หนา้ ที่ 8-2 2.2.4 สิ่งอปุ กรณ์หรือวสั ดุทมี่ ีอยแู่ ละการจัดหาสง่ิ อปุ กรณห์ รอื วสั ดุที่จำเปน็ สำหรบั การปฏิบัตงิ าน เช่น แบบพิมพ์ ดินสอ กระดาษ นาฬิกา เปน็ ตน้ 2.2.5 การจัดบรกิ ารนำสาร 2.2.6 ที่ต้ังขององคแ์ ทนการสือ่ สาร (ศูนย์การสื่อสาร ศนู ย์ขา่ ว) 2.2.7 ทีต่ ้ังของตอนศูนยข์ ่าวของศนู ยก์ ารส่ือสาร 2.2.8 ความตอ้ งการเกยี่ วกบั การรักษาความปลอดภยั ทางการสื่อสาร 2.3 หลกั ในการเลอื กที่ตั้ง บก. เพ่ือใหเ้ หมาะแกก่ ารสอ่ื สาร 2.3.1 หลักท่วั ไป - ระยะทางและภมู ิประเทศเหมาะแก่การนำสารและทางสาย - ที่ตงั้ เหมาะแก่การจดั สรา้ งจำนวนทางสายได้ในทันที - ที่ตั้งนั้นลดข้อขดั ขอ้ งต่างๆ ทง้ั ทางธรรมชาติ และทที่ ำข้ึนซงึ่ จะมีตอ่ การใชว้ ทิ ยุ - ภมู ปิ ระเทศเหมาะในการใชบ้ รกิ ารนำสารทางอากาศ และการใช้แผ่นผา้ สญั ญาณ - ระยะสายตาไปยงั ที่ตง้ั ตา่ งๆ เพ่ือทัศนสญั ญาณและวิทยุกระทำไดเ้ พียงใด - ถนนตา่ งๆ เท่าทมี่ อี ยู่หรอื สามารถจดั สรา้ งขนึ้ ไดเ้ พอ่ื การนำสารกระทำไดเ้ พยี งใด 2.3.2 ทต่ี ั้งศูนย์การสอื่ สารจะตอ้ งมพี ้ืนทก่ี วา้ งขวางพอเพยี ง ปกปิด มคี วามปลอดภัย สามารถสร้างที่ กำบงั และการซอ่ นพรางได้ 2.3.3 ท่ตี ัง้ ของศูนยก์ ารส่ือสารในพนื้ ที่ของ บก. นน้ั ธรรมดาแล้วต้องการใหส้ ามารถรวมตอนต่างๆ เขา้ ไวใ้ กลๆ้ กนั แตบ่ างครงั้ ก็ไมอ่ าจทำได้ 2.4 การพจิ ารณาเลือกทตี่ ง้ั ศูนยก์ ารสือ่ สารใน บก. 2.4.1 ตอนศูนยข์ ่าวควรอยใู่ กลท้ างเข้า บก. มากทสี่ ดุ เพื่อความสะดวกแกเ่ จา้ หน้าทนี่ ำสารและ ฝอ. 2.4.2 ตอนอักษรลับหรือศนู ย์การอักษรลับ ต้องมีความปลอดภัยและอยู่ใกล้ตอนศูนย์ข่าวให้มาก ทีส่ ดุ เทา่ ท่จี ะกระทำได้ 2.4.3 ลักษณะทว่ั ๆ ไป นอกจากลักษณะพงึ ประสงค์ดังกลา่ วแล้ว ท่ีตงั้ ของศนู ย์การส่ือสาร จะตอ้ งมี ลกั ษณะดงั น้ี - มีการซ่อนพรางจากข้าศกึ - ปอ้ งกันดนิ ฟ้าอากาศได้ - พรางแสงได้ดใี นเวลากลางคนื - กันไอพิษได้หรอื เป็นพน้ื ทล่ี ดอนั ตรายจากไอพิษ - เงียบ องคแ์ ทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 8-3 3. การวางแผนจัดภายในศนู ยก์ ารสอื่ สาร 3.1 กล่าวนำ ปัจจุบันเครื่องมือสื่อสารได้พัฒนาการขึ้นอย่างรวดเร็วมาก ทั้งด้านบริการท่ีมากหมาย หลายรูปแบบ และด้านประสทิ ธภิ าพอย่างสงู ข้อขัดขอ้ งตา่ งๆ ภายในศูนย์การส่อื สาร หากได้มีการวางแผน อย่างดีแล้ว มักไม่ได้เกิดจากเครื่องสื่อสารที่ไมม่ ีประสิทธิภาพ แต่จะเกิดจากประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่ ประจำเคร่ืองส่ือสาร ทีไ่ มเ่ ข้าใจหรอื ใชไ้ มถ่ กู ต้อง อย่างไรกด็ กี ารดำเนินงานในศูนยก์ ารส่ือสาร จะราบรื่นมี ประสิทธิภาพสงู ย่อมข้นึ อย่กู บั การวางแผน และการจดั การดำเนินงานภายในศูนย์การสื่อสารอยา่ งเหมาะสม 3.2 การวางแผนในระยะแรก การจัดศูนย์การสื่อสารทางยุทธวิธีไม่มีการจัดที่ตายตัว แต่มีหลักอยู่ว่าจะต้องจดั ให้อ่อนตัว เพ่ือ สนองความต้องการของ บก. ท่ีศูนย์การสื่อสาร นั้นประจำอยู่ ควรระลึกเสมอว่า ในทางปฏิบตั ินั้นศูนย์การ สื่อสารขนาดใหญ่ๆ การจัดจะมีลักษณะที่แตกตา่ งกนั ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ภารกิจของ บก. นั้น ทีต่ ้งั ทางภูมศิ าสตรแ์ ละขนาดของ บก. เป็นต้น ในการวางแผนจดั ตอนต่างๆ ภายในศูนย์การสื่อสาร ไมอ่ าจจะกำหนดแผนผงั ให้ตายตวั ได้ วา่ จะใหต้ อนใดอยู่ตรงไหน หัวข้อตอ่ ไปน้ีจะชว่ ยในการพจิ ารณาเทา่ นั้น การปฏิบัติจริงจะต้องประมาณการโดยจดั ให้เหมาะสม กับสถานการณข์ องศูนย์ในขณะนน้ั ดังนี้ 3.2.1 ภารกิจของหน่วยทีป่ ระจำอยู่ เช่น เปน็ หน่วยทางยทุ ธวิธีหรอื ยทุ ธศาสตร์ หน่วยทางยุทธวิธี จะเป็นสถานีปลายทางมากกว่าสถานีถ่ายทอด เปน็ ต้น 3.2.2 แบบในการจัดตงั้ - ในการจัดตั้งข้ึนใหม่ ซง่ึ มิได้แทนศนู ยเ์ กา่ ในสภาพเช่นน้ี อุปกรณ์ต่างๆ จะต้องนำเข้าไป ในพน้ื ที่นัน้ ทง้ั หมด รวมทง้ั จะต้องมแี ผนภายในและแผนภายนอก วัสดุกอ่ สรา้ งและใชเ้ วลามาก - การจัดตั้งใหม่แทนศูนย์เก่า ที่ตั้งอยู่ในสภาพเช่นน้ี เพียงแต่โยกย้ายอุปกรณ์ต่างๆ จาก พืน้ ท่ไี ปยังอกี พ้ืนทห่ี น่งึ เท่านน้ั โดยไม่ทำให้การสอ่ื สารชะงัก - การเปลี่ยนแปลงหรือขยายศูนย์เดิม ลักษณะนี้อาจจะต้องเพิ่ม ลดหรือเปลี่ยนแปลง เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้อยแู่ ลว้ 3.2.3 ทีต่ ง้ั ของ บก. (เป็นภารกิจของหนว่ ยทีป่ ระจำอยู่ แต่ ฝา่ ยอำนวยการทางการสื่อสาร มีสว่ นใน การเสนอแนะดว้ ย) 3.3 การติดตัง้ เคร่อื งมอื และสถานท่ีปฏบิ ตั ิงาน มีหลกั ในการปฏิบตั ิดังนี้ 3.3.1 การติดตั้งเครื่องมือและสถานที่ปฏิบัติงานนั้น เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ศูนย์การสื่อสารมี ประสิทธภิ าพสูงในการทำงาน 3.3.2 การจัดศนู ยก์ ารสือ่ สารจะต้องยึดหลักดงั น้ี - การเดินของข่าวจะต้องสัมพันธ์กันและไม่ชะงัก - มีการเคล่อื นท่ีนอ้ ยทสี่ ุด - ต้องมีพืน้ ที่ช่องทางระหว่างอปุ กรณ์ตา่ งๆ ตามความจำเป็นในการเคลือ่ นที่ - เครอ่ื งมอื ต้องวางห่างจากผนังพอสมควร เพือ่ สะดวกแกก่ ารปรนนิบตั ิบำรุง องคแ์ ทนการสอื่ สาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 8-4 - ตอนซอ่ มบำรงุ ควรอยใู่ กล้เครอ่ื งมอื ท่ีจะตอ้ งทำการซ่อมบำรง - จะตอ้ งเผอ่ื การขยายตัวในอนาคตด้วย - ให้คำนงึ ถงึ การตดิ ตอ่ กันระหว่างตอนตา่ งๆ ดว้ ย 3.3.3 ในการทจ่ี ะวางแผนได้ถกู ต้องนน้ั จะต้องระลกึ ถึง - หนา้ ทจ่ี ะตอ้ งทำ - เครอื่ งมือท่ีตอ้ งใช้ - การวางเครื่องมือและตำแหน่งงานต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ งด้วยมีสิง่ สำคัญที่ควรระลึก อยู่ 2 ประการคือ ต้องไม่ใหข้ ่าวสะดุด และใหม้ กี ารเคลอื่ นย้ายนอ้ ยที่สุด 3.4 ความสัมพันธร์ ะหว่างตอนต่างๆ นอกจากนจี้ ะตอ้ งวางเคร่ืองมอื ไว้ในแตล่ ะตอนอยา่ งเหมาะสมแล้ว ทีต่ ั้งของตอนตา่ งๆ จะตอ้ งมี ความสมั พนั ธก์ นั อยา่ งดีด้วย ซึง่ จะเพม่ิ ประสิทธภิ าพสูงในการปฏบิ ตั งิ านของศนู ยก์ ารส่ือสาร ตอนต่างๆ นั้นควรจะรวมไว้ในห้องเดียวกันหรือบริเวณเดียวกัน ได้แก่ ตอนศูนย์ข่าว ตอนนำสารและเครอ่ื งมือบางอย่างดว้ ย 3.5 การพจิ ารณาวางแผนจดั ตั้งแต่ละตอน 3.5.1 ตอนธุรการ ควรจะอยู่ - ใกล้ทางเข้าเพ่อื สะดวกแกฝ่ ่ายอำนวยการ และผู้มาเยี่ยมจะเขา้ ถึงไดง้ า่ ย - เรยี บร้อยโอ่โถงนา่ ดู - หา่ งจากเครื่องมือทีม่ ีเสยี งดงั และการพลกุ พล่าน - มพี นื้ ทีใ่ หญ่พอทีจ่ ะบรรจุ เจ้าหนา้ ทแี่ ละเอกสารทตี่ อ้ งเก็บรกั ษา 3.5.2 ตอนศนู ยข์ ่าว ควรจะ - เหน็ ไดง้ า่ ยทส่ี ดุ - ต้ังอยใู่ นท่ีๆ ข่าวจะตอ้ งผา่ นทงั้ หมด - ใหเ้ จา้ หน้าที่ศนู ยร์ บั -ส่ง เจ้าหน้าท่นี ำสารภายใน และเจ้าหนา้ ทน่ี ำสารพเิ ศษเข้าถึงได้ สะดวก - มรี ะยะหา่ งกันพอเหมาะสำหรบั การทำงานไดส้ ะดวก การเดินของข่าวจะเป็นตัวบงั คบั การจัดภายในตอนต่างๆ ตอนปฏบิ ัติและเกบ็ หลกั ฐานควรใกลก้ ันและไกลจากเครือ่ งมอื และเจ้าหน้าทอี่ นื่ ๆ 3.5.3 ตอนนำสาร ควรจะ - เปน็ สว่ นหนึง่ ของตอนศูนย์ข่าวหรอื แยกอยูต่ ่างหากเป็นบรกิ ารนำสาร - ไม่จำเป็นต้องอยู่ในทางเดนิ ของข่าว เพราะตามปกติไม่ได้รวมอยู่กับเครื่องสื่อสารทาง ไฟฟ้า - ใกลก้ บั ท่พี ักเจา้ หน้าทน่ี ำสาร ใหเ้ จา้ หน้าทีน่ ำสารมที างเขา้ ทางขา้ งหรือทางหลังของ บก. ไมค่ วรเขา้ ทางดา้ นหนา้ หรอื ทางเขา้ ใหญใ่ ห้เป็นการเกะกะ องคแ์ ทนการสื่อสาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 8-5 - มพี นื้ ท่ีใหญ่พอท่ีจะมที เ่ี กบ็ ขา่ วและกระเปา๋ สำหรับเตรยี มบรรจุข่าวทจ่ี ะนำสาร - มีท่จี อดรถสำหรบั การนำสารไดส้ ะดวกและใกล้ 3.5.4 ตอนเครอื่ งมือ - อยู่ในทางทจี่ ะผา่ น - มีท่ีวา่ งระหวา่ งเครอื่ งมือพอสำหรับการปรนนบิ ตั บิ ำรงุ และการซอ่ มบำรุง - ถา้ ทำได้ใหเ้ ครอื่ งมือแตล่ ะอย่างมรี ะยะหา่ งกันพอควร - มีที่สำหรับพนักงานใช้เครอื่ งควบคมุ ระยะไกล ปฏบิ ัตงิ านและเงยี บไม่มเี สยี งรบกวน 3.5.5 ตอนอักษรลับ/ศูนย์การอกั ษรลับ - ตอ้ งมีความปลอดภยั มากท่สี ดุ และต้องมีทางเขา้ ทางเดียวเท่านั้น - มกี ารตดิ ต่อกบั เจ้าหน้าทีน่ ำสาร และเจา้ หนา้ ท่ีศูนยข์ ่าวไดเ้ ม่อื ตอ้ งการ - มที ว่ี า่ งพอจะปฏิบตั งิ านและเก็บเคร่ืองมือ - ควรระลึกถึงการดำเนนิ งานตอ่ ขา่ วมากกวา่ อย่างอน่ื อาจอยู่ที่ใดก็ได้คอื ทำงานต่างหาก ไมข่ นึ้ กับตอนศนู ยข์ า่ วหรอื ทำงานขน้ึ กบั ศนู ยข์ า่ วโดยตรง - ต้องมคี วามปลอดภยั ในการเก็บรักษา มีการทำงานอยา่ งพอเพยี งเมอื่ จำเปน็ 3.5.6 ตอนซ่อมบำรุง - อยู่ใกลเ้ ครือ่ งมอื ทีจ่ ะทำการซ่อมบำรงุ - มพี ื้นทีก่ วา้ งพอทจ่ี ะเก็บอุปกรณ์และปฏิบตั ิงานซ่อมได้ 3.6 การวางแผนจัดสำนกั งาน 3.6.1 ต้องนกึ ถงึ การเดินของขา่ วเขา้ และข่าวออก จะตอ้ งไม่ใหส้ ะดุดและเปน็ ทางตรงท่ีสดุ 3.6.2 ตอ้ งมีการเคล่ือนท่ีนอ้ ยท่สี ดุ ไม่มที างตัดกัน 3.6.3 ตอ้ งจัดใหค้ นและเคร่อื งทำงานไดม้ ากทส่ี ุด 3.6.4 สามารถขยายตวั ได้ 3.6.5 ผู้กำกับดูแลจะตอ้ งอยใู่ กล้กบั หนว่ ยท่ตี นจะควบคุม 3.6.6 เอกสารลบั และท่ีไม่ใชง้ าน ตอ้ งแยกไวต้ ่างหากจากทีใ่ ช้งาน 3.6.7 ใหผ้ ทู้ ที่ ำงานใช้สมอง พ้นจากการรบกวนดว้ ยเสียงดงั ตา่ งๆ 3.7 อาคาร 3.7.1 อาคารที่มีอยู่แล้วควรจะเป็นคอนกรีต หิน อิฐ พื้นจะต้องแข็งแรงพอจะรับน้ำหนักได้ 100 ปอนด์/ตารางฟตุ 3.7.2 กระโจม ควรจะใช้ในกรณีเร่งด่วนที่สุดเท่านั้น ในที่มีการจราจรคับคั่งมากๆ การใช้กระโจม นบั วา่ ไม่เหมาะอย่างมาก เนอื่ งจากปญั หาต่างๆ คือ ฝุ่น ความชืน้ ความรอ้ น การระบายอากาศ และปัญหา เกย่ี วกับผนังกั้น 3.7.3 การสขุ าภบิ าลและที่พกั ผอ่ น ไมค่ วรจะใหร้ วมอยใู่ นศนู ยก์ ารสื่อสารแตค่ วรจะอยูใ่ กลๆ้ สิ่งของ บางอยา่ งทต่ี ้องการใชบ้ อ่ ยๆ และเป็นจำนวนเล็กนอ้ ย จะตอ้ งใหอ้ ยูใ่ กล้กบั ศูนยก์ ารสือ่ สาร องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 8-6 4. การเคลอื่ นยา้ ยศนู ย์การสอ่ื สาร ศนู ยก์ ารส่อื สารทางยุทธวธิ ี ตอ้ งมคี วามคล่องตวั สูง สามารถเปล่ียนทต่ี ง้ั ไดร้ วดเร็วถ้าเป็นศูนย์การ สื่อสารเคลื่อนที่หรือศูนย์การสื่อสารประจำขบวนเดิน จะต้องให้สามารถปฏิบัติงานขณะเคลื่อนที่ได้ด้วย ภายในศูนย์การสือ่ สาร เคลือ่ นท่ีต้องประกอบด้วยรถพ่วง และรถติดต้ังเคร่ืองมือสือ่ สารสำหรับการสื่อสาร ทางยุทธวิธีอย่างพอเพียง ความสามารถในการเคลื่อนที่หรือความคล่องตัวของศูนย์การสื่อสาร อยู่ที่ ความสามารถของยานพาหนะ และเครอ่ื งมือทใี่ ช้ ศนู ย์การส่อื สารทางยทุ ธวิธี ตอ้ งมีความออ่ นตวั โดยสามารถแยกตวั ออกเปน็ สว่ นย่อยๆ ได้สะดวก เพื่อไปประจำ บก. ต่างๆ ทแ่ี ยกตัวออกไป เช่น ทก.หลัก, ทก.หลงั , ทก.ยทุ ธวิธี เป็นต้น 5. การวางแผนการย้ายทีต่ ั้ง เมื่อได้รับคำสั่งให้ย้ายที่ตั้งศูนย์การสื่อสาร พึงระลึกเสมอว่า จะต้องให้ศูนย์การสื่อสาร สามารถ ปฏิบตั ิงานไดต้ ่อเน่ืองกัน แต่ละสว่ นจะตอ้ งมีเจา้ หน้าทีท่ ส่ี ามารถปฏิบตั งิ านและเครอ่ื งมือส่อื สารเพียงพอแก่ การใช้งาน โดยจะต้องระลึกถึงปัจจัยสำคัญ 2 ประการเสมอคือ เวลาที่ต้องใช้ในการตดิ ต้ังและรักษาความ ปลอดภยั 6. วงจรการสือ่ สารและเครือ่ งมอื ส่ือสารทจ่ี ะใช้รบั -ส่งข่าว กุญแจสำคัญในการคำนวณ หรือประมาณความต้องการวงจรสื่อสาร และเครื่องมือสื่อสาร คือ จำนวนขา่ ว (TRAFFIC LOAD) ของแต่ละหนว่ ย จำนวนข่าวจะได้จากประสบการณ์ การประมาณการณ์ โดยอาศัยมูลฐานจากภารกิจตลอดจน ความคิดและวธิ กี ารดำเนินการยุทธของหนว่ ยน้นั ๆ วงจรและเครื่องมอื สอื่ สารท่ีใช้รับ-ส่งข่าวท่ีต้องพิจารณาคือ 6.1 จำนวนวงจร/ช่องการสอื่ สาร 6.2 เครื่องให้กำลงั งานไฟฟ้า 6.3 เครอื่ งโทรพมิ พ์ 6.4 รายการสอ่ื สารต่างๆ เช่น ข่ายถ่ายทอดดว้ ยกระดาษแถบ ขา่ ยการอกั ษรแบบอัตโนมัติ ข่ายโทรพมิ พ์ด้วยมือ ขา่ ยวิทยโุ ทรเลข ท่จี ัดข้ึนด้วยความมุ่งหมายเฉพาะ ฯลฯ (** จะใช้คำอยา่ งไร) 7. กำลงั พล มีกำลงั พอเพยี ง มสี มรรถภาพสูง มมี าตรฐานการปฏิบตั งิ านเทา่ เทยี มกัน และสามารถทดแทนกนั ได้ การทำได้ 2 โอกาส คือ องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 8-7 7.1 สำหรับผู้บรรจุใหม่ ใช้วิธีฝึกอบรมหรือฝึกปฏิบัติงานทั่วไป ให้รู้หน้าที่ต่างๆ ภายในศูนย์การ สื่อสาร ทง้ั การสอนและการปฏิบตั จิ ริง มกี ารกำกบั ดแู ลพรอ้ มกบั การบันทึกขอ้ ความเหมาะสม ของผู้เข้ารับ การฝกึ ในแตล่ ะหนา้ ท่ี เรื่องที่จะฝึก/ไดแ้ ก่ - ความรทู้ ่วั ไปเก่ียวกับศนู ยส์ ัญญาณ ศนู ยก์ ารสือ่ สาร ศูนย์ขา่ ว การจดั การวางรูปงาน ภารกิจ การปฏบิ ตั แิ ละความสำคัญของศูนย์ - ระเบยี บปฏบิ ัตขิ องศนู ย์ - เครือ่ งมอื ส่อื สาร วงจรและข่ายการส่อื สาร 7.2 สำหรบั ผู้ที่บรรจหุ น้าทไ่ี ว้แลว้ ใช้ฝึกงานเฉพาะหนา้ ท่ีภายในศูนย์ 8. การแบง่ ผลัดทำงาน ศูนย์การสื่อสาร จำเป็นต้องปฏิบัติงานตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่มีวันหยดุ จึงจำเป็นต้องมีการแบ่ง ผลัดทำงาน เพ่อื ให้ จนท. ไดม้ ีการพกั ผอ่ นบ้าง การแบง่ ผลดั ทำงานมอี ยู่ 5 ระบบ ซงึ่ การเลือกระบบการทำงานต้องอาศัยขอ้ มูล 3 อย่างคอื จำนวน จนท. ได้รับการบรรจุมอบทั้งหมด ประสบการณ์และความชำนาญ จนท. เหลา่ น้ัน และประการสุดทา้ ยคอื จำนวนข่าวท่ีตอ้ งเก่ียวขอ้ ง การแบ่งผลัด 5 ระบบ ไดแ้ ก่ 8.1 ระบบเสริมผลัด (OVEALAPING – SHIFT SYSTEM) ระบบนี้ทำโดยจัดผลัดสมทบช่วยผลัด ทำงานประจำในระยะเวลาที่มีข่าวมาก ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งที่มีข่าวมาเป็นประจำ ผลัดสมทบจะไม่มี นายทหารเวรของตนมาด้วย แต่เจ้าหน้าทีใ่ นผลัดจะรายงานตัวต่อนายทหารเวรของผลัดประจำผลัดสมทบ มกั จัดจากผู้มีประสบการณ์ และมีความชำนาญมากๆ ซึ่งจะเข้าชว่ ยในวงจรทย่ี ุ่งท่ีสดุ เช่น ผลดั ปกติ ทำงาน ตั้งแต่ 0800-1600 , 1600 – 2400 , 2400 – 0800 ปรากฏว่ามีข่าวล้นมืออยู่เป็นประจำระหว่าง 1200 – 1400 ผลดั สมทบจะเข้าช่วยในระยะเวลาที่มีข่าวลน้ มือ คือ 1200 – 1400 8.2 ระบบผลัดคงที่ (SPLIT – SHIFT SYSTEM) ใชเ้ มอื่ งานของศนู ยก์ ารส่อื สาร มีคงทแ่ี ละ จนท.จำกดั อยา่ งไรก็ดี ควรนกึ ถึงการเปล่ียนผลัดกบั ชว่ งทมี่ ขี า่ วมากไวด้ ้วยการแบง่ ผลัดตามระบบน้ีไดด้ ังน้ี วันแรก ผลัดท่ี 1 ทำงานระหวา่ ง 0730 – 1230 และ 1800 – 2400 ผลัดที่ 2 ทำงานระหวา่ ง 1230 – 1800 ผลดั ที่ 3 ทำงานระหวา่ ง 2400 – 0730 วนั ทส่ี อง ผลัดที่ 2 ทำงานระหวา่ ง 0730 – 1230 และ 1800 – 2400 ผลัดท่ี 3 ทำงานระหวา่ ง 1230 – 1800 ผลัดที่ 1 ทำงานระหวา่ ง 2400 – 0730 วนั ที่สาม ผลัดที่ 3 ทำงานระหวา่ ง 0730 – 1230 และ 1800 – 2400 ผลดั ท่ี 1 ทำงานระหวา่ ง 1230 – 1800 ผลัดที่ 2 ทำงานระหวา่ ง 2400 – 0730 องค์แทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 8-8 8.3 ระบบ 4 ผลดั (4 SHIF SYSTEM) ระบบน้ีใช้เม่อื มี จนท. มากจรงิ ๆ โดยแบง่ จนท. ทง้ั ส้ินออกเป็น 4 ผลดั แตใ่ นรอบ 24 ชม. ควรทำเพียง 3 ผลดั อกี ผลดั หน่ึงเปน็ ผลดั พักหรือใหท้ ำงานอ่นื เชน่ อยเู่ วรยาม การประกอบเลีย้ ง 8.4 ระบบวางนำ้ หนักผลดั 3 ผลัด (THREE WEIGHTED – SHIFT SYSTEM) ระบบนี้ทำโดยการจัด ผลดั ประจำไว้เปน็ ผลดั 3 ผลัด เช่น ผลดั ท่ี 1 ทำงานตั้งแต่ 0800 – 1600 ผลดั ที่ 2 ตง้ั แต่ 1600 – 2400 ผลดั ท่ี 3 ต้ังแต่ 2400 – 0800 แต่ละผลัดทำงานตามเวลานที้ ุกวนั ในโอกาสเดยี วกนั กม็ ี จนท. สำรองไว้ สำหรับทดแทนในผลดั ตา่ งๆ ที่ไมส่ ามารถทำงานได้ เช่น ปว่ ย ลา เป็นต้น ระบบนแ้ี ตล่ ะผลัดจะมคี วาม ชำนาญในการแกป้ ญั หาทเี่ กิดข้ึนในห้วงเวลาของตน 8.5 ระบบหลายผลดั (MULTI – SHIFT OPERATION) การจัดผลดั แบบนใ้ี ชใ้ นกรณีทมี่ เี จา้ หนา้ ทม่ี าก เพยี งพอ ที่จะปฏิบัติตอ่ ข่าวตลอดเวลา ชว่ งใดทขี่ ่าวน้อยอาจจัดเจ้าหนา้ ทใี่ หน้ ้อยลงเพื่อออมกำลงั คนไว้ การจัดผลัดตอ้ งคำนงึ ถึงการรบั ประทานอาหาร การพักผอ่ นและการเปลยี่ นผลดั ตอ้ งหลกี เลีย่ งระหวา่ งท่ี มีข่าวสูงมากท่สี ุดด้วย 9. การหมนุ เวียนหน้าที่ตา่ งๆ การหมนุ เวยี นเจ้าหน้าทปี่ ฏิบตั ิงานในหน้าที่ต่างๆ มกั กระทำเดอื นละครงั้ หรือสองครั้งถา้ มกี ารหมุนเวียน หนา้ ที่กนั บ่อยนกั จะปรับตวั ไมท่ ัน ทำให้ไมม่ คี วามชำนาญงานมากพอ 10. ประสทิ ธิภาพของศนู ยก์ ารสือ่ สาร ศนู ย์การส่อื สาร จะมปี ระสทิ ธภิ าพในการบริการการสอื่ สารแกห่ นว่ ยทป่ี ระจำอยเู่ พยี งใดย่อมขึน้ อยกู่ ับ การจดั งาน ซง่ึ ประกอบดว้ ย การประสานงาน การควบคุมและการกำกบั ดแู ล ทง้ั การจัดเก่ียวกับกำลงั พลและ การปฏบิ ัติตอ่ ขา่ ว ตอนตรวจผลและวิธกี าร (METHOD & RESULT BEC) มบี ทบาทสำคัญในการจะทำให้ การดำเนนิ งาน เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพดี ตอนนร้ี ับผดิ ชอบในการบันทกึ เร่ืองต่างๆ เกยี่ วกับสถติ แิ ละวเิ คราะหเ์ ร่อื งต่างๆ เชน่ การเลอื กวธิ ีส่งข่าว , ระเบียบและวิธปี ฏิบตั ิต่อข่าว รวมทง้ั การติดตามข่าวการเฝา้ ฟงั การรับ-สง่ ขา่ ว เพ่อื ปอ้ งกันการฝา่ ฝืนควรให้มีการฝกึ เมอื่ ต้องการ 11. การฝึก การฝึกจะต้องทำเสมอ แม้ขณะศูนย์การสื่อสารปฏิบัติงานอยู่ ศูนย์การสื่อสารจะต้องการ การฝกึ เม่อื 11.1 ฝึกตามระเบียบปฏบิ ตั ปิ ระจำของศนู ย์ เพอ่ื ใหม้ คี วามคนุ้ เคยกับการปฏบิ ัตงิ านภายในสถานี 11.2 มีสง่ิ พมิ พ์ใหมๆ่ เกี่ยวกบั การส่อื สาร ต้องแจง้ ใหท้ ราบและฝกึ ใช้เสยี ก่อนทจี่ ะถึงกำหนดปฏบิ ตั จิ รงิ 11.3 มอี ปุ กรณใ์ หม่ๆ ตอ้ งให้เจ้าหนา้ ทม่ี คี วามเขา้ ใจอย่างดกี อ่ นทจ่ี ะใช้งาน 11.4 การฝกึ เจา้ หน้าทช่ี ำนาญงานเฉพาะหนา้ ทส่ี ำหรบั เจา้ หนา้ ที่บรรจใุ หม่ องคแ์ ทนการส่อื สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 8-9 11.5 เจา้ หน้าทบี่ รรจใุ หมจ่ ะต้องทำการฝกึ ในขณะทำงาน (ON THE JOB TRAINNING) กอ่ นจะให้ รับผิดชอบงาน เพอ่ื ปฏิบตั หิ น้าท่ีจริง 11.6 จะตอ้ งมกี ารฝกึ ทบทวน เม่ือได้พจิ ารณาเห็นว่าสมควรจะทำ (จากการวเิ คราะหง์ าน) 11.7 เน่ืองจากการปฏบิ ตั ขิ องศูนยก์ ารสอื่ สารนน้ั เก่ยี วขอ้ งกนั มา แต่ละคนจะตอ้ งฝกึ ให้ชำนาญในงาน ของคนอ่ืนให้มากทส่ี ดุ ควรจะมปี ระวัตวิ ่า ผูใ้ ดมีความชำนาญในหนา้ ที่ใดบา้ ง 11.8 ตอ้ งใหม้ กี ารฝกึ อยา่ งเหมาะสมสำหรบั เจา้ หนา้ ทท่ี ่ีกำกบั ดูแล 12 ความรบั ผดิ ชอบต่องานในหน้าที่ นอกจากการฝึกให้เจ้าหน้าที่แต่ละคนมีความชำนาญการเป็นอย่างดีแล้ว ความสำนึกต่อความ รบั ผดิ ชอบในหนา้ ทีน่ ับเป็นสิ่งท่ีสำคญั ท่ีจะทำให้ศูนยก์ ารสอ่ื สาร ดำเนินงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ในศูนย์ การส่อื สาร ความผิดพลาดต่างๆ จะตอ้ งมีขึน้ นอ้ ยทส่ี ุด เพ่ือให้เกิดความถกู ต้องและรวดเร็ว ดงั นั้นปัจจยั เรือ่ ง การจดั งานบคุ คลจงึ เปน็ ปญั หาสำคัญทส่ี ุด ศนู ย์การส่ือสาร ที่มีขา่ วมากๆ การทำงานจะเกิดประสทิ ธภิ าพก็ตอ่ เมอ่ื เจา้ หน้าที่ปฏบิ ตั ิงาน บังเกดิ ความสำนึกถงึ ความจำเปน็ ท่ีตนต้องรับผดิ ชอบตอ่ ขา่ ว ด้วยความสนใจต่องานที่ปฏิบัติ อยู่กับงานโดยไม่ละ ท้งิ ตลอดเวลาที่ยังมีข่าวอยู่ เพื่อให้บังเกดิ ผลดดี งั กล่าวจะตอ้ งมีการปฏบิ ัตดิ ังตอ่ ไปนีป้ ระกอบกันคือ 12.1 ตอ้ งมีการกำกับดูแลท่ดี ี เพือ่ การแกป้ ญั หาทนั ท่วงท่ี 12.2 ต้องมกี ารบรรจุกำลงั พลท่ีเหมาะสม เช่น คนที่ขาดเชาว์ไหวพริบจะต้องจัดให้อยู่ใน จุดท่ีไมเ่ กิดวกิ ฤตได้ง่าย เป็นตน้ 12.3 ให้มีการพักผ่อน การหยุดพักผ่อนประจำช่วงเวลา และการหยุดพักรับประทาน อาหาร 12.4 ให้มีการแข่งขัน โดยมีสถิติข่าวแต่ละผลัด, ความถูกต้อง, ล่าช้า, ความเร็วในการ ปฏิบัตงิ าน, ความผดิ พลาดและฝา่ ฝืนระเบยี บของแตล่ ะผลัด 12.5 ต้องพจิ ารณาถงึ เวลาทม่ี ขี า่ วสูงสุด (TRAFFIC PEAKING) หากมี ควรหาทางขจดั ช่วง เกิดข่าวสูงสุด ให้เกิดความราบเรียบสม่ำเสมอเช่น ฝอ. มักกักข่าวไว้จนใกล้เวลา ปฏิบัติเป็นตน้ 12.6 มกี ารจดั ผลัดทำงานเหมาะสม (SHIFT PLANNING) 12.7 มกี ารกำหนดหนา้ ทท่ี ี่ออ่ นตวั ได้ เพราะเหตวุ า่ ในการปฏิบตั ิงานของศนู ย์การสื่อสาร ต้องปฏบิ ตั ิงานตลอด 24 ชม. กำลังพลอาจจำกดั การมอบหมายหนา้ ทจี่ ะกำหนด คงที่ตายตัวไม่ได้ เนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น ความจำเป็นทางธุรการ เจ็บป่วย การจำหน่ายต่างๆ การพกั ผ่อน และปัจจัยอืน่ ๆ องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
บทท่ี 9 ระเบียบ ว่าด้วยการรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาตเิ ก่ยี วกบั การสื่อสาร พ.ศ. 2525 โดยที่เห็นเป็นการสมควรกำหนดระเบียบ ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติเก่ียวกับ การสอ่ื สารไว้ใหส้ ่วนราชการถอื เป็นหลักปฏบิ ัตคิ ณะรฐั มนตรไี ด้ลงมตไิ วว้ างระเบยี บตอ่ ไปน้ี ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติเกี่ยวกับการ สื่อสาร พ.ศ. 2525” ข้อ 2. ใหร้ ะเบียบนี้เปน็ สว่ นหนึ่งของระเบียบวา่ ดว้ ยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 (ยกเลกิ โดยระเบยี บว่าดว้ ยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2525) บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ และคำสั่งอื่นเกี่ยวกับการสื่อสารซึ่งขัดแย้งกับระเบียบนี้ให้ใช้ ระเบียบนแ้ี ทน ข้อ 3. ระเบียบน้ีให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการทั้งปวง หากส่วนราชการใดมีเหตุพิเศษซึ่ง จะต้องมีระเบยี บเฉพาะเรอ่ื งใหร้ ฐั มนตรเี จา้ สังกัดขออนุมัตติ อ่ คณะรฐั มนตรเี พือ่ วางระเบียบสำหรบั ส่วนราชการ นั้นเปน็ กรณีไป ยกเว้นการส่ือสารสำหรบั บรกิ ารโทรคมนาคมระหวา่ งประเทศซง่ึ จะต้องปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คับของ สหภาพโทรคมนาคมระหวา่ งประเทศ(INTERNATIONAL TELRCOMMUNICATION UNION – ITU) ข้อ 4. ในระเบียบน้ี 4.1 “การก่อกวน” (JAMMING) หมายถึง การกระทำใดๆ ในการส่งคลืน่ วทิ ยุเข้าไป รบกวนการส่ือสารทางวทิ ยขุ องเป้าหมายเพือ่ ทำใหก้ ารส่ือสารเกดิ ความยุ่งยากหรือตดิ ตอ่ ไมไ่ ดเ้ ลย 4.2 “การดกั รบั ” (INTEROEPTION) หมายถึง การฟังและหรือการบันทึกการส่ือสาร ของฝา่ ยตรงขา้ มเพือ่ ใหไ้ ด้ข่าวสารท่ตี ้องการ โดยฝ่ายทีท่ ำการส่อื สารอยนู่ นั้ ไมท่ ราบว่าถกู ดกั รบั 4.3 “การเฝ้าฟัง” (MONITORING) หมายถึง การฟังและหรือการบันทึกการส่ือสาร ของฝ่ายเดียวกนั เพื่อหาข้อมูลนำมาปรับปรุงการรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับการสือ่ สาร 4.4 “การลวงเลยี น” (DECEPTION) หมายถึง การกระทำใดๆ ในการสง่ ขา่ วลวงผา่ น เข้าไปในข่ายการสื่อสารของฝ่ายตรงขา้ มเพ่ือใหห้ ลงผิด สบั สนหรอื คดิ ว่าเป็นฝ่ายเดยี วกัน 4.5 “การวิเคราะห์การรหัส” (CRYPTANALYSIS) หมายถึง การศึกษาพิจารณา ระบบ วิธกี ารของประมวลลบั และรหสั เพ่ือถอดใหเ้ ป็นขอ้ ความธรรมดา 4.6 “การสังเคราะห์การรับ-ส่งข่าว” (TRAFFIC ANALYSIS) หมายถึงการศึกษา พิจารณาขอ้ มลู เกี่ยวกบั การสอ่ื สาร ซึ่งไดแ้ กป่ ริมาณข่าว การเรียกขาน การโต้ตอบเวลาติดต่อ ความถีค่ วามแรง และความสม่ำเสมอของสัญญาณ ฯลฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งข่าวสารเกี่ยวกับการจัดและการปฏิบัติการของหน่วย รวมทงั้ กจิ การของระบบการสอื่ สาร 4.7 “การสื่อสาร” (COMMUNICATION) หมายถึง วิธีการส่งข่าวใดๆ ที่ส่งเป็น ข้อความธรรมดา หรือเขา้ การรหัสซ่ึงมใิ ช่เปน็ การสนทนากนั โดยตรง องค์แทนการสือ่ สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-2 4.8 “ขา่ ว” (MESSAGE) หมายถึง ขอ้ ความใดๆ ทเี่ ป็นข้อความธรรมดาหรือรหสั ทสี่ ง่ ดว้ ยวธิ ีการสือ่ สารต่างๆ 4.9 “นามเรียกขาน” (CALL SIGN) หมายถงึ การนำอกั ษรหรอื ตวั เลข รวมท้ังคำพดู นำมาใช้แทนชอ่ื สถานหี รือขา่ ยสถานใี นการปฏิบตั ิการสอื่ สารในการส่งข่าว 4.10 “ประมวลลับ” (CODE) หมายถงึ การนำตวั อกั ษร ตัวเลข คำพูด สัญญาณ สัญลักษณม์ าใชแ้ ทนความหมายอันแทจ้ ริงท่ตี กลงกันไวเ้ พ่ือรกั ษาความลบั ในการส่งขา่ ว (รปภ.ส.2525) หรอื ตดิ ต่อสอ่ื สารระหว่างกนั (รปภ.2552) 4.11 “รหสั ” (CIPHER) หมายถงึ การใช้อักษรและหรอื ตวั เลขแทนอกั ษรหรอื ตัวเลข ในขอ้ ความธรรมดาดว้ ยวิธีต่างๆ เพ่อื รกั ษาความลับในการสง่ ขา่ ว 4.12 “การรหสั ” (CRYPTOGRAPHY) หมายถึง การใช้ประมวลลบั และหรอื รหสั แทน ข้อความหรือขา่ วสารท่ีเปน็ ความลบั (รปภ.ส.2525) “การรหสั ” หมายความว่า การใชป้ ระมวลลบั หรือรหสั แทน ข้อความ หรอื การส่งข่าวสาร ท่ีเปน็ ความลบั (รปภ.2552) 4.13 “ผูใ้ ห้ข่าว” (MESSAGE ORIGINATOR) หมายถงึ หวั หน้าสว่ นราชการหรือผู้มี อำนาจหนา้ ที่ รวมทัง้ ผูท้ ่ไี ด้รบั อำนาจทส่ี ง่ั ใหส้ ่งข่าวไป 4.14 “ผู้เขียนขา่ ว” (WRITER) หมายถงึ เจา้ หนา้ ที่ทไ่ี ดร้ ับคำสั่งจากผู้ใหข้ ่าว ให้จัดทำ ขา่ ว ผเู้ ขยี นข่าวอาจจะเป็นบคุ คลคนเดียวกบั ผู้ให้ข่าวก็ได้ 4.15 “ผูอ้ นุมตั ิข่าว” (RELEASER) หมายถงึ ผทู้ ่ไี ด้รับมอบอำนาจหนา้ ที่ให้ตรวจขา่ ว และอนุมตั ิให้สง่ ข่าวในนามของผ้ใู ห้ข่าวได้ 4.16 “การหา้ มสง่ วิทยุ” (RADIO SILENCE) หมายถงึ การหยดุ ส่งคลนื่ วทิ ยุภายใน ช่วงเวลาท่กี ำหนด 4.17 “การรับรองฝา่ ย” (AUTHENTICATION) หมายถงึ วิธีการรกั ษาความปลอดภยั เพือ่ ปอ้ งกันมใิ ห้มกี ารส่งขา่ วปลอมแปลงขึน้ ในระบบการสือ่ สาร 4.18 “วงจรทางสายทรี่ บั รองแลว้ ” (APPROVED WIRE CIRCUITS) หมายถึง วงจร ทางสายซง่ึ ผู้มอี ำนาจหนา้ ทก่ี ำหนดขึน้ เพอ่ื ใหส้ ง่ ข่าวท่มี ีชน้ั ความลับเปน็ ข้อความธรรมดาได้ไม่เกินชั้นความลบั “ลบั มาก” 4.19 “วงจรทางสายท่ไี มร่ ับรอง” (NON-APPROVED WIRE CIRCUITS) หมายถงึ วงจรทางสายซึ่งผู้มีอำนาจหนา้ ท่ีไมไ่ ด้กำหนดไว้สำหรับใหส้ ่งขา่ วท่มี ชี ัน้ ความลับเปน็ ขอ้ ความธรรมดา 4.20 “วสั ดกุ ารรหสั ” (CRYPTOMATERIAL) หมายถงึ เอกสาร บรภิ ัณฑ์ และ ยุทธภัณฑ์ ทีใ่ ช้ในการเข้าและการถอดรหัส 4.21 “วัสดลุ บั ทางการสือ่ สาร” (CLASSIFIED COMMUNICATION MATERIA) หมายถึง เอกสาร บริภณั ฑ์ และยทุ ธภณั ฑท์ างการสอ่ื สารซง่ึ ได้กำหนดช้ันความลบั แลว้ 4.22 “โคมไฟบงั คบั ทิศ” (DIRECTIONAL FLASHLIGHT) หมายถึง การสง่ สัญญาณ ดว้ ยการใชโ้ คมไฟท่บี ังคบั ทศิ ทาง ในเมื่อตอ้ งการตดิ ตอ่ หรอื ทำการเรยี กเพียงสถานเี ดยี ว องค์แทนการสือ่ สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-3 4.23 “โคมไฟไม่บงั คับทิศ” (NON-DIRECTIONA IF IASHIGHT) หมายถงึ การส่ง สัญญาณโดยวิธีสง่ ลำแสงไฟใหเ้ หน็ โดยรอบทศิ หรอื เหน็ เปน็ มุมกว้าง โดยสถานหี น่ึงต้องการสง่ ข่าวใหก้ ับสถานี รับมากกวา่ 2 แหง่ พร้อมกนั 4.24 “ธงมอื ” (FLAG SIGNALS) หมายถึง การส่งสัญญาณโดยใช้สองมอื หรอื ธงเดยี ว ทพ่ี นักงานถืออยู่ ตำแหนง่ หรอื การเคลื่อนไหวของธงจะแทนตัวอักษร ตวั เลข หรือสญั ญาณมอรส์ 4.25 “ธงสญั ญาณ” (FLAG HOIST) หมายถงึ การใชธ้ งตวั เลข และธงพเิ ศษ ชกั ข้นึ ดว้ ยเชอื กท่ีเสา สามารถส่งได้เรว็ และแน่นอน แต่ใช้ไดเ้ ฉพาะกลางวันใกลห้ รอื ไกลข้นึ อยกู่ บั ทศั นะวสิ ยั 4.26 “แผน่ ผา้ สัญญาณ” (PANELS) หมายถึง การใช้ผนื ผ้าหรือวัสดุอย่างอื่นที่มี รปู ร่างและหรือสพี เิ ศษ สำหรบั รบั แสดงตามประมวลท่ีได้เตรยี มไวล้ ว่ งหน้าเพ่อื สอ่ื ขา่ ว ใช้ระหวา่ งพน้ื ดิน – อากาศ หรอื ผิวน้ำ – อากาศ 4.27 “ตอกไมเ้ พลงิ สญั ญาณ” (PYROTECHNICS) หมายถึง การใชร้ ม่ ส่งแสง พลุ และ ควนั เพ่อื สง่ สัญญาณซงึ่ ไดจ้ ัดเตรียมไว้ลว่ งหนา้ หรือเพือ่ ความมุ่งหมายในการหมายรู้ 4.28 “ไฟพรวน” (YARD ARM BLINKERS) หมายถงึ ไฟที่ติดตง้ั ไว้ท่พี รวนของ เสากระโดงเรอื ในทางระดบั ปกตเิ ป็นสขี าวเพอ่ื ใชก้ บั การประดบั เรอื และการสญั ญาณตามโอกาส 4.29 “ระบบแสงอนิ ฟราเรด็ ” (INFRARED PROCEDURE) หมายถงึ การสง่ สัญญาณ ด้วยแสงที่อยนู่ อกยา่ นการเหน็ วิธีการน้อี าจใช้แบบจำกัดทิศก็ได้ แตจ่ ำเปน็ ตอ้ งใช้เครอ่ื งมอื พเิ ศษ ซึ่งจะให้ความ ปลอดภัยมากกว่าวิธที างทศั นะธรรมดา 5. การรักษาความปลอดภยั เกย่ี วกบั การสื่อสาร คำจำกัดความ การรกั ษาความปลอดภัยเก่ยี วกบั การสอ่ื สาร (COMMUNICATION SECURITY) หมายถึง การ ใช้มาตรการทกี่ ำหนดขน้ั เพือ่ ควบคมุ พิทกั ษ์รกั ษา และปอ้ งกนั มิให้ความลบั ของทางราชการอนั เนอ่ื งมาจากการ สื่อสารรวั่ ไหล หรอื รู้ไปถึง หรอื ตกไปอยกู่ ับบคุ คลผไู้ มม่ ีอำนาจหน้าทห่ี น้าทห่ี รอื ฝ่ายตรงขา้ ม 6. หลักการท่วั ไป ใหย้ ดึ หลกั การรกั ษาความปลอดภัยเกี่ยวกบั การสอื่ สารตามแนวทางตอ่ ไปนี้ 6.1 บุคคลที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสื่อสาร จะต้องเป็นบุคคลที่ได้รับการรับรอง ความไว้วางใจตามระเบยี บว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติพ.ศ.2517 บทที่ 3 (รปภ.2552 หมวด 4) และตอ้ งผ่านการอบรมการรักษาความปลอดภัยเกยี่ วกับการสื่อสารมาแลว้ 6.2 การดำเนินการต่อข่าวที่มีชั้นความลับ ซึ่งจะส่งด้วยเครื่องมือสื่อสาร รวมทั้งเอกสารเกี่ยวกับ ประมวลลับหรือรหัส จะต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2517 บทท่ี 4 (รปภ.2552 หมวด 2) องคแ์ ทนการสอื่ สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-4 6.3 วัสดุทางการสื่อสาร จะต้องได้รับการกำหนดชั้นความลับ และพิทักษ์รักษาอย่างถูกต้องและ เหมาะสม โดยปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2517 บทที่ 2 และ บทท่ี 5 (รปภ.2552 หมวด 2 และหมวด 5) 7. ประเภทความรับผดิ ชอบในการรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกบั การสื่อสาร 7.1 การรกั ษาความปลอดภัยเกยี่ วกบั การสอ่ื สารแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 7.1.1 การรักษาความปลอดภยั ในการสง่ ข่าว 7.1.2 การรกั ษาความปลอดภยั ทางการรหสั 7.1.3 การรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกบั สถานทที่ างการสอ่ื สาร 7.2 ให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสื่อสาร ทั้งนายทะเบียนวัสดทุ างการสื่อสาร เจ้าหน้าที่ควบคุมการรหัส และเจ้าหน้าที่อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรักษา ความปลอดภัยเก่ยี วกบั การสื่อสารได้ตามความจำเป็น (บทที่ 5 บทผนวก) 8. การพิจารณาในกรณีและละเมิดรกั ษาความปลอดภยั เก่ียวกบั การสือ่ สาร การละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสื่อสาร ซึ่งจะโดยเจตนา หรอื ไมเ่ จตนา หรือการละเมิดนน้ั จะเกิดความเสยี หาย หรือยังไมเ่ กิดความเสียหายต่อความลบั ของทางราชการ ให้ถือเปน็ ความผดิ ต้องพจิ ารณาโทษทางวินบั หรือโทษทางอาญา ได้ตามความเหมาะสมแห่งสภาพของความผิด ในการละเมดิ นนั้ หัวหน้าสว่ นราชการจะต้องรบั ผิดชอบทีจ่ ะพจิ ารณาดำเนินการลงทัณฑ์ หรือดำเนินคดีทางอาญาตาม ความคดิ 9. การรักษาความปลอดภัยในการสง่ ขา่ ว คำจำกัดความ การรกั ษาความปลอดภัยในการส่งขา่ ว หมายถงึ มาตรการที่กำหนดขึน้ สำหรับปฏิบัติต่อการ ส่งข่าว เพือ่ ปอ้ งกนั มิให้ผไู้ ม่มอี ำนาจหนา้ ทไ่ี ด้ลว่ งรู้ หรอื รอดพ้นจากการดักรบั การวเิ คราะหก์ ารรับ-สง่ ขา่ ว และ การลวงเลยี น 10. วิธีการสง่ ข่าว มีดงั ต่อไปนี้ 10.1 การนำสาร 10.2 ไปรษณยี ์ 10.3 โทรคมนาคม 10.3.1 ทศั นะสัญญาณ 10.3.2 เสยี งสญั ญาณ องค์แทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-5 10.3.3 ทางสาย 10.3.4 วิทยุ 11. การเลอื กวิธกี ารส่งขา่ ว การเลือกวธิ ีการสง่ ขา่ ว จะต้องเลอื กวธิ ีทีเ่ หมาะสมเพอ่ื ใหข้ า่ วถงึ ผูร้ บั ตามลำดบั ความเร่งด่วนท่ีกำหนด และตามความประสงค์ของการรักษาความปลอดภยั ในการส่งขา่ ว ซงึ่ มลี ำดับความปลอดภัยจากมากไปหาน้อย ดงั นี้ (รปภ.ส.2525) 11.1 เจ้าหน้าทนี่ ำสาร 11.2 ไปรษณีย์ลงทะเบียน 11.3 วงจรทางสายทรี่ ับรองแล้ว 11.4 ไปรษณยี ์ธรรมดา 11.5 วงจรทางสายทีไ่ มร่ บั รอง 11.6 ทัศนะสญั ญาณ 11.7 สัตว์นำสารทฝี่ กึ และข้นึ ทะเบียนของทางราชการแลว้ 11.8 เสียงสญั ญาณ 11.9 วิทยุ (รปภ.ทบ.2563 หมวด 4 ส่วนที่ 6) 11.1 เจ้าหน้าที่นำสาร 11.2 ไปรษณีย์ลงทะเบยี น 11.3 ระบบสารสนเทศ 11.4 จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 11.5 ระบบโทรคมนาคม 11.5.1 โทรสาร 11.5.2 โทรศพั ท์ 11.5.3 วทิ ยุสื่อสาร 12. การรักษาความปลอดภัยในการเตรยี มทำข่าว เจ้าหน้าทีท่ ่ีเก่ียวขอ้ งในการเตรยี มทำข่าว ไดแ้ ก่ ผใู้ หข้ ่าว ผู้เขียนข่าวและผู้อนมุ ตั ขิ า่ วจะต้องปฏิบตั ดิ งั น้ี 12.1 ผเู้ ขียนขา่ วต้องเขยี นข่าวในกระดาษเขียนข่าวตามตวั อย่างท่ีแสดงไวท้ ้ายระเบียบนี้ 12.2 ข่าวทจ่ี ะสง่ ทางวิทยุ ต้องสั้น กะทัดรดั ชัดเจน และไมส่ ามารถส่งโดยวิธอี น่ื ได้ 12.3 ผู้ให้ขา่ วเป็นผู้กำหนดชั้นความลับของขา่ ว โดยให้ปฏิบัตติ ามระเบียบว่าด้วยการรกั ษา ความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ.2517 บทท่ี 4 ขอ้ 30 (รปภ.ทบ.2563 หมวด 4 ส่วนที่ 1) องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 9-6 12.4 ผู้ให้ข่าวตอ้ งกำหนดลำดบั ความเรง่ ดว่ นของขา่ วใหเ้ หมาะสมเพื่อสง่ ถงึ ผรู้ บั ทันเวลา และ ตามความจำเปน็ ของสถานการณ์ โดยคำนงึ ถงึ ความปลอดภัยและขีดความสามารถในการสง่ ข่าว 13. มาตรการรักษาความปลอดภัยในการสง่ ข่าว 13.1 การส่งข่าวโดยการนำสาร 13.1.1 เจ้าหน้าท่ีนำสาร ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2517 บทที่ 4 ข้อ 35.5.5 (รปภ.ทบ.2563 ผนวก ง ข้อ 3) 13.1.2 สัตว์นำสารที่ฝึกและขึ้นทะเบียนของทางราชการแล้ว ให้ใช้ได้ตามความจำเป็น โดยปฏิบตั ดิ งั น้ี 13.1.3 ข่าวชนั้ “ลบั ทสี่ ดุ ” และ “ลับมาก” ต้องเข้ารหสั 13.1.4 ข่าวชั้น “ลบั ” ต้องเข้าประมวลลบั หรอื รหสั (รปภ.2552 หมวด 2) 13.2 การส่งขา่ วทางไปรษณีย์ การส่งขา่ วทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรบั ใหป้ ฏบิ ัติดังน้ี (รปภ.ส.2525) 13.2.1 ข่าวชนั้ “ลบั ทส่ี ดุ ” และ “ลับมาก” ต้องเข้ารหสั 13.2.2 ขา่ วชั้น “ลบั ” ต้องเข้ารหสั ประมวลลบั หรือ รหสั (คำแนะนำ รปภ.ทบ.2563) ไม่ควรส่งขอ้ มูลข่าวสารท่ีมีช้ันความลบั “ลบั มาก” แตพ่ ออนุโลมได้ เฉพาะช้ัน “ลับ” และใช้ในกรณีจำเปน็ เรง่ ด่วนเท่านั้น เพราะขอ้ มูลข่าวสารลับที่ส่ง อยู่นอกเหนือการควบคุม ของเจ้าหน้าที่ หากสามารถกระทำได้ ควรเขา้ รหสั ขอ้ ความของขอ้ มูล ข่าวสารลับก่อนส่ง ข้อกำหนดนี้ยกเว้นสำหรบั การสง่ ข่าวทางสายการทตู 13.3 การส่งข่าวทางโทรคมนาคม 13.3.1 การส่งข่าวทางทศั นสัญญาณ 13.3.1.1 การส่งขา่ วที่มีชนั้ ความลบั โดยทางสญั ญาณดว้ ยประมวลสากล ให้ปฏิบัตดิ งั นี้ 13.3.1.1.1 ข่าวชั้นลับ “ลบั ทสี่ ุด” ตอ้ งเขา้ รหสั 13.3.1.1.2 ขา่ วชัน้ “ลบั มาก” ลงไปตอ้ งเข้าประมวลลบั หรอื รหสั 13.3.1.2 วธิ ีการส่งขา่ วทางทัศนสัญญาณมีลำดับความปลอดภยั จากมากไปน้อย ดงั น้ี 13.3.1.2.1 กลางวนั - ระบบแสงอนิ ฟราเรด - ธงมอื - โคมไฟบังคับทศิ - แผน่ ผา้ สัญญาณ - ธงสัญญาณ - ดอกไมเ้ พลิงสญั ญาณ องค์แทนการสื่อสาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 9-7 - โคมไฟไม่บงั คบั ทิศ 13.3.1.2.2 กลางคนื - ระบบแสงอนิ ฟราเรด - โคมไฟบังคบั ทิศ - ดอกไมเ้ พลิงสัญญาณ - โคมไฟไมบ่ งั คบั ทศิ - ไฟพรวน 13.3.2 การส่งข่าวทางเสียงสญั ญาณ 13.3.2.1 การส่งข่าวที่มีชั้นความลับโดยทางเสียงสัญญาณด้วยประมวลสามารถให้ ปฏบิ ตั ิดังน้ี 13.3.2.1.1 ขา่ วช้นั “ลบั ทส่ี ดุ ” ต้องเข้ารหสั 13.3.2.1.2 ข่าวชน้ั “ลับมาก”ลงไปตอ้ งเขา้ ประมวลหรอื รหสั 13.3.2.2 การสง่ สัญญาณนดั หมายทางเสยี งสญั ญาณ ตอ้ งมีการเปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ 13.3.3 การสง่ ขา่ วทางสายใหป้ ฏิบตั ดิ งั นี้ 13.3.3.1 ข่าวชั้น “ลับที่สุด” ห้ามส่งเป็นข้อความธรรมดา แม้ว่าจะมีอุปกรณ์การ รกั ษาความปลอดภัยประกอบอยู่ดว้ ยกต็ าม ถา้ จำเปน็ ตอ้ งส่งใหเ้ ขา้ รหสั 13.3.3.2 ขา่ วช้ัน “ลบั มาก” ใหป้ ฏบิ ัติ 13.3.3.2.1 วงจรทางสาย ท่รี ับรองแล้วให้ส่งเป็นข้อความธรรมดาได้ 13.3.3.2.2 วงจรทางสาย ที่ไม่รับรองต้องเข้าประมวลลับหรอื รหัส หรือใช้ อุปกรณ์การรักษาความปลอดภัยท่ไี ดร้ ับการรับรองแล้วประกอบร่วมในการสง่ ข่าว 13.3.3.3 ขา่ วช้ัน “ลบั ” ให้ปฏบิ ัตดิ ังน้ี 13.3.3.3.1 วงจรทางสายทไ่ี ดร้ บั รองแลว้ ให้สง่ เปน็ ข้อความธรรมดาได้ 13.3.3.3.2 วงจรทางสายท่ีไมร่ ับรองต้องเข้าประมวลลับ หรือรหสั 13.3.3.4 เมื่อผู้ให้ข่าวพิจารณาเห็นความเร่งด่วนของสถานการณ์สำคัญกว่าความ จำเป็นในความรักษาความปลอดภยั การส่งข่าว ช้ัน “ลบั มาก” ลงมาใหใ้ ชถ้ อ้ ยคำที่เข้าใจกนั โดยเฉพาะได้ หรือ จะใช้อปุ กรณ์การรักษาความปลอดภยั ได้รับการรับรองแลว้ ประกอบร่วมในการสง่ ข่าวก็ได้ 13.3.4 การสง่ ข่าวทางวทิ ยุ เป็นวธิ ีทป่ี ลอดภัยน้อยทส่ี ดุ ให้ปฏบิ ัติดงั นี้ 13.3.4.1 การสง่ ขา่ วทก่ี ำหนดช้นั ความลบั 13.3.4.1.1 ข่าวชน้ั “ลับท่ีสุด”และ“ลับมาก” ตอ้ งเขา้ รหสั โดยใช้เคร่ืองรหัส ประกอบรว่ มอยใู่ นวงจรหรือแยกวงจร 13.3.4.1.2 ข่าวชั้น “ลับ” ให้ปฏิบัติตามขอ้ 13.3.4.1.1 หรือจะใช้ประมวล ลบั ก็ได้ องค์แทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 9-8 13.3.4.2 ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานวิทยุ จะต้องมีคุณสมบัติตามข้อ 6.1 ของ ระเบียบน้ี และมีใบรบั รองความไวว้ างใจ (รปภ.) อย่างตำ่ ช้นั “ลับ” 13.3.4.3 ใชเ้ คร่ืองส่ง สายอากาศ และกำลังส่งให้เหมาะสมแกก่ ารแพร่กระจายคลื่น และมคี วามแรงของสัญญาณพอทีจ่ ะติดต่อกันไดแ้ นน่ อนเทา่ น้ัน 13.3.4.4 การทดลองเครือ่ งสง่ อากาศให้กระทำได้เทา่ ท่ีจำเปน็ 13.3.4.5 ให้มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เวลารับ-ส่งข่าว และนามเรียกขานอยู่เสมอ โดยไมเ่ ป็นระบบ 13.3.4.6 ใหใ้ ช้การรบั รองฝ่ายในกรณตี ่อไปน้ี 13.3.4.6.1 เมอ่ื สงสัยจะถกู ลวงเลยี น 13.3.4.6.2 เมือ่ เรม่ิ เปิดการติดตอ่ หรอื เปดิ การติดต่อหรอื เปลย่ี นความถีท่ ุกครั้ง 13.3.4.6.3 เม่ือจำเปน็ ตะตอ้ งสง่ ข่าวในระหวา่ งการหา้ มส่งวิทยุ 13.3.4.7 ต้องรักษาวินัยในการใช้วงจรการส่ือสาร โดยให้ปฏิบัตติ ามระเบียบที่ทาง ราชการกำหนดไว้อยา่ งเครง่ ครัด 13.3.4.8 ข่าวทส่ี ่งตอ้ งส้นั ถา้ จำเปน็ ต้องส่งขา่ วยาวทไ่ี ม่มคี วามเร่งดว่ นให้แบ่งส่งเป็น ตอนๆ โดยใชห้ ้วงระยะเวลาทไี่ มต่ ่อเน่อื งกนั 13.3.4.9 ให้ส่วนราชการที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการสื่อสารจัดให้มีการเฝ้าฟังและ แก้ไขการละเมดิ รกั ษาความปลอดภัยเกี่ยวกบั การสอ่ื สาร 13.3.5 การส่งข้อมูลข่าวสารลับทางระบบสารสนเทศ ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ โทรคมนาคม หรอื โดยวิธกี ารอนื่ ใดนอกจากการนำสาร ซ่ึงสามารถสรุปไดด้ งั นี้ (รปภ.ทบ.2563 หมวด 4 ส่วนท่ี 6 และคำแนะนำ รปภ.ทบ.2563) 13.3.5.1 ห้ามส่งข้อมูลข่าวสารลับ ชั้น “ลับที่สุด” ทางระบบสารสนเทศ ระบบ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ระบบโทรคมนาคม หรือโดยวิธีการอื่นใดนอกจากการนำสาร (ให้ส่งได้เฉพาะข้อมลู ข่าวสารลับชัน้ “ลบั ” และ “ลับมาก” เทา่ นน้ั ) 13.3.5.2 ข้อมลู ข่าวสารลับ ช้นั “ลับมาก” ต้องเข้ารหัส 13.3.5.3 ขอ้ มลู ข่าวสารลับ ช้นั “ลับ” ต้องเขา้ ประมวลลบั หรือรหัส 13.3.5.4 หากส่งขอ้ มลู ข่าวสารลับท่จี ะส่งไม่ไดเ้ ขา้ ประมวลลบั หรอื รหสั ต้องทำการสง่ และรับโดยผ่านเคร่ืองมือทีม่ รี ะบบการรักษาความปลอดภัย ซง่ึ สามารถทำการเข้ารหัสได้ 13.3.5.5 ผดู้ ำเนินการท้ังฝ่ายสง่ และฝา่ ยรับ ต้องเขา้ ถึงชั้นความลบั ทดี่ ำเนินการ 13.3.5.6 ฝ่ายส่ง : นัดผู้รับปลายทาง และส่งข้อมูลข่าวสารลับผ่านเครื่องมือที่ เหมาะสม พร้อมกับบันทึกทะเบียนส่ง (ทขล.2) ทะเบียนควบคุมข้อมูลข่าวสารลับ (ทขล.3) และชื่อผู้รับ ปลายทาง 13.3.5.7 ฝา่ ยรบั : เมอ่ื รบั ขอ้ มูลขา่ วสารลบั แล้ว ใหท้ ำการบันทกึ ทะเบียนรับ (ทขล. 1) ทะเบยี นควบคุมข้อมูลข่าวสารลับ (ทขล.3) และช่ือผสู้ ง่ ต้นทาง องคแ์ ทนการส่ือสาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 9-9 14. การรกั ษาความปลอดภัยทางรหสั คำจำกัดความ การรักษาความปลอดภัยทางการรหัส หมายถึง มาตรการที่กำหนดขึ้น สำหรับปฏิบัติต่อข่าวที่มี ชน้ั ความลับ โดยการนำเอาระบบการรหสั ท่ไี ด้อนุมัติแล้ว ไปใชอ้ ย่างถูกต้องเพอ่ื ปอ้ งกันมิให้เปิดเผยแก่บุคคล ผู้ไมม่ ีอำนาจหนา้ ท่ี 15. ระบบรหสั 15.1 ประมวลลบั 15.1.1 รหสั 15.2 ลำดบั ความปลอดภัยของระบบการรหสั มดี งั นี้ 15.2.1 การใชเ้ ครอื่ งรหสั ประกอบรว่ มอยู่ในวงจร 15.2.2 การใช้รหสั แยกจากวงจร 15.2.3 การใช้ประมวลลบั 15.3 การเลือกใช้ระบบการรหสั 15.3.1 ข่าวชนั้ “ลบั ทีส่ ุด” และ “ลบั มาก” ให้ใช้ระบบการรหสั ตามขอ้ 15.2.1 หรือ 15.2.2 15.3.2 ข่าวช้ัน “ลับ” ใหเ้ ลือกใชร้ ะบบการรหัส ตามข้อ15. โดยอนโุ ลม (รปภ.2552) 16. มาตรการรักษาความปลอดภัยทางการรหสั 16.1 ผู้ทีไ่ ด้รับการแต่งตงั้ เปน็ เจา้ หนา้ ทีก่ ารรหสั จะต้องมีคุณสมบตั ติ ามขอ้ 6.1 ของระเบียบนี้ และมี ใบรบั รองความไวว้ างใจ (รปภ.) ในหน้าทีก่ ารรหสั 16.2 เจ้าหน้าที่การรหสั จะต้องไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับเจา้ หน้าท่ี รับ-ส่งข่าว ในกรณีการส่งข่าวใช้ ระบบการรหัสแยกจากวงจร 16.3 การส่งข่าวที่ใช้เครื่องรหัสประกอบร่วมอยู่ในวงจร เจ้าหน้าที่รับ-ส่งข่าว จะต้องมีคุณสมบัติ เช่นเดียวกับข้อ 16.1 16.4 ต้องใช้ระบบการรหัส และวัสดกุ ารรหัสท่ีได้รบั อนุมตั ิแล้วเทา่ นั้นและให้เป็นไปตามระเบียบท่ีได้ กำหนดไว้อยา่ งเคร่งครดั 16.5 ให้มีการเปล่ียนแปลงระบบการรหสั อยเู่ สมอ โดยไม่เป็นระบบและห้วงระยะเวลาที่แนน่ อน 16.6 หา้ มใช้ขอ้ ความธรรมดาผสมกบั ประมวลลบั หรือรหัสในระบบการรหัส 16.7 ประมวลลบั หรอื รหสั จะตอ้ งไม่เกบ็ รวมกับขา่ วที่ถอดเปน็ ธรรมดาแลว้ 16.8 วัสดุการรหัสทุกชนิด จะต้องได้รับการกำหนดชั้นความลับและการปรับชั้นความลับ เพื่อให้ เหมาะสมกบั การพทิ ักษ์รกั ษาและการทำลายเช่นเดยี วกบั เอกสารลบั องคแ์ ทนการสื่อสาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 9-10 16.9 ขา่ วท่กี ำหนดช้นั ความลับ เมือ่ ส่งทางเครือ่ งมอื สือ่ สาร ใหเ้ จา้ หนา้ ทีก่ ารรหสั เขา้ ประมวลลับหรือ รหัสทั้งมวล ตง้ั แต่ผสู้ ง่ ผู้รบั ท่ีของข่าว ชนั้ ความลับ และขอ้ ความรวมเป็นข้อความของข่าวทั้งหมด แต่เพื่อให้ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวกับการส่งข่าว ทำการส่งขา่ วถึงผู้รับปลายทางท่ี สามารถถอดประมวลลับหรอื รหสั ได้ จึงให้ เจา้ หน้าทก่ี ารรหสั จ่าหน้าเสียใหม่ โดยระบเุ ฉพาะนาม เรยี กขานของหนว่ ยส่งและหน่วยส่งและหน่วยรับความ เรง่ ดว่ นหมวู่ นั เวลาเทา่ นน้ั 16.10 ในกรณีที่มีการสูญหาย หรือสงสัยว่าระบบการรหสั ของหน่วยร่ัวไหล ให้เจ้าหน้าท่ีควบคมุ การ รักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสือ่ สารของหน่วย รายงานให้หัวหน้าส่วนราชการตามลำดับชั้นทราบโดยเรว็ ทีส่ ุด และให้พิจารณานำระบบการรหัสสำรองทีเ่ ตรียมไวม้ าใชแ้ ทน 17. การรักษาความปลอดภัยเกยี่ วกบั สถานท่ีทางการสื่อสาร คำจำกดั ความ การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ทางการสื่อสาร หมายถึงมาตรการที่กำหนดขึ้นเพือ่ พิทักษ์ รกั ษาอาคารสถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์ เจา้ หน้าท่ี และเอกสารท่ีใชด้ ำเนนิ การเกย่ี วกับการส่อื สารใหพ้ ้นจากการจาร กรรม การกอ่ วินาศกรรม การถกู ยึด การกซู้ อ่ ม การตรวจการณ์ การถา่ ยภาพ การโจรกรรม ตลอดจนการเขา้ ถงึ ของผู้ไม่มีอำนาจหน้าที่ 18. มาตราการการรกั ษาความปลอดภยั เกย่ี วกบั สถานทกี่ ารส่ือสาร การรักษาความปลอดภัยเกยี่ วกบั สถานทท่ี างการส่ือสาร ให้ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บวา่ ด้วยการรักษาความ ปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2517 บทท่ี 5 (รปภ.2552 หมวด 5) โดยอนุโลม และใหเ้ นน้ ในเรือ่ งตอ่ ไปน้ี 18.1 ดำเนินการป้องกันการได้ยิน และการมองเห็นต่อการปฏิบัตกิ ารสื่อสารวัสดุลบั ทางการสื่อสาร จากผ้ไู มม่ ีอำนาจหนา้ ท่ีดว้ ยการวางแผนไว้ อย่างเหมาะสมกบั ความสำคญั ของพนื้ ที่และสถานการณ์ท่ีเป็นอยู่ 18.2 ให้กำหนดเขตหวงหา้ มเดด็ ขาดข้ึน เพ่อื ใชด้ ำเนินการเกีย่ วกับรหสั 18.3 ในกรณที ่มี กี ารจัดซ้อื และซ่อมวสั ดลุ ับทางการสื่อสาร ให้มีการตรวจสอบความไว้วางใจต่อบริษัท และบุคคลทเ่ี กย่ี วขอ้ งเสยี กอ่ น 18.4 วัสดุลบั ทางการสือ่ สาร จะต้องไดร้ ับการกำหนดช้ันความลบั ตามระเบยี บว่าด้วยการรักษาความ ปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ.2517 บทท่ี 2 (รปภ.2552 หมวด 2) โดยอนุโลม 18.5 การแสดงชัน้ ความลับของวัสดุลบั ทางการสือ่ สารทมี่ ใิ ช่เอกสาร ใหแ้ สดงชนั้ ความลับไว้ให้เห็นโดย เด่นชัดด้วยการประทับตรา การสลัก หรือติดแผน่ ป้ายแสดงชั้นความลบั ตามลักษณะของวัสดุนั้นๆ ถ้าปฏิบัติ ตามนี้ไม่ได้ ก็ให้แสดงชั้นความลับไว้ที่วัสดุหุ้มห่อ หรือถ้าปฏิบตั ิตามน้ีไมไ่ ด้อีก ก็ให้แจ้งชัน้ ความลับไปยังผูร้ ับ วสั ดดุ งั กล่าวใหท้ ราบล่วงหน้าเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรในเม่อื จะต้องสง่ วสั ดุนีไ้ ปให้ผู้อื่น 18.6 การขนส่งวสั ดลุ บั ทางการส่ือสารทมี่ ใิ ชเ่ อกสารท้ังในและนอกประเทศ ให้ปฏิบตั ิดังน้ี 18.6.1 ใหบ้ รรจุลงหีบห่ออยา่ งเหมาะสมมดิ ชิดและเรียบรอ้ ย 18.6.2 ใหม้ ีการวางแผนการขนสง่ โดยเลือกวิธีการและเส้นทางท่ีรวดเรว็ ปลอดภัย องคแ์ ทนการสอื่ สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 9-11 18.6.3 จัดให้เจ้าหน้าที่ผู้นำส่งและผู้อารักขาการนำส่ง โดยไม่เป็นบุคคลเดียวกัน ส่วนการสง่ ทางสายการพดู ไมจ่ ำเป็นตอ้ งมีเจา้ หนา้ ท่ผี นู้ ำสง่ และผ้อู ารักขาการนำส่ง 18.6.4 เจ้าหน้าที่ผู้นำส่ง ต้องมีคุณสมบัติตามระเบียบว่าด้วยการักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ.2517 บทที่ 3 ข้อ 35.5.5.1 หรือ 36.4.5.1 (รปภ.ทบ.2563 หมวด 4 สว่ นที่ 6 ข้อ 40) สว่ นผู้อารักขานำสง่ ตอ้ งเป็นผูท้ ไี่ ดผ้ า่ นการตรวจสอบประวัตแิ ละพฤตกิ ารณ์ หรอื ได้รับความไวว้ างใจจากหัวหนา้ สว่ นราชการ 18.6.5 หนา้ ทข่ี องเจา้ หนา้ ท่ีผูน้ ำส่ง และผอู้ ารักขาการนำส่ง ให้ปฏบิ ัติตามบทที่ 5 ผนวก 6 ของ ระเบียบน้ี 18.6.6 ให้จัดทำเอกสารรับ-ส่ง วัสดุลับทางการสื่อสาร แล้วรายงานให้หัวหน้าส่วนราชการท้ัง สองฝา่ ยทราบโดยเร็วที่สุด 18.7 การตรวจสอบ การโอน การยืน การเกบ็ รักษา การปรับช้นั ความลบั การขนยา้ ยและการทำลาย วัสดุลับทางการสื่อสาร ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2517 บทท่ี 4 (รปภ.ทบ.2563 หมวด 4) โดยอนุโลม 18.8 วัสดุลับทางการสื่อสาร เมื่อได้รับอนุมัติให้จำหนา่ ย หรือยกเลิกไม่ใช้แลว้ ให้จัดการทำลายหรอื แปรรปู จนไม่ทราบวา่ เป็นวัสดทุ างการสอ่ื สาร และนำไปใชไ้ ดอ้ ีก ส่วนการควบคุมการทำลายหรอื แปรรปู นัน้ ให้ ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2517 บทที่ 4 ข้อ 35.10 (รปภ.ทบ.2563 หมวด 4 ส่วนท่ี 6 ข้อ 46) โดยอนโุ ลม 18.9 กำหนดให้มแี ผนการขนยา้ ย และ/หรอื ทำลายยามฉุกเฉินตอ่ วสั ดลุ บั ทางการสือ่ สารตลอดจนตอ้ ง มีการฝึกซอ้ มเพือ่ ให้เกิดความเคยชิน 18.10 ในกรณที ี่วสั ดลุ บั ทางการส่ือสารเกิดการสูญหาย หรือ สงสยั วา่ เกดิ การร่ัวไหลให้ผ้ทู ่ีพบเหน็ หรือ ทราบรายงานด่วนต่อหัวหน้าสว่ นราชการ หรือเจ้าหน้าท่ีควบคุมกรรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสื่อสาร หรือเจ้าหน้าท่ีผรู้ ับผดิ ชอบ 19. เพื่อความเรียบร้อยและรวดเร็วในการดำเนินมาตรการการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสื่อสารตาม ระเบียบนี้ จึงกำหนดหน้าที่ของเจา้ หน้าทต่ี า่ งๆ ไวด้ ังตอ่ ไปน้ี 19.1 หนา้ ทข่ี องเจา้ หน้าท่คี วบคมุ การรักษาความปลอดภัยเก่ียวกบั การส่อื สาร (ผนวก 1) 19.2 หน้าทีข่ องนายทะเบยี นวสั ดลุ บั ทางการสอ่ื สาร (ผนวก 2) 19.3 หน้าที่ของเจ้าหน้าทคี่ วบคมุ การรหสั (ผนวก 3) 19.4 หนา้ ทข่ี องเจา้ หนา้ ทกี่ ารรหสั (ผนวก 4) 19.5 หน้าทีข่ องพนักงานวิทยุ (ผนวก 5) 19.6 หนา้ ทขี่ องผู้อนมุ ัติขา่ ว (ผนวก 6) 19.7 หนา้ ทีข่ องเจา้ หน้าทผี่ ู้นำส่ง และผอู้ ารกั ขาการนำส่งวสั ดลุ ับทางการส่ือสาร (ผนวก 7) องค์แทนการสอ่ื สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 9-12 20. เพอ่ื ให้เกดิ ความสะดวกในการปฏิบตั ิสำหรับแบบเอกสารการรกั ษาความปลอดภัย ของระเบียบนใี้ ห้ใช้แบบ เอกสารตามระเบียบ ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.2517 (รปภ.2552 และ รปภ.ทบ.2563) โดยอนโุ ลม 21. เพ่อื ใหเ้ ก่ียวขอ้ งในการปฏิบัติมคี วามเข้าใจ เก่ียวกบั กระดาษเขยี นขา่ วจงึ ให้แสดงตวั อย่างไวใ้ นผนวก 8 ทา้ ย ระเบียบน้ี ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2525 พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์ นายกรัฐมนตรี องค์แทนการส่อื สาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 9-13 หนา้ ท่ีของเจา้ หน้าทค่ี วบคุมการรกั ษาความปลอดภัยเกยี่ วกบั การส่ือสาร เจ้าหนา้ ท่ีควบคมุ การรกั ษาความปลอดภยั เก่ยี วกบั การส่อื สาร เปน็ ทปี่ รกึ ษาและเปน็ ผู้ดำเนนิ การแทน หัวหน้าส่วนราชการในด้านการรักษาความปลอดภัย เกี่ยวกับการสื่อสารของส่วนราชการนั้น โดยมีหน้าที่ รับผิดชอบดังนี้ 1. วางระเบียบการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสื่อสารของหน่วยให้ถูกต้องทางเทคนิคและ เหมาะสมกับสถานการณ์ ตลอดจนปรบั ปรุงแก้ไขทจี่ ำเปน็ 2. แนะนำระเบยี บปฏบิ ตั ิต่างๆ ตลอดจนควบคุมกำกบั ดูแล และตรวจสอบใหม้ กี ารปฏิบตั ติ ามระเบียบ การรกั ษาความปลอดภัยเก่ยี วกบั การสือ่ สารน้ี ได้กำหนดไวโ้ ดยเคร่งครดั 3. เสนอแนะและประสานงานให้มีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์ ตลอดจนการออกใบรับรอง ความไว้วางใจ (รปภ.3) (รปภ.ทบ.2563, รปภ.4) แกเ่ จ้าหนา้ ท่แี ละผูเ้ กยี่ วข้องกับการสอ่ื สารของหน่วย 4. จัดใหม้ กี ารฝึกอบรมเร่ืองการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสอ่ื สารโดยตอ่ เน่ือง 5. เสนอแนะใหม้ ีการแตง่ ตง้ั ผูช้ ว่ ยเจา้ หนา้ ทคี่ วบคมุ การรักษาความปลอดภัยเก่ยี วกบั การส่อื สาร นาย ทะเบยี นวัสดุลับทางการสื่อสาร เจ้าหนา้ ทีค่ วบคุมการรหัส และเจา้ หน้าท่ีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรกั ษาความ ปลอดภยั เก่ยี วกับการสือ่ สารของหน่วย 6. กำหนดหน้าท่ีเฉพาะและแบ่งมอบความรับผิดชอบแก่เจา้ หน้าท่ี ที่ได้รับการแต่งต้ังตามขอ้ 5. ของ ผนวกน้ี พรอ้ มท้ังทำบนั ทึกไวเ้ ป็นหลักฐาน 7. สำรวจตรวจสอบเพื่อป้องกันหรือขจัดสาเหตุ ที่ทำให้เกิดการละเมิดการรักษาความปลอดภัย เกี่ยวกับการส่อื สาร 8. จัดให้มีแผนการขนย้ายและหรอื ทำลาย ยามฉุกเฉินต่อวัสดุลับทางการสือ่ สาร ตลอดจนต้องมกี าร ฝกึ ซ้อมเพื่อให้เกิดความเคยชิน 9. ในกรณที ยี่ ังมไิ ดแ้ ตง่ ต้งั นายทะเบยี นวสั ดุลบั ทางการสื่อสาร หรอื นายทะเบียนวัสดลุ ับทางการส่ือสาร ไม่อาจปฏบิ ัติหน้าทีต่ ามปกตไิ ด้ กใ็ หเ้ จ้าหนา้ ทค่ี วบคมุ การรกั ษาความปลอดภัยเกย่ี วกับการสอื่ สารกระทำหนา้ ท่ี แทน 10. รายงานการปฏบิ ัตใิ นการรกั ษาความปลอดภยั เก่ยี วกับการส่ือสารตรงต่อหวั หนา้ ส่วนราชการตาม หว้ งระยะเวลาทก่ี ำหนด 11. ในกรณีที่มีการละเมิดการรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกับการสื่อสาร หรือสงสัยว่าวสั ดุลับทางการ ส่ือสารรวั่ ไหล หรือสญู หาย ใหร้ ายงานหัวหน้าส่วนราชการทนั ที องค์แทนการส่อื สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-14 หนา้ ท่ขี องนายทะเบยี นวสั ดลุ บั ทางการสื่อสาร นายทะเบียนวสั ดลุ ับทางการส่ือสาร มีหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบดังน้ี 1. จัดทำทะเบียนเพื่อควบคุมวัสดุลับทางการสื่อสารทุกชนิด โดยทำบันทึกหลักฐานให้ถูกต้องและ ทนั สมัยอยู่เสมอ 2. เก็บรักษาบัญชีและลายมือช่ือนายทะเบียนวัสดุลับทางการสือ่ สาร ของส่วนราชการในสังกัด และ สว่ นราชการอ่ืนๆ ที่ติดตอ่ เกยี่ วข้องกนั เป็นประจำ เม่อื ไวต้ รวจสอบการรบั -ส่ง วัสดุลับทางการส่อื สาร 3. ควบคุมการพทิ กั ษร์ กั ษาบรรดาวัสดลุ ับทางการส่ือสาร ท่อี ยใู่ นระหว่างรอการสง่ มอบให้เป็นไปตาม ระเบยี บน้ี 4. ตรวจสอบใบรับวัสดุลับทางการสื่อสารที่ได้รับเข้ามาและที่ส่งออกไปเพื่อให้การรับส่งวัสดุลับ ทางการส่อื สารเปน็ ไปโดยถูกต้อง 5. ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับ การยกเลิกชั้นความลับ และการจำหน่ายวัสดุลับทางการสื่อสารให้ เป็นไปตามระเบยี บนี้ 6. ตรวจสอบวัสดลุ ับทางการสื่อสารที่มีอยูใ่ นทะเบียนวัสดุลบั ทางการสื่อสาร ทุก 6 เดือน หรือเมื่อมี การเปลย่ี นตวั นายทะเบียนวัสดุลับทางการสอ่ื สาร หน้าทข่ี องเจ้าหน้าที่ควบคุมการรหสั เจ้าหน้าทค่ี วบคมุ การรหัส เปน็ ผ้ดู ำเนนิ การทางการรหัสของหน่วยภายใตก้ ารอำนวยการควบคุมและ กำกับดูแลของเจา้ หน้าท่ีควบคมุ การรักษาความปลอดภยั เกี่ยวกบั การส่ือสาร มหี น้าท่ีรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี 1. ควบคุมเพื่อใหแ้ นใ่ จว่าเจ้าหนา้ ทแ่ี ละผเู้ กี่ยวขอ้ งกบั การรหสั ของหนว่ ยจะต้องมีคณุ สมบัติ ตามข้อ 6 ของระเบยี บน้ี 2. แบ่งมอบหน้าท่เี ฉพาะใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ทกี่ ารรหัสแต่ละส่วน พร้อมทง้ั จดั ทำรายชอ่ื ไว้เปน็ หลกั ฐาน 3. พทิ ักษ์รักษาเคร่ืองมือและเอกสารการรหัสที่อยูใ่ นความรับผิดชอบใหเ้ ป็นไปตามระเบียบ 4. พิจารณาใช้ระบบการรหัสให้เหมาะสมกับชั้นความลับของข่าวที่จะส่งทางเครื่องมือสื่อสาร และ ควบคมุ การใช้ระบบการรหัสใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บและหลกั เกณฑไ์ ดก้ ำหนดไว้ 5. รายงานการปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั การรหสั ของหนว่ ยตอ่ หวั หนา้ สว่ นราชการตามห้วงระยะเวลาท่กี ำหนด 6. ในกรณีทีม่ ีการละเมิดการรกั ษาความปลอดภยั ทางการรหัส หรือสงสัยว่าระบบการรหัสของหน่วย รั่วไหล หรือสูญหาย ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการหรือเจ้าหน้าที่ควบคมุ การรกั ษาความปลอดภัยเกี่ยวกับ การสือ่ สารทนั ที องคแ์ ทนการสอื่ สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 9-15 หนา้ ทข่ี องเจ้าหน้าทคี่ วบคุมการรหสั เจ้าหนา้ ทคี่ วบคุมการรหัส เป็นผูด้ ำเนินการทางการรหัสของหน่วยภายใตก้ ารอำนวยการควบคุมและ กำกับดูแลของเจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ การรกั ษาความปลอดภยั เกี่ยวกับการสื่อสาร มีหน้าที่รบั ผดิ ชอบ ดงั น้ี 1. ควบคมุ เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ เจา้ หนา้ ท่ีและผเู้ กย่ี วข้องกบั การรหัสของหน่วยจะตอ้ งมคี ณุ สมบัติ ตามข้อ 6 ของระเบียบน้ี 2. แบง่ มอบหน้าทเี่ ฉพาะให้แก่เจา้ หนา้ ท่ีการรหสั แต่ละส่วน พรอ้ มท้ังจดั ทำรายช่ือไว้เปน็ หลักฐาน 3. พิทักษ์รักษาเครอ่ื งมือและเอกสารการรหัสทีอ่ ย่ใู นความรบั ผดิ ชอบใหเ้ ป็นไปตามระเบียบ 4. พิจารณาใช้ระบบการรหัสให้เหมาะสมกบั ชั้นความลับของข่าว ที่จะส่งทางเคร่ืองมือส่ือสาร และ ควบคมุ การใชร้ ะบบการรหัสใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บของหลักเกณฑ์ไดก้ ำหนดไว้ 5. รายงานการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การรหัสของหนว่ ยต่อหัวหน้าสว่ นราชการตามห้วงระยะเวลาท่กี ำหนด 6. ในกรณีที่มีการละเมิดการรักษาความปลอดภัยทางการรหัส หรือสงสัยว่าระบบการรหัสของหน่วย รั่วไหล หรือสูญหาย ให้รายงานหวั หน้าที่สว่ นราชการหรือเจ้าหน้าทีค่ วบคมุ การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกบั การสือ่ สารทนั ที หน้าทขี่ องเจ้าหนา้ ทีก่ ารรหสั เจ้าหน้าที่การรหัส มีหน้าที่รับผิดชอบในการเข้าและถอดการรหัสของหน่วยภายใต้การอำนวยการ ควบคุม และกำกับดูแลของเจ้าหนา้ ที่ควบคมุ การรหัส โดยให้เนน้ ในเรื่องต่อไปน้ี 1. ข่าวที่จะเข้ารหัส ต้องเป็นข่าวทางราชการที่ชั้นความลับ และได้ผ่านการพิจารณาจากเจ้าหน้าท่ี ควบคมุ การรหัสของหน่วยแล้วเทา่ นน้ั 2. ขา่ วท่ีไดเ้ ขา้ รหัสแลว้ ตอ้ งตรวจทานความถกู ตอ้ งทกุ ครั้งก่อนท่ีจะดำเนนิ การตอ่ ไป 3. ห้ามเขา้ การรหัสผสมกบั ขอ้ ความธรรมดาโดยเดด็ ขาด 4. ห้ามเปิดเผยวิธีการใชก้ ารรหสั ของหน่วย แกผ่ ู้ไม่มีหนา้ ท่ีเกีย่ วข้อง 5. ห้ามเข้าหรอื ถอดรหัสในแบบฟอร์มกระดาษเขยี นข่าวฉบับเดยี วกัน 6. ห้ามเกบ็ ระบบการรหสั กับขา่ วทถ่ี อดเป็นข้อความธรรมแลว้ รวมไว้ด้วยกัน 7. หา้ มนำบคุ คลท่ีไม่มอี ำนาจหนา้ ทีเ่ ขา้ มาในสถานที่ปฏิบัตกิ ารรหสั โดยเด็ดขาด 8. ต้องพิทกั ษร์ กั ษาระบบการรหัสและวัสดุทีเ่ ก่ยี วขอ้ งทีอ่ ยใู่ นความรับผดิ ชอบใหป้ ลอดภัยตลอดเวลา 9. ต้องทบทวนจนมั่นในว่า สามารถปฏิบัติตามแผนการขนย้ายและทำลายยามฉุกเฉินต่อระบบการ รหัสและวัสดทุ ่เี กยี่ วข้องที่อยู่ในความรบั ผดิ ชอบได้โดยทนั ที 10. วัสดุที่เกี่ยวข้องกับการเข้าหรือถอดรหัส เช่น กระดาษร่าง กระดาษคาร์บอน เป็นต้น เมื่อหมด ความจำเปน็ ต้องทำลายทนั ที 11. ในกรณที ีม่ กี ารละเมดิ การรักษาความปลอดภยั ทางการรหัส หรอื สงสยั วา่ ระบบการรหัสของหน่วย รวั่ ไหล หรอื สญู หาย ใหร้ ายงานหัวหน้าสว่ นราชการหรอื เจ้าหนา้ ท่ีควบคุม การรักษาความปลอดภัยเก่ียวกบั การ ส่อื สารทันที องค์แทนการส่อื สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-16 หนา้ ทขี่ องพนกั งานวทิ ยุ พนักงานวทิ ยมุ ีหน้าที่ รับผิดชอบในดา้ นการรักษาความปลอดภัย เกีย่ วกับการส่อื สารตามบทท่ี 2 ข้อ 13.3.4 ของระเบยี บนี้ ตลอดจนระเบียบ คำสั่ง คำแนะนำว่าด้วยการสื่อสารทางราชการไดก้ ำหนดไว้ และให้ เน้นในเรือ่ งตอ่ ไปน้ี 1. ห้ามส่งขา่ วโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตจากหวั หน้าสว่ นราชการ 2. หา้ มเปิดเผยนามเรียกขานโดยใชช้ ื่อจริงของหน่วย 3. ห้ามทวนขอ้ ความประมวลลบั หรือรหัสเปน็ ข้อความธรรมดา 4. หา้ มส่งข่าวเก่ียวกบั การกำหนดการเดินทาง ชอื่ ตำแหนง่ ของบคุ คลสำคัญเปน็ ข้อความธรรมดา 5. ห้ามนำบุคคลท่ไี มม่ อี ำนาจหน้าท่เี ขา้ มาในสถานทปี่ ฏบิ ัตงิ าน 6. ห้ามเปดิ เผยงานท่ีตนปฏบิ ตั ิ รวมทัง้ งานในศูนย์ปฏิบตั ิการส่ือสาร หรือสถานีสอื่ สารของหน่วย 7. ต้องทบทวนจนมั่นใจว่า สามารถปฏิบัติตามแผนการขนย้ายและทำลายยามฉุกเฉินต่อเครื่องมอื สอ่ื สารทอี่ ยใู่ นความรบั ผิดชอบได้โดยทนั ที 8. ในกรณีที่สงสัยว่ามกี ารละเมิดการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสื่อสาร ระบบการรหสั รั่วไหล ถูกลวงเลียน หรือถูกก่อกวน ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการ หรือเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย เกยี่ วกับการสื่อสารทนั ที หนา้ ท่ีของผู้อนุมตั ิข่าว ผอู้ นุมตั ิข่าว มหี น้าทีร่ ับผดิ ชอบดังนี้ 1. ตรวจข่าวเพือ่ ให้แน่ใจวา่ ข่าวที่จะส่งไปนัน้ ไดป้ ฏบิ ตั ติ าม ขอ้ 12 ของระเบยี บนี้โดยเครง่ ครดั 2. เสนอแนะใหผ้ ้เู ขยี นขา่ วเปลยี่ นแปลงขอ้ ความ หรอื เปลย่ี นแปลงช้ันความลับเกยี่ วกับการส่อื สาร 3. กอ่ นทจี่ ะอนุมตั ใิ ห้ส่งข่าวท่ีมีช้นั ความลบั ไม่เกิน “ลบั มาก” ดว้ ยข้อความธรรมดา เมอื่ พิจารณาเห็น วา่ ความเรง่ ดว่ นของสถานการณ์สำคัญกวา่ ความจำเปน็ ในการรกั ษาความปลอดภัยข่าวนนั้ จะตอ้ งได้รับอนุมัติ จากหวั หนา้ สว่ นราชการ หรือผ้รู ับมอบอำนาจเป็นลายลักษณอ์ ักษรวา่ “ให้สง่ เป็นข้อความธรรมดาได้” พร้อม ท้งั ลงชือ่ ยศ ตำแหนง่ ของผู้อนุมัติกำกบั ไวท้ ้ายข้อความของข่าวฉบับน้ัน องค์แทนการสื่อสาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-17 หน้าท่ีของเจ้าหน้าทผี่ ู้นำสง่ และผู้อารักขาการนำสง่ วัสดลุ บั ทางการสอ่ื สาร หน้าท่ีของเจ้าหนา้ ทผี่ นู้ ำสง่ และผอู้ ารักขาการนำส่ง วัสดุลับทางการสอ่ื สารทีม่ ใิ ช่เอกสารให้ถือปฏิบัติ ตามระเบียบว่าดว้ ยการรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาติ พ.ศ.2517 บทที่ 8 ผนวก 3 (รปภ.ทบ.2563 ผนวก ง ข้อ 3) โดยอนโุ ลมและใหเ้ น้นในเรอื่ งต่อไปนี้ 1. กอ่ นปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี เจา้ หนา้ ทผี่ นู้ ำส่งจะต้องไดร้ ับคำชี้แจงและซักซอ้ มเกี่ยวกับเทคนิคในการทำลาย ยามฉุกเฉนิ ตอ่ วัสดลุ ับทางการสอ่ื สารท่รี บั ผิดชอบ 2. ใหร้ ่วมกนั ควบคมุ และตรวจตราวัสดุลับทางการสอื่ สาร ที่รบั ผิดชอบในระหวา่ งการขนส่งโดยใกลช้ ิด ตลอดเวลา 3. ในกรณที ีไ่ ดร้ บั อนุมัตใิ ห้นำอาวธุ ตดิ ตวั ไปดว้ ย ผู้อารกั ขาการนำสง่ จะต้องอยใู่ นลกั ษณะพร้อมทจี่ ะใช้ อาวุธในการคมุ้ ครองพิทักษ์รกั ษาวัสดลุ ับ ทางการสอื่ สารตลอดเวลาขณะปฏิบตั หิ นา้ ท่ี 4. ในกรณีจำเป็น เจ้าหน้าที่ผู้นำส่งสามารถร้องขอการอารักขาเพิ่มเติมจากส่วนราชการที่มีอำนาจ หนา้ ทไ่ี ด้ตามความเหมาะสม องค์แทนการส่อื สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-18 ตวั อยา่ งกระดาษเขยี นขา่ ว องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 9-19 เปรยี บเทยี บระเบียบ รปภ. พ.ศ. 2517 กบั รปภ. พ.ศ. 2552 และ รปภ.ทบ. พ.ศ. 2563 รปภ.2517 รปภ. 2552, รปภ.ทบ.2563 รปภ.1 แบบประวัตบิ ุคคล รปภ.1 ประวตั บิ ุคคล รปภ.2 แบบบันทึกประวตั ิบคุ คล รปภ.2 บนั ทกึ เปล่ียนแปลงประวัตบิ คุ คล รปภ.3 ใบรบั รองความไว้วางใจ รปภ.3 บันทึกของเจ้าหนา้ ทรี่ บั ผิดชอบการลง รปภ.4 ทะเบยี นความไวว้ างใจ บนั ทกึ ประวตั ิบคุ คล รปภ.4 ใบรบั รองความไวว้ างใจ (ลับทส่ี ดุ /ลบั รปภ.5 ทำเนียบ ลบั ทสี่ ุด หรอื ลบั มาก รปภ.6 ใบรบั เอกสารลับ มาก) รปภ.5 ทะเบยี นความไวว้ างใจ รปภ.7 ใบคมุ เอกสาร ลบั ที่สดุ หรอื ลบั มาก รปภ.6 บันทกึ รบั รองการรักษาความลบั เม่ือเข้า รบั การปฏบิ ัตหิ นา้ ทีใ่ นภารกจิ หรอื ตำแหน่งหน้าท่ี รปภ.7 บนั ทึกรับรองการรักษาความลับเมื่อพน้ จากการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ใี นภารกจิ หรือ ตำแหนง่ หนา้ ที่ รปภ.8 ใบปกเอกสารลบั รปภ.9 รปภ.10 รายการปิดเปิดและการตรวจสอบ (ตู้ รปภ.11 นิรภัย) รปภ.12 ใบรบั รองโอนเอกสารลับ รายงานการตรวจสอบเอกสารลบั รปภ.13 ใบรับรองการทำลายเอกสารลบั รปภ.14 ใบรายงานเอกสารลับสูญหาย รปภ.15 บันทกึ รบั รองการรักษาความลบั เมอ่ื เขา้ รปภ.16 รับตำแหนง่ รปภ.17 บันทึกรบั รองการรกั ษาความลับเมอ่ื พ้น จากตำแหน่ง รปภ.18 ทะเบียนเอกสารลบั รปภ.19 องคแ์ ทนการส่อื สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
บทท่ี 10 วิทยาการทำให้เปน็ ความลบั (CRYPTOLOGY) ความต้องการทจ่ี ะปิดบังข่าวที่มคี วามสำคญั ต่อทางราชการนั้น ไดท้ ำกันมาเปน็ เวลานานแล้ว ไม่ว่า จะเป็นทางข้าราชการฝา่ ยพลเรอื นหรือทางทหาร การรบในสมยั กอ่ นๆ แมว้ า่ ในระยะแรกจะเป็นแบบง่ายๆ และหยาบๆ แต่วา่ หลกั การและเทคนคิ ตา่ งๆ ในการท่จี ะทำให้เปน็ ความลับในการตติ ่อสอื่ สารไดเ้ จรญิ ข้ึนเปน็ ลำดับ จนเป็นศาสตร์ในการทำให้เป็นความลับข้ึน ในทางทหารมกี ารสอนเฉพาะในหนว่ ยของตน สำหรับผู้ท่ี ได้รับการตรวจสอบความไว้วางใจแล้วเท่านัน้ ไมม่ กี ารเผยแพรใ่ ห้ประเทศพนั ธมติ รทราบ วิธีว่าด้วย การผลิต , การใช้และวิเคราะห์การติดต่อสื่อสารที่เป็นความลับ การติดต่อสื่อสารที่ ต้องการให้เป็นความลับ มีทั้งการพูดโทรศัพท์ , วิทยุ , โทรสำเนา , โทรภาพ , แผนที่รวมทั้งการเขียนท่ี สามารถมองเห็นได้และมองไม่เห็น ทั้งสองประการหลังนี้ มิใช่ขอบเขตที่จะกล่าวถึง วิทยาการทำให้เ ป็น ความลับมอี งคป์ ระกอบดงั นี้ คุณลกั ษณะของระบบการอกั ษรลบั ท่ีดี ควรมลี ักษณะดังน้ี 1) มีความมั่นคงในการรักษาความลับไดด้ ี (Security) คือ ระบบที่ข้าศกึ วิเคราะห์ไม่ออกหรอื ยาก ทำให้เสยี เวลาในการวเิ คราะห์นาน จนข่าวนัน้ ไมเ่ กดิ ผล 2) เช่ือถอื ไดแ้ น่นอน (Reliability) เป็นระบบทด่ี ไี มม่ ีผดิ พลาดได้งา่ ย ในการเขา้ และถอด ซ่งึ สามารถ จะเข้า-ถอดขอ้ ความให้ตรงตามผูใ้ หข้ า่ วต้องการโดยไมผ่ ิดเพืย้ น แม้ขอ้ ความอกั ษรลับจะขาดหายไปบางตอน ก็อาจถอดข้อความเฉพาะตอนที่เหลือได้ 3) มีความอ่อนตัวดี (Flexibility) สามารถเปลี่ยนกุญแจเป็นแบบต่างๆ ในระยะเดียวกันได้ ใช้ได้ เหมาะกับวิธีการสื่อสารหลายอย่าง โดยสามารถส่งไปตามทางการสื่อสารได้ทันที และสามารถนำไปใช้ได้ เกือบทกุ สถานการณ์ 4) รวดเรว็ (Speed) คือ สามารถเขา้ -ถอดรหัสได้อยา่ งรวดเร็ว ไม่ต้องเสียเวลาและสติปัญญามาก นกั และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์เรง่ ด่วนไดด้ ี 5) ประหยัด (Economy) ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการทำอักษรลับมาก เมื่อทำข่าวเข้าอักษรลับ แล้ว จะตอ้ งส้นิ เปลอื งคา่ นำส่งข่าวนอ้ ย องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 10-2 วทิ ยาการทำใหเ้ ป็นความลบั เสยี ง อักษรลบั การเข้ารหัส การใช้ประมวลลบั ระบบ รหสั ประมวลลับ ตอ่ คลื่นเสียง ประกอบคำพูด บอกฝา่ ย Carrier ระบบบอกฝา่ ย ภาษาเดียว หลายภาษา Scrambling แบบส่งคำถาม Encryption และคำตอบ เดี่ยว คู่ วธิ ีการ ระบบ ในระบบ นอกระบบ เปลีย่ นท่ี เปลยี่ นแทน ผสม On line Off line อเิ ล็กทรอนิกส์ เครือ่ งกล ดว้ ยมือ Electronic Mechanic Manual องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-3 1. การทำให้เสยี งเปน็ ความลับ 1.1 การทำให้เสียงเป็นความลับ (Electronic) กระทำโดยใช้เครื่องเข้ารหัสเสียงต่อไปเข้ากับ โทรศพั ท์ หรือวทิ ยโุ ทรศพั ท์ก่อนทจ่ี ะสง่ สัญญาณออกปลายทาง ณ ทส่ี ถานีปลายทางเคร่อื งถอดรหสั เสยี ง จะ แปลงสัญญาณกลับไปเขา้ โทรศพั ท์หรอื วิทยุโทรศัพท์ เปน็ เคร่ืองทอ่ี ำนวยต่อการ รปภ.ส. ในทางสาย โดยกำหนดเป็นวงจรอนุมัติให้สง่ ข่าวทมี่ ชี ้ันความลบั จนถึงลบั มาก สว่ นการใชว้ ิทยุโทรศัพทใ์ ห้มกี ารใช้ไดบ้ า้ ง แล้วแตช่ นดิ และขนาดของเคร่ืองเขา้ – ถอดรหัส วธิ กี ารเขา้ รหสั เสยี งมี 3 แบบ คอื ก. การใช้ความถเี่ สียงผสม (CARRIER) วธิ ีน้ีตัวเครอ่ื งเข้ารหัสจะผลิตคล่นื พาห์ความถี่หน่ึงขึ้นมาใน ย่านความถ่ีเสยี ง เข้าไปผสมเพ่ือให้เกดิ การเพ้ียน ข. วิธี SCAMBLING เป็นการแบ่งสัญญาณเสียงออกเป็นส่วนๆ แล้วสลับกันเป็นแบบ pattern นบั เปน็ ล้านๆ แบบ โดยการตง้ั กุญแจ (Key) ภายนอกและภายในเครือ่ ง ค. วิธี ENCRYPTION เป็นการทำสัญญาณ DIGITAL หรือ ANALOG (ที่แปลงเป็น DIGITAL แล้ว) มาผสมกบั KEY TEXT ทท่ี ำข้นึ เปน็ pattern ตา่ งๆ โดยอาศัยการตง้ั KEY ทำนองเดยี วกับข้อ ข. หรือใชแ้ ถบ ปรุตง้ั KEY TEXT ผสมกบั Plain Text จะไดผ้ ลออกมาตามวธิ ี DINARY เปน็ CODE TEXT 1.2 การใช้ประมวลลับประกอบคำพูด สำหรับการทำเสียงให้เป็นความลับโดยใช้ประมวลประกบั คำพูดนั้น ส่วนใหญ่เป็นประมวลลับยุทธการ operation code (op.Code) เช่น คำย่อหรือคำพูดตาม ระเบียบ , สัญญาณปฏิบัติการ Q & Z (code Q , Z) และประมวลลับนัดหมาย Prearrange Massage Code (PM Code) อาทิ แผ่นผา้ สัญญาณ และประมวลลบั แผนท่ีเปน็ ตน้ 2. การอักษรลับ (Cryptography) ขา่ วทเ่ี ปน็ ขอ้ ความธรรมดาทีค่ นทวั่ ไปอ่านแลว้ เขา้ ใจ ไมม่ ีความหมายใดซ่อนพรางอยู่ เรียกว่า ข่าว ธรรมดา (Plane Message in Clear) ข่าวที่บรรจุข้อความที่อ่านแล้วไม่ได้ใจความ เท่าที่ปรากฏออกมามีแต่ความหมายซ่อนเร้นอยู่ เรยี กว่า ข่าวอักษรลบั การแปลงขา่ วธรรมดาใหเ้ ปน็ ขา่ วอักษรลับ เป็นสว่ นหนง่ึ ของการอกั ษรลบั ซ่งึ ว่าด้วยวิธีการต่างๆ ที่ จะเปล่ยี นขอ้ ความธรรมดาเป็นขอ้ ความทไี่ ม่สามารถท่ไี มส่ ามารถจะอ่านเข้าใจไดแ้ ละเปล่ยี นจากข้อความที่ อา่ นไมเ่ ขา้ ใจใหเ้ ป็นข้อความธรรมดา การอกั ษรลบั มใี ช่อยู่ 3 วิธคี อื 1. รหสั (Cipher) 2. ประมวลลบั (Code) 3. ระบบบอกฝา่ ย (Authentication) องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 10-4 2.1 รหัส (Cipher) รหสั เปน็ การอกั ษรลบั แบบหนึ่ง ท่ีใช้แปลงหรือสลับตัวอักษรของข่าวทำให้ไมส่ ามารถอ่านเข้าใจได้ หรืออ่านได้แต่ผิดไปจากความหมายเดิม ด้วยวิธีการเปลี่ยนที่และเปล่ียนแทน หรือผสมทัง้ สองวิธีดังกล่าว อยา่ งมรี ะเบยี บ เรียกวา่ รหัส (Cipher) รหสั แบง่ ตามระบบการใช้ ได้ 2 อย่าง คอื ก. ในวงจร (ON LINE) ได้แก่การใช้เครื่องรหัสต่อเข้ากับวงจรเครื่องสื่อสารทางไฟฟ้า อเิ ล็กทรอนกิ สโ์ ดยตรง พนักงานตน้ ทางและปลายทางไมม่ สี ว่ นเกย่ี วข้องกับกากรเข้า- ถอดรหัสเลย เครื่องรหัสจะทำหน้าที่เข้ารหัสข้อความที่พนักงานพิมพ์ด้วยอักษร ข้อความธรรมดาน้นั แปลงเปน็ สญั ญาณท่สี ่งไปตามสื่อจนถงึ ปลายทาง ข. นอกวงจร (OFF LINE) ได้แก่การใชว้ ิทยาการโดยพนกั งานฯ หรือเครือ่ งเข้าถอดรหสั แปลงขอ้ ความธรรมดาท่ลี ะตัว แลว้ บันทกึ ลงในกระดาษเขยี นข่าวเปน็ อักษรท่ีเข้ารหัส แล้ว ข่าวที่เข้ารหัสแล้วนี้จะส่งไปให้พนกั งานเครื่องสื่อสารส่งไปด้วยมัฌชิมสื่อสารที่ เหมาะสม ไปยังปลายทางทต่ี ้องการสง่ เม่อื ถงึ ปลายทางพนกั งานปลายทางจะต้องเอา ข้อความรหัสไปถอดด้วยเครือ่ งรหัสหรอื ถอดตามการเขา้ รหสั ทต่ี ้นทาง ก็จะไดข้ อ้ ความ ธรรมดาเชน่ เดียวกับต้นทางทกุ ประการ วิธีการเข้ารหัสแบบนอกวงจร อาจกระทำด้วยเครื่องเข้ารหัสอิเลคทรอนิคส์ หรือเครื่องการรหสั หรอื ใชว้ ิทยาการเข้า-ถอดโดยพนกั งานฯ เช่น รหัสโสณกุล,One Time PAD เป็นต้น ท้งั นจ้ี ะตอ้ งมกี ุญแจรหสั (Key) ท่ีตรงกัน กรรมวทิ ยาการแปลงหรอื สลับตัวอักษร มี 3 แบบ คอื 1. รหัสแบบเปลีย่ นท่ี (Transposition Cypher) คอื วิธีการเอาตวั อักษรในข้อความธรรมดาสลับท่ี กนั อยา่ งมแี บบแผน น รหสั โสณกลุ ฯ 2. รหัสแบบเปลี่ยนแทน (Substitution Cypher) คือ วิธีการเอาตัวอักษรอื่น หรือตัวเลขแทน ตัวอกั ษร ในข้อความธรรมดาอยา่ งมีระเบียบ เช่น รหัสแบบ One Time PAD 3. รหสั แบบผสม คอื วิธีการเขา้ รหัสท่ใี ชท้ ง้ั การเปลย่ี นทีแ่ ละเปล่ียนแทนผสมกันอยา่ งมีแบบแผน วิธกี ารปฏิบตั ติ อ่ รหัสโสณกลุ ก. การหาตวั กญุ แจ (KEY) 1.ใช้ประโยคภาษาไทย 1 ประโยค แล้วตดั สระและเครือ่ งหมายวรรณยุกตอ์ อกใหเ้ หลอื แต่ ตวั พยญั ชนะ เทา่ นน้ั ตัวอย่าง 1 “อมรรตั รนโกสนิ ทร”์ เปน็ ตัวกุญแจ เมอื่ ตัดสระแลเคร่ืองหมายวรรณยุกตอ์ อกจะเหลอื อมรรตนกสนทร องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-5 แล้วให้หมายเลขกำกับตวั อักษรโดยเรียงลำดบั ตวั อกั ษรภาษาไทย สำหรบั ตวั ที่ซ้ำกนั ให้ใสห่ มายเลข กำกบั เรียงถดั ไปตามลำดบั แลว้ จึงใส่หมายเลขของตวั ตอ่ ไป อมร ร ตนกสนทร 11 6 7 8 2 4 1 10 5 3 9 2.ใช้ประโยคภาษไทย 1 ประโยคเป็นกญุ แจ โดยไมต่ ้องตดั ส่วนใดออก ตวั อยา่ ง 2 “กรุงเทพมหานคร” แลว้ ใหห้ มายเลขกำกบั ตามลำดบั ตวั อกั ษรภาษาไทย จากตวั พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ตามลำดบั เชน่ เดยี วกบั ตัวอย่างท่ี 1 กร ง เ ทพมหานคร 1 8 12 3 13 4 6 7 10 11 5 2 9 ข. การเข้ารหสั โสณกลุ 1. นำข้อความของข่าวมาใส่ลงในช่องตารางรหสั ทางระดับจากซ้ายไปขวา เท่าจำนวนช่องกุญแจ จนหมดขอ้ ความ 2. ถ้ายังไม่ครบช่อง (เต็มรูปสี่เหลี่ยม) ของตารางรหัส ให้นำพยัญชนะภาษาเดียวกันมาใส่ใหค้ รบ โดยพยัญชนะท่นี ำมาใสน่ ้ันจะต้องอา่ นไมไ่ ด้ใจความ เช่น ฮ ตัวอย่าง ขอ้ ความข่าว “ ใหเ้ ข้าตีตรงหน้า ตามวนั ว.เวลา น.” อมร ร ตนกสนทร 11 6 7 8 2 4 1 10 5 3 9 ให เข าต ตร งหน าตามว น ว. เ วลาน. ฮฮฮ 3. เม่ือนำมาเขียนลงในกระดาษเขยี นข่าว ต้องเขยี นเปน็ หมคู่ ำ (หมู่คำละ 5 ตัวอกั ษร บรรทัดละ 5 หมู่คำ) โดยให้เขียนตามลำดับแนวแกนต้ังและตามหมายเลขลำดับ และถ้าไม่ครบหมู่คำ ให้เติมพยัญชนะ ภาพเดียวกนั แต่อา่ นไม่ไดใ้ จความลงเพิ่มเติมให้ครบหมคู่ ำ ตวั อย่าง 1 าานขา ลต ฮ ตา วฮ หห. น เเ วร น ฮ ต ม. ใ ง ว ฮ ฮ นบั ได้จำนวน 7 หมคู่ ำ องค์แทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-6 ตวั อยา่ งท่ี 2 “ ให้เข้าตตี รงหน้าตามวัน ว.เวลา น.” กร ง เ ทพมหานคร 1 8 12 3 13 4 6 7 10 11 5 2 9 ให เข าต ตรงห น าตามว นว . เว ลาน . ฮฮฮฮฮฮฮฮฮ เมือ่ นำมาเขียนลงกระดาษเขยี นข่าว จะได้ข้อความท่เี ป็นรหัสดงั น.้ี - ฮห าห ในลงเ ฮเต. มฮร.ฮ าวฮต ว ฮ น ฮ ต ว ฮ า น ข าฮ ฮ นบั ไดจ้ ำนวน 8 หมู่คำ ค. การถอดรหัสโสณกุล 1. ให้นำจำนวนหมู่คำของขา่ ว คณู ดว้ ย 5 (เพราะ 1 หมู่คำมี 5 ตัวอักษร) ได้ผลลัพท์เท่าไร หารดว้ ย เลขสูงสุดของกุญแจ ผลลัพท์จะเปน็ จำนวนบรรทดั แนวนอน (ทางระดบั ) ทีจ่ ะถอดรหัส ตามตวั อยา่ งที่ 1 ขอ้ ความของข่าวมี 7 หมู่คำ จะมีจำนวนตัวอักษร = 7 X 5 = 35 ตวั อักษร เอาเลขสูงสดุ ของกุญแจ (11) มาหาร = 35 11 = 3 (เหลือเศษตัดท้งิ ไป) เพราะฉะนั้นจะไดแ้ กนนอน 3 บรรทดั 2. นำขอ้ ความในกระดาษเขียนข่าวมาลงในตารางรหัส ตงั้ แต่ชอ่ งเลข 1 ใสข่ ้อความลงมาตามลำดับ หมูค่ ำจนหมดบรรทัด แล้วจงึ ลงในชอ่ งต่อไปจนหมดขอ้ ความโดยเขยี นตามทางดง่ิ และตามหมายเลขกำกับ กญุ แจ ก็จะไดใ้ จความในตารางถอดรหัส ตามตัวอยา่ งที่ 2 ข้อความข่าวมี 8 หม่คู ำ มจี ำนวนตัวอกั ษร = 8 X 5 = 40 ตวั อักษร เอาเลขสูงสดุ ของกุญแจ (13) มาหาร = 40 13 = 3 (เหลือเศษตดั ทิ้งไป) เพราะฉะน้ัน จะได้แนวนอน 3 บรรทดั องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 10-7 ง. การเขยี นสระและวรรณยุกต์ สระและวรรณยุกต์ในภาษาไทยน้ี มีทั้งอยูข่ ้างบนและอยู่ขา้ งล่าง วิธีการเขียนสำหรับเข้ารหัสโสณ กลุ เพอ่ื มใิ ห้เกิดการสับสน จึงจำเปน็ ตอ้ งมีเครอื่ ง (-) กำกบั ไว้ เชน่ ใ– -า ฯลฯ วิธกี ารปฏิบัตติ ่อรหสั ONE TIME PAD รหัสแบบตัวเลขนั้นนับว่าใช้ได้ผลมาแล้ว ขณะนี้ก็ยังใช้กับหน่วยราชการทหารหลายหน่วย เช่น หน่วยปฏิบตั ิการพเิ ศษ หน่วยเฉพาะกจิ ฯลฯ ซ่ึงมผี ลดหี ลายประการ เชน่ - การฝกึ พนักงานใชเ้ วลาน้อยกวา่ ฝึกสญั ญาณมอร์สภาษาไทยและสากล - การเขา้ ถอดรหัสทำได้รวดเร็ว - ใช้ไดท้ ้งั แบบช้นั เดียวและสองช้ัน - ถา้ พนกั งานท่ีมคี วามชำนาญ สามารถทำการรับสง่ ข่าวได้เร็วขน้ึ - ถึงแม้จะถูกรบกวนหรือถูกก่อกวน ทำให้สัญญาณขาดหายไปบางตอน ก็ยังสามารถถอด ขอ้ ความพออ่านได้ - สามารถเปลี่ยนกญุ แจรหสั (KEY) ได้หลายแบบ รวดเรว็ งา่ ย - รกั ษาความลับได้ดีพอสมควร การปฏบิ ตั กิ ารเขา้ – ถอดรหสั 1. แบบช้ันเดยี ว 2. แบบสองชั้น 1. การเขา้ – ถอดรหัสแบบช้นั เดียว เป็นการเข้ารหัสแบบเปลี่ยนแทนจากข้อความท่ีเป็นภาษาไทย ให้เปล่ียนเป็นตัวเลข 1 – 0 แทนท่ี ข่าว โดยใช้กุญแจรหัสตัวเลขสองตัวเท่ากับหนึ่งตัวอักษร ทั้งภาษาไทยและสากล รวมทั้งเครื่องหมาย และวรรณยกุ ต์ตา่ งๆ ด้วย สถานีสง่ กบั สถานรี ับจะต้องมีกญุ แจฉบับเดียวกัน ตวั อยา่ ง ให้ขอ้ ความข่าวเปน็ ดงั นี้ “ให้เข้าตตี รงหน้า” 5237 5748 1257 4221 4421 3314 3724 5742 รวม 8 หมู่คำ หมายเหตุ การถอดรหัสคงใช้กุญแจฉบับเดียวกัน เมื่อพนักงานรับรับข่าวฉบับนี้ได้แล้วตัวเลขแทน ตวั อกั ษรจะอา่ นไดใ้ จความเหมอื นต้นฉบับทกุ ประการ รายละเอยี ดในทางปฏิบตั ิพนกั งานฯ ผไู้ ด้รับการ ฝกึ มาแลว้ จะเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิตามคำสงั่ การส่ือสาร (นปส.) ทุกประการ องคแ์ ทนการสื่อสาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-8 2. การเข้ารหสั แบบสองชนั้ วิธกี ารเข้ารหัส 1. ให้แปลงข่าวเป็นตัวเลขตามกญุ แจรหัสเสียกอ่ น 2. เอาเลขรหัสท่ีเปลย่ี นแทนข่าวแลว้ ไปลบเลขในกญุ แจรหสั ตามหมายเลขเล่ม และหน้า ของสมุดรหัสท่ีบ่งไว้ในหวั ขา่ ว 3. เมอื่ ทำการลบเลขแล้ว ได้เลขใหมท่ จี่ ะสง่ ไปปลายทาง 4. หลกั การลบ ถา้ ตัง้ นอ้ ยกว่าตัวลบใหบ้ วกด้วย 10 แลว้ จงึ ลบ (ไมม่ กี ารยืม) 5. ให้เว้นหมู่คำหมู่แรกของกุญแจรหสั และเพิม่ หมู่คำด้วยตัวเลขหมูส่ ุดทา้ ยของสมุดรับ รหัสลงในข่าวส่งไปด้วย เพื่อผู้รบั ข่าวจะได้ตรวจสอบ เล่มและหน้าของกุญแจรหัสให้ ตรงกนั งา่ ยตอ่ การถอด ตัวอย่าง ให้ขอ้ ความข่าววา่ “ใหเ้ ข้าตตี รงหนา้ ” เม่ือแปลงเป็นตวั เลขแล้วจะได้ตามตวั อย่างการเข้ารหัสชน้ั เดยี ว และให้ใช้สมุดรหัส เล่มที่ 880 หนา้ 001 ดงั น้ี กุญแจบรรทดั ที่ 1 3904 7980 0445 4876 4063 ข้อความของข่าว 0000 5137 5749 1257 4421 ผลลัพท์ ที่จะส่ง 3904 2853 5706 3629 0842 กุญแจบรรทดั ที่ 2 9805 4371 0923 5810 6586 ขอ้ ความของข่าว 4421 3314 3724 5742 0000 ผลลัพท์ ทจี่ ะสง่ 5484 1067 7209 0178 6586 วธิ กี ารถอดรหสั สองชัน้ 1. ผถู้ อดรหสั จะตอ้ งเอาหมู่ตัวเลขทีไ่ ดร้ บั ทั้งหมด นำไปลบในกญุ แจรหัสเล่มที่ 880 หนา้ 001 ตามระบใุ หห้ วั ขา่ ว 2. เอาผลลพั ทท์ ไ่ี ด้ไปถอดรหสั เปลีย่ นเปน็ ขอ้ ความข่าว 3. วิธีการถอดทำทวนกลบั วิธเี ขา้ หมายเหตุ สมุดรหสั เลขเลม่ และหนา้ ต้องตรงกันท้งั ของผรู้ บั และผสู้ ่ง จงึ จะถอดรหัสได้ (เลม่ รับเปน็ สำเนา ของเลม่ สง่ ) องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 10-9 ตวั อยา่ งสมดุ รหัส ONE TIME PAD R 880 001 3904 7980 0445 4876 4063 9805 4371 0923 5810 6586 T 880 001 3904 7980 0445 4876 4063 9805 4371 1923 5810 6586 4265 0498 5661 0864 9742 7329 5672 0091 3625 8857 3345 2143 1029 3847 5610 5019 2837 4655 0192 8374 1357 0864 0912 8734 1278 5490 0167 0400 9542 4629 1109 3627 8540 0396 7320 1234 5678 9012 3456 7890 องคแ์ ทนการสื่อสาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าท่ี 10-10 ตวั อยา่ งกุญแจรหสั ONE TIME PAD แบบท่ี 1 *1234567890 1กขค ง จฉชซญด 2 ต ถ ทนบปผ ฝพฟ 3มยรลวสหอฮฤ 4ะา เแ 5ไโ เ–ย เ–อ . 6 ๆ , (-) / ย่อหน้า วรรค 7 วนั ที่ ถงึ จาก ท่ี 1 2 3 4 5 6 87890ABCDEF 9GH I J K LMNOP 0QR S TUVWX Y Z บ่งการ.- 1. ให้มผี ลบงั คบั ใช้ ตั้งแต…่ ………………ถึง…………………… 2. ยกเลิกการใช้ เมอื่ ไดร้ ับสัญญาณ………………………………. 3. การเปลย่ี นแปลง………………………………………………. องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ที่ 10-11 ตัวอย่างกญุ แจรหสั ONE TIME PAD แบบท่ี 2 บง่ การ.- 1. ใหม้ ีผลบงั คับใช้ ต้งั แต่…………………ถงึ …………………… 2. ยกเลิกการใช้ เมื่อได้รับสญั ญาณ………………………………. 3. การเปล่ยี นแปลง………………………………………………. องคแ์ ทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-12 วิธกี ารปฏบิ ตั ิต่อรหสั ONE TIME PASSWORD (OTP) 1. OTP โปรแกรมที่ใชใ้ นการเขา้ รหสั – ถอดรหัสขา่ วสารธรรมดาใหเ้ ป็นขอ้ ความอกั ษรลับ มคี วามมุ่งหมาย ใหฝ้ า่ ยตรงข้าม หรือผูไ้ มห่ วังดี เมอื่ ไดข้ ้อมลู ไปแลว้ ไมส่ ามารถวิเคราะห์ ยากตอ่ การวเิ คราะห์ หรอื เสยี เวลาใน การวิเคราะห์ข้อมูลนาน จนข่าวสารนั้นไม่เกิดผล โดยใช้เทคนิคการเข้ารหัสแบบ “เปลี่ยนแทน” (Substitution Cipher) คือ การนำ อกั ษรอนื่ หรอื ตัวเลข แทนตวั อักษรในขอ้ ความธรรมดาอย่างมรี ะเบียบ แบบแผน ซึ่งการเข้าและถอดรหัสนั้นสามารถกระทำได้ทั้งการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (OTP) และการ ถอดรหสั โดยคน (Manual) 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อรักษาความลับในการรบั – ส่งข่าวสาร โดยการเปลี่ยนขอ้ มูลขา่ วสารธรรมดา ให้เปน็ ข้อความ ลบั อย่างมีระเบยี บแบบแผน 3. ข้อกำหนดการใช้งาน 3.1 การเข้ารหัส – ถอดรหัสขอ้ มูลจะตอ้ งใช้ตารางตวั อักษรและตารางกุญแจรหสั คู่กันเสมอ 3.2 การเข้ารหัสด้วยตารางอักษรและตารางกุญแจรหัสคู่ใด จะต้องถอดรหัสดว้ ยตารางอกั ษรและตาราง กุญแจรหสั คู่นน้ั เสมอ (Symmetric Key Cryptosystem) 3.3 ผู้ส่งและผู้รับจะต้องมีการกำหนดการใช้ตารางตัวอักษรและตารางกุญแจรหัสให้ตรงกัน (อาจจะ กำหนดไว้ในคำแนะนำปฏิบตั กิ ารส่อื สาร หรือ นปส.) 3.4 ชุดของตารางตวั อกั ษรและตารางกญุ แจรหัสท่ีใช้ร่วมกัน จะต้องถูกสร้างจากทีเ่ ดยี วหรือผู้ดูแลระบบ เทา่ นน้ั จงึ จะสามารถใช้ร่วมกันได้ ซึ่งในการสรา้ งแตล่ ะคร้ังจะมคี วามแตกต่างกนั เสมอ 4. ขัน้ ตอนการใชง้ าน 4.1 การสร้างตารางตวั อกั ษรและตารางกุญแจรหัส 4.2 การเข้ารหสั ข้อความ (Encryption) 4.3 การถอดรหสั ข้อความ (Decryption) 5. วิธีการใชง้ าน 5.1 Folder ท่บี รรจโุ ปรแกรม OTP จะประกอบดว้ ย 1) โปรแกรมที่ใช้ทำงานชอ่ื prog_OTP.exe 2) Sub Folder ชอื่ Data จะบรรจขุ ้อมลู ท่ีนำไปใช้งานประกอบดว้ ย 2.1) File ตารางตวั อกั ษร (นามสกุล .chr) จำนวน n ไฟล์ 2.2) File ตารางกุญแจรหสั (นามสกลุ .key) จำนวน n ไฟล์ 2.2) File อน่ื ๆ เชน่ Manual.pdf (เอกสารค่มู ือการใชง้ าน) องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-13 5.2 การเขา้ สูก่ ารทำงานของโปรแกรม ประกอบด้วยขัน้ ตอนหลกั ๆ 4 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 5.2.1 การเปดิ – ปดิ โปรแกรมฯ 5.2.2 การสรา้ งตารางตวั อักษรและตารางกญุ แจรหสั 5.2.3 การเข้ารหัสข้อความและการนำไปใช้ 5.2.4 การถอดรหัสข้อความและการนำไปใช้ การเปดิ – ปดิ โปรแกรมฯ 1. เม่อื เปดิ Folder จะแสดงดังรปู ท่ี 1 แล้วกดเปดิ ไฟล์ prog_OTP.exe รปู ท่ี 1 2. เมอื่ เปิด prog_OTP.exe ระบบจะแสดงหน้าจอโปรแกรมดงั รปู ท่ี 2 เมอ่ื ตอ้ งการปดิ โปรแกรม สามารถกดปดิ ปมุ่ หนา้ ต่าง หรือกดทเี่ มนู รปู ท่ี 2 องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
การสรา้ งตารางตัวอกั ษร และตารางกญุ แจรหสั หน้าท่ี 10-14 1. กรณไี มม่ ขี ้อมลู ตารางรหสั (ตอ้ งทำการสร้างกอ่ น) ระบบจะแสดงหนา้ จอดังรปู ที่ 3 1.1 เมอ่ื ต้องการสร้างตารางรหสั ฯ ใหม่ เลือกทีเ่ มนู รปู ท่ี 3 1.2 กรอกข้อมูล “คำนำหน้าชื่อไฟล์” และ “จำนวนไฟล”์ แล้วเลือกที่เมนู เพื่อสร้าง ไฟล์ตารางกุญแจรหัสและไฟล์ตารางตัวอักษร ซึ่งจะแสดงรายการไฟล์ตารางดังรูปที่ 4 เมื่อสร้างไฟล์ฯ เรียบร้อยแลว้ สามารถปดิ หน้าต่างได้ โดยไฟล์ทส่ี รา้ งข้นึ ขอ้ มลู ไฟลจ์ ะอยใู่ น Folder : Data รูปท่ี 4 องค์แทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-15 2. กรณีนำเขา้ ไฟลต์ ารางกญุ แจรหสั และไฟลต์ ารางตัวอกั ษร 2.1 เลือกทเ่ี มนู เพ่ือเลอื กตำแหนง่ (Path) ของไฟล์ตารางตัวอักษรและตารางกญุ แจรหสั ทต่ี อ้ งการนำเขา้ เมอ่ื ไฟลต์ ารางตวั อักษรและตารางกญุ แจรหสั เขา้ สรู่ ะบบเรียบร้อยแล้ว จะแสดงดังรปู ท่ี 5 รูปท่ี 5 3. เมอ่ื ต้องการดขู อ้ มลู ตารางฯ เลอื กทเ่ี มนู จะแสดงดังรปู ที่ 6 รปู ท่ี 6 องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-16 การเขา้ รหสั ขอ้ ความและการนำไปใช้ 1. กดเลอื กไฟลต์ ารางตัวอกั ษรและตารางกญุ แจรหสั ทตี่ อ้ งการจะนำมาเขา้ รหสั 2. กรอกข้อความท่ีตอ้ งเข้ารหสั ทก่ี ล่องข้อความ “ข้อความถอดรหสั ” 3. กดปุ่มเมนูเขา้ รหสั 4. ระบบจะแสดงข้อความเขา้ รหสั ทก่ี ล่องขอ้ ความ “ขอ้ ความเขา้ รหัส” ** ข้ันตอนข้างต้นดงั ตามรูปที่ 7 3 1 24 1 รูปที่ 7 5. เมอ่ื ได้ขอ้ ความเขา้ รหสั ทกี่ ล่องขอ้ ความ “ข้อความเขา้ รหัส” สามารถส่งขอ้ ความทเี่ ขา้ รหัสแลว้ ให้ หน่วยปลายทางท่ีต้องการจะส่งขอ้ ความถึง การถอดรหัสขอ้ ความและการนำไปใช้ 1. กดเลือกไฟล์ตารางตวั อกั ษรและตารางกญุ แจรหสั ที่ตอ้ งการจะนำมาถอดรหสั (ตอ้ งเลอื กไฟล์ เดียวกบั ตอนเข้ารหสั หรอื อาจจะดูใน นปส.) 2. กรอกข้อความทตี่ ้องเข้ารหสั ทกี่ ลอ่ งขอ้ ความ “ข้อความเขา้ รหัส” 3. กดปุ่มเมนูถอดรหสั 4. ระบบจะแสดงข้อความถอดรหสั ท่กี ลอ่ งข้อความ “ขอ้ ความถอดรหสั ” ซง่ึ เป็นขอ้ ความท่สี ามารถ อา่ นไดป้ กติ องคแ์ ทนการสื่อสาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-17 ** ข้ันตอนขา้ งตน้ ดังรูปที่ 8 1 42 3 1 รปู ท่ี 8 ➢ เมือ่ ไดข้ ้อความเขา้ รหสั สามารถคดั ลอกขอ้ ความไปสง่ ตามชอ่ งทางท่ตี ้อง เชน่ Line, G-chaat, E-Mail หรือชอ่ งทางการสอื่ สารอืน่ ๆ องคแ์ ทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-18 รปู ที่ 9 องคแ์ ทนการสื่อสาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-19 การเข้ารหสั และถอดรหสั ดว้ ยตวั เอง ในการเข้ารหสั และถอดรหัสด้วยตวั เอง จะทำโดยใช้ตารางอกั ษรและตารางกุญแจรหสั เหมอื นกับการเขา้ รหสั และถอดรหสั โดยใช้คอมพวิ เตอร์ รูปท่ี 10 องค์แทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-20 รปู ท่ี 11 ขนั้ ตอนการเขา้ รหัสดว้ ยตัวเอง 1. เลอื กใช้ตารางอกั ษร 18x10 2. กำหนดข้อความข่าวที่จะสง่ เช่น “สวสั ดี” 3. จากนน้ั ให้ดใู นตารางอักษร เพอ่ื หาตำแหนง่ ของอกั ษรแตล่ ะตวั รูปที่ 12 องค์แทนการสอื่ สาร : แผนกวชิ าทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-21 4. ใชต้ ารางกญุ แจรหสั 10x10 เพือ่ หาจำนวนกญุ แจรหสั และจดั กุญแจรหสั ชุดละ 2 ตวั เลข ตามตาราง ตัวเลข B ตามรปู ท่ี 13 รูปท่ี 13 5. ใหเ้ อาตารางตัวเลข B ลบดว้ ย ตารางตวั เลข A ถ้า B นอ้ ยกว่า A ใหน้ ำมาบวก 180 แล้วทำการ ลบกัน จะไดข้ ้อความเขา้ รหสั 177 097 145 089 038 115 ตามรูปที่ 14 รปู ที่ 14 องคแ์ ทนการสอ่ื สาร : แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
หน้าที่ 10-22 ขนั้ ตอนการถอดรหสั ดว้ ยตวั เอง 1. กำหนดตารางอกั ษรและตารางกุญแจรหัสเดียวกับตอนเขา้ รหสั 2. จากข้อความเขา้ รหสั 177097145089038115 นำมาแยกเปน็ ตารางตวั เลข A โดยแบง่ ตัวเลข เปน็ ชุดละ 3 ตัวเลขจะไดท้ ั้งหมด 6 ชุดตวั เลข ตามรูปท่ี 15 รปู ที่ 15 3. หาจำนวนกญุ แจรหสั = จำนวนชุดเลขเขา้ รหสั * 2 จากตัวอยา่ ง มี 6 ตัวอักษร : 6*2 = 12 จดั กญุ แจรหสั ชดุ ละ 2 ตัวเลข ตารางตัวเลข B ดงั รปู ที่ 16 รูปที่ 16 4. ให้เอาตารางตวั เลข B ลบดว้ ย ตารางตัวเลข A ถา้ B นอ้ ยกว่า A ให้นำมาบวก 180 แลว้ ทำ การลบกนั จะไดข้ อ้ ความเขา้ รหสั 100 111 046 100 019 071 ตามรปู ท่ี 17 องคแ์ ทนการสือ่ สาร : แผนกวิชาทหารส่ือสาร กศ.รร.ส.สส.
หนา้ ท่ี 10-23 รปู ท่ี 17 5. นำชุดตัวเลขตำแหน่งมาเทยี บเพอื่ หาตัวอกั ษร จะไดข้ อ้ ความดังรปู ที่ 18 รูปที่ 18 องคแ์ ทนการส่ือสาร : แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150