Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวสอน วิชาการปฏิบัติงานของหน่วยทหารสื่อสารทางยุทธวิธี

แนวสอน วิชาการปฏิบัติงานของหน่วยทหารสื่อสารทางยุทธวิธี

Published by art-weerasak, 2023-01-05 01:48:20

Description: แนวสอน วิชาการปฏิบัติงานของหน่วยทหารสื่อสารทางยุทธวิธี

Search

Read the Text Version

- 98 - หนว่ ย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครอ่ื งมอื สื่อสารท่คี วรทราบ - เคร่อื งมอื ชุดช่างซ่อมวิทยุและ เรดาห์ TK-87/U (2) ตอนวทิ ยโุ ทร - หน.ชดุ วิทยุโทรพิมพ์ จ.(พ)(1), - รยบ. 2 ½ ตนั (4) - วทิ ยุ AN/GRC-26 พร้อมเครอ่ื ง กำเนดิ ไฟฟา้ (4) พมิ พ์ศนู ย์ จ.(3) - วิทยุ AN/GRC-26 พร้อมเคร่อื ง ปฏิบตั ิการ - พนกั งานวิทยโุ ทรพมิ พ์ ส.อ.(12) กำเนิดไฟฟ้า (9) ตอนวทิ ยุโทร - หน.ชุดวทิ ยโุ ทรพมิ พ์ จ.(พ)(1), - รยบ. 2 ½ ตนั (9) - วิทยุ AN/GRC-26 พรอ้ มเครอ่ื ง กำเนดิ ไฟฟา้ (6) พมิ พ์ จ.(8) นายทหารบก - พนกั งานวทิ ยุโทรพมิ พ์ ส.อ.(27) ตดิ ตอ่ ตอนวทิ ยุโทร - หน.ชดุ วทิ ยโุ ทรพิมพ์ จ.(พ)(1), - รยบ. 2 ½ ตัน (6) พมิ พก์ ารขา่ ว จ.(5) แลนายทหาร - พนักงานวิทยโุ ทรพมิ พ์ ส.อ.(18) บกตดิ ตอ่ ลาด ตระเวน 1.2 หนา้ ท่ขี องนายทหารของ ส.1 พนั . 101 และ พนั .102 1.2.1 ผบ.พัน., รอง ผบ.พนั ., ผบ.รอ้ ย. ชกท. 0210 ผบู้ งั คบั ทหารสอ่ื สาร หน้าที่ทั่วไป อำนวยการสร้าง, ติดต้ัง, ปฏิบัติการ, ซ่อมบำรุง, ตรวจตรา และการส่งกำลังของระบบ การติดต่อสื่อสารของเหล่าทหารสื่อสาร หรือทำหน้าท่ีเป็นผู้บังคับทหารสื่อสาร โดยให้คำแนะนำในเรื่อง การติดต่อสือ่ สาร ซง่ึ ปฏิบตั โิ ดยเหล่าทหารสื่อสาร หนา้ ทเี่ ฉพาะ - อำนวยการปฏบิ ัตกิ ารและการซ่อมบำรงุ ของเครอ่ื งมือสื่อสารสนาม - อำนวยการในเร่ืองกำหนดท่ีตั้งของศูนย์การสื่อสาร และการติดต้ังเคร่ืองมือสื่อสารภายใน ศูนยก์ ารสือ่ สาร - อำนวยการจดั ทำคำส่ังยทุ ธการในหวั ขอ้ เรอ่ื งการติดต่อสอ่ื สาร

- 99 - - อำนวยการในการปฏิบัติการในทางเทคนิคและยุทธวิธีในเรื่องการส่ือสารเช่น การสื่อสาร ทางสาย, วทิ ย,ุ ทัศนะ, การถา่ ยภาพ, พลนำสาร, นกพิราบนำสาร และการใชเ้ คร่อื งมอื สื่อสารของพลเรือน - อำนวยการจัดตงั้ และปฏิบตั กิ ารในเรื่องการส่งกำลงั , การซอ่ มบำรุง - อำนวยการในเร่ืองระบบการส่งกำลังสายส่ือสาร รวมทั้งการจัดทำรายงานและบันทึก การปฏิบตั ิ - ปฏิบัติการในเรื่องอ่ืนๆ ทั้งทางเทคนิค, ธุรการที่เก่ียวข้องกับการสื่อสาร และปฏิบัติหน้าท่ี ตามที่ตนมีตำแหนง่ เป็นผ้บู งั คบั หนว่ ยสอื่ สาร หรอื เป็น นายทหารฝ่ายสอ่ื สาร 1.2.2 นายทหารฝ่าธรุ การและกำลงั พล ( ชกท. 2260 ) - วางแผนนโยบายและวธิ ีการปฏิบตั เิ กยี่ วกบั กำลงั พล - วางแผนและอำนวยการในเร่ืองของกำลงั พลเกี่ยวกับการแบ่งประเภท, การบรรจุ, เลอ่ื นยศ, การย้าย, การปลด และการทดแทนกำลังพล - ให้ข้อเสนอแนะในเรื่องนโยบายเกี่ยวกับการให้บำเหน็จ, ความชอบ, เหรียญตรา, การลา, การแบ่งประเภทและการประเมินค่ากำลงั พล - ทำรายงานยอดกำลังพล และรายงานการสญู เสีย รวมท้งั งานสถติ ติ ่างๆ เกย่ี วกบั กำลังพล - วางแผนและอำนวยการในเร่ืองเก่ียวกับศาสนา, การศาลทหาร, การพักผ่อน, การให้ ความสขุ แก่ทหาร ให้คำแนะนำแก่ผบู้ งั คบั บญั ชาในเร่อื งเกย่ี วกบั ขวญั - อำนวยการรวบรวมและส่งทหารพลัดหน่วยและเชลยศกึ ไปยังตำบลทถี่ ูกตอ้ ง - วางแผนปฏิบัตเิ ก่ียวกับการทะเบียนศพ - อำนวยการปฏิบตั ิการของการบริการไปรษณยี ์ - ดำรงรกั ษาบันทึกประจำวัน แฟ้มนโยบายของหน่วยและแจ้งข้อมูลที่เปิดเผยให้ผู้เกี่ยวขอ้ ง ทราบ - กำหนดที่ตั้งแน่นอนของท่ีบังคับการ ภายหลังที่ได้รับข้อเสนอเกี่ยวกับพื้นที่ท่ัวไป จาก นายทหารฝ่ายยุทธการและการข่าวแล้วนายทหารฝ่ายธุรการและกำลังพล รับผิดชอบในการจัดระเบียบ ภายใน การรกั ษาความปลอดภัยของ ทก.ฝึก และการแบ่งทพ่ี ักภายใน ทก. ดว้ ย 1.2.3 นายทหารฝ่ายยทุ ธการและการข่าว ( ชกท. 2165 ) - เปน็ เจา้ หน้าที่เกยี่ วกับทางยทุ ธการและการขา่ วของกองพัน - ปฏิบตั ิหนา้ ทช่ี ่วยเหลือผูบ้ ังคบั บัญชาในเรือ่ งเกี่ยวกบั ยทุ ธการและการฝึกระดบั ต่างๆ - อำนวยการควบคมุ ในเรื่องเก่ยี วกบั การค้นคว้าใหง้ านในหน้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพย่งิ ขน้ึ - วางแผนการเคลื่อนย้ายหน่วยเพื่อการฝึกทางยุทธวิธี - อำนวยการเฉพาะเร่อื งเก่ียวกบั การระดมพล, การจัดหนว่ ยและการฝกึ ของหนว่ ย

- 100 - - รายงานให้ผ้บู ังคับบัญชาทราบถงึ โครงการต่างๆ การเปลี่ยนแปลงคำสั่งและคำชี้แจงในเรื่อง เกี่ยวกบั การฝึก - ให้ข้อเสนอแนะถงึ ลำดับความเรง่ ด่วนของการบรรจเุ จา้ หน้าทแ่ี ละยทุ ธภัณฑใ์ ห้แกห่ นว่ ย - ทำประมาณการทางยทุ ธการและยทุ ธวิธอี ย่างตอ่ เน่ือง - ทำคำสั่งยุทธการระหวา่ งการรบ - อำนวยการในเรือ่ งการรกั ษาความปลอดภยั ให้แก่ทีต่ ง้ั ทางทหาร และระบบการสอ่ื สาร - รับรองสำเนาคำส่งั ปฏิบตั กิ ารสอื่ สารของหนว่ ยทหารส่ือสาร 1.2.4 นายทหารฝ่ายสง่ กำลังบำรุง ( ชกท. 4010 ) - ใหค้ ำแนะนำแกผ่ บู้ ังคับบัญชาในเร่ืองเก่ยี วกับการสนบั สนนุ ในด้านการสง่ กำลังบำรงุ - อำนวยการออกคำส่ังการสง่ กำลังบำรุง เกี่ยวกับการปฏบิ ตั กิ าร การสง่ กำลังบำรงุ - วางแผน และอำนวยการปฏิบัติการเกี่ยวกับการรับ – จ่าย การซ่อมบำรุงส่ิงอุปกรณ์ และท่ตี งั้ ของตำบลส่งกำลัง การสง่ กลับ และการซ่อมบำรุง - รบั ผิดชอบให้มีการอำนวยความสะดวกในเรือ่ งถนน การขนส่ง การวางแผน การเคล่อื นย้าย ตามกฎจราจร และการควบคุม - อำนวยการปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกับทรพั ยส์ นิ ในความรบั ผดิ ชอบ ค่าใช้สอยเกี่ยวกับสิง่ อปุ กรณ์ - อำนวยการเก่ียวกับการเก็บรักษาส่ิงอุปกรณ์ เก็บซ่อม การป้องกันเส้นทางสง่ กำลังและทต่ี ั้ง ของเขตหลัง - รับผดิ ชอบในการวางแผนและกำกับดแู ลการฝึกในหน้าที่การสง่ กำลังบำรุง และการประสาน กับ ฝอ.3 เกี่ยวกบั การฝกึ - ติดต่อกับกองบัญชาการหนว่ ยเหนือหรือหน่วยรอง หรอื สายงานที่เกย่ี วกบั การสง่ กำลงั บำรุง - ประสานกบั ฝอ.3 เกย่ี วกับรายละเอียดของแผนทางยุทธวธิ ี และประสานกับ ฝอ.1 เก่ียวกับ การปฏบิ ตั ิทเี่ ก่ยี วขอ้ งด้วย - ทำการประมาณการ การสง่ กำลงั บำรงุ และบางส่วนของแผนและคำสง่ั การส่ือสาร - รับผิดชอบในเร่ืองที่ต้ังการทำงาน และความปลอดภัย ในที่ตั้งเพ่ือการสนับสนุนหน่วย ต่างๆ ของหน่วย - กำกับดูแลหน้าทีท่ ัง้ ปวงในการส่งกำลังบำรุง 1.2.5 นายทหารยานยนต์ ( ชกท. 0600 ) - ให้คำแนะนำแก่ ผบ.หนว่ ย หรือ นายทหารฝ่ายอำนวยการเกี่ยวกับการขนส่งด้วยยานยนต์ ตลอดจนให้ความชว่ ยเหลือในการวางแผนใช้ยานยนต์แก่ ผบ.หนว่ ย - อำนวยการ แจกจ่ายยานยนต์และการปฏิบัติการในเรื่องการเคลื่อนท่ีเป็นขบวนยานยนต์, การส่งกำลงั ตลอดจนการขนสง่ ทหารและยทุ โธปกรณ์ - ปฏบิ ตั กิ ารตรวจตราเพือ่ ทราบสภาพของยานยนต์ - คาดการล่วงหนา้ ถงึ ความต้องการในเรื่องการซอ่ ม การเปล่ยี นทดแทน

- 101 - - อำนวยการในเร่ืองการซ่อมบำรุงของหน่วย และในกรณีฉุกเฉินก็มีอำนาจท่ีจะทำ การซอ่ มเกนิ ข้ันได้ - อำนวยการสง่ สง่ิ อปุ กรณเ์ กบ็ ซอ่ มเก่ียวกบั ยานพาหนะในหนว่ ย - อำนวยการปฏิบัติการทางธุรการบางเร่ือง เช่น การทำบันทึก, การส่งกำลัง, การเบิกจ่าย สิง่ อุปกรณเ์ ก่ียวกบั ยานยนต์ 1.2.6 นายทหารการภาพ ( ชกท. 8500 ) รับผิดชอบต่อ ผบ.ส. ในเรื่องการปฏิบัติงาน ของตอนการภาพ เพื่อรับผิดชอบต่อ ผบ.ร้อย.บก. ในเรื่องสวัสดิการของเจ้าหน้าทใี่ นตอน ตลอดจนหน้าที่ทาง ธรุ การดว้ ย โดยท่ัวไปมหี นา้ ท่ดี ังนี้ คอื ก. ทำ รปจ. ของตอนการภาพ ข. ประสานงานกับ ผบ.รอ้ ย.บก. ในการเลือกท่ตี ้งั ค. เปน็ ทีป่ รกึ ษาทางเทคนคิ การภาพ ของ ผบ.ส. ประสานงานกับ ส.1 ในเร่ืองการถา่ ยภาพ ทางอากาศทางยทุ ธวธิ ี ง. อำนวยการมอบงานใหแ้ ก่ชา่ งภาพ จ. ประสานงานกับ ส.1 เรอ่ื งกิจการภาพ สส. ฉ. ประสานงานกับ ส.1 เรอื่ งบัตรรปู ถา่ ยของเจา้ หน้าท่แี ละของเชลยศึก ช. ดำรงการตดิ ต่อกบั ชา่ งภาพในสนามด้วยการพบปะ หรอื ผ่านนายทหารการขา่ วกรอง ของหน่วยน้นั ๆ ซ. ฉาย และวจิ ารณภ์ าพ เพือ่ ประเมินค่าและตีความ ฌ. ประสานกบั ผบ.ส. และ ผบ.รอ้ ย.บก. เกี่ยวกบั การเคลื่อนยา้ ยของตอนการภาพ ญ. กำกับดูแลเตรียมงานซอ่ มบำรุง เสนอบนั ทึก และรายงานท่จี ำเป็น ฎ. ดำรงการตดิ ตอ่ กบั ผบ.รอ้ ย.บก. และให้ ผบ.รอ้ ย.บก. ทราบถึงความต้องการเพอ่ื ความ ม่งุ หมายท่ีจะปฏิบัตงิ านอย่เู สมอ ฏ. ออกข้อบังคับและการควบคมุ การใช้อปุ กรณ์ให้ได้ผลคุ้มค่าและประหยัด 1.2.7 นายทหารฝ่ายการเงิน ( ชกท. 6100 ) อำนวยการและประสานการจ่ายเงิน และการทำ บัญชีของหน่วย และทำหน้าท่ีเป็นผู้ให้คำแนะนำต่อผู้บังคับบัญชาในเร่ืองทั้งปวงเก่ียวกับการเงิน เร่ืองราว เก่ยี วกบั เจ้าหน้าที่เหล่าการเงิน ของหน่วยการเงิน และมีหน้าทีเ่ ฉพาะดงั น้ี ก. ปฏิบัติการทำบัญชเี งินท้ังปวงของทางราชการ ตลอดจนกิจการต่างๆ ซง่ึ ส่วนราชการ น้นั ๆ เปน็ ผรู้ ับผิดชอบดำเนนิ การ ข. ควบคมุ การเก็บรกั ษาเงิน รับ – จ่ายเงนิ ค. ควบคมุ การเก็บรักษา หลักฐานการเงนิ และการบัญชี ง. อำนวยการเกยี่ วกับการรับ จา่ ยเงิน ราชการและเงนิ ทุกประเภททอ่ี ยู่ในความรบั ผิดชอบ ของหน่วย จ. ให้คำแนะนำในเรอ่ื งการใช้เงินราชการแกผ่ ูบ้ งั คบั บญั ชา

- 102 - ฉ. ประสานกบั ฝา่ ยอำนวยการอืน่ ๆ ในเรอื่ งทเี่ ก่ยี วกับหน้าทฝ่ี ่ายการเงิน ช. ให้คำแนะนำชว่ ยเหลอื ทางวิทยาการ กำกับดแู ลการปฏิบตั หิ นา้ ที่เกย่ี วกับการเงิน ตลอดจนการบัญชขี องหนว่ ยรอง โดยให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายของทางราชการ ซ. รวบรวมวิเคราะห์และสรุปผลรายงานกิจการการเงนิ ทั้งปวงตามทที่ างราชการกำหนด 1.3 ความรบั ผิดชอบของเจา้ หน้าทต่ี า่ งๆ เม่ือบุคคลใดได้รับแจ้งว่า จะต้องไปปฏิบัติงานเวลาใดแล้ว ควรจะต้องตื่นตัวและเร่ิมเตรียมการ เพ่ือ ภารกิจของตน ในขนั้ นจี้ ะต้องเร่ิมการทำงานพร้อมกันเป็นชดุ และตรวจสอบเครือ่ งมือใหม้ ่ันใจว่าพรอ้ มที่จะใช้ งานได้ ถา้ ยงั มีขอ้ บกพร่องใดๆ ให้ถอื ว่าเป็นเรือ่ งสำคัญท่ีสดุ ท่ผี ู้เก่ียวข้องจะต้องรับผดิ ชอบในเรอ่ื งน้ี และแก้ไข ใหพ้ รอ้ มปฏบิ ัตภิ ารกจิ 1.3.1 หน้าท่ีเฉพาะของเจา้ หนา้ ท่ี 1.3.1.1 หวั หน้าชุด ก. ดแู ลเจ้าหน้าทีต่ ่างๆ ภายในชุด ข. แสดงงานสรา้ งระบบความต้องการทางการส่ือสาร แผ่นตารางงานและข่าวสาร ท่ีจำเปน็ อื่นใด ไวบ้ นแผ่นปดิ ประกาศในชุด ค. กรอกข้อความที่เกีย่ วกับภารกจิ ลงบนแผ่นตารางงานหรือมอบหมายความรับผิดชอบ ให้แก่ผู้ช่วยหัวหน้าชดุ เป็นผทู้ ำ ง. ฟังบรรยายสรุปจากผูร้ ับผดิ ชอบตอ่ ภารกจิ และสอบถามสงิ่ ทีย่ งั ไม่เข้าใจใหแ้ จ่มแจง้ จ. กอ่ นออกปฏิบตั งิ าน ณ ที่ตงั้ ซึ่งตอ้ งแยกออกไปจากหนว่ ยตน้ สงั กัดใหพ้ จิ ารณาถึง เร่ืองการส่งกำลังเพ่ิมเติม น้ำมันเช้ือเพลิง น้ำมันอุป กรณ์ น้ำมันหล่อลื่น เสบียงอาหาร ตลอดจนท่ี รักษาพยาบาล ฉ. ให้มน่ั ใจว่าเจา้ หนา้ ทที่ ุกคนภายในชดุ พรอ้ มทอ่ี อกปฏิบัตริ าชการสนามและเข้าใจ ภารกจิ แผนงาน ช. ตรวจสอบใหม้ น่ั ใจวา่ เครือ่ งมอื ท้ังหมดท่ีมีอยูแ่ ล้วพรอ้ มท่จี ะปฏบิ ตั ิงานได้ 1.3.1.2 ผ้ชู ่วยหวั หนา้ ชุดหรอื พนักงานอาวุโส ก. ชว่ ยเหลือหวั หนา้ ชดุ ในหนา้ ทีต่ า่ งๆ ที่ไดก้ ล่าวไว้ในข้อ 1.3.1.1 ข. ตรวจสอบในชดุ ใหม้ ีเครือ่ งอะไหล่ใช้งานและให้มีส่ิงทดแทนเพยี งพอก่อนออก เดนิ ทาง ค. ตรวจสอบให้แน่ใจวา่ ได้มีค่มู อื ทางเทคนคิ แผน่ ตารางการปรบั จัดแบบเอกสาร สำหรบั บนั ทกึ เครื่องมอื ที่ใช้งานไม่ได้ และเอกสารอ่ืนๆทีต่ อ้ งการ ง. ทำการช่วยเหลอื การปฏิบตั ิงานตามหน้าทีท่ ีไ่ ดก้ ล่าวต่อไป 1.3.1.3 พนกั งาน ก. ปฏบิ ตั หิ น้าทีต่ ามทีห่ ัวหนา้ ชดุ ได้มอบหมายให้ เพื่อชว่ ยปฏิบตั ิงานตามหนา้ ท่ที ไ่ี ด้

- 103 - กล่าวไวใ้ นข้อ 1.3.1.1 ข. ทำ หรือช่วยเหลือการปฏบิ ตั งิ านตามหนา้ ทข่ี องเจา้ หนา้ ที่เครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้า ค. ตรวจเคร่อื งกำเนดิ ไฟฟา้ เพือ่ พิจารณาถึงสภาพความพรอ้ มในการทำงาน ง. ให้มัน่ ใจว่ามนี ำ้ มันเชือ้ เพลิง ขอ้ ตอ่ ต่างๆ สายรวมจ่ายกำลังไฟฟา้ และส่วนประกอบ อ่ืนๆ ที่ต้องการใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้า มีอยูพ่ รอ้ มและใช้งานได้ จ. ใหม้ ่ันใจว่ามีนำ้ มนั เชอื้ เพลิง น้ำมนั หล่อลนื่ และน้ำอยเู่ พียงพอ ฉ. ชว่ ยเหลอื พลขับในการตอ่ รถพว่ งเข้ากบั ตัวรถบรรทกุ รวมท้ังการตอ่ สายรวมระหว่าง ตัวรถกบั รถพ่วง สำหรับไฟและหา้ มลอ้ 1.3.1.4 พลขับ ก. ทำการปรนนิบตั บิ ำรุงรถกอ่ นการใช้งาน ระหวา่ งใชง้ าน และหลงั ตามท่ีกล่าวไว้ใน คู่มือต่างๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง ข. ใหม้ น่ั ใจว่ารถได้มกี ารบรรทุกอย่างเหมาะสมและไฟท้ายตลอดจนห้ามล้ออยูใ่ น สภาพทใ่ี ช้งานได้ ค. ทำหรอื ชว่ ยเหลือการปฏบิ ัตหิ นา้ ทอี่ นื่ ๆ ตามท่ีหัวหน้าชดุ กำหนด 1.3.2 การปฏิบตั ริ ะหว่างปฏบิ ตั ิงาน การปฏิบัติงานในข้ันนี้มุ่งถึงหน้าท่ีในการจัดระเบียบการรักษาความปลอดภัยและการพราง ตลอดจนการดำรงการส่ือสาร ซง่ึ ได้ตดิ ตง้ั เรยี บรอ้ ยแลว้ และการซ่อมเครอื่ งมือทท่ี ำงานไมไ่ ดร้ ะหวา่ งการติดตัง้ ก. เจา้ หนา้ ทแี่ ตล่ ะคนในชดุ ปฏิบตั ิงานตามทีห่ วั หน้าชุดกำหนด ข. การรายงานข่าวสาร เกยี่ วกับทต่ี ัง้ และระบบชน้ั ตอน โดยใชเ้ ครอ่ื งมือทีเ่ รว็ ที่สุด ค. แสดงตารางการแบง่ ผลดั ซึ่งพนักงานจะต้องผลดั เปลยี่ นกนั ตามตารางนั้น ง. ทำความสะอาดและพรางพนื้ ทที่ ี่รับผดิ ชอบ จ. ดำรงรักษาตารางงานใหถ้ ูกตอ้ ง ฉ. ดำรงรักษาเคร่ืองมือน้นั ใชง้ านได้ตลอดเวลา ช. ตรวจสอบการปรับจัดในรอบ 12 ชม. และ 24 ชม. ซ. ปรนนิบตั ิบำรุงยานยนต์ประจำวัน ฌ. แจ้งใหผ้ ู้รับผดิ ชอบไดท้ ราบถึงความเปลย่ี นแปลงใดๆ ของสถานภาพวงจร ญ. อยา่ ใหพ้ นกั งาน “ปรับเล่น” หลังจากทไี่ ดป้ รับจดั เคร่อื งมอื เรยี บรอ้ ยแล้ว ถ้าจำเป็น ตอ้ งปรับใหม่ จะตอ้ งแจ้งใหพ้ นักงานปลายทางทราบล่วงหน้า ฎ. ดำเนินการรอ้ งขอความช่วยเหลอื เมือ่ มเี หตขุ ัดขอ้ งที่ไม่สามารถแกไ้ ขได้ดว้ ยตนเอง ฏ. ตรวจสอบเครอ่ื งวัดตา่ งๆ ให้อยูใ่ นสภาพดแี ละใช้งานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ฐ. ใหม้ กี ารรายงานเคร่ืองชำรุด สำหรับส่วนประกอบหลักที่ชำรดุ หรือเส่ือมสภาพทุกช้นิ จะต้องผกู ป้ายบอกลกั ษณะการชำรดุ ไว้ดว้ ยและดำเนนิ การสง่ ซ่อมทนั ที

- 104 - ฑ. รายงานใหผ้ รู้ ับผิดชอบทราบถงึ เครื่องมอื สูญหาย การขาดแคลนช้ินสว่ นอะไหล่ ช้ินส่วนท่ีขอเบิก การส่งกำลังเพ่ิมเติม น้ำมันเช้ือเพลิง น้ำมันหล่อลื่น และน้ำ ตลอดจนการเล้ียงดูเจ้าหน้าที่ ในชุด และขอ้ ขดั ข้องอ่ืนๆ ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ได้ 1.3.3 หลังการปฏิบัติงาน ก. ดแู ลเคร่ืองมอื ท้ังหมดส่งกลบั คนื เข้าทๆี่ ถกู ตอ้ ง ข. ตรวจตราความเรยี บร้อยของพืน้ ที่ และใหม้ ่นั ใจวา่ ไม่มีการละทง้ิ เคร่อื งมอื ใดๆ ค. ปฏิบตั กิ ารเคล่ือนย้ายตามคำส่งั ของนายทหารทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ง. เสนอแผนตารางงาน รายละเอียดเครือ่ งมอื ชำรดุ และรายงานชน้ิ ส่วนอะไหล่ ที่ใช้หมดไปตอ่ นายทหารผู้รบั ผิดชอบโดยเรว็ ที่สดุ เทา่ ท่ีจะทำได้ จ. ดูแลใหเ้ จ้าหน้าทีใ่ นชดุ ที่ขดุ หลุมบอ่ ไว้ ช่วยกนั รื้อถอนและเกบ็ รวบรวมเคร่ืองมือ เตรียมรถและรถพว่ งสำหรับการเคล่ือนยา้ ย โดยปฏบิ ตั ติ ามค่มู อื ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ฉ. ตรวจความเรยี บร้อยของพืน้ ท่ีอีกคร้ังในเรอื่ งความสะอาด การปรับสภาพพื้นที่ ไปสู่สภาพเดมิ ก่อนออกเดนิ ทางจากพืน้ ทนี่ ั้นๆ 2. การปฏิบตั กิ ารส่อื สาร 2.1 ความมุ่งหมาย เพือ่ ใหก้ ารปฏิบัติงานเกยี่ วกับการสื่อสารเป็นไปด้วยความเรียบร้อยถกู ต้อง มปี ระสทิ ธภิ าพ 2.2 การควบคุมการสื่อสารภายใน 2.2.1 การควบคมุ เป็นความรับผิดชอบของ ผบ.ส.1 พัน. 101หรือ พัน.102 ศูนย์การสื่อสาร ประจำ บก.ทบ. เป็นศูนยค์ วบคุมระบบ 2.2.2 ระบบการส่ือสารภายใน การควบคุมการปฏิบัติให้ใช้ข่ายการส่ือสารใน ข่าย บังคบั บญั ชา เอฟ.เอ็ม., เอ.เอ็ม. ตลอดจนระบบการส่ือสารประเภทสาย วทิ ยุถ่ายทอดและดาวเทียม ท่ีเช่ือมต่อ ระหวา่ งศนู ยก์ ารส่อื สารทม่ี อี ย่ทู ง้ั หมด 2.3 การส่ือสารประเภทสาย 2.3.1 กล่าวทั่วไป ผบ.ร้อย. ปฏิบัติการสื่อสารประจำกองบัญชาการ จะต้องกำหนดระเบียบ ในการวางการสื่อสารประเภทสาย รวมทั้งการส่ือสารท้ังหมดท่ีสรา้ งขน้ึ โดยใชร้ ะบบวิทยุถา่ ยทอดและดาวเทียม ทเ่ี ช่อื มต่อระบบโทรคมนาคม 2.3.2 การติดตั้งและการวางสายภายในพื้นท่ีของกองทัพบก เป็นความรับผิดชอบของ กองรอ้ ยปฏบิ ตั กิ ารส่อื สารประจำกองบญั ชาการ 2.3.3 การวางสายถ้าวางฝังดนิ ต้องลึก 6 – 8 นิว้ 2.3.4 การวางสาย ถา้ วางเหนอื ศรี ษะ จะต้องผกู ป้ายสายตามทบ่ี ง่ ไวใ้ น นปส. ปัจจบุ นั 2.3.5 เมื่อวางสายขา้ มทางรถไฟ ตอ้ งยกสายเหนือทางรถไฟ 27 ฟุต 2.3.6 เม่อื วางสายขา้ มทางหลวง ตอ้ งยกสายเหนือผิวจราจร 18 ฟตุ

- 105 - 2.3.7 ต้องมกี ารมดั แขวนสายใหถ้ ูกต้อง ( ประมาณ 18 นว้ิ โดยไมห่ ย่อน ) 2.3.8 ณ จดุ กลางรอยต่อของสายท่ีวางสงู ๆ จะต้องมเี ครื่องค้ำสาย 2.3.9 การวางสายไปยงั ผใู้ ชท้ ม่ี ีความยาวเกนิ 150 ฟุต ตอ้ งมกี ารค้ำสาย 2.3.10 ต้องมที คี่ ำ้ สายตามความเหมาะสม 2.3.11 ช่องการส่ือสารจะกำหนดช่องและหมายเลขไว้ใน นปส. สารบัญรายการบัญชี หมายเลขโทรศพั ท์ 2.3.12 ตอ้ งใช้แผงหมดุ ตอ่ สายก่อนเขา้ ตู้ และตามจุดแยกสายท่ีมีความจำเปน็ 2.3.13 การวางสายทกุ ครั้งจะตอ้ งทำแผนผังและแผนที่เส้นทางวางสาย 2.3.14 ต้องทำแผนผงั วงจรทางสาย , ต้องกำหนด รปจ. ในการตรวจสาย 2.4 การส่อื สารประเภทวทิ ยุถ่ายทอด 2.4.1 การกำหนดสถานตี น้ ทาง กลางทาง และปลายทาง โดยใหส้ ถานีต้นทางเปน็ สบข. 2.4.2 การกำหนดความถ่ีในการใช้ระบบวิทยุถ่ายทอด เป็นไปตาม นปส. ของกองทัพบก ฉบับปจั จุบนั 2.4.3 นายทหารวิทยุถ่ายทอดเป็นผู้กำหนดที่ตั้งที่สถานีวิทยุถ่ายทอดและสถานีกลาง เหมาะสมและเป็นประโยชนม์ ากท่ีสดุ - เครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะต้องตั้งให้ห่างจากสายอากาศและชุดวิทยุปลายทางให้มาก ท่สี ุด ตลอดจนการลงสายดนิ ที่ถกู ตอ้ ง - รอยต่อตา่ งๆ ของสายร่วมจะตอ้ งพันด้วยผา้ ยางพนั สายไฟท่ีกนั น้ำดว้ ย เพอ่ื ป้องกัน การซึม สายทเ่ี หลือจะต้องขดไวใ้ หเ้ รยี บร้อย - อุปกรณท์ ี่นำไปและเคร่ืองมือท่เี หลอื ยงั ไม่ได้ใช้งาน จะต้องเกบ็ ใหเ้ รยี บรอ้ ย 2.4.4 การปฏิบัติ - หน.ชุดตอ้ งทราบ ความถ่ี มุม ระยะ ไปยังค่สู ถานที ีจ่ ะตดิ ตอ่ - นายทหารวิทยุถ่ายทอด กำหนดทิศท่ีต้ัง ความสูงของสายอากาศหลงั จากท่กี ำหนด ภาพตดั ทางขา้ งแลว้ ในภมู ปิ ระเทศจรงิ และต้องหา่ งจากตน้ ไม้ใหญไ่ มต่ ้องกวา่ 50 ฟตุ - การประกอบสายอากาศตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามคูม่ อื ท่ีถูกต้อง 2.4.5 การปฏิบัตเิ มอื่ ตดิ ต่อวิทยุครัง้ แรกไม่ได้(การเปล่ียนความถตี่ อ้ งขออนมุ ัติ ผบ.พนั . ) - ใหป้ รบั เครื่องทั้งหมดเสยี ใหม่ โดยเรมิ่ ตน้ ตง้ั แต่ขั้นท่ี 1 - ตรวจสอบข้อต่อสาย รวมท้งั สายอากาศ มมุ ทิศ ของสายอากาศ - เปล่ียนส่วนประกอบหลักของชดุ วิทยุ - ย้ายท่ตี ั้งใหมใ่ หไ้ กลจากเดมิ 100 หลา หรอื มากกว่านนั้ - หากมีการรบกวนหรือประสบปัญหาเก่ียวกับความถี่ให้แจ้ง ผบ.พัน. หรือ นายทหารยทุ ธการและการขา่ ว เพอ่ื ดำเนินการแกไ้ ข 2.4.6 เจา้ หน้าท่ปี ฏบิ ัติงานจะต้องจดั ทำบันทกึ ประวตั สิ ถานีตลอดเวลา

- 106 - 2.5 การสือ่ สารประเภทวิทยุ 2.5.1 สถานีวิทยุจะต้องต้ังในพื้นท่ีท่ีเหมาะสมในการสื่อสารให้มากท่ีสุดและใกล้กับหน่วยที่ สนับสนุน 2.5.2 ยานพาหนะและรถพ่วงจะต้องอยู่ ณ ที่ตั้งสามารถเคลื่อนย้ายออกง่าย สายอากาศ จะตอ้ งไม่แตะกับเครือ่ งกดี ขวางหรือต้นไม้ 2.5.3 ยานพาหนะทตี่ ดิ เครอื่ งวิทยุ รถพ่วงท่ตี ดิ ตง้ั เคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ ตอ้ งตอ่ สายลงดนิ 2.5.4 สายอากาศทีเ่ หลือจะตอ้ งขดให้เรียบรอ้ ย ถูกลกั ษณะและตรวจการตกท้องชา้ งด้วย 2.5.5 พื้นที่บริเวณรอบๆ ท่ีตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ให้สิ่งที่เป็นเช้ือเพลิง ห่าง 20 ฟุต เพื่อ ปอ้ งกนั ไฟไหม้ 2.5.6 ทำบัญชรี ายชอื่ ผูไ้ ดร้ บั อนุมตั ิให้เข้าสถานวี ทิ ยุ 2.5.7 บันทึกการทำงานของเครอ่ื งมอื ระบุ วัน – เวลา ความถี่ และการติดต่อตามแบบฟอร์ม ประวัติสถานี 2.5.8 เมื่อถูกรบกวนจากฝ่ายใดๆ ให้รายงานด่วนต่อ ผบ.ส. 1 พัน. 101 หรือ นายทหาร ยทุ ธการและการขา่ วทนั ที 2.5.9 ตอ้ งพยายามหลีกเลี่ยงการรบกวนทกุ วถิ ีทาง 2.6 การส่อื สารประเภทวทิ ยุสนธิทางสาย เพ่ือเช่ือมต่อระหว่างวิทยุกับทางสาย โดยการพูดจากวิทยุผ่านตู้สลับสาย โดยการใช้ระบบ เอฟ.เอ็ม 2.6.1 การติดต้ังสถานี ต้องใช้ภูมปิ ระเทศที่สูงและเหมาะสม เป็นท่ีๆ เป็นประโยชน์ต่อหน่วย มากทส่ี ุด 2.6.2 สัญญาณเรียกขาน และนามเรียกขาน ให้ปฏิบัติตามข่ายวิทยุท่ีไดแ้ จ้งไวใ้ น นปส. ของ กองทพั บกฉบับปจั จุบนั 2.6.3 การตดิ ต้งั ใหป้ ฏิบัตติ ามระเบยี บและคู่มอื การใช้งานอยา่ งเคร่งครดั 2.7 ศูนย์การสอ่ื สาร จัดประจำ บก.ทบ. และสามารถแยกการจัดศูนย์การสื่อสารได้ 2 ศูนย์ ผบ.ศูนย์การส่ือสาร จะเปน็ ผู้เสนอแนะการหาทีต่ ้งั และพิจารณาใชย้ านพาหนะและเคร่ืองมอื ให้อยู่ในลักษณะทใี่ ช้ประโยชนม์ ากทส่ี ุด ในภูมปิ ระเทศนน้ั ๆ โดยทั่วไปประกอบด้วย 2.7.1 ตอนเครือ่ งมือ - บันทึกการทำงานของเคร่ืองมือ ปฏิบัติตามระเบียบการบำรุงรักษา ให้ใช้งานได้ อย่างตอ่ เนือ่ ง - ตรวจสอบการทำงานของเครือ่ งมอื ให้อยใู่ นสภาพท่ีใชง้ านได้

- 107 - - เจ้าหน้าท่ีต้องมีความชำนาญในการใช้เคร่ืองมือ และมีขีดความสามารถในการใช้ เครื่องมือน้ันๆ 2.7.2 ตอนอกั ษรลับ - ปฏิบตั ิตามระเบียบการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ - ข่าวในชั้น ลับ ลบั มาก ใหเ้ ข้ารหัส 2 ช้ัน - เจา้ หน้าทปี่ ฏบิ ตั งิ าน จะต้องเข้าถงึ ชั้นความลับนนั้ ๆ 2.8 การควบคมุ การปฏิบตั ิงานศูนยก์ ารสอ่ื สาร 2.8.1 นายทหารฝา่ ยยุทธการและการข่าว เป็นผ้อู ำนวยการรบั ผดิ ชอบเป็นส่วนรวม 2.8.2 กระจายความรบั ผดิ ชอบใหแ้ กน่ ายทหารท่ีรบั ผดิ ชอบแตล่ ะศนู ย์การส่อื สาร 2.8.3 นายทหารฝ่ายยุทธการและการข่าว รับผิดชอบในการวางแผนอำนวยการและกำกับ ดูแลระบบการสอ่ื สารของกองทัพบก 2.8.4 นายทหารฝ่ายยุทธการและการข่าว จัดทำแผนคำส่ังและการแจกจ่ายระเบียบปฏิบัติ ของศูนย์การสื่อสารทกุ ศนู ยก์ ารสอ่ื สาร 2.9 การปฏบิ ัตใิ นการใชเ้ ครื่องมอื ส่ือสาร เพื่อจดั ให้มีระเบียบปฏิบัติมาตรฐาน สำหรับการใช้เคร่ืองมือสื่อสารทั้งปวง รวมทั้งการจัดรถ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าและเครื่องประกอบต่างๆ การตรวจความเรยี บร้อยทั้งภายในและภายนอกรถตู้ เครื่องมือ ทง้ั หมดจะตอ้ งต่อลงดนิ อย่างถูกต้อง พงึ ระลึกเสมอวา่ จะตอ้ งไม่ละเลยในการระวงั ปอ้ งกนั รักษาความปลอดภัย การดัดแปลงที่พกั การพราง การป้องกันอคั คีภยั และการสขุ าภิบาล 2.9.1 รถตู้ - ต้องรักษาให้สะอาดและเก็บเครื่องมือให้เรียบร้อยอะไหล่อุปกรณ์ใส่ตู้และลิ้นชัก ทเี่ หมาะสม ซง่ึ ได้จัดให้มีไวแ้ ล้วอยา่ งเพียงพอ ถงุ และยา่ มตา่ งๆ ให้ยา้ ยออกจากรถตู้และนำไปไว้ท่ีพกั - ต้องไมม่ เี ปลวไฟอยูภ่ ายในหรือภายนอกรอบๆ รถตู้ - ต้องไม่ใชร้ ถตเู้ ป็นทพ่ี ักของผหู้ นงึ่ ผใู้ ด - หีบส่วนประกอบสายอากาศท้ังหมดของสายอากาศท่ีใช้งานแล้ว และล้อสาย ทั้งหมดจะต้องเอาออกเก็บไวท้ ่ีพืน้ ดนิ ในท่ปี ลอดภัย เพอ่ื มใิ ห้เปลอื งทๆี่ ตอ้ งใช้ในการปฏบิ ัติการภายในรถตู้ - ตอ้ งไมอ่ ยูใ่ นที่ลบั ตา - กระบะท้ายรถจะต้องเปิดอยู่ในระดับพ้ืนรถ เพื่อป้องกันการพลัดตกโดยบังเอิญ ขณะที่เขา้ หรอื ออกจากรถ - ต้องไม่เจาะผนังตู้ไม่ว่าด้วยเหตผุ ลใดๆ - ในขณะทีเ่ ครื่องสื่อสารกำลังทำงาน ใหใ้ ช้เครื่องระบายอากาศเพยี งคร้ังละ 1 เคร่ือง เท่านนั้ - ห้ามสบู บุหร่ใี นต้เู คร่อื งมอื สอื่ สารเดด็ ขาด

- 108 - - ห้ามปิดประกาศ เครื่องหมาย กระดาษ หรือวัสดุอื่นๆ ที่ไม่ได้รับอนุญาต เช่น รปู ภาพ ฯลฯ ในตู้ - เครื่องมือเครอ่ื งใชต้ ่างๆ ที่ใช้ยึดตรึงเครอื่ งสื่อสารภายในตู้ จะต้องมีการตรวจสอบ ทัง้ ก่อนและหลงั การเคล่อื นยา้ ยพาหนะแตล่ ะครั้ง - พ้นื ทร่ี อบตูจ้ ะต้องมีการรกั ษาความสะอาด รวมทง้ั การเก็บเศษขยะทพ่ี บในพื้นทีน่ ั้น เมอ่ื มาถึง - ในการพรางรถตจู้ ะตอ้ งใชค้ วามรอบคอบในการเลือกพ้ืนท่ซี งึ่ อำนวยให้ใช้ว่าในพื้นท่ี ใดๆ และต้องคำนงึ ถงึ คุณภาพของการสอื่ สาร ท่จี ะต้องสูญเสยี ไปด้วย - ในพ้ืนที่ๆ มีอันตรายจากอัคคีภัย ให้ทำเขตป้องกันไว้รอบๆ เครื่องมือส่ือสาร เพ่ือป้องกนั ไฟ ควรจะกว้างอย่างนอ้ ย 3 ฟตุ 2.9.2 เครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้า - จะต้องตั้งห่างจากตัวรถบรรทุกอย่างน้อย 50 ฟุต จะยังไม่เดินเคร่ืองจนกว่าจะต้ัง ใหไ้ ด้ระดบั และตอ้ งลงดนิ เรียบร้อยแล้ว - จะตอ้ งตั้งใหอ้ ยใู่ นลักษณะท่ีง่ายแก่การนำกลบั มาพ่วงกับรถบรรทกุ เมือ่ จะตอ้ งยา้ ย ทโี่ ดยกะทันหัน - ถังน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันหล่อล่ืน จะต้องทำเคร่ืองหมายให้เห็นความแตกต่าง อย่างชัดเจน ไปวางไว้ในหลุมท่ีห่างจากรถพ่วงอย่างน้อย 25 ฟุต หลุมต้องลึกเท่ากับความสูงของถังน้ำมัน เช้ือเพลิง - ท่อน้ำมันเช้ือเพลิงท่ีต่อไปยังเครื่องกำเนิดไฟฟ้า จะตอ้ งต่อไว้ตลอดเวลาเม่ือสถานี กำลังปฏิบัติงาน เมื่อสับสวิตช์ไฟฟ้าจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหน่ึงที่พักการใช้งาน ควรได้รับการ เตรียมพร้อม สำหรบั สวิทซก์ ารสับเปล่ยี นครงั้ ต่อไป การเปล่ียนน้ำมันเชื้อเพลิง หรือนำ้ มันหลอ่ ลื่น จะกระทำได้ เฉพาะเมอ่ื เคร่อื งกำเนดิ ไฟฟ้ามไิ ดอ้ ยรู่ ะหว่างปฏบิ ัติงาน - จะติดเครื่องและทำงาน ตามคำแนะนำการปฏิบัติงานที่ติดอยู่กับเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าหรือท่ีกล่าวไว้ในคู่มือทางเทคนิค เครื่องกำเนิดไฟฟ้านี้ไมใ่ ชก้ ับเครอ่ื งมืออย่างอื่นในขณะที่จ่ายให้กับรถตู้ หรือให้แกเ่ ครือ่ งสอ่ื สารทีก่ ำลังปฏิบตั ิงานไม่ควรใสค่ วามต้านทานจนเป็นเหตใุ หศ้ กั ย์ไฟฟา้ ลดลง - พ้ืนที่รอบเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าจะต้องรักษาความสะอาดและจัดสายรวมอุปกรณ์อยู่ ตลอดเวลา - จะต้องฝังสายรวมที่ใช้จ่ายกำลังไฟฟ้า เมื่อเห็นว่าจะเกิดอันตรายเน่ืองจากสาย ชำรดุ เนอ่ื งจากการสญั จรไปมาของยานพาหนะ เรอ่ื งน้ใี หก้ ระทำหลังจากการตดิ ตงั้ การส่ือสารแลว้

- 109 - ขา่ ยวทิ ยุในระดับกองทัพบก ตอนที่ 1 กล่าวทวั่ ไป 1.1 เนื่องจากการสื่อสารด้วยระบบวิทยุในระดับหน่วยกองทัพบกนั้น เป็นการส่ือสารระยะไกล ยุทโธปกรณ์สายส่ือสารจึงเป็นระบบวิทยุท่ีมีกำลังส่งออกอากาศค่อนข้างสูงถึงสูงมาก เพื่อท่ีจะสามารถดำรง การสื่อสารเช่ือมโยงท้ังภายในกองทัพบก และระหว่างเหล่าทัพได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ันยังต้อง คำนึงถึงการส่ือสารระหว่างภูมิภาค เนื่องจากในอนาคต การสนับสนุนช่วยเหลือของกลุ่มประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคของโลก จะมีแนวโน้มในลกั ษณะว่าดว้ ยความรว่ มมือท้ังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม จิตวิทยา เทคโนโลยีและการทหาร ดงั เช่นปรากฏในขณะน้ี คือ ความร่วมมอื กนั ของกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ภายใต้เง่ือนไขขององค์การสหประชาชาติ ในการรักษาสันติภาพในประเทศ ติมอร์ตะวันออก และอาจจะ แพรข่ ยายไปยงั ภมู ิภาคอื่นๆ ในลกั ษณะเดยี วกนั 1.2 นอกจากนั้นท่ีผ่านมา กองทัพบกยังไม่เคยมีการรบหรือการทำสงครามขนาดใหญ่ท่ีต้องใช้หน่วย ทหารระดับกองทัพบก เพอ่ื แก้ไขสถานการณ์ความขัดแย้งในรูปแบบต่างๆ ความขัดแย้งที่เกิดข้นึ น้ันมลี ักษณะ เป็นเพียงความขัดแย้งเฉพาะพื้นท่ี ตามแนวชายแดนเพื่อพิทักษ์รักษาผลประโยชน์และทรัพยากรธรรมชาติ ไมถ่ ึงขนาดเปน็ สงคราม จึงทำให้รูปแบบทช่ี ดั เจนและเป็นรูปธรรมของการจัดทำข่ายการส่อื สารระบบวิทยุ ไมม่ ี ให้เห็น หรือเป็นตัวอย่างให้ศึกษาได้ แต่พิจารณาคิดและใช้การจัดทำข่ายการสื่อสารในลักษณะผสมผสาน ตามความเหมาะสมและเป็นจริงตามสถานการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ ซ่งึ แตกตา่ งจากการจดั ทำขา่ ยการส่ือสาร การส่อื สาร ทางยุทธวิธีในระดับกองพล และกองทัพภาค ซึ่งอาจจะค่อนข้างแน่นอนตายตัว ทั้งนี้เน่ืองจากการปฏิบัติ ทางยุทธวธิ ีในระดบั กองพล มีความชัดเจนกวา่ มีขอบเขตพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบที่แน่นอน 1.3 การจะเขียนข่ายวิทยุในระดับกองทัพบกนั้น จำเป็นต้องพิจารณาจากสมมติฐาน และเครื่องมือท่ี กองทัพบกมีใช้จริง ( จากหน่วย ส.1 ) เพ่ือให้สามารถปฏิบัติได้จริง และข้อมูลจากการฝึกร่วมต่างๆ เปน็ ฐานขอ้ มูลในการพจิ ารณาจัดทำข่ายวทิ ยุ ตอนที่ 2 ข่ายวทิ ยใุ นระดบั ทบ. 2.1 ข่ายวิทยภุ ายในกองทพั บก มีรายละเอยี ดดงั ข้างลา่ งนี้ 2.1.1 ข่ายบงั คับบัญชา / ยทุ ธการท่ี ………………… ( วทพ. / Voice / CW. ) - ลักษณะการจัดข่ายเพ่ือการควบคุมการยทุ ธ จำนวนข่ายจะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับปริมาณ การคับคั่งของข่าว โดยพิจารณาดูท่ีความพยายามหลักในการใชก้ ำลังท่ีคาดวา่ ฝ่ายข้าศึกจะเขา้ มาในทิศทางใด แล้วจึงจัดข่ายเพ่ือสนับสนุนทางการส่ือสาร ปกติจะจัดประมาณ 4 ข่าย โดยเรียงลับตามตัวเลขโดยมีความถ่ี ต่างกัน แต่การเปิดข่ายจะพ ร้อมกัน ลำดับความสำคัญ เร่งด่วนจะจัดลำดับจาก 1…………2………. 3…………4………… ตามลำดับ โดยมี บก.ทบ.สน. เป็น สบข.

- 110 - 2.1.2 ขา่ ยธรุ การ / ส่งกำลงั บำรงุ ท่ี ………………… (วทพ. / Voice / CW. ) - ลักษณะการจัดข่าย เพ่ือการสนับสนุนทางการส่งกำลังบำรุงเป็นหลัก จำนวนข่ายท่ีจัดขึ้น อยู่กับความคับค่ังของข่าว ปกติจะจัด 5 ข่าย โดยเรียงลำดับความเร่งด่วน และความสำคัญตามสถานการณ์ ทางยุทธวิธี โดยมี บช.กบ.ทบ. เป็น สบข. 2.1.3 ขา่ ยคำขอทางอากาศ (วทพ. / Voice / CW. ) - ลกั ษณะของการจดั ข่ายเพ่อื สนับสนุนภารกจิ การสนับสนุนทางอากาศยทุ ธวิธี โดยมี บก.ทบ. สน. เปน็ สบข. ไปยังหน่วยรองหลัก ซงึ่ จดั ต้ังเปน็ กกล.ฉก. ร่วม ทภ. 2.1.4 ขา่ ยรถผู้บังคบั บญั ชา ( MCP ) - ลักษณะของการจัดข่ายเพ่ือให้ ผบ.ทบ. ได้สั่งการอำนวยการยุทธในพ้ืนที่คับขัน ควบคุม การปฏิบัติ ณ บก.ทบ.สน. อย่างใกล้ชิด เม่อื เห็นวา่ สถานการณ์ล่อแหลม ผบ.ทบ. จะส่ังการ โดยผ่านรถ MCP เพ่ือติดตามสถานการณ์อย่างใกลช้ ิดต่อเน่ืองจนกวา่ สถานการณ์จะคล่ีคลาย 3. ตอนท่ี 3 ข่ายวทิ ยภุ ายนอก ทบ. มรี ายละเอียดพอสรุปไดด้ งั นี้ สำหรับการจดั ข่ายภายนอก ทบ. ยังไม่ปรากฏเป็นทแี่ น่ชัดเพยี งแต่การประสานการปฏิบัติจะมีลักษณะ เปน็ การผสมผสานเคร่ืองมอื ท้งั ทางสายและวทิ ยุ การสื่อสารด้วยดาวเทียม เพื่อให้สามารถควบคมุ การยุทธร่วม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี ศอร.บก. ทหารสูงสุดเป็น สบข. ฉะนั้นการจัดข่ายและการเรียกชื่อข่ายจึงมิได้ มีการจัดทำไว้เป็นเอกสารให้เห็น เนื่องจากในอดีตประเทศไทยไมเ่ คยปรากฏการใชก้ ำลังทั้ง 3 เหล่าทัพ รว่ มกัน เป็นยุทธบริเวณ ท้ังท่ีเป็นผลมาจากประเทศไทยไม่มีเขตยุทธบริเวณนอกประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติมิได้ กำหนดใหร้ ุกรานชาตใิ ด กำลังทหารมไี วเ้ พอื่ การป้องกนั ราชอาณาจักรและการพัฒนา 4. ตอนที่ 4 ขา่ ยวิทยภุ ายนอกประเทศ ใช้เป็นการจัดเฉพาะกิจ เมื่อมีการฝึกร่วมกับกองกำลังต่างชาติ เช่น การฝึก คอบบร้าโกลด์ (COBRA GOLD ) โดยใชข้ ่ายการส่อื สารดาวเทยี มเป็นหลัก

สรุป ขา่ ยวิทยทุ า หนว่ ยตามอัตรา บช. บช. บช. บช. มทภ. การจัดยุทโธปกรณ์ ยก.ที่ ยก.ท่ี ยก.ที่ ยก.ที่ CMD (นขต.ทภ.) ๑ ๒ ๓ ๔ CAR วทพ. วทพ. วทพ. วทพ. ทก.ทภ.หลกั X ส. X ส. X ส. X ส. X ส. ทก.ทน.หลัก X พล.ร.- X พล.ร.- X พล.ร.- X - 75 - พล.ร.- X กรม (ลว.)ทภ. ม.สมทบ X ป.สมทบ ปตอ.สมทบ X กรม ช. X ส.พัน - บชร.- รพศ.- X กกล.ทพ.ทภ.- X ศสอต. ตอนการบนิ ทภ.- FM : UHF : ของ มทภ. - X หมายเหตุ ส.= สบข. , X = จดั จาก รอ้ ย ส.บช.กบ.ทบ. , X = จดั จาก พนั .ส.ทภ. *** รอ้ ย สบช./กบ.ทบ. จดั ต้งั ขึ้นในสภาวะสงคราม ใหด้ ูเอกสารประกอบในบทท่ี 8 เร

างยทุ ธวิธี บก.ทภ. กพ. กพ. คำขอ นตต. นตต. ลว. บช. กพ. กบ.ที่ กบ.ที่ ทาง ป. ทอ. ทภ. ยก. กบ. ๑ ๒ วทพ. ปถด. ปถด. ปถ. ทบ. ทบ. วทพ. วทพ. ถสม. วทพ. วทพ. X X ส. X ส. X ส. X ส. X X X X X X X X X X X X ส. X ส. X X X X X , X = ประจำหนว่ ย รื่องการจดั หน่วย

- 111 - บทที่ 5 บทสรปุ การศึกษาสำหรับวิชา การปฏิบัตงิ านของหน่วยทหารสอื่ สารทางยุทธวิธี ซ่งึ ได้กำหนดกรอบการศึกษา ในระดับหน่วยทหารขนาดใหญ่ขึน้ ไป ศกึ ษาบทบาทและหน้าทีข่ องหนว่ ยกองพันทหารส่อื สาร ในระดบั กองพล กองทัพภาค และกองทพั บก ซ่ึงในบทนี้ได้สรุปข้อแตกต่างไวพ้ อสังเขป เนื่องจาก อจย. ตอนที่ 4 ของกองพันทหารส่ือสาร ยังไม่ได้รับอนุมัติในอัตราการจัดใหม่ ทำให้ เป็นปัญหาเก่ียวกับการศึกษายุทโธปกรณ์สายส่ือสาร ซ่ึงเป็นยุทโธปกรณ์หลัก ยุทโธปกรณ์ที่ปรากฏให้เห็นนี้ เป็น อจย. เดิม ทำให้มีปัญหาเก่ียวกับการจัดหา, การเสนอความต้องการ การส่งกำลังและการซ่อมบำรุง เนื่องจากเทคโนโลยีทางการสื่อสาร มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว กองทัพบกยังคงต้องใช้วิธีการส่ังซื้อ เทคโนโลยีจากต่างประเทศมา เพ่ือการใช้งาน ยุทโธปกรณ์สายส่ือสารท่ีปรากฏในตอนท่ี 4 ของการจัดอัตรา ยุทโธปกรณ์ จึงมีลักษณะใช้เพ่ือพราง ยังไม่ได้รับเป็นอัตราจริง หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นการทดลองใช้งาน ผลจากการที่อัตราการจัดไม่มีตอนที่ 4 ส่งผลให้ยุทโธปกรณ์สายอื่นๆ ไม่สามารถดำเนินการตามสายส่งกำลัง บำรุงไปด้วย สำหรับการจัดหายุทโธปกรณ์ จึงเป็นไปในลักษณะ สป. ประเภทท่ี 4 ( นอกอัตรา ) เพ่ือให้ สามารถดำรงความเป็นหน่วยและสามารถทำงานได้ตามขีดความสามารถ สามารถสนองงานของหน่วยเหนือ และให้การสนบั สนุนภารกิจด้านการสื่อสารทางยุทธวิธไี ด้

- 112 - ความแตกตา่ งของ บก. และ รอ้ ย.บก.พัน.ส.ทภ. กบั บก. และ ร้อย.บก.พนั .ส.พล. รปู ท่ี 18 ผงั การจัด บก. และร้อย. บก.พัน.ส.พล. ( อจย. หมายเลข 11 – 36 ลง 25 ก.ค. 27 ) กองบงั คับการ และ กองร้อยกองบงั คับการ บก.พนั . ร้อย บก. บก.ร้อย. ตอนทหารสอื่ สารกองพล ตอนซอ่ มบำรงุ ยานยนต์กองพนั ตอนยทุ ธการและการข่าว ตอนส่งกำลงั กองพนั ตอนการภาพ ตอนธุรการและกำลงั พล ตอนซอ่ มบำรงุ สายสือ่ สาร พนั .ส.ทภ. พัน.ส.พล. 1. มีตอน บก.พนั . ซ่งึ อยู่ในตอน บก.พนั .จะมี จนท. 1. มีตอนธรุ การและกำลังพล, ตอนยทุ ธและการ สายงานธุรการ และกำลังพล, ยทุ ธการ และการฝึก ข่าว, ตอนสง่ กำลังกองพนั แยกหน่วยกัน สง่ กำลงั บำรุง 2. มีตอนเสนารกั ษ์ 2. ไม่มตี อนเสนารักษ์ 3. ไม่มีตอนทหารสื่อสารกองพล 3. มีตอนทหารสอ่ื สารกองพล 4. ไม่มตี อนซ่อมบำรุงสายส่อื สาร 4. มตี อนซ่อมบำรุงสายสื่อสาร

- 113 - ความแตกต่างของ ร้อย.วทิ ยแุ ละศนู ย์ข่าว พัน.ส.ทภ. กบั ร้อย.วิทยแุ ละศนู ย์ข่าว พนั .ส.พล. รปู ท่ี 19 ผงั การจัด รอ้ ย.วิทยุและศนู ย์ขา่ ว พนั .ส.พล. ( อจย. หมายเลข 11 – 37 ลง 25 ก.ค. 27 ) กองรอ้ ยวิทยุและศูนย์ขา่ ว บก.ร้อย หมวดวิทยุ หมวดศูนย์ขา่ วและนำสาร บก.มว. ชุดวิทยโุ ทรพมิ พ์ ชดุ วิทยคุ วบคุม เคลือ่ นที่ ( 3 ชดุ ) อากาศยาน ( 5 ชดุ ) ชุดวิทยสุ นับสนนุ ชุดวิทยุกำลงั ทางอากาศ ปานกลาง ( 9 ชุด ) บก.มว. ตอนศูนยข์ า่ ว ตอนอกั ษรลับ ตอนนำสาร ในสนามอาจลดหรอื เพมิ่ กไ็ ด้ พัน.ส.ทภ. พัน.ส.พล. 1. มว.วิทยจุ ะแบง่ เปน็ ตอนวิทยุสนับสนนุ ทวั่ ไป และ 1. มว.วทิ ยุ จะแบง่ ออกเปน็ ตอนวทิ ยโุ ทรพิมพใ์ นวทิ ยุสนบั สนุนท่วั ไป จะมี ชุดวิทยุสนบั สนุนทางอากาศ 1 ชดุ ชดุ วิทยปุ ระเภท FM และ AM/SSB สนับสนนุ ชดุ วทิ ยโุ ทรพิมพ์เคล่อื นท่ี 3 ชดุ สว่ นบังคับบัญชา และฝ่ายอำนวยการ ตลอดจน ชดุ วิทยุกำลงั ปานกลาง 9 ชดุ ตดิ ตอ่ ขา่ ยการบนิ ทหารบก ชุดวิทยุควบคมุ อากาศยาน 5 ชดุ

- 114 - ความแตกต่างของ รอ้ ย.สายและวทิ ยุถา่ ยทอด พนั .ส.ทภ. กับ ร้อย.สายและวิทยุถา่ ยทอด พัน.ส.พล. รปู ท่ี 20 ผงั การจดั รอ้ ย.สายและวิทยถุ ่ายทอด พนั .ส.พล. ( อจย. หมายเลข 11 – 38 ลง 25 ก.ค. 27 ) กองรอ้ ยสายและวิทยถุ ่ายทอด บก.รอ้ ย หมวดสาย หมวดสายวิทยถุ ่ายทอด บก.หมวด ตอนโทรศัพท์ ชดุ สร้างสาย บก.หมวด ชุดวิทยุ สนาม ( 5 ชุด ) ถ่ายทอด ชุดสร้างสายสนาม ( 8 ชุด ) ชุดวิทยุปลายทางและคล่นื พาห์ ( 12 ชดุ ) ชดุ เคเบิ้ลสนาม ( 2 ชุด ) พนั .ส.ทภ. พนั .ส.พล. 1. มว.สายจะไมม่ ีชดุ สร้างสายเคเบิ้ลสนาม 1. มว.สายจะมีชุดสร้างสายเคเบ้ิลสนาม 2 ชุด 2. มว.สายจะมีชุดสร้างสายสนาม 3 ชุด 2. มว.สายจะมีชุดสรา้ งสายสนาม 5 ชุด 3. มว.วิทยถุ า่ ยทอด จะมีชุดวิทยปุ ลายทาง และ 3. มว.วทิ ยถุ ่ายทอด จะมชี ดุ วทิ ยุปลายทางและ คลื่นพาห์ 10 ชุด, ชุดวทิ ยุถา่ ยทอด 18 ชุด คลื่นพาห์ 12 ชดุ , ชดุ วทิ ยุถา่ ยทอด 8 ชุด หลักการจำ พ้ืนท่ใี หญ่กวา่ ตอ้ งการพ้ืนที่ในการ Relay มาก

- 115 - ยุทโธปกรณ์ประเภทวทิ ยทุ ใ่ี ช้ทดแทนในปัจจบุ ัน วทิ ยเุ ดมิ วทิ ยุที่ใช้ทดแทน หมายเหตุ AN/GRC-122 VRC-2100,VRC-6100 + massage วทิ ยโุ ทรพมิ พ์ AN/GRC-142 terminal AN/GRC-106 PRC/VRC-610 VRC-2100, VRC-6100 + massage วทิ ยุโทรพิมพ์ AN/PRC-64 terminal AN/PRC-74 AN/GRR-5 VRC-2100, VRC-6100 ชุดวิทยุ HF/SSB AN/VRC-12,43,44,46,47,48 AN/VRC-45,49 VRC-2020, PRC-2200, ชุดวิทยุ HF/SSB AN/VRC-64, AN/GRC-160 AN/PRC-77 PRC-6020,VRC-6020 AN/VRC-24 AN/ARC-73 PRC-2200, PRC-6020 ชดุ วทิ ยุ HF/SSB AN/ARC-131 AN/GSA-7 PRC-2200, PRC-6020 ชุดวทิ ยุ HF/SSB AN/GRA-39 RC-292/GRC - เครือ่ งรับวทิ ยุHF/SSB VRC-745, VRC-750 ชุดวิทยุ VHF/FM VRC-1465 ชดุ สง่ ต่อ วทิ ยุ VHF/FM GRC-1600 ชดุ วิทยุ VHF/FM PRC-730,PRC-710,PRC-930 ชดุ วิทยุ VHF/FM PRC-710MB/20, 20w Vehicula ติดตอ่ อากาศยาน PRC-710MB/20, 20w Vehicula ติดตอ่ อากาศยาน PRC-710MB/20, 20w Vehicula ตดิ ตอ่ อากาศยาน AN/GRA-39 ชุดสนธิวิทยุ-สาย - ชดุ ควบคุมระยะไกล OE-254/GRC ชดุ สายอากาศเพ่ิมระยะการ ติดตอ่ สอื่ สาร

- 116 - ยุทโธปกรณป์ ระเภทสายและวิทยุถ่ายทอดทใ่ี ชท้ ดแทนในปจั จุบัน เคร่อื งสลับสายเดิม เคร่อื งสลับสายใหม่ หมายเหตุ SB-993/GT ETE-C พัน.ส. / ร.,ม.,ป.,และ ช. SB-22/PT ETE-S พนั .ส. / ร.,ม.,ป.,และ ช. SB-86/P ETE-M พนั .ส. / ร.,ม.,ป.,และ ช. โทรศพั ท์สนามเดมิ โทรศัพท์สนามใหม่ พนั .ส. / ร.,ม.,ป.,และ ช. TA-1/PT ETP-3 (IP Phone) พัน.ส. / ร.,ม.,ป.,และ ช. TA-312/PT ETP-1 (LB,CB) พนั .ส. / ร.,ม.,ป.,และ ช. Analog Phone ETP-2 (CB) พนั .ส. ,พัน.ส.ทภ. วิทยถุ ่ายทอด เครือ่ งสลับสาย พัน.ส. -RL-420,421A,422A,432A - DX-111 , DX-200B พัน.ส. และ RL-532A - TANT พัน.ส. -TRC-4000 - IPX-600 - GRX-4000 - SENTINEL _________________________

- 117 - บรรณานุกรม เอกสารอ้างองิ 1. ร.ส. 24-1 พ.ศ. 2514 “หลกั นยิ มการสอ่ื สารทางยุทธวธิ ี” 2. ร.ส. 24-5 พ.ศ. 2535 “การสื่อสาร” 3. ร.ส. 11-35 พ.ศ. 2526 “กองพนั ทหารสือ่ สารกองพล” ข้อมูลเพม่ิ เตมิ 1. ข้อมลู กองพนั ทหารสอื่ สารกองพล ทบ.ไทย 2. ขอ้ มูลกองพนั ทหารสื่อสารกองทพั ภาค ทบ.ไทย 3. ข้อมลู การปฏิบัติงานกรมทหารส่ือสารท่ี 1 4. ขอ้ มูลการฝึกคอบบร้าโกลด์ ปี 2543 --------------------------------------------

การปฏิบัตงิ านของหนว่ ยทหารส่ือสารทางยุทธวธิ ี แผนกวิชาทหารสื่อสาร กศ.รร.ส.สส. พ.ศ.๒๕๖๔