ษา และหลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย หมู่เรียนท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2559 มหาวทิ ยาลยั พะเยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook