หน้าท่ี 10-24 2.2 ประมวลลบั (CODE) ประมวลลับ คือ การอักษรลับที่ใช้วิธีกำหนดตัวอักษร หรือตัวเลขขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อให้มีจำนวน กำหนดได้มากใช้แทนความหมายอันหนึ่งหรือประโยคหนึ่ง แม้ว่าประมวลลับอาจจะใช้วิธีเปลี่ยนที่และ เปลี่ยนแทนมาใช้ แต่โดยทั่วๆ ไปแล้ว จะใช้วิธีเปลี่ยนแทนอย่างเดยี ว ไม่นิยมใช้วิธีเปล่ียนที่ เนื่องจากข่าว อาจบิดเบอื นไปได้ การใช้ประมวลลับจึงถูกจำกดั ใหใ้ ช้เพยี งเปล่ยี นแทนเทา่ นั้น แบบของประมวลลบั มี 2 แบบ คือ 1. ประมวลลับแบบภาษาเดียว ได้แก่ประมวลลบั ที่มงุ่ หมายใช้ในประเทศใดประเทศหนึ่ง ประมวล ลับชนิดนี้แบง่ เป็น 2 อยา่ ง คือ ก. ประมวลลับเดี่ยว (One part Code) ประกอบด้วยบัญชีหมู่ประมวลลับจัดตามลำดับ ตวั อกั ษรหรอื ตัวเลข ประกอบดว้ ยขอ้ ความธรรมดากำกับอยู่บญั ชนี ีใ้ ชท้ ง้ั การถอดและเขา้ ประมวลลับ ข. ประมวลลับคู่ (Two part Code) ประกอบด้วยบัญชี 2 ชุด คือ ชุดเข้าและชุดถอด ชุดเข้า จะมบี ัญชีขอ้ ความธรรมดาเรยี งตามลำดับตัวอักษรและมีหมูป่ ระมวลลับกำกบั อยู่ ส่วนชดุ ถอดจะมีประมวล ลบั เรียงลำดบั ตวั อักษรหรอื ตวั เลข และมขี อ้ ความธรรมดากำกบั อยู่ 2. ประมวลลับหมายภาษา (Multi language operation Code) มุ่งหมายสำหรับใช้ร่วมกัน ระหว่างประเทศต่างๆ โดยกำหนดประมวลขน้ึ ชุดหน่งึ เป็นตวั เลขอารบคิ (Arabic) ใหม้ คี วามหมายต่างๆ กัน โดยทำเปน็ หลายภาษา ดงั นี้ประเทศใดจะใช้กม็ คี วามหมายเหมอื นกัน ใช้เลขอีกชดุ หน่ึงเป็นกุญแจซ่ึงเปลี่ยน อยเู่ สมอ สว่ นชดุ ประมวลลบั น้ันคงที่ ประมวลลบั ที่กำหนดข้ึนใช้ในงานต่างๆ มหี ลายชนิดดว้ ยกัน ตามแต่ลกั ษระของงานท่จี ะใช้ เช่น ก. ประมวลลบั ยทุ ธการ (Operation Code or OP.Code) เชน่ สญั ญาณปฏบิ ตั ิการ (Code Q และ Code Z) กบั คำพูดหรือคำย่อตามระเบยี บการ (Proword & Prosign) ข. ประมวลลับในการนัดหมาย (Prearrange Message Code or PM.Code) เช่น การปู แผ่นผา้ สญั ญาณ พลสุ ญั ญาณ ฯลฯ ค. ประมวลลบั แผนท่ี (Map Code) ตวั อยา่ งการเข้าประมวลลับ ประมวลลบั ขอ้ ความธรรมดา ตบยุง เขา้ ตี นอนหลับ ตั้งรบั นอนคว่ำ ร่นถอย ยงุ กัด ถูกยิง ขอฝน ขอเสบียง ฯลฯ ฯลฯ องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 10-25 ขอ้ ปฏบิ ัติ 1. การเข้าประมวล จะเรยี งลำดับขอ้ ความจาก ก ถงึ ฮ ก็ได้ ถ้าจะให้มปี ระมวลลบั หลายตัว 2. การเรียงตามลำดบั ตัวอกั ษรจะทำใหก้ ารเขา้ –ถอดประมวลลบั ได้ง่าย เพราะหาตวั อักษรโดยวธิ ี ไลท่ ล่ี ะตวั 3. การรับ–ส่งข่าวกันจะไม่แปลงประมวลเป็นอย่างอื่น เอาตัวประมวลส่งไปได้เลย ข่าวที่เข้า ประมวลลับมกั จะส่งทางวิทยโุ ทรศัพทห์ รอื ทางสายเปน็ หลกั 4. ก่อนการสง่ ข่าวประมวลลบั ทกุ คร้ังจะต้องมีการรับรองฝา่ ยเสมอ 5. หน่วยระดับกรมลงมา มกั จะใช้ประมวลลบั เปน็ หลัก 2.3 ระบบรับรองฝา่ ย ความมุ่งหมาย เพื่อใหค้ ำแนะนำอย่างกวา้ งๆ แกเ่ จา้ หน้าที่สื่อสารและผ้เู กี่ยวขอ้ งท่จี ำเปน็ ตอ้ งใช้ระบบรับรองฝ่าย เพอ่ื ใหก้ ารส่อื สารไดร้ บั ความปลอดภยั จากการปลอมแปลงขา่ วหรือการลวง และเพื่อให้ทราบว่าผลู้ ่วงล้ำเข้า มานน้ั เปน็ ฝา่ ยใด ระบบรับรองฝ่าย เป็นวิธีการรักษาความปลอดภัยที่กำหนดขึ้น เพื่อป้องกันระบบการสื่อสารจาก การสง่ –รับขา่ วที่การลวง ระบบรับรองฝ่าย จัดอยู่ในการใช้อักษรลับ กระทำขึ้นเพื่อแสดงให้ทราบว่าเป็นฝ่ายเดียวกัน เป็นการป้องกันความลับรั่วไหลได้เป็นอย่างดี การจะใช้ระบบบอกฝ่าย จะต้องมีการกำหนดลว่ งหน้าและ ตกลงกันไว้ทั้งสองฝ่าย เพราะการที่จะเข้าใจกันได้ จะต้องรู้วิธีใช้และกำหนดตัวอักษรขึ้นเพื่อถาม–ตอบ (เรยี กว่าการส่งคำถามและส่งคำตอบ) ระบบบอกฝ่ายจะต้องมีการเปลย่ี นแปลงเสมอๆ หากใช้แบบเดียวไป นานๆ ข้าศึกอาจล่วงร้ทู ำใหข้ า่ วรัว่ ไหลได้ หลกั การท่ัวไปของการรบั รองฝา่ ย 1. สถานสี ่ือสารและผเู้ กย่ี วขอ้ งจะต้องพร้อมเสมอทจ่ี ะให้มกี ารรับรองฝา่ ยได้ในทกุ โอกาสทตี่ ้องการ 2. ในสถานการณ์ซึ่งตอ้ งใชก้ ารรบั รองฝา่ ย หากมขี า่ วทไ่ี ดร้ ับมาโดยการรบั รองฝ่ายผดิ หรอื มไิ ด้มกี าร รับรองฝ่ายเลย ก็ให้ส่งข่าวนั้นไปถึงมือผู้รับโดยเร็วพร้อมทั้งให้ข้อสังเกตุดังกล่าวไปด้วย เพื่อผู้รับจะได้ ตดั สนิ ใจไดถ้ กู ต้อง ว่าขา่ วนั้นจะเปน็ ข่าวจริงหรอื ขา่ วปลอม ถา้ ขา่ วนัน้ จะตอ้ งสง่ ต่อไปอีกทอดหน่ึงให้สถานี ส่งแจ้งสถานีรับด้วย ว่ามีการรับรองฝ่ายผิดหรือไม่มีการรับรองฝา่ ยเลย ในกรณีทีจ่ ะต้องให้มีการสอบการ รับรองฝ่ายของสถานีส่ือสารก่อนการสง่ ข่าว เมื่อฝ่ายสง่ ประจักษแ์ น่ว่า ฝ่ายรับตอบการรับรองฝ่ายผิดหรือ ไม่ตอบ กใ็ ห้ระงบั การสง่ ขา่ วแล้วรบี รายงานไปยงั ผู้ใหข้ า่ วโดยเรว็ ทีส่ ดุ 3. หากมีเรือหรือเครื่องบิน ซึ่งล่วงล้ำเข้ามาโดยต้องการรับรองฝา่ ยผิดหรือไม่ตอบ ให้ถือว่า เรือ หรอื เคร่ืองบินนนั้ เป็นฝ่ายตรงขา้ มเสมอ จนกว่าจะพสิ จู น์ได้ว่าเป็นฝา่ ยเดียวกนั องค์แทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-26 4. ระบบรับรองฝา่ ยท่ีใช้ได้ จะต้องเปน็ ระบบทไี่ ดร้ ับอนุมัตโิ ดยถูกตอ้ งแลว้ เทา่ นนั้ ซึง่ จะกำหนดไว้ใน นปส. การใช้ระบบรบั รองฝ่าย 1. ในสถานการณ์ดังตอ่ ไปน้ี ต้องใช้ระบบรับรองฝา่ ย - เมื่อสงสัยว่ามกี ารลวง หรือสวมรอยเขา้ มาในระบบการใชว้ ทิ ยุ - เมอ่ื สถานีใดสถานีหน่ึงถกู ถามระบบรับรองฝา่ ย - เม่ือส่งรายงานการปะทะกบั ข้าศึกและส่งรายงานเพิม่ เตมิ - เมือ่ อยูภ่ ายใต้คำสงั่ ระงบั วทิ ยุ - เมอ่ื เหน็ วา่ การรับ-ส่งขา่ วเกิดผดิ ปกติ คาดว่าจะไม่ปลอดภยั - เมอ่ื จะต้องส่งข่าวเป็นข้อความธรรมดาทีไ่ ดร้ บั อนุมัติใหส้ ง่ ได้ - เมื่อจะตอ้ งสง่ ขา่ วท่ีมีความสำคัญ 2. ในสถานการณ์ต่อไปน้ี ควรใชร้ ะบบรับรองฝา่ ย - เมอื่ กระทำการติดตอ่ กนั ทางวิทยเุ ปน็ ครงั้ แรก - เมอ่ื มสี ถานหี นง่ึ รายงานเข้าขา่ ย - เมื่อจะสง่ คำสงั่ การปฏิบตั ิ ส่งั ให้ปดิ สถานี เปลี่ยนความถ่เี ลกิ เฝ้าฟงั ทางวิทยุ - เมอ่ื ผู้บงั คบั บญั ชามีความตอ้ งการ การปฏิบตั ิ 1. เมื่อใดมกี ารประกาศให้ใชร้ ะบบรับรองฝ่าย ใหห้ นว่ ยท่ปี ระกาศใช้เขยี นคำแนะนำแสดงวิธีใชแ้ นบ ไปด้วย 2. บก.ทท. เป็นผู้กำหนดตัวรบั รองฝา่ ย (Authenticator) ขึน้ ตามระบบท่ีไดร้ ับอนุมตั แิ ลว้ โดยมีการ กำหนดชั้นลับ ระยะเวลามผี ลบังคับใช้ ตลอดจนการแจกจ่ายและการประกาศใหใ้ ช้ ชนดิ ของระบบรบั รองฝา่ ย (Transmission Authentication) 1. การบอกฝา่ ยข่าว (Message Authentication) เปน็ วิธีการ รปภ.ทกี่ ำหนดข้นึ เพอื่ บอกฝา่ ย โดย ใช้คำบอกฝา่ ยสง่ ไปในเนอื้ ขา่ วด้วย 2. แบบสง่ คำถามและคำตอบ (Challenge & Relay) เป็นระบบการบอกฝา่ ยท่ีสถานีต่างๆ ใช้ทำการ แลกเปลย่ี นคำถามและคำตอบระหวา่ งสถานี และระหวา่ งขา่ ย (Net or Station Authentication) ระบบบอกฝ่ายมีหลายแบบ บางแบบใช้ง่ายบางแบบใช้ยาก ที่ใช้อยู่ปัจจุบันมีแบบ 3,4,5 และ 7 เป็นตน้ บางแบบจะกำหนดตวั ทใ่ี ชร้ ว่ มกับเวลาดว้ ย และมวี ิธหี าคำถามและคำตอบท้งั ยากและง่าย องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 10-27 การหมายรแู้ ละการพสิ จู นฝ์ า่ ย (Recognition and Identification) 1. การหมายรู้ (Recognition) คือ การจำลักษณะและเครื่องหมายที่แสดงไว้ด้วยวิธีใดก็ตาม ว่าเป็นฝา่ ยเดยี วกันหรือฝา่ ยขา้ ศกึ 2. การพิสูจน์ฝ่าย (Identification) คือ การแสดงให้ทราบจะด้วยวิธปี ฏิบัติใดๆ ก็ตาม ว่าเป็นฝา่ ย เดยี วกัน วิธกี ารใช้ระบบรบั รองฝา่ ย แบบ 3 (ภาษาไทย) การถามและการตอบตามตัวอย่าง 1. หาตัวกุญแจตัวแรกทางแถวด่ิง ตัง้ แต่ ก ถึง ฮ เลอื กมา 1 ตัว เช่น ท 2. หากญุ แจตวั ทีส่ องในบรรทดั ตวั ท ไปทางระดับ สมมตุ ิวา่ ไดต้ ัว ป ไดต้ ัวถามคือ ทป 3. เมื่อฝ่ายรับถูกถามว่า ทป จะหาตัวตอบในกุญแจระบบเดียวกัน โดยวิธีหาแถวดิ่งตามกุญแจ ตัวแรก และหาตัวทส่ี องในทางระดับไปตัวทสี่ อง (ทำทวนการถาม) จะไดต้ ัว ต. คำตอบท่ีถูกต้อง คอื ตต 4. หรือจะใช้ตัวเลขทางแถวดง่ิ เป็นกุญแจตวั แรกก็ได้ เชน่ ถาม 5 ส จะได้คำตอบคอื วว 5. หรือจะทำให้การถาม – ตอบมากขึน้ ในระบบ 3 นี้ย่อมทำได้ ตัวอย่าง ถ้าตัวถามแรกใช้แถวบน เลข 0 ตวั ใดตวั หนง่ึ ตวั ที่สองจะใช้ทางด่ิง ก – ฮ ลากเส้นตดั กนั ที่ใด ใหต้ อบอักษรตัวถัดไป 6. ในทำนองเดยี วกับในข้อ 5 จะใชต้ วั อักษรแถวด่งิ ก – ฮ เปน็ กญุ แจ ตวั แรกและอักษรแถวบนเปน็ กญุ แจตัวท่ี 2 ก็ได้ หมายเหตุ ท้ังนวี้ ธิ ีการถาม – ตอบในระบบบอกฝา่ ยจะตอ้ งขึ้นอย่กู บั คำสงั่ การสอื่ สาร ทร่ี ะบวุ า่ จะให้ใช้แบบ ใดและวิธีใด โดยกำหนดไว้ใน นปส. หรือคำสั่งพิเศษใดๆ ถ้าเป็นกุญแจภาษาอังกฤษ วิธีการใช้ก็เป็น เช่นเดียวกับภาษาไทยทุกประการ องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-28 กุญแจระบบบอกฝ่าย แบบ 3 (ไทย) 0* กฝดปช ตฟหอข ยชทฮพ ญมผนฉ ลงรจบ 1ก ถฝจลข ปวดพห ทญงอส ชยบฟฮ กตฉรช 2ข ฟนลดห รตวยพ ปฉมสฝ คผชทอ จบขชถ 3ค นตบชพ ฉฝมจร หขกคส ทผปถง ลฉซฮด 4ง มชญฉฟ ยงซผร ตพนทจ อดฮกล ขวหฝถ 5จ คมจถพ กยงทฉ ฝขซรส วบลญฟ ตดชหผ 6ฉ จ ปกขน ญหรดถ อ ลมบย หงว ขผ คตชหผ 7ช ฉจยมค ฟรพงก ดนชขซ ลถหญฮ ตวปสอ 8ซ จงทอต ฮกบมผ ฉถสพด หฝลชซ รปวญย 9ญ ฉผสวน หจญงอ ฝชถคด ขมหกพ บชลปบ 10 ด ฝ ข ช น ญ ก ล ร ด ช ท ห ง อ ป พ บ ผ ต ส ค ฮ ถ ม ว 11 ต ค ป ช ผ ว ฉ ซ พ ล น ฮ ฟ ร ญ ฝ ต อ ท ด ง ห ก ข จ บ 12 ถ ถ ร ผ ห ม ป ช ฟ ซ น ท ก ล ต ว พ ข อ ด ญ ฮ ส ง ค ม 13 ท ด พ ง ผ จ ฉ น ป ต ล ฟ ด ห อ ค ข ช ถ ม ร ฮ ถ ญ ส ว 14 น พ ฉ ย ญ อ ฦ ด ม ถ ล น ส ฮ ห ป ว จ ข ย ก ท ฟ ต ง ช 15 บ ต ผ ย ร ฟ ฮ ม ฉ อ ข ค ห ป ส ฝ บ ว ก น ญ ท พ ต ง ช 16 ป ญ ป บ พ ล ง ว ซ ฝ ส ท จ ข ห ฟ ช ม ก ด ฮ อ ต ย ร น 17 ผ พ ล ข ต ฝ ฮ ย อ ห ม ง ล ผ ด ฟ ล ป ล ซ จ ช ด ย บ ฉ 18 ฝ บ ส ล ร ผ ป ห ฝ ม ฮ ช น ญ ด ช ล ก พ ท จ ว ข ฟ ด อ 19 พ น ท ค ต ล ว ฮ ฟ ข จ ช บ ฝ อ ม ด ว ป ส ก ญ ฉ ย ล ถ 20 ฟ ส ป บ จ ว ห อ ข ฝ ค ฮ ล ผ ญ ร ถ พ ต น ญ ฟ ข ท ย ม 21 ม ล ข ม ฟ ถ ร ท ฉ ฮ น ย ผ ห จ พ ด ก ก ง ค ช ป ต ส ญ 22 ย พ ย ม ซ ฝ ท น ถ ก บ ฮ ข ว ร ผ ห ส ต ล ป ช ญ ง ฉ พ 23 ร ม พ ต ย ก ผ ฉ ถ ญ ฮ ป ค ล ท ส ว ช ถ น บ ห ง อ ซ ฝ 24 ล ฉ ต ค ป ผ จ น ด ม ฟ ย บ ท ฝ ร ส ข ห ง ฮ ญ อ ช ว ล 25 ว ง ฟ ร ห ย ม ฉ ฝ ก ส ช ผ อ ถ ป ด ฮ จ ว น ล ต ท ค ข 26 ส ข ฮ ท ร พ ถ ย ห ฟ ม น ผ บ ล อ ง ว ช ส ฝ ต ก จ ป ญ 27 ห ต น ว บ ป ง อ ผ ล ฉ ฝ ข พ ห ร ด จ ท ก ญ พ ม ช ซ ส 28 อ ช ฝ น ร ห ผ ข ส ล ย ป ซ ฉ บ ม ก ท อ ว ด จ ต ถ อ ฮ 29 ฮ ฝ อ น จ ส ย ต ป ง ฮ อ ผ ช ข ก บ พ ฉ ฟ ถ ด ค ว ฮ ม องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-29 วิธใี ชร้ ะบบรบั รองฝ่ายแบบ 4 (ไทย) การถามและตอบระบบรบั รองฝา่ ยแบบ 4 (1) หาตัวถามทง้ั สองตวั เสียกอ่ น บรรทัดบนชอ่ งเวลาเริม่ ตงั้ แต่ ก ถงึ ฮ เปน็ ตัวถามที่ 1 สมมตุ ิ ถ (1) ถามที่ 2 แถวดิ่งทางขวาสดุ ลช สมมตุ ิไดต้ ัว อ (2) ถาม ถอ (2) เมอ่ื ถกู ถามว่า ถอ ใหล้ ากเสน้ ทางระดับจากตวั ถ (1) ลงมาทางด่งิ มาตดั กันทต่ี ัว ล (3) ทล่ี ากเสน้ มาจากตวั อ ทางขวามอื ไปเร่มิ จากตวั ล (4) แถวบนทางระดบั ใหล้ ากเส้นตรงลงมาทางดิ่งตาม ช่องตัว ล (4) มาตดั กับตัวที่ตรงกบั เวลาถาม สมมตุ เิ วลา 0800 ตรงกบั อกั ษร ม(5) เป็นตวั กญุ แจ ที่จะต้องตอบ คอื บม ตวั อยา่ ง ถาม ฉฟ เวลา 1100 ตอบ คค ถาม กต เวลา 1645 ตอบ ออ ถาม งด เวลา 0230 ตอบ ยย แบบฝกึ หัด ถาม ชน เวลา 1545 ตอบ …………… ถาม กส เวลา 1000 ตอบ …………… ถาม ชช เวลา 2257 ตอบ …………… หมายเหตุ - ถา้ การถามอีก 5 นาทจี ะถงึ เวลาใหม่ ใหถ้ ือเปน็ เวลาของชว่ั โมงถดั ไป เชน่ เวลา 1655 การตอบใหถ้ อื เป็นเวลาของ 1700 - การถาม – ตอบ ภาษาสากลในระบบบอกฝา่ ยแบบ 4 เหมอื นกบั แบบ 4 ภาษาไทยทุกประการ อนงึ่ การสบั เปลยี่ นหมุนเวยี นกญุ แจในการถามตอบนัน้ สามารถพลิกแพลงไดห้ ลายวธิ ีการ ท้งั น้ี ตอ้ งระบุวิธกี ารปฏบิ ตั ิไวใ้ หแ้ นช่ ดั ในคำส่งั การสือ่ สาร (นปส.) และตอ้ งเป็นกญุ แจฉบบั เดียวกัน เทา่ นั้น องค์แทนการสื่อสาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-30 กุญแจระบบบอกฝ่าย แบบ 4 (ไทย) เวลา ก ฝ ด ป ช ต ฟ ห อ ข ย ช ท ฮ พ ญ ม ผ น ฉ ล ง ร จ บ * 00 ถ ฝ จ ล ข ป ว ด พ ห ท ญ ง อ ส ช ย บ ฟ ฮ ก ต ฉ ร ช ก 01 ฟ น ล ด ห ร ต ว ย พ ป ฉ ม ส ฝ ค ผ ช ท อ จ บ ข ช ถ ข 02 น ต บ ช พ ฉ ฝ ม จ ร ห ข ก ค ส ท ผ ป ถ ง ล ฉ ซ ฮ ด ค 03 ม ช ญ ฉ ฟ ย ง ซ ผ ร ต พ น ท จ อ ด ฮ ก ล ข ว ห ฝ ถ ง 04 ค ม จ ถ พ ก ย ง ท ฉ ฝ ข ซ ร ส ว บ ล ญ ฟ ต ด ช ห ผ จ 05 จ ป ก ข น ญ ห ร ด ถ อ ล ม บ ย ห ง ว ข ผ ค ต ช ห ผ ฉ 06 ฉ จ ย ม ค ฟ ร พ ง ก ด น ช ข ซ ล ถ ห ญ ฮ ต ว ป ส อ ช 07 จ ง ท อ ต ฮ ก บ ม ผ ฉ ถ ส พ ด ห ฝ ล ช ซ ร ป ว ญ ย ซ 08 ฉ ผ ส ว น ห จ ญ ง อ ฝ ช ถ ค ด ข ม ห ก พ บ ช ล ป บ ญ 09 ฝ ข ช น ญ ก ล ร ด ช ท ห ง อ ป พ บ ผ ต ส ค ฮ ถ ม ว ด 10 ค ป ช ผ ว ฉ ซ พ ล น ฮ ฟ ร ญ ฝ ต อ ท ด ง ห ก ข จ บ ต 11 ถ ร ผ ห ม ป ช ฟ ซ น ท ก ล ต ว พ ข อ ด ญ ฮ ส ง ค ม ถ 12 ด พ ง ผ จ ฉ น ป ต ล ฟ ด ห อ ค ข ช ถ ม ร ฮ ถ ญ ส ว ท 13 พ ฉ ย ญ อ ฦ ด ม ถ ล น ส ฮ ห ป ว จ ข ย ก ท ฟ ต ง ช น 14 ต ผ ย ร ฟ ฮ ม ฉ อ ข ค ห ป ส ฝ บ ว ก น ญ ท พ ต ง ช บ 15 ญ ป บ พ ล ง ว ซ ฝ ส ท จ ข ห ฟ ช ม ก ด ฮ อ ต ย ร น ป 16 พ ล ข ต ฝ ฮ ย อ ห ม ง ล ผ ด ฟ ล ป ล ซ จ ช ด ย บ ฉ ผ 17 บ ส ล ร ผ ป ห ฝ ม ฮ ช น ญ ด ช ล ก พ ท จ ว ข ฟ ด อ ฝ 18 น ท ค ต ล ว ฮ ฟ ข จ ช บ ฝ อ ม ด ว ป ส ก ญ ฉ ย ล ถ พ 19 ส ป บ จ ว ห อ ข ฝ ค ฮ ล ผ ญ ร ถ พ ต น ญ ฟ ข ท ย ม ฟ 20 ล ข ม ฟ ถ ร ท ฉ ฮ น ย ผ ห จ พ ด ก ก ง ค ช ป ต ส ญ ม 21 พ ย ม ซ ฝ ท น ถ ก บ ฮ ข ว ร ผ ห ส ต ล ป ช ญ ง ฉ พ ย 22 ม พ ต ย ก ผ ฉ ถ ญ ฮ ป ค ล ท ส ว ช ถ น บ ห ง อ ซ ฝ ร 23 น ต บ ช พ ฉ ฝ ม จ ร ห ข ก ค ส ท ผ ป ถ ง ล ฉ ซ ฮ ด ล องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-31 ระบบบอกฝ่ายแบบ 4 (สากล) TIME M A N B X C W D V E Y F T G S H R I G J P Z U L K Q 00 Z X C V B N M L K J H G F D S A Q W E R T Y U I O W 01 P L M K O I J N B H U Y G V C F T R D X Z S E W A E 02 W A Z S E R F C X D M Z N X C V H D G F S A W F U R 03 X Z S D V J I L M F L K J H G O K M N H T F G D E T 04 H B P R D W D R F G L K J T D O H U R V E S T N O Y 05 G H B I L A S X D C G R L Y H P F I O P Z H U K L U 06 W E R C B J G D B Y V H J U F Z D H B K A F R Y H I 07 J H D V J V G Y J M S D T U O X V T H J A R G U J O 08 Q W E R T C V B J K S D H J R C T G J O X F H M U P 09 S O U Y H G H T U D Z C R J U I F E Y B A T H J A L 10 L H D R N D Y I N S Q D C V P H T D V A X C D G N K 11 F Y J V Z D J I L Z V H J S T A G N I Q X R W C Y J 12 Y N F D T F J I D W E Y I F S C V B M Z S E G X W H 13 U I F S C X V G J M B F H R S S R G B H Z F T B F G 14 C F G H S X B H K I G H J S W X G H V D D T U K N F 15 J C X F B R W X F U T Y U I O G L X B C G Q X A D D 16 G F D S A H J K L P T R E W Q F G B X G X F T H A S 17 Z C B M L J G D A Q E T U O P I Y R W A D G J L M A 18 B C Z A D G H J K P I Y R W A D G J L N V X A Z E Z 19 T U O K H F S Q E T W A D X G U J B M K J T C J I X 20 Q E T U O A D G J L Z C B M X W R Y I P S F H K S X 21 V N F T U N V L E F S Y B K P M S G I V A F B J X C 22 R T Y V H S D T G J H K B D T X G U N O Q D T B U V 23 D T H J O X G K N D S Y U I M C D H B S D Y H U I B องค์แทนการสอ่ื สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 10-32 แบบบนั ทึกประจำตอนอักษรลบั 1. กระดาษสำหรบั ใช้เข้า – ถอดรหัส ( ทบ.463 – 031 ) เจา้ หนา้ ทีก่ ารอักษรลับใช้เป็นกระดาษร่าง เข้าและถอดรหัสกอ่ นท่จี ะเขยี นจริงลงในกระดาษเขียนขา่ ว ทง้ั นี้เพอื่ ป้องกนั การผิดพลาดของขา่ ว แล้วสง่ คืนไปให้ตอนศูนย์ข่าวดำเนนิ กรรมวธิ ีต่อไป กระดาษน้ีเมอ่ื ใชแ้ ลว้ จะตอ้ งทำลายทันที จะตอ้ งไมเ่ ขยี นรวมกับขอ้ ความธรรมดา 2. ต๋ัวรหสั สำหรับขา่ วรบั ( ทบ.463 – 032 ) เจา้ หนา้ ที่การอกั ษรลบั ใช้บนั ทึกเป็นหลกั ฐานขา่ วรับ ทร่ี ับมาจากศูนยข์ ่าวและลงเวลาสง่ ไปใหผ้ รู้ บั ข่าว เพ่อื เป็นหลกั ฐาน 3. ตั๋วรหสั สำหรับข่าวสง่ ( ทบ.463 – 033 ) เจา้ หน้าที่การอักษรลับ ใชบ้ ันทึกเป็นหลกั ฐานข่าวสง่ ที่นำมาเขา้ รหัส เมอ่ื ดำเนนิ กรรมวธิ เี ข้ารหสั เสร็จ แล้วลงหลกั ฐานการส่งให้ศนู ยข์ า่ วไว้เป็นหลักฐาน 4. บันทึกศนู ยร์ หสั สำหรบั ขา่ ว รับ – ส่ง ( ทบ.463 – 034 ) เจา้ หนา้ ทก่ี ารอักษรลับ ใช้บันทกึ รายละเอยี ดเวลารบั ข่าวเขา้ มา, ถอดรหสั , เวลาสง่ ออกและระบบรหสั องค์แทนการส่อื สาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-33 ทบ.463 – 031 กระดาษสำหรบั ใช้เข้าและถอดรหสั องคแ์ ทนการสื่อสาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 10-34 บนั ทึกศูนย์รหัส ทบ.463 – 031 สำหรับข่าวรับ – ส่ง วัน…….เดือน…………..พ.ศ…………. ลำดับที่ จาก – ถงึ ความ วนั /เวลา เวลารบั เวลาเขา้ – ออก แผน่ ที…่ ………………. ของผเู้ ขียน ของศูนย์ขา่ ว เรง่ ด่วน ศูนย์รหัสประจำ…………………..…. ขา่ ว เวลา จำนวน ระบบรหัส หมายเหตุ ส่งออก หมู/่ คำ องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-35 ตอนอกั ษรลับ/ศูนยก์ ารอักษรลบั …………………….. 1. การจดั จดั ในศูนยก์ ารสอ่ื สารระดับกองพลขึน้ ไป เพอ่ื ปฏิบตั งิ านทางการอกั ษรลบั อาจจดั อยูใ่ นศูนยก์ าร ส่ือสารหรือแยกไปอยตู่ า่ งหากกไ็ ด้ ปกตจิ ะอยูไ่ กลก้ ับศูนยก์ ารสอื่ สาร เพื่อปฏิบตั ติ ามมาตรการรกั ษา ความปลอดภัยทางการสอ่ื สารและประสทิ ธิภาพในการทำงาน 1. ตอ้ งมคี วามปลอดภยั อยา่ งเพียงพอ กำหนดทางเขา้ ออกทางเดยี วเทา่ น้นั 2. มกี ารตดิ ต่อกบั เจา้ หน้าทน่ี ำสาร และทำหนา้ ทศ่ี ูนย์ขา่ วได้เมอ่ื ต้องการ 3. มที ว่ี ่างพอทจี่ ะปฏิบตั ิงานและเกบ็ เครอื่ งมือ 4. ใหค้ วามสำคญั ต่อการดำเนนิ งานตอ่ ขา่ วมากกว่าอยา่ งอ่นื ไมว่ า่ งานจะขนึ้ กบั ศูนย์ข่าวหรือไมก่ ต็ าม 5. มีการเกบ็ รกั ษาอย่างปลอดภยั 2. การบังคับบญั ชา ปกตติ อนอักษรลบั จะข้นึ อยกู่ ับ ผบ.ศนู ย์การส่อื สาร หรอื เมอ่ื ขนึ้ สมทบกบั หน่วยใดกข็ นึ้ การบงั คบั บญั ชา กบั หน่วยนน้ั 3. การปฏิบัตงิ านของตอนอกั ษรลับ 1. รบั ผดิ ชอบในการเขา้ –ถอดการอักษรลับ รปภ. การอกั ษรลับ ซง่ึ อยใู่ นความรบั ผิดชอบของนายทหาร การอักษรลบั 2. นายทหารการอกั ษรลบั ชว่ ยเหลอื หน่วยรองในการปฏบิ ตั ิภารกจิ การอกั ษรลบั ใหป้ ระสบผลสำเร็จ, แนะนำทางเทคนคิ , ช่วยเหลอื แกป้ ญั หา, ให้ข่าวตามท่ตี อ้ งการ 3. การ รปภ. ทางการอักษรลับ เปน็ ผลจากการจดั ระบบ, เทคนิค และการใช้โดยเฉพาะ แตล่ ะคนท่ีมี หน้าที่เกี่ยวข้องกับการอักษรลับ จะต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อผู้กำกับดูแล และ รปภ. ในการ ปฏบิ ัตงิ านของตน 4. นายทหารการอักษรลับ ตามปกติจะไดร้ ับแต่งตั้งให้เป็นผูพ้ ิทักษว์ ัสดุการอักษรลับอีกด้วย (พิทักษ์ เก่ียวกบั สถานท่ีทางการส่ือสาร) 4. หนา้ ท่นี ายทหารการอักษรลบั 1. ปกครองบงั คบั บญั ชา เจา้ หนา้ ที่ของตอนอกั ษรลบั 2. จัดทำหลกั ฐาน , บนั ทกึ รายงานของตอนอกั ษรลบั 3. รปภ. เครอื่ งมือทางการอักษรลบั ภายในความรบั ผดิ ชอบอยา่ งเครง่ ครัด 4. เสนอแนะการเปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบัติงาน, กำหนดความรับผิดชอบให้แก่เจ้าหน้าที่และ ดำเนนิ การเกยี่ วกับขา่ วทีต่ อ้ งกากร รปภ. ทางการอักษรลบั องคแ์ ทนการสอื่ สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 10-36 5. ตรวจสอบขา่ วทฝ่ี ่าฝืนการ รปภ. และเสนอแก้ไขเพอื่ มิให้เกิดบกพรอ่ งขน้ึ อีก 6. ทำการฝกึ ทางเทคนิคใหแ้ กเ่ จ้าหนา้ ทีใ่ ห้ทนั สมัยอย่เู สมอ 7. จัดทำ รปจ. ของตอนอักษรลับและทำแผนทำลายทางการอกั ษรลบั 8. ควบคุมการใช้ สป.อยา่ งประหยดั 5. ความรบั ผิดชอบของนายทหารการอกั ษรลบั 1. จะต้องรับรองได้ว่าเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ทำงานเกี่ยวกับการอักษรลับ สามารถเข้าถึงชั้นความลับ ระดบั ใด และจะต้องไดร้ บั การตรวจสอบความไว้วางใจมาแลว้ 2. ตอ้ งจำกดั บุคคลทจี่ ะเขา้ ถงึ วัสดุการอกั ษรลับเท่าทีจ่ ำเปน็ ตอ่ การปฏิบัติงาน 3. ตอ้ งมนั่ ใจวา่ จนท. ทกุ คนได้รบั การฝกึ มาเปน็ อย่างดี และมีความคุ้นเคยปฏิบัติในระบบการ รปภ. 4. ตอ้ งรายงานการรัว่ ไหลทางการอกั ษรลบั ท่เี กดิ ขึ้นหรือสงสัยวา่ จะเกิดข้นึ ท่ีเปน็ อนั ตรายต่อการ รปภ. 5. ตอ้ งเลอื กจดั จนท.ที่สามารถจะเลอื กใช้ระบบอย่างถกู ตอ้ ง อย่างนอ้ ย 1 คน ประจำศูนย์ตลอดเวลา 6. ต้องขอร้องใหผ้ ู้เขยี นข่าวเปลี่ยนแปลงข้อความที่กำหนดชัน้ ความลับ หรือความเร่งด่วนที่เห็นวา่ มี ความจำเปน็ ต้องแกไ้ ขเพ่อื ประโยชน์ตอ่ การ รปภ. และความถูกต้อง 7. ต้องแย่งมอบหนา้ ท่ีเฉพาะ กำกับดูแลและประเมนิ คา่ การปฏิบัตงิ านในหน้าทขี่ อง จนท.ประจำศูนย์ 8. เม่ือคนไม่อย่จู ะตอ้ งแตง่ ตั้งบคุ คลทีม่ คี ณุ สมบตั ิ ปฏบิ ตั หิ น้าที่แทน 9. ต้องทำแผนทำลายฉกุ เฉนิ หรอื แผนการเคล่ือนย้ายเคร่อื งมือ ในกรณที ขี่ า้ ศกึ จะเขา้ ยึด 6. เจา้ หนา้ ท่คี วบคุมรหสั เจ้าหน้าที่ควบคุมการรหัสเป็นผู้ดำเนินงานทางการรหัสของหน่วย ภายใต้การอำนวยการควบคุม และกำกับดแู ล ของเจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ การรกั ษาความปลอดภยั ทางการสือ่ สาร (รปภ.ส.) มีหน้าทดี่ งั นี้ 1. ไดร้ บั การตรวจสอบความไว้วางใจ (รปภ.3) 2. แบง่ มอบหนา้ ทีเ่ ฉพาะให้แกเ่ จ้าหนา้ ทีก่ ารรหัสแตล่ ะส่วน จัดทำรายชือ่ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน 3. พิทักษ์รักษาเคร่ืองมอื และเอกสารทางการรหสั 4. พจิ ารณาการใช้ระบบการรหสั ให้เหมาะสมกับชนั้ ความลับท่ีจะสง่ ทางมชั ฌมิ 5. รายงานการปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั การรหสั ของหน่วย ต่อหัวหน้าส่วนราชการตามระยะเวลา 6. ถ้ามีการละเมิดการรักษาความปลอดภัยทางการรหัส หรือมีการรั่วไหลสูญหาย ให้รีบรายงานต่อ หวั หนา้ ส่วนราชการทันที 7. เจ้าหนา้ ทีก่ ารรหัส มหี น้าทด่ี ังน้ี เจ้าหน้าที่การรหสั มีหน้าท่รี ับผิดชอบการเข้า – ถอดรหัส ของหนว่ ยภายใต้การอำนวยการควบคุม ของเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมการรหสั โดยเนน้ ในเร่ืองต่อไปนี้ องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-37 1. ข่าวที่จะเข้ารหัส ต้องเป็นข่างทางราชการ มีชั้นความลับและได้ผ่านการพิจารณาจาก เจ้าหน้าท่ี ควบคุมการรหัสแลว้ เทา่ น้นั 2. ข่าวทีไ่ ดร้ ับการเขา้ รหัสแล้ว ตอ้ งตรวจทานความถูกต้องทกุ ครง้ั ก่อนท่ีจะดำเนินการตอ่ ไป 3. หา้ มเขา้ รหสั ผสมกบั ขอ้ ความธรรมดาโดยเดด็ ขาด 4. หา้ มเปดิ เผยวธิ ีการเข้ารหัสของหนว่ ย ให้แก่ผไู้ ม่มหี นา้ ที่เก่ยี วขอ้ งทราบเด็ดขาด 5. หา้ มเข้าหรือถอดรหสั ในแบบฟอรม์ กระดาษเขยี นขา่ วฉบบั เดียวกนั 6. หา้ มเกบ็ ระบบการรหัสไว้รวมกับขา่ วท่ีถอดเป็นข้อความธรรมดาแล้ว 7. หา้ มบคุ คลท่ไี ม่มีอำนาจหน้าทีเ่ ขา้ สถานที่การรหสั โดยเด็ดขาด 8. ตอ้ งพิทกั ษ์รักษาระบบการรหัสและวัสดทุ ี่เก่ยี วขอ้ งทีอ่ ยใู่ นความรับผิดชอบให้ปลอดภยั ตลอดเวลา 9. ต้องทบทวนจนม่ันใจ ที่จะสามารถปฏบิ ัติตามแผนการเคล่ือนยา้ ยและทำลายฉกุ เฉินต่อระบบการ รหสั และวัสดทุ เี่ ก่ียวขอ้ ง 10.วสั ดุท่ีเก่ียวข้องกบั การเขา้ –ถอดรหสั เชน่ กระดาษร่าง กระดาษคาร์บอน เม่ือหมดความจำเป็นต้อง ทำลายทนั ที 11.ในกรณีที่มีการละเมิดการรักษาความปลอดภัย หรือสงสัยวา่ ระบบการรหัสของหน่วยรัว่ ไหล หรอื สญู หายให้รีบรายงานหัวหนา้ สว่ นราชการ หรือ เจา้ หน้าที่ควบคุมการรกั ษาความปลอดภัยทางการ ส่ือสารทนั ที 8. แบบของขา่ วท่ีมีการกำหนดประเภทเอกสาร แบง่ ได้เปน็ 2 แบบ คอื 1. มีเคร่ืองรบั –สง่ ขา่ ว และเจ้าหนา้ ทแี่ ยกทางเอง 2. แบบท่ไี หลผ่านศนู ยข์ า่ ว 9. ขอ้ ควรคำนงึ สำหรบั ผทู้ ี่เกี่ยวข้องกับข่าวทางทหาร ข่าวสารทางทหาร ย่อมจะตอ้ งได้รบั การระวงั ปอ้ งกนั ถึงขีดทีพ่ ึงประสงค์ ในเม่ือใชร้ ะบบการอักษร ลับแต่ละแบบ ภายในระดับส่วนราชการทางทหาร ที่ได้เจาะจงไว้และเพอื่ เจา้ หนา้ ทที่ ุกๆ คน นับตัง้ แต่ ผ้เู ขียนข่าวจนถงึ ตัวผรู้ บั ขา่ วน้นั ตอ้ งทราบซง้ึ ถึงความจำเป็นในการรักษาความปลอดภยั ทางการอกั ษรลบั ตลอดเวลา องค์แทนการสอ่ื สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
บทที่ 11 ระบบศูนย์ขา่ วอัตโนมตั ิ (AMC) (Automatic Message Center) 1. หลกั การและเหตุผล ในปัจจบุ ัน การรบั -ส่งขา่ วสารหรอื เอกสาร ในกองทพั บกจากท่ีหนงึ่ ไปยังทห่ี นึง่ แบ่งไดเ้ ปน็ 2 แบบ คือ 1. เปน็ การส่งขา่ วในลักษณะของเอกสารท้งั ใบ 2. แบบทีเ่ ป็นกระดาษเขยี นขา่ ว (สส.6) ซง่ึ ระบบการรับ-ส่ง ข่าวจะตอ้ งมีการดำเนนิ การส่งขา่ วผา่ นศนู ย์รบั -ส่ง(สารบัญของหนว่ ย) ไปยงั ศูนยข์ า่ วเสมอ ท้ังน้เี พอ่ื ใหเ้ ปน็ การ ควบคมุ เอกสารนน้ั เปน็ ไปอย่างถกู ต้องมีผรู้ ับผดิ ชอบทแ่ี นน่ อน และเพอื่ ป้องกันเอกสารสญู หายระหวา่ งการรบั - ส่ง 2. แนวความคิดในหารพฒั นาระบบ การรับ-ส่งข่าวหรือเอกสารจะต้องมีความรวดเร็วมากขึ้น ต้องสามารถดำรงระบบควบคุมอย่างมี ประสิทธิภาพ ระบบดังกลา่ วจะต้องไม่เพ่ิมภาระให้กับผูป้ ฏิบตั ิงาน และในทางตรงกันข้ามต้องช่วยลดภาระ ดงั กลา่ วลงด้วย มคี วามงา่ ยในการใชง้ าน มคี วามอ่อนตัวในการใช้งานสูง สามารถดัดแปลงนำไปใช้ร่วมกบั การ สื่อสารข้อมูลท่ีมีอยู่ในปัจจุบันและอนาคตได้ ระบบดังกล่าวต้องสามารถดำรงการรักษาความปลอดภัยของ เอกสารไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับระบบควบคุมบังคับบัญชา C4I ของกองทัพบกไทยใน อนาคต 3. ขดี ความสามารถของระบบ 3.1 สามารถ รบั -สง่ ข่าวจากผู้สง่ ถึงผรู้ บั ไดภ้ ายใน ๓๐ วนิ าทีตอ่ ข่าว หรืออาจมีความเรว็ มากกวา่ ๓๐ วินาที ขนึ้ อยูก่ ับการต้ังเวลาในการรับ-สง่ ข่าวท่ตี อ้ งการ 3.2 การเขียนข่าวของผู้ส่งสามารถทำได้ง่าย เนื่องจากมีลักษณะแบบฟอร์มคล้ายกับกระดาษ เขียนข่าว สส.๖ นอกจากนี้ยังมีการอำนวยความสะดวกในการกรอกข้อความ มาตรฐาน เช่น ความ เรง่ ด่วน, ชัน้ ความลับ, จาก, ผรู้ บั – ปฏิบัติ เป็นตน้ 3.3 ผสู้ ่งสามารถตรวจสอบได้วา่ สง่ ข่าวออกไปแลว้ กฉ่ี บับและผรู้ บั แต่ละหนว่ ยตอบรบั มาแลว้ หรือไม่ 3.4 ผู้รับสามารถ พิมพ์ข่าวออกมาในรูปแบบของกระดาษเขียนข่าว สส.๖ เพื่อนำไปดำเนินกรรมวิธีทาง เอกสารปกติได้ โดยงา่ ย 3.5 ผู้รับข่าวสารสามารถส่งต่อข่าวที่อ่านแล้วต่อไปยังผู้อื่น เช่น ผู้บังคับบัญชาหรือฝ่าย เสนาธิการได้ โดยง่าย 3.6 ขา่ วทม่ี ีการสง่ ตอ่ ไปยงั ผู้อ่นื ตาม ข้อ 3.3 ผสู้ ่งต่อสามารถบนั ทึกตอ่ ท้ายข่าวท่อนลา่ งส่งต่อไปยังผู้อนื่ ได้ องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 11-2 3.7 ผรู้ ับขา่ วสามารถตรวจสอบจากหนา้ จอไดง้ ่ายวา่ ขณะนี้มีขา่ วส่งมาถึง ก่ีฉบับ เปดิ อ่านแล้วกี่ฉบับและ ยังไม่ไดเ้ ปดิ อ่านกฉี่ บับ โดยมีท้งั ตัวเลขและสัญลักษณ์ชดั เจนให้เหน็ 3.8 สามารถนำระบบดงั กลา่ วไปดดั แปลงใชก้ ับระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ไดห้ ลายแบบระบบเครือข่าย ภายใน (Intranet) ระบบครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในสนาม เปน็ ตน้ 4. สว่ นประกอบของระบบ ส่วนประกอบของระบบศูนย์ขา่ วอตั โนมัตปิ ระกอบขึ้นด้วย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรม์ ีดังนี้ 4.1 เครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ มข่ ่าย อย่างนอ้ ย 1 เคร่ือง 4.1 เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ลูกขา่ ย จำนวนขน้ึ อยกู่ ับจำนวนผใู้ ช้ 5. การใชง้ าน - เชือ่ มตอ่ VPN หรอื Internet ตาม Username และ Password ของหนว่ ย - เปดิ โปรแกรม Internet Explorer ท่ใี ช้งานอนิ เตอร์เนต็ ขนึ้ มาแลว้ พมิ พ์ http://202.29.97.5 ลงไปที่ Address Bar ดังรปู - หน้าจอนี้เป็นหนา้ จอแรกท่ีใชใ้ นการเขา้ ระบบ ต้องใส่ Username และ Password ของหน่วยท่ี กำหนดให้โดยผ้ดู แู ลระบบให้ถกู ตอ้ งจงึ จะสามารถเขา้ สรู่ ะบบได้ องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 11-3 หาก Username และ Password ถกู ตอ้ ง กจ็ ะเข้าสรู่ ะบบได้ และไปยังหน้า ข่าวรับ [Inbox] ซ่งึ เป็นหน้าที่ แสดงขา่ วเขา้ ทงั้ หมด มรี ายละเอยี ดตามภาพ ระบบศูนย์ขา่ วอตั โนมตั นิ ้ี จะมีการปฏบิ ัตทิ ส่ี ำคญั อยู่ 3 ประการดว้ ยกันคอื 1. การรบั ขา่ ว - การเปดิ อา่ นขา่ วทหี่ นว่ ยอื่นส่งมาให้หน่วยเรา - การจดั เกบ็ ไฟลท์ ี่หน่วยอื่นแนบไฟลม์ าพร้อมกบั ขา่ วทส่ี ่งมาดว้ ย - ตอบรบั ข่าวกลบั ไปยังหนว่ ยทส่ี ง่ มาใหห้ น่วยเรา 2. การสง่ ข่าว - การเขยี นขา่ วส่ง - การแนบไฟล์ - การสง่ ขา่ ว องค์แทนการสื่อสาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 11-4 3. การตรวจสอบข่าว - การตรวจสอบการตอบรบั จากหน่วยทเ่ี ราสง่ ข่าวไปให้ การรบั ขา่ ว 1. เปน็ เมนทู ี่ใชใ้ นการรบั ข่าว ชื่อเมนู ข่าวรับ Inbox ปกตเิ มอ่ื ผู้ใชเ้ ข้ารหสั ผ่านแลว้ กจ็ ะเข้ามาอยทู่ ่ี หน้าข่าวเข้านี้เป็นหน้าจอแรก 2. ช่องกรอกข้อความที่ของข่าว เพ่อื ใช้ในการค้นหาข่าว 3. แถบสีทึบนจ้ี ะมีข้อความทางดา้ นซา้ ยเปน็ ชือ่ หน่วยของผ้ใู ช้ ทางด้านขวาจะเป็นจำนวนขา่ วเข้า ท้งั หมด จำนวนข่าวทเ่ี ปดิ อ่านแลว้ จำนวนขา่ วทย่ี งั ไม่เปดิ อ่าน องค์แทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 11-5 4. ข่าวทมี่ กี ารกำหนดชั้นความลับ ต้ังแต่ลบั ถงึ ลับท่ีสดุ ผูส้ ่งขา่ วจะทำการเขา้ รหัส เมือ่ ผรู้ บั ข่าวเปดิ อา่ นขา่ วจะไม่สามารถอา่ นข้อความ (จะมรี ูปกญุ แจ) ให้ถอดรหสั โดยการใสร่ หสั (กำหนดไว้ใน นปส.) ในช่องถอดรหสั จึงจะสามารถอ่านข้อความขา่ วได้ การส่งขา่ ว คลิกทเ่ี มนู เขียนข่าวสง่ Compose จะได้หน้อจอตามน้ี 1. เลอื ก ประเภทหนงั สอื , ความเรง่ ด่วน ตามข่าวท่ตี อ้ งการส่ง และเลอื ก ชั้นความลบั 2. ทข่ี องผูใ้ ห้ข่าว กรอกท่ขี องข่าวฉบับนั้นๆ 3. เรอ่ื ง ใหใ้ ชช้ อื่ เดียวกนั กับไฟล์เอกสารท่ีแนบ 4. จาก จะขึ้นช่อื ของผูใ้ ชโ้ ดยอตั โนมัติ 5. ผู้รบั ปฏิบัติ ผรู้ ับทราบ ให้คลกิ ท่ีเมนู [คลิกเลอื กหน่วยส่ง] จะปรากฏหนา้ ต่างใหเ้ ลอื กหนว่ ยทีต่ อ้ ง การสง่ ตวั อยา่ ง ถ้าตอ้ งการส่งถึง พล.ร.3 ให้คลิกเลือกท่ชี อ่ งหนา้ พล.ร.3 และจะเห็น นขต.ของพล.ร..3 ใหเ้ ลอื กหน่วยทจ่ี ะสง่ ถึงและหนว่ ยที่รบั ทราบ จากน้ันคลกิ OK ถา้ ต้องการเปลี่ยนแปลงหรอื ยกเลิกให้ คลิกซ้ำ (หากไมม่ ผี รู้ บั ทราบใหข้ ดี -) องค์แทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 11-6 6. การแนบไฟล์ ใหก้ ดท่ี เลอื กไฟล์ สามารถแนบไฟลท์ จ่ี ะสง่ ไปยังผรู้ บั ได้ทุกรปู แบบ 7. เขียนข้อความของข่าวท่ีจะสง่ ถา้ เปน็ ข่าวท่มี กี ารกำหนดชั้นความลับ ต้งั แต่ลับถึงลบั ทสี่ ุด ให้ใสร่ หสั ใน ช่องเขา้ รหสั (กำหนดไวใ้ น นปส.) 8. ช่วงท้ายจะให้ใส่ ผ้เู ขียนขา่ ว หนว่ ย โทร และนายทหารอนมุ ัติข่าว เมอื่ ตรวจจสอบว่ากรอกขอ้ มลู ท้ังหมดเรยี บร้อยแล้ว คลกิ ปุ่ม สง่ ขา่ ว หากมแี ก้ไขเปลี่ยนแปลงใหก้ ด ลบข้อความ - การตรวจสอบขา่ วสง่ ใหค้ ลกิ ทเี่ มนู ตรวจสอบข่าวส่ง Outbox การตรวจสอบว่าหนว่ ยทเี่ ราสง่ ข่าวไปให้ ได้รบั และเปดิ อ่านข่าวของเราหรือไม่ ใหด้ ทู ช่ี อ่ งตอบรับ ดา้ นขวาของหน้าจอ จะเห็นรายชื่อหน่วยตา่ งๆ ท่ีตอบรับแลว้ ดงั รูปภาพด้านลา่ ง องค์แทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
ผนวก ก การวางกำลงั หน่วยทหารสือ่ สาร กองทพั ออสเตรเลีย การวางกำลังหนว่ ยทหารส่อื สารในสนามของกองทัพบก ออสเตรเลียน้ี เปน็ การนำเอาความรูจ้ ากการ ที่ผู้เขียนไดเ้ ข้ารับการเรียนหลักสูตรชั้นนายรอ้ ย ณ ประเทศออสเตรเลีย เมื่อ ปี 2544 ก่อนที่ผู้เขียนจะ เดินทางไปเรียนหลกั สตู รนี้ ผู้เขยี นได้ผา่ นการเรียน ท้ังหลกั สตู รชั้นนายร้อยและชั้นนายพันของ รร.ส.สส. ทำ ใหม้ ีความรู้เกี่ยวกับหลกั สูตรของเราพอสมควร เร่ืองการวางกำลังหน่วยทหารสื่อสารในสนามนั้น หลักสตู ร ของประเทศไทย ยงั ไมม่ ีตำราที่ชัดเจน ในขณะทที่ างประเทศออสเตรเลียให้ความสำคญั ตอ่ วชิ าน้ีมาก โดยมี การเรยี นทั้งภาคทฤษฎี และมกี ารวางกำลงั จริงในภาคสนามด้วย กระผมหวังว่าผนวกน้จี ะเป็นประโยชน์ ตอ่ นายทหารนกั เรียนในการนำไปประยกุ ต์ใช้ให้มคี วามเหมาะสมกับคุณลักษณะของหนว่ ยทหารส่ือสารของเรา พอสมควร ถ้ามีคำแนะนำใดๆ ผู้เขียนยินดีน้อมรับด้วยความเต็มใจ เพื่อจะได้ปรับปรุ งให้มี ประสิทธิภาพและมคี วามเหมาะสมมากยง่ิ ขึน้ ต่อไป ร.อ. สธุ ี พัฒนถาวร ส.ค. 44
หนา้ ท่ีของเหลา่ ทหารสอ่ื สาร กองทพั ออสเตรเลยี “ ทำการสนับสนนุ ระบบการสอ่ื สารและข้อมลู ข่าวสาร ปฏบิ ัติการสงครามอิเลคโทรนคิ สใ์ หก้ ับหน่วย กำลงั รบในการควบมุ บงั คบั บัญชา การจดั ตง้ั และ การติดตั้งหนว่ ยทางธุรการในพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั ิการและพื้นท่ี สนบั สนุนการรบ “ งานของทหารสอ่ื สาร 1. จัดเตรยี มระบบการสอื่ สารและข้อมลู สำหรบั กำลงั รบ 2. ปฏิบัตกิ ารสงครามอลิ คโทรนิคส์ สนบั สนุนกำลงั รบ 3. จัดหาระบบการรักษาความลบั ทางการสอ่ื สาร และทำการฝกึ อบรมกำลงั รบ 4. ใหค้ ำแนะนำอน่ื ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั หัวข้อดา้ นบน การกำหนดทีต่ ้งั หนว่ ยในสนามของเหล่าทหารสือ่ สาร สามารถแบ่งออกได้เปน็ 2 ชนิด คอื 1. ตดิ ตง้ั รว่ มกบั บก. 2. ติดตง้ั แยก โดดเดีย่ ว การติดตั้งร่วมกบั บก. เป็นรปู แบบการวางกำลงั แบบมาตรฐาน โดยติดตั้งอปุ กรณ์การสื่อสารไวใ้ น พื้นที่เดียวกับ บก. ที่หน่วยทำการสนับสนุนอยู่ ตัวอย่างเช่น กองร้อยทหารสื่อสารวางกำลังโดยเป็นโหนด การสอื่ สาร ณ บก. กรม การตดิ ต้งั แยกโดดเดีย่ ว เปน็ การตดิ ต้งั อปุ กรณ์การสือ่ สารแยกอยหู่ น่วยเดียวในพื้นทีป่ ฏบิ ตั กิ าร ซ่ึง ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ทางการยุทธและความต้องการทางเทคนิคของระบบการสื่อสาร สถานที่ที่ติดตั้งจะ พิจารณาจากความเหมาะสมทางเทคนิคของระบบการสื่อสารเป็นอันดับแรก แล้วจึงพิจารณาถึงความ เหมาะสมทางการยุทธเป็นลำดับต่อไป ข้อพิจารณาพเิ ศษสำหรับการติดตั้งแยกโดดเดี่ยว คอื การซอ่ มบำรุง การสง่ กำลัง การสนบั สนุนทาง ธรุ การ รวมทั้งการระวงั ป้องกนั ตนเอง โดยท่วั ไปจะใช้การติดตัง้ แบบนสี้ ำหรับสถานสี ง่ ตอ่ หรือ สถานถี ่ายทอด การกำหนดทตี่ ิดตัง้ หน่วยทหารสอ่ื สารในสนามจะต้องพจิ ารณาถึงปัจจยั 3 ประการน้ี คือ 1. ทางเทคนิค 2. ทางยุทธการณ์ 3. ทางธุรการ
ความต้องการทางเทคนิค 1. คุณลักษณะของอปุ กรณ์ โดยพจิ ารณาถึง - ช่วงความถี่ - สายอากาศ - เขตพื้นที่การกระจายคลื่น - ความยาวของสายเคเบ้ิล - อปุ กรณ์เชอื่ มต่อระบบ 2. ความตอ้ งการใชไ้ ฟฟ้า 3. อปุ กรณ์ควมคมุ ระยะไกล 4. ระยะห่างของสายอากาศ 5. ระบบสายดิน 6. การสงครามอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 7. สภาพอากาศ 8. การรบกวนภายในพนื้ ที่ - สายไฟฟ้า - สถานนี ำรอ่ ง - การแพรค่ ลืน่ ของทางภาคเอกชน - สภาพแรธ่ าตุภายใตผ้ วิ ดนิ - ส่งิ ก่อสร้างทม่ี โี ครงสร้างเป็นเหลก็ ขนาดใหญ่ ความตอ้ งการทางยุทธการ 1. ขา้ ศึก - ที่ต้งั - แนวทางการเคลือ่ นทท่ี ่นี า่ จะเปน็ - สถานการณท์ างอากาศ ( ใครครองอากาศ ) - ความคุกคามทาง EW - การยงิ ดว้ ยอาวธุ วิถีโคง้ 2. ความปลอดภยั ทางกายภาพ - การพราง ยานพาหนะ สายอากาศ สายสัญญาณ - การตรวจการ - สภาพพืน้ ดิน - การวางถุงทรายกำบงั - หลมุ บคุ คล
- คลงั เกบ็ อาวุธ - ตารางการลาดตระเวณ 3. การกระจายกำลัง 4. สัญญาณรบกวน 5. การแพรร่ ังษคี วามรอ้ น 6. แผนการเคล่อื นยา้ ย ความตอ้ งการทางธุรการ 1. พื้นทท่ี างธรุ การ 2. การสง่ กำลังและซอ่ มบำรุง 3. เส้นทางการเขา้ ถงึ 4. ระยะทางไปยังผู้ใช้ 5. การเคลอ่ื นย้าย 6. ขนาด ในการพจิ ารณาใน 3 ปจั จยั นั้น อุปกรณส์ ่ือสารทม่ี คี วามจำเปน็ ตอ้ งให้ความสนใจมากเปน็ พเิ ศษ คอื 1. Switching เช่น DX111 2. Trunk เช่น RL 420 , สายเคเบล้ิ สนาม , สถานีดาวเทียมเคลอื่ นที่ 3. อุปกรณท์ ี่เคลอ่ื นย้ายขณะปฏิบตั ิการได้ 4. อปุ กรณท์ ่ีแพร่คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 5. อุปกรณเ์ ชื่อมต่อ Interfacing element การวางกำลงั โหนดการสอ่ื สาร ปัจจัยในการพจิ ารณาการวางกำลังโหนดการสอ่ื สาร ได้แก่ 1. แผนการของ ผบ. 2. แผนทางการสื่อสาร 3. สถานภาพของอุปกรณท์ ม่ี อี ยู่ 4. ข้อจำกัดทางเวลา ลำดับข้นั ของการวางกำลงั 1. ออกคำสงั่ เตอื น 2. การลาดตระเวน 3. สง่ ชุดสว่ นลว่ งหน้า
4. การเคล่ือนที่ของกำลงั ส่วนใหญ่ 5. กาเคล่อื นทีเ่ ข้าทีต่ ง้ั แห่งใหม่ 6. การตดิ ตั้งปฏบิ ัตกิ ารอปุ กรณ์สอ่ื สาร ชุดลาดตระเวณประกอบดว้ ย 1. สว่ นควบคุม 2. สว่ นสือ่ สาร 3. สว่ นระวงั ปอ้ งกัน 4. ผนู้ ำทาง 5. ผ้ใู หค้ ำแนะนำพิเศษ หน้าท่ีของนายทหารลาดตระเวรทางการส่อื สาร 1. เขา้ รบั ฟงั การบรรยายสรปุ และรับคำส่งั 2. ควบคุมชุดลาดตระเวนส่อื สาร 3. ให้คำแนะนำความตอ้ งการการติดต้ังทางการสื่อสาร โดยพจิ ารณาจาก ข้อจำกดั ทาง เทคนคิ ทางการยทุ ธ และ ทางธุรการ 4. วาดแผนทกี่ ารวางกำลังโดยละเอยี ด 5. ติดแผ่นปา้ ยแสดงรถในจดุ ท่ีตดั สนิ ใจให้รถเข้าตดิ ตง้ั อุปกรณส์ ่อื สาร 6. บรรยายสรุปต่อผู้นำทาง 7. บรรยายสรุปแก่ กำลงั ส่วนใหญท่ เ่ี ข้ามาถงึ เกยี่ วกบั ตำแหนง่ ท่ตี ง้ั หน้าท่ขี องชุดลาดตระเวน 1. ระวังปอ้ งกนั ท่ีตั้งแหง่ ใหม่ 2. ตรวจดคู วามเหมาะสมของสถานที่ 3. วางตำแหน่งตดิ ต้ังอปุ กรณส์ ื่อสารแตล่ ะชนิด 4. วางตำแหนง่ บก.หนว่ ยทหารสื่อสาร 5. เรยี กส่วนส่ือสารลว่ งหน้าใหเ้ คล่อื นทม่ี ายงั ท่ตี ง้ั แหง่ ใหม่ สว่ นสือ่ สารล่วงหนา้ ประกอบดว้ ย 1. ชดุ ควบคมุ ประกอบด้วย ฝอ.3 และ ฝอ.1 หรอื 4 2. ชดุ ระวังปอ้ งกัน โดยเจา้ หนา้ ทที ุกคน 4. ชดุ อปุ กรณส์ ่อื สาร ประกอบด้วย - ชดุ วทิ ยขุ า่ ยบงั คบั บัญชา
- ชุดวิทยุติดต่อกบั หนว่ ยเหนอื - ชุดวทิ ยตุ ดิ ต่อหนว่ ยทางขาง - ชดุ วิทยุติดต่อสว่ นยงิ สนบั สนุน - อุปกรณส์ ือ่ สารอื่นๆ ตามสถานการณ์ หน้าทีข่ องสว่ นสอ่ื สารลว่ งหนา้ 1. ทำให้หน่วยสามารถดำรงรักษาการติดต่อสื่อสาร ควบคุมหน่วยรอง ในขณะที่ บก.กรม กำลัง เคลือ่ นยา้ ย 2. เป็นการทดลองตดิ ตัง้ โหนดสื่อสารใหม่โดยไม่ต้องเสี่ยง ถ้าเกิดเหตุการอื่นใด สามารถถอนกำลังได้ โดยรวดเรว็ 3. เปน็ การจัดเตรยี มพ้นื ท่ีสำหรับกำลงั สว่ นใหญใ่ นการเข้าติดต้ังในพ้ืนท่ี ลำดบั ขน้ั ในการเขา้ ทีต่ ัง้ ของกำลงั สว่ นใหญ่ 1. สว่ นต่างๆ เคล่อื นทเ่ี ขา้ มาทางทิศ 6 นาฬกิ า 2. นายทหารสื่อสารบรรยายสรปุ ให้กับรถแตล่ ะคนั ถึงสภาพพน้ื ท่ี เส้นทางการเข้าตำแหนง่ ตดิ ต้งั อุปกรณ์ 3. ผโู้ ดยสารทุกคนยกเวน้ พลขับ ตอ้ งลงเดนิ ระวงั ปอ้ งกันทางดา้ นหนา้ และ ท้ายของรถ 4. ผนู้ ำทาง เดินนำรถยนต์แต่ละคันเขา้ ที่ตงั้ ทจี่ ัดเตรยี มไว้ 5. พลขับตรวจดู ชอ่ งทางในการนำรถออกจากพื้นที่ 6. ติดต้งั ตาขา่ ยพราง ติดตง้ั อปุ กรณส์ ่อื สาร และ ระบบระวงั ป้องกนั รอบฐาน 7. เข้าควบคมุ ระบบการสอ่ื สารแทนส่วนส่อื สารล่วงหนา้ 8. สง่ รายงานไปยังสว่ นควบคุมโหนด การสอ่ื สาร 9. สง่ ป้ายแสดงรถ ให้กับสว่ นลาดตระเวน 10. ประสานการจัดเวร ปฏิบัติการในศูนย์การสอื่ สาร และเริ่มปฏิบัติการ 11. วางระบบการระวังปอ้ งกนั ตนเอง ลำดบั ความเร่งด่วนของการปฏิบตั กิ าร 1. การพรางและการปกปิด 2. การตดิ ตง้ั ดำเนินการศนู ยก์ ารสอ่ื สาร 3. การระวงั ป้องกัน 4. การธรุ การ
ผนวก ข แบบฟอรม์ ทบ.463-xxx ท ทตี่ ั้ง............................................. ตารางศ หน่วย.......................................... ชนดิ ของ หนว่ ยทที่ ำการติดต่อดว้ ย โทรศัพท์ วิทยุ โทรพมิ พ์ โทรศัพท์ โ โทรเลข ได้ ไม่ ได้ ไม่ ไ ได้ ไม่ ได้ ไม่
ที่ใช้ฝกึ (ตอนศนู ยข์ า่ ว,ตอนอักษรลบั ) ทบ. ๔๖๓-๐๒๓ ศูนย์ขา่ ว แผ่นท.่ี ............หนา้ ............... ............/................/.............. งเคร่ืองมือสอ่ื สาร การนำสาร (อื่นๆ) หมายเหตุ โทรพิมพ์ รถยนต์ บ.เบา ได้ ไม่ ได้ ไม่ เดนิ เทา้ ได้ ไม่ ได้ ไม่ ได้ ไม่
บญั ช ข่าวรับ / ทขี่ อง ถงึ ความ ท่ีของ ว ศูนย์ จาก เร่งดว่ น ผใู้ หข้ ่าว เครื่องมอื ของผ ข่าว
ทบ.๔๖๓ – ๐๒๔ ชขี า่ ว ศูนยข์ า่ ว......................................... / ขา่ วส่ง หน่วย............................................. วนั ท.่ี ... ...เดอื น...............พ.ศ............ แผน่ ที.่ ........................................... วนั /เวลา วนั /เวลา จำนวน เสร็จเม่อื หมายเหตุ ผเู้ ขยี นข่าว รบั ขา่ ว คำ
บัญชีคุม ข่าวรับ / ทข่ี อง จาก ถึง ความ ความลบั จำนวน ทข่ี อง ศนู ย์ขา่ ว เร่งด่วน หมู่/คำ ผใู้ ห้ข่าว
ทบ.๔๖๓ – ๐๒๖ มข่าว แผน่ ท่ี..................... ขา่ วสง่ หนว่ ย............................. ผูเ้ ขียนข่าว วันท่.ี .....เดือน.........พ.ศ....... วัน / เวลา ประเภท เวลาเสรจ็ หมายเหตุ ศนู ย์รบั ขา่ ว แยกทางสง่ ข่าว เครื่องมอื ส่ง
บันทึกศ สำหรับข ลำดับที่ จาก – ถงึ ความ วนั /เวลาของ เวลารบั ของศนู ย์ขา่ ว เร่งดว่ น ผเู้ ขียนข่าว
ศูนย์รหสั ทบ.๔๖๓ - ๐๓๔ ข่าวรบั / ส่ง วนั ท.ี่ .....เดอื น.........พ.ศ....... แผน่ ท่.ี .................... ศนู ย์รหสั ประจำ......................... บ เวลาเข้า-ถอดรหัสเสรจ็ เวลาสง่ ออก จำนวนหม่/ู คำ ระบบรหัส หมายเหตุ
หลักฐานแผนทางการส่ง ทบ.๔๖๓ – ๐๒๒ แผน่ ท่.ี ................ ศูนย์การสอ่ื สาร......................................... ข่าว . ........../............./............. วัน / เดอื น / ปี ศนู ย์ข่าว.................................................... เคร่ืองมอื วิทยุ โทรศัพท์ โทรพมิ พ์ นำสาร ท่ีของ จาก – ถงึ ความ ความลับ จำนวน เวลาแยก ศูนย์ขา่ ว เร่งดว่ น คำ/ตวั ทางสง่ ขา่ ว
หลักฐานข่าวท่สี ่งไปยงั ศูนย์รหัส ทบ.๔๖๓ – ๐๒๕ สำหรบั ข่าวรบั / ส่ง วนั .......เดอื น...........ป.ี ...... ลำดบั ที่ ท่ขี องศนู ยข์ า่ ว ท่ขี องผู้ใหข้ ่าว จำนวนหมูค่ ำ เวลาสง่ -เวลาเสรจ็ ลงชอื่ ผสู้ ง่ ผ้ตู รวจ
ประจำ................................. บันทกึ ประจำศนู ยข์ า่ ว ทบ.๔๖๓ - ๐๒๗ วัน เดือน ปี เหตุการณ์ ศูนยข์ า่ วท่.ี ....................................... หนว่ ย............................................... หมายเหตุ
บันทึกการปฏบิ ตั ิงานของศนู ยข์ า่ ว ทบ. ๔๖๓ - ๐๒๘ ศูนย์ขา่ ว...................................................... หน่วย................................................. ท่ตี ้งั ศูนย์ขา่ ว หมูว่ ันเวลา เปิดศูนยข์ า่ ว ปิดศูนยข์ า่ ว หมวู่ ันเวลา ตารางเวลาปฏบิ ตั งิ านของ................................................... นาม ต้ังแต่ ถงึ นาม หมู่วนั เวลา ตงั้ แต่ ถึง
รายงานประจำศูนยข์ ่าว ทบ.๔๖๓ – ๐๒๙ ศูนยข์ ่าวที่................................................ หนว่ ย...................................................... ประจำ.................................................... ๑. การเปลย่ี นแปลงระเบียบบการ ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๑.๕ ๒. การดำเนินการของขา่ ว ( เขา้ - ออก ) พรอ้ มทั้งข้อขัดข้อง ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๒.๕ ๓. กำลงั พลและเครอื่ งมอื ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๒.๕ ๔. เหตุการณ์ขัดขอ้ งและขอ้ เสนอต่างๆ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๔.๕ ................................................ หน.ศูนย์ข่าว ............./.............../.................... วนั เดือน ปี
รายงานทหารเวรของศนู ยก์ ารสือ่ สาร ทบ.๔๖๓ – ๐๓๐ วัน เดือน ปี รายงานทหารเวรของศนู ยก์ ารสือ่ สาร ผลัดท่ี ประจำ............................................... ๑. การเปลี่ยนแปลงของระเบียบการ ๒ .เร่ืองค้างอยู่ ไม่มี ดรู ายการร่าง ๓. กำลงั พล เพยี งพอ ไมเ่ พียงพอ (อธบิ าย) เติมต้องการ (อธบิ าย) ๔. เครอ่ื งมอื เรยี บร้อย ไมเ่ รียบรอ้ ย (อธบิ าย) ๕. ข่าวลา่ ชา้ ๖. ความขดั ขอ้ งของวงจรเกินธรรมดา หมายเหตุ (ข้อเสนอเหตุการณ์ท่ผี ิดปกตแิ ละความไมเ่ พยี งพอตา่ งๆ) ชื่อนายทหารเวร ลายเซ็น ตัวบรรจง
ศูนยก์ ารส่ือสาร.......................... บันทึกการปฏิบตั หิ น้าทีน่ ำสาร ทบ.๔๖๓ – ๐๓๘ ศนู ยข์ ่าว..................................... แผ่นที่......... ของ.......................................... เวลา ….….…/..…....…../…….…. ต้ังแต่ ถงึ วัน / เดือน / ปี ไปไหน ชนดิ ทขี่ อง ผู้ใหน้ ำสาร หมายเหตุ การนำสาร ศูนย์ขา่ ว
ทบ.๔๖๓ – ๐๐๔ หลกั ฐานการนำสาร แผ่นที่.......... ศูนยข์ ่าว / ศูนย์ ส................................................. ชื่อพลนำสาร........................................................ หมูว่ ัน/เวลาไป หมวู่ นั /เวลากลบั ………………………………… .............................................. หลกั ฐานขา่ ว นามผรู้ บั (ลงชอื่ ,นามสกลุ ) หมวู่ นั /เวลารบั ขา่ ว ทบ.๔๖๓ – ๐๐๔ หลกั ฐานการนำสาร แผ่นท่ี.......... ศูนย์ข่าว / ศูนย์ ส................................................. ชอ่ื พลนำสาร........................................................ หมู่วัน/เวลาไป หมู่วัน/เวลากลบั ………………………………… .............................................. หลกั ฐานขา่ ว นามผู้รบั (ลงชอ่ื ,นามสกลุ ) หมู่วัน/เวลารับขา่ ว ทบ.๔๖๓ – ๐๐๔ หลกั ฐานการนำสาร แผน่ ที่.......... ศนู ยข์ ่าว / ศนู ย์ ส................................................. ช่ือพลนำสาร........................................................ หมู่วัน/เวลาไป หม่วู ัน/เวลากลบั ………………………………… .............................................. หลักฐานขา่ ว นามผรู้ บั (ลงชื่อ,นามสกลุ ) หมูว่ ัน/เวลารับข่าว ทบ.๔๖๓ – ๐๐๔ หลักฐานการนำสาร แผ่นที่.......... ศูนยข์ า่ ว / ศูนย์ ส................................................. ชอ่ื พลนำสาร........................................................ หมู่วนั /เวลาไป หมู่วนั /เวลากลบั ………………………………… .............................................. หลกั ฐานข่าว นามผู้รบั (ลงชือ่ ,นามสกลุ ) หมวู่ นั /เวลารับข่าว
ส่งไปผรู้ บั เวลา ตั๋วรหัสสำหรบั ขา่ วรับ ทบ.๔๖๓ – ๐๓๒ จาก ขา่ วท่ี รับจากศนู ย์ข่าวเวลา ถึง ทข่ี องศูนย์ข่าว เวลาเกบ็ หลกั ฐาน จนท.รหสั เริ่มถอดรหสั ดม. ด. ดส. ลบั มาก ลับ นาม จนท.ถอดรหสั ลบั ทสี่ ุด เครือ่ งมือรบั ข่าว ดรรชนี หมคู่ ำ ป. ขา่ วประจำสถานีส่ง ข่าวประจำสถานีสง่ ส่งไปผรู้ บั เวลา หมายเหตุ จาก ถึง ตว๋ั รหัสสำหรบั ข่าวรบั ทบ.๔๖๓ – ๐๓๒ ที่ของศูนย์ข่าว ขา่ วที่ รับจากศูนย์ขา่ วเวลา ดส. เวลาเกบ็ หลักฐาน จนท.รหสั เริ่มถอดรหสั ลบั ทส่ี ดุ ดม. ด. ดรรชนี ลับมาก ลับ นาม จนท.ถอดรหสั เครอ่ื งมือรบั ข่าว ส่งไปผู้รบั เวลา หมคู่ ำ ป. ข่าวประจำสถานีสง่ จาก ข่าวประจำสถานสี ่ง ถงึ หมายเหตุ ทีข่ องศูนยข์ ่าว ตั๋วรหสั สำหรับขา่ วรับ ทบ.๔๖๓ – ๐๓๒ ดส. ข่าวที่ รบั จากศนู ย์ขา่ วเวลา ลบั ทส่ี ดุ ดรรชนี เวลาเกบ็ หลกั ฐาน จนท.รหสั เรมิ่ ถอดรหสั ดม. ด. สง่ ไปผู้รบั เวลา ลบั มาก ลับ นาม จนท.ถอดรหสั จาก เคร่ืองมือรบั ขา่ ว ถึง หมู่คำ ป. ข่าวประจำสถานสี ง่ ทีข่ องศนู ย์ข่าว ข่าวประจำสถานีสง่ หมายเหตุ ดส. ลับทส่ี ดุ ตั๋วรหัสสำหรบั ขา่ วรบั ทบ.๔๖๓ – ๐๓๒ ดรรชนี ขา่ วที่ รบั จากศูนยข์ า่ วเวลา เวลาเกบ็ หลักฐาน จนท.รหสั เรม่ิ ถอดรหสั ดม. ด. ลับมาก ลับ นาม จนท.ถอดรหสั เครื่องมอื รบั ขา่ ว หมู่คำ ป. ขา่ วประจำสถานสี ่ง ข่าวประจำสถานีส่ง หมายเหตุ
เวลารบั จากศูนย์ข่าว ตั๋วรหสั สำหรับขา่ วส่ง ทบ.๔๖๓ – ๐๓๓ ถงึ ขา่ วท่ี เวลาสง่ กลับไปศูนย์ขา่ ว จำนวนผ้รู บั ข่าว เวลาเกบ็ เขา้ แฟม้ ผูต้ รวจทาน ที่ของศูนย์ขา่ ว ดม. ด. เริม่ เข้ารหสั เวลา ลับมาก ลบั นามผเู้ ข้ารหสั ดส. ป. ผ้ตู รวจทานคร้งั สดุ ท้าย ลบั ทสี่ ุด หม่คู ำ เหตขุ องการลา่ ชา้ ดรรชนี หมายเหตุ เวลารบั จากศูนย์ขา่ ว ต๋ัวรหสั สำหรบั ขา่ วส่ง ทบ.๔๖๓ – ๐๓๓ ถงึ ข่าวที่ เวลาสง่ กลับไปศนู ย์ข่าว จำนวนผู้รบั ข่าว เวลาเกบ็ เข้าแฟม้ ผ้ตู รวจทาน ท่ีของศนู ยข์ า่ ว ดม. ด. เร่ิมเข้ารหัสเวลา ลับมาก ลับ นามผเู้ ข้ารหสั ดส. ป. ผตู้ รวจทานครั้งสุดทา้ ย ลับทสี่ ดุ หมู่คำ เหตขุ องการล่าชา้ ดรรชนี หมายเหตุ เวลารบั จากศูนย์ข่าว ตว๋ั รหัสสำหรบั ขา่ วส่ง ทบ.๔๖๓ – ๐๓๓ ถึง ข่าวที่ เวลาสง่ กลบั ไปศนู ยข์ ่าว จำนวนผ้รู บั ขา่ ว เวลาเกบ็ เข้าแฟม้ ผตู้ รวจทาน ที่ของศูนยข์ ่าว ดม. ด. เรมิ่ เขา้ รหสั เวลา ลบั มาก ลบั นามผู้เขา้ รหสั ดส. ป. ผตู้ รวจทานครง้ั สดุ ท้าย ลับทสี่ ดุ หมู่คำ เหตุของการลา่ ช้า ดรรชนี หมายเหตุ เวลารบั จากศูนย์ขา่ ว ตั๋วรหสั สำหรับขา่ วส่ง ทบ.๔๖๓ – ๐๓๓ ถงึ ข่าวที่ เวลาสง่ กลับไปศูนย์ข่าว จำนวนผู้รบั ข่าว เวลาเกบ็ เข้าแฟม้ ผตู้ รวจทาน ที่ของศนู ย์ข่าว ดม. ด. เร่ิมเข้ารหัสเวลา ลบั มาก ลบั นามผ้เู ข้ารหสั ดส. ป. ผู้ตรวจทานครงั้ สุดทา้ ย ลับทสี่ ดุ หมู่คำ เหตขุ องการลา่ ช้า ดรรชนี หมายเหตุ
กระดาษสำหรบั ใช้เขา้ และถอดรหสั ทบ.๔๖๓ – ๐๓๑
ผนวก ค แบบฟอร์ม ทบ.๔๖๓-๐๐๓-๐๓๗ (พนง. ตอนเคร่ืองมอื ) ทบ.๔๖๓ – ๐๐๓ บันทกึ การปฏบิ ตั งิ านของสถานวี ิทยุ นามสถานี............................................................................. ทตี่ ้งั สถานี เปิ ดสถานี ปิ ดสถานี หมู่ วนั เวลา หมู่ วนั เวลา หมู่ วนั เวลา แต่ ถึง ตารางเวลาปฏบิ ตั ิงานของพลวิทยุ นามพลวทิ ยุ นามพลวิทยุ หมู่ วนั เวลา แต่ ถึง ...................................................... หวั หนา้ พลวทิ ยุ (พมิ พต์ ามคาส่งั ทบ. ท่ี ๑๘๘/๙๕๐๖ เรื่องกาหนดอกั ษรยอ่ และหมายเลขแบบพิมพใ์ นสายงานของ กรมการทหารส่ือสาร ลง ๓๑ ต.ค. ๐๔)
ทบ.๔๖๓ – ๐๓๕ แผ่นที่..................หนา้ ..................... บันทกึ การรับส่งข่าวของพนกั งานวทิ ยุ นามสถานี....................................นามหน่วย....................................เดอื น..................ปี ................. นามสถานี นามขา่ ย นามสถานี นามข่าย ส่ง รบั ส่ง รบั ๑....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๒....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๓....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๔....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๕....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๖....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๗....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๘....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๙....................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๑๐..................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๑๑..................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๑๒.................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๑๓.................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๑๔.................................... ....................................... ....................................... ....................................... ๑๕.................................... ....................................... ....................................... ....................................... นามสถานี นามขา่ ย นามสถานี นามขา่ ย ๑....................................... ๑....................................... ๑....................................... ๑....................................... ๒...................................... ๒...................................... ๒....................................... ๒....................................... ๓....................................... ๓....................................... ๓....................................... ๓....................................... ๔....................................... ๔....................................... ๔....................................... ๔....................................... ๕....................................... ๕....................................... ๕....................................... ๕....................................... ๖....................................... ๖....................................... ๖....................................... ๖....................................... ๗....................................... ๗...................................... ๗....................................... ๗....................................... ๘....................................... ๘....................................... ๘....................................... ๘....................................... ๙....................................... ๙....................................... ๙....................................... ๙.......................................
ทบ.๔๖๓ – ๐๓๖ บันทกึ การเรียกขานของสถานวี ิทยุ หน่วย..................................... วนั ท.่ี ......... เดอื น........... ........ พ.ศ. ............... สถานี.................................... ความถ.ี่ ......................................................... เวลา สถานี ขาน ขอ้ ความ เรียก (พมิ พต์ ามคาส่ัง ทบ. ที่ ๑๘๘/๙๕๐๖ เร่ืองกาหนดอกั ษรย่อและหมายเลขแบบพิมพใ์ นสายงานของ กรมการทหารสื่อสาร ลง ๓๑ ต.ค. ๐๔)
ทบ.๔๖๓ – ๐๓๗ แผ่นท.่ี .................หนา้ ..................... บนั ทกึ ของพนกั งานวทิ ยุ นามสถานี....................................นามหน่วย...........................................วนั ท่ี .......เดอื น..................ปี ................. วนั / เวลา ลงช่ีอพนกั งานวิทยุ หมายเหตุ (พิมพต์ ามคาส่ัง ทบ. ท่ี ๑๘๘/๙๕๐๖ เร่ืองกาหนดอกั ษรยอ่ และหมายเลขแบบพมิ พใ์ นสายงานของ กรมการทหารสื่อสาร ลง ๓๑ ต.ค. ๐๔)
องคแ์ ทนการสื่อสาร แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส. พ.ศ.๒๕๖๕
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150