หน้า 49 6. ขา่ ยคำขอทางอากาศกองพล (ปส./คำพูด/คม.) 6.2 ข่ายน้ีใช้ส่งคำขอสนับสนุนทางอากาศยทุ ธวิธี โดยสง่ ตรงไปยงั ศูนย์ประสานการยิงช่วยสนบั สนนุ และส่งข่าวสาร คำแนะนำให้หน่วยต่างๆ ทราบเกี่ยวกบั การโจมตีทางอากาศทุกชนดิ พัน.ส.พล. จัดเจ้าหนา้ ท่ี และ เครอื่ งมือเขา้ ปฏิบัติการในสถานีบังคับขา่ ย ณ ทศี่ ูนย์ประสานการช่วยยิง ซ่ึงมี สธ.3 อากาศรวมอยดู่ ว้ ย 6.3 สถานีวิทยใุ นขา่ ยนป้ี ระกอบดว้ ยสถานีวิทยุท่ีศนู ยป์ ระสานการยิงชว่ ยของกองพลสื่อสารไปยงั ทั้ง 3 กรม และ กอง ลว.พล. 7. ข่ายลาดตระเวนกองพล (ปถ./คำพดู ) 7.1 ข่ายวทิ ยขุ า่ ยน้ใี ชส้ ่งข่าวเกีย่ วกบั การเฝา้ ตรวจการรบ การลาดตระเวน สถานบี ังคบั ขา่ ยตงั้ อยู่ท่ี ทก.หลกั โดยสง่ ขา่ วในการเฝ้าตรวจการรบให้ สธ.2 ทราบ พนั .ส.พล. เปน็ ผจู้ ดั ท้งั เจา้ หน้าทีแ่ ละเครอ่ื งมอื ปฏิบัติการ ในสถานีบงั คับขา่ ยนี้ 7.2 สถานีวทิ ยุในข่ายนปี้ ระกอบดว้ ย สถานีวิทยุทีต่ อนการบิน ณ ท่ี ทก.หลัก ทำการสอ่ื สารไปยัง
หน้า 50 เครือ่ งบนิ เบาของ ทบ.สนามบิน และ กอง ลว.พล. 8. ขา่ ยเตือนภยั /กระจายขา่ วกองพล ( ปส./คำพูด ) 8.1 ข่ายวิทยขุ า่ ยนใี้ ชก้ ระจายเสยี งเตอื นภัย เพอ่ื เป็นการเตรยี มพร้อมต่อการโจมตดี ้วยอาวธุ นวิ เคลียร์ ชีวะ เคมี ใชเ้ ป็นสัญญาณเลิกภยั การเตอื นภยั จากการโจมตีดว้ ยอาวุธนวิ เคลยี ร์ ตลอดจนขา่ วสาร ที่ต้องปฏิบัติการ อย่างฉุกเฉิน พัน.ส.พล. จะจัดทั้งคนและเครื่องมือสื่อสารมาปฏิบัติงานในสถานีบังคับข่ายที่ ทก.หลักของกองพล ตลอดทั่วทั้งกองพล จะต้องแจกจ่ายเครื่องวิทยไุ วเ้ ปดิ รับฟังข่ายนี้ อาจกำหนดให้เครื่องวิทยุในข่ายอื่นส่งเขา้ มาใน ขา่ ยน้กี ไ็ ด้ เชน่ กอง ลว.พล. กระจายข่าวสารการลาดตระเวนเรง่ ดว่ นใหห้ นว่ ยต่างๆ ของกองพลทราบ 8.2 สถานวี ิทยตุ า่ ง ๆ ในข่ายนี้ประกอบด้วยสถานีส่งที่ ทก.หลกั ของกองพลและสถานีรบั ที่ ทก.หลงั ทก.ทางยทุ ธวิธี ศูนย์ประสานการยงิ ชว่ ย ทั้ง 3 กรม กรม ป.พล., พนั .ถ. กอง ลว. พล, ตอนการบนิ พนั .ช., กอง สพบ.พล, กอง พธ.พล.
หน้า 51 ตอนที่ 3 ข่ายวิทยุนอกกองพล มรี ายละเอียดดังน้ี 1. ข่ายคำขอทางอากาศ ทภ. (ปส./วทพ.) ข่ายนี้เป็นข่ายที่ขอรับการสนับสนุนทางอากาศของกองพล ชุดวิทยุที่ใช้ในข่ายนี้ จัดให้มีการสื่อสารระหว่าง สธ.2 และ สธ.3 อากาศ ของกองพลที่ศูนย์ประสานการยิง สนับสนุนของกองพล กับศูนย์ปฏิบัติการทางยุทธวิธีของ ทภ. ชุดวิทยุและพนักงานวิทยุที่ศูนย์ประสานการยิง สนับสนุน จัดโดย พนั .ส.พล. 2. ข่ายส่งกำลังบำรุงกองทัพภาค (ปส./วทพ.) ข่ายนี้ใช้ส่งข่าวสารทางธุรการ และข่าวการส่งกำลังบำรุง ระหวา่ งกองพลกบั กองทัพภาค พัน.ส.พล. เป็นผ้จู ัดสถานวี ิทยุโทรพมิ พป์ ฏิบัตงิ านในขา่ ยน้ี 3. ข่ายบังคับบัญชากองทัพภาค (ปส./วทพ.) ข่ายนี้กองทัพภาคใช้ในการบังคับบัญชา และควบคุม การปฏิบัติการหน่วยรองของกองทัพภาค พัน.ส.พล. เป็นผู้จัดสถานีวิทยุขึ้น ณ ทก.หลัก ของกองพล วิทยุที่ใช้ ในขา่ ยน้เี ปน็ ชดุ วทิ ยุทางยทุ ธวิธกี ำลังสูง สามารถสง่ วิทยโุ ทรพิมพ์ประมวลเลขสญั ญาณหรือคำพูดได้ 4. ระบบเครอื่ งรับรายงานขณะปฏบิ ัติ (ถสม. ถสอ.-คำพูด) กองพันทหารสื่อสาร เป็นผู้ปฏิบัติงานสถานี วิทยุของข่ายที่มีส่วนสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี ศปก.พล. สถานีที่ใช้เพื่อเฝ้าฟังการปฏิบัติการบิน ตามภารกิจ สนับสนุนโดยใกล้ชิดของทหารอากาศให้แก่กองพล นอกจากนั้นข่ายนี้ยังใช้เป็น ระบบแจ้งเตือนภัยจากเครื่องบิน ทางอากาศไปยัง ศปย.พล. ศปย.พล. จะส่งข่าวแจ้งเตือนภัยนั้นต่อไปทันที โดยทางระบบการ กระจายข่าวแจ้งเตือนภัยของกองพล สถานีวิทยุอื่น ๆ ของกองพลในข่ายนี้ก็ยังมีอยู่ที่กองบังคับการกรมและ กองพนั ตา่ งๆ ด้วย (ถสม. – ความถี่สงู มาก ถสอ. – ความถี่สูงอุลตรา) -------------------------------
หนว่ ย ข่าย ผบ.พล./ ข่ายบงั คบั ขา่ ยการข่าว ขา่ ยคำขอ ข่ายธุรการ/ ข่ายธรุ การ/ ข่า บงั คับบัญชา บัญชา/ยทุ ธ กองพล ทางอากาศ ส่งกำลงั สง่ กำลงั บำรุง กร กองพล การ (ปส./คำพดู / บำรุงท่ี1 ท่ี 2 (ปถ./คำพูด) (ปส./คม.) (ปส./คม.) คม.) (ปส./คม.) (ปถ./คำพดู ) (ป VRC-47 GRC-106 GRC-106 GRC-106 VRC-47 G ทก.พล.หลัก รถ ผบ.พล. สบข. สบข. สบข. VRC-47 ส. ส. ส. ส. ทก.พล.หลงั GRC-106 VRC-47 สบข. ศปย.พล. GRC-106 สบข.ส. ทก.พล.ยทุ ธวธิ ี VRC-47 ส. GRC-106 ส. GRC-106 ส. - 52 - กรม.ป.พล. VRC-47 GRC-106 GRC-106 GRC-106 กรม ร. VRC-47 GRC-106 GRC-106 GRC-106 GRC-106 (พัน.ถ.) (พัน.ถ.) (ลว.พล.) (ลว.พล.) กองพนั ดำเนินกลยุทธ พัน.ช. GRC-106 GRC-106 กองรอ้ ยบิน พัน.สร. PRC-74 รอ้ ย.สห.พล. PRC-74 กอง สพบ.พล. PRC-74 ร้อย ลว.ไกล PRC-74 PRC-74 ชสอต. ร้อย ลว.พล. GRC-106 GRC-106 กอง พธ.พล PRC-74 แบบขา่ ยวิทยกุ องพลท
ายเตือนภัย/ ขา่ ยลาดตระ ขา่ ยเครอื่ งรบั ขา่ ยบงั คับ ข่ายสง่ กำลงั ขา่ ยคำขอ ข่ายคำขอ หมายเหตุ ระจายขา่ ว เวนกองพล รายงานขณะ บัญชา ทภ. บำรงุ ทภ. ทางอากาศ ทางอากาศ ปฏบิ ัติ (ถสม./ ทภ. (ทอ.) ปส./คำพดู ) (ปถ./คำพดู ) ถสอ./คำพูด) (ปส./วทพ.) (ปส.วทพ.) (ปส./วทพ.) (ปส./คำพดู ) GRC-106 VRC-47 GRC-142 GRC-142 GRC-142 ส.ชดุ วิทยุ สบข. จดั จาก ส. ส. ส. ส. พนั .ส.พล. ARC-131 สบข GRC-106 VRC-24 ส. ส. (ลว.พล.) GRC-106 (ชนอต.) VRC-46 (ชนอต.) (ชผคน.) GRC-106 ทอ. GRC-106 VRC-49 ทหารราบ เคร่ืองมือสอ่ื สารเดิม
หน่วย ข่าย ผบ.พล./ ข่ายบงั คับ ขา่ ยการข่าว ขา่ ยคำขอ ขา่ ยธุรการ/ ขา่ ยธุรการ/ ขา่ บังคับบญั ชา บัญชา/ยุทธ กองพล ทางอากาศ ส่งกำลงั สง่ กำลังบำรุง กร กองพล การ (ปส./คำพูด/ บำรงุ ท่ี1 ที่ 2 (ปถ./คำพดู ) (ปส./คม.) (ปส./คม.) คม.) (ปส./คม.) (ปถ./คำพูด ) (ป VRC-745 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 VRC-745 V รถ ผบ.พล. สบข. สบข. สบข. ส. ทก.พล.หลกั VRC-745 ส. ส. ส. ทก.พล.หลงั VRC-2100 VRC-745 สบข. - 53 - ศปย.พล. VRC-745 ส. VRC-2100 VRC-2100 VRC-745 สบข. VRC-2100 ทก.พล.ยทุ ธวธิ ี VRC-745 ส. กรม.ป.พล. (พัน.ถ.) กรม ร. VRC-2100 ส. VRC-2100ส. VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 (พัน.ถ.) (ลว.พล.) (ลว.พล.) กองพันดำเนินกลยุทธ พนั .ช. VRC-2100 VRC-2100 กองรอ้ ยบนิ พนั .สร. PRC-2200 รอ้ ย.สห.พล. PRC-2200 กอง สพบ.พล. PRC-2200 ร้อย ลว.ไกล PRC-2200 PRC-2200 ชสอต. รอ้ ย ลว.พล. VRC-2100 VRC-2100 กอง พธ.พล PRC-2200 แบบข่ายวิทยุกองพลท
ายเตอื นภัย/ ข่ายลาดตระ ข่ายเครอื่ งรบั ขา่ ยบงั คับ ขา่ ยส่งกำลงั ขา่ ยคำขอ ขา่ ยคำขอ หมายเหตุ ระจายข่าว เวนกองพล รายงานขณะ บญั ชา ทภ. บำรงุ ทภ. ทางอากาศ ทางอากาศ ปฏิบัติ (ถสม./ ทภ. (ทอ.) ปส./คำพูด) (ปถ./คำพดู ) ถสอ./คำพูด) (ปส./วทพ.) (ปส.วทพ.) (ปส./วทพ.) (ปส./คำพดู ) VRC-2100 VRC-745 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 ส.ชดุ วิทยุ สบข. +MT +MT +MT จดั จาก ส. ส. ส. ส. พนั .ส.พล. VRC-710 MB VRC-2100 สบข. ส. VRC-2100 ส. (ลว.พล.) VRC-2100 (ชนอต.) VRC-745 (ชนอต.) (ชผคน.) VRC-2100 ทอ. VRC-2100 VRC-1465 ทหารราบ เครอ่ื งมอื สอื่ สารใหม่
หนา้ 54 บทท่ี 3 การปฏบิ ัตงิ านของหน่วยทหารสอ่ื สารทางยุทธวธิ ใี นระดบั กองทพั ภาค ตอนท่ี 1 กองพันทหารส่อื สารกองทพั ภาค การจดั หน่วย 1. ผังการจัดกองพนั ทหารสอื่ สาร อจย.หมายเลข 11–55 (3 พ.ย.23) กองพันทหารส่อื สารกองทพั ภาค บก.ร้อย บก. รอ้ ยวิทยแุ ละศูนยข์ า่ ว ร้อยสายและวิทยุถ่ายทอด รปู ที่ 6 ผังการจดั กองพนั ทหารสอ่ื สารกองทพั ภาค 2. ภารกิจ จัดวางการสื่อสารประเภทวิทยุ, การสื่อสารประเภทสาย และจัดตั้งศูนย์ข่าวให้กับกองบัญชาการ กองทัพภาค รวมทั้งวางการสื่อสารทางสายด้วยวิทยุถ่ายทอด จากกองบัญชาการกองทัพภาค ไปยัง หน่วยรองหลักของกองทัพภาค,หน่วยขึ้นสมทบ,หน่วยขึ้นการควบคุมทางยุทธการ และหน่วยอื่นๆ ที่ได้รับ มอบหมาย 3. การแบง่ มอบ หน่ึงกองพันต่อหนงึ่ กองทัพภาค 4. ขดี ความสามารถ 4.1 สามารถให้การสนับสนนุ การติดต่อส่ือสารแก่ กองทัพภาคที่มี 2 ถงึ 4 กองพล 4.2 ติดตั้ง, ปฏิบัติการ และดำรงการสื่อสารประเภทวิทยุ ด้วยชุดวิทยุโทรพิมพ์ได้ไม่เกิน 15 ชุด พรอ้ มกันตอ่ 1 หมวดวทิ ยุ 4.3 จัดชุดวิทยุสนับสนุนการส่วนบังคับบัญชาและอำนวยการ กองบัญชาการกองทัพภาค ได้ไม่เกนิ 6 ชุด ตอ่ หนง่ึ หมวดวิทยุ 4.4 จดั ต้ังศูนยข์ ่าว พรอ้ มบรกิ ารนำสารยานยนต์ ได้ 1 ศนู ยข์ า่ ว 4.5 จัดวางการสื่อสารทางสาย ด้วยวิทยุถ่ายทอด ขนาด 12 ช่องเสียง ได้ 3 ระบบพร้อมกันต่อ 1 หมวดวิทยถุ ่ายทอด และตดิ ตงั้ ปฏบิ ตั กิ าร และดำรงการสือ่ สารทางสาย ได้ไมเ่ กิน 100 ทางสาย 4.6 บรกิ ารภาพนง่ิ รวมทั้งล้าง อัด ขยาย ภาพนิง่
4.7 ทำการรบอย่างทหารราบเม่อื จำเปน็ หน้า 55 5. อัตราการจดั กำลงั พลและยุทโธปกรณ์ (ท่สี ำคญั ) อนุมตั ิ 25 5.1 อตั รากำลงั พล 198 126 อัตรา เตม็ นายทหาร 25 นายสิบ 237 พลทหาร 138
หน้า 56 5.2 อัตรายทุ โธปกรณ์ (เฉพาะรายการสำคัญ) รายการ อตั รา เต็ม ลด สายสรรพาวธุ 1. ปพ.86 เครื่องประกอบพรอ้ ม 15 15 2. ปลย.M.16 เครอ่ื งประกอบพรอ้ ม 361 312 3. ปก.M.68 เครอื่ งประกอบพร้อม 35 27 4. เครอ่ื งยงิ ลูกระเบดิ M.79 เครื่องประกอบพร้อม 18 - 5. รยบ.1/4 ตัน 4x4 ตัน 25 38 6. รยบ.3/4 ตนั 4x4 สัมภาระ 18 17 7. รยบ.1 1/4 ตัน 4x4 M.561 28 20 8. รยบ.1 1/4 ตัน 4x4 17 16 9. รยบ.2 1/2 ตัน สัมภาระ 55 10. รยบ.2 1/2 ตัน สัมภาระมกี วา้ น 33 11. รถพยาบาล 1 1/4 ตนั 4x4 ตนั 11 สายสอื่ สาร 1. ชดุ สายอากาศ RC-292 33 2. ชดุ วิทยุ AN/VRC-46 44 3. ชดุ วิทยุ AN/VRC-47 88 4. ชดุ วทิ ยุ AN/VRC-24 22 5. ชดุ วทิ ยุ AN/VRC-74 99 6. ชดุ วิทยุ AN/PRC-77 33 7. เคร่ืองบังคับไกล AN/GRA-39 55 8. เครื่องบงั คับไกล AN/GSA-7 11 9. ชดุ โทรพิมพ์ AN/GRC-142 17 17 10. ชุดโทรพิมพ์ภาษาไทย 17 17 11. รถวทิ ยสุ งั่ การ มทภ.1 -- 12. ชดุ วทิ ยุ PRC-624 -- 13. เคร่ืองรบั สง่ ข้อมลู ปลายทางความเร็วสูง (CM.85200) -- 14. เครอ่ื งเข้าถอดรหสั สัญญาณอตั โนมัติ (CSD.3324E) -- 15. ชุดวิทยุกลางทาง AN/TRC-113 18 12 16. ชุดวิทยปุ ลายทาง AN/TRC-145 10 8 17. ตู้สลบั สาย SB-22/PT 44 18. ตู้สลบั สาย SB-86/P 22 19. โทรศพั ทส์ นาม TA-312/PT 100 100 20. ตู้สลับสายอัตโนมตั ิ 100 ทางสาย (MXD-2000) -- 21. อุปกรณ์เช่ือมตอ่ Computer ET-10 -- 22. อปุ กรณเ์ ชอื่ มต่อเครอื ข่าย PFA-130 -- รายละเอยี ดเพิ่มเติม ให้ นสน. , นทน. ดตู ำราวิชาการจดั หนว่ ยสือ่ สารและหนว่ ยทหารสือ่ สาร ของโรงเรียนทหารสอ่ื สาร
หนา้ 57 5.3 กองบงั คบั การและกองร้อยกองบงั คบั การ บก.และ รอ้ ย บก. บก.พนั . ร้อย บก. บก.รอ้ ย ตอน บก.พนั . ตอนการภาพ ตอนเสนารกั ษ์ ตอนซ่อมบำรงุ ยานยนตก์ องพัน รูปท่ี 7 ผงั การจดั กองบงั คับการและกองรอ้ ยกองบังคับการ (อจย.หมายเลข 11–56 (3 พ.ย.23) ภารกจิ 1. ควบคุม, ประสานการปฏิบตั ิแบ่งการฝึกภายในกองพัน และจัดใหม้ ีอุปกรณ์สำหรบั กองบังคับการ เพือ่ การควบคมุ และการบังคับบญั ชากองพัน 2. วางแผน , อำนวยการ , กำกบั ดูแล และประสานการปฏิบัติการสือ่ สารของกองทัพภาค 3. จดั บรกิ าร การภาพ ให้แกก่ องทพั ภาค 4. สนับสนนุ การสง่ กำลงั สำหรับการบงั คบั การ และกองรอ้ ยกองบงั คบั การ และกองรอ้ ยต่างๆ ของกองพนั การแบ่งมอบ หน่ึงกองร้อยต่อหนึง่ กองพนั ทหารสือ่ สารกองทพั ภาค ขีดความสามารถ 1. วางแผนการบังคับบญั ชา ควบคมุ ประสานการฝกึ และการปฏบิ ัตขิ องกองพนั 2. สนับสนนุ งานธุรการ และการสง่ กำลังบำรงุ สำหรับกองพนั รวมทงั้ การจัดการกำลังพลเป็นส่วนรวม 3. บริการภาพน่งิ รวมทง้ั การล้าง ขยาย ภาพนงิ่ 4. ดำเนนิ การซอ่ มบำรงุ ยานยนต์ ของกองพันเปน็ สว่ นรวม 5. ใหก้ ารรกั ษาพยาบาล กำลงั พลของกองพนั 6. ทำการรบอย่างทหารราบเมือ่ จำเป็น
หน้า 58 5.4 กองรอ้ ยวิทยแุ ละศูนยข์ ่าว กองร้อยวิทยแุ ละศนู ย์ข่าว บก.ร้อย มว.วทิ ยุ มว.ศนู ยข์ ่าวและนำสาร บก.มว. ตอนวทิ ยโุ ทรพิมพ์ บก.มว. ตอนศูนยข์ ่าว ตอนวิทยสุ นบั สนนุ ท่ัวไป ตอนอกั ษรลบั ตอนนำสาร รูปที่ 8 ผังการจัด กองร้อยวิทยุและศนู ยข์ ่าว (อจย.หมายเลข 11–57 (3 พ.ย.23) ภารกจิ จัดให้มีการสื่อสารประเภทวิทยุ และจัดตั้งศูนย์ข่าวให้แก่กองบัญชาการกองทัพภาค รวมทั้ง การสอ่ื สารประเภทวทิ ยุไปยงั หน่วยตา่ ง ๆ ตามภารกจิ ของกองพัน การแบง่ มอบ หน่ึงกองรอ้ ยตอ่ หนง่ึ กองพันทหารสอ่ื สารกองทพั ภาค ขดี ความสามารถ 1. ติดตั้งปฏิบตั ิการ และดำรงการส่ือสารประเภทวิทยุ ดว้ ยชุดวทิ ยโุ ทรพิมพ์ไดไ้ มเ่ กิน 15 ชุด ตอ่ หนึง่ หมวดวทิ ยุ 2. จดั ชุดวทิ ยุสนับสนนุ ส่วนบงั คับบญั ชา และอำนวยการไดไ้ ม่เกิน 6 ชดุ ตอ่ หนึ่งหมวดวทิ ยุ 3. จดั ชุดวิทยโุ ทรพิมพ์สนบั สนุน กองบัญชาการช่วยรบ กองทัพภาค ไดไ้ มเ่ กนิ 2 ชดุ 4. จัดชุดวิทยุติดตอ่ ขา่ ยการบนิ ทหารบกไดไ้ มเ่ กนิ 2 ชดุ 5. จัดต้งั ศนู ยข์ ่าว พร้อมบริการนำสารยานยนต์ ได้ 1 ศนู ย์ขา่ ว 6. ทำการรบอย่างทหารราบ เม่ือจำเป็น
หนา้ 59 5.5 กองรอ้ ยสายและวิทยถุ า่ ยทอด กองรอ้ ยสายและวทิ ยุถ่ายทอด บก.รอ้ ย มว.สาย มว.วทิ ยุถ่ายทอด บก.มว. ตอนโทรศัพท์ บก.มว. ชดุ วิทยถา่ ยทอด ชดุ สรา้ งสายสนาม ชุดวิทยุปลายทาง และเครอ่ื งคล่นื พาห์ (เตม็ 18 ชุด) (ลด 12 ชุด) (เตม็ 10 ชุด) (ลด 8 ชุด) รูปที่ 9 ผังการจัด กองรอ้ ยสายและวิทยุถ่ายทอด (อจย.หมายเลข 11 - 58 (3 พ.ย.23) ภารกิจ จัดให้มกี ารสือ่ สารประเภทสาย ใหแ้ ก่ กองบญั ชาการกองทพั ภาค รวมทง้ั วางการสอ่ื สารทางสายด้วย วิทยุถ่ายทอด จากกองบัญชาการกองทัพภาค ไปยังหน่วยรองหลักของกองทัพภาค, หน่วยขึ้นสมทบ, หน่วย ขึน้ การควบคุมทางยทุ ธการ และหนว่ ยอน่ื ๆ ทีไ่ ด้รับการมอบหมาย การแบง่ มอบ หน่ึงกองรอ้ ยตอ่ หนึง่ กองพนั ทหารสอื่ สารกองทัพภาค ขีดความสามารถ 1. ติดตัง้ , ปฏบิ ัตกิ าร และดำรงการสือ่ สารทางสายได้ไม่เกนิ 100 ทางสาย 2. จัดวางการสอื่ สารทางสายดว้ ยวทิ ยุถ่ายทอด ขนาด 12 ช่องเสยี งได้ 3 ระบบพรอ้ มกัน ต่อหนึง่ หมวดวทิ ยุ ถ่ายทอด 3. ทำการรบอยา่ งทหารราบเมอ่ื จำเป็น
หนา้ 60 ตอนท่ี 2 การจัดท่บี ญั ชาการ/ที่บังคบั การ 1.การจดั เพือ่ ปฏบิ ัติงาน พัน.ส.ทภ.มกี ารจดั เพือ่ การปฏบิ ัติงานดังนี้ ชุดปฏิบัติงาน ณ ทก.ทภ. หลัก 1. ผบ.ส.พนั .ทภ. เป็นผ้คู วบคุมการปฏิบัตงิ านโดยตรง 2. เป็นกำลงั พลส่วนใหญข่ อง พัน.ส.ทภ. ซ่ึงประกอบดว้ ย ตอน บก.พัน ส่วนใหญข่ องรอ้ ย บก. ส่วนใหญ่ ของตอนซ่อมบำรุงยานยนต์ ตอนการภาพ ตอนเสนารักษ์ สว่ นใหญ่ของ กองร้อยวิทยุและศูนย์ข่าว สว่ นใหญ่ของกองรอ้ ยสายและวทิ ยุถา่ ยทอด 3. ทำงานเก่ยี วกบั บริการส่ือสารสำหรับ ทก.ทภ. ทางยุทธวธิ ี บรกิ ารส่ือสารสำหรับ ทก.ทภ.หลกั และปฏิบัติ การพิเศษตามคำสงั่ มทภ. 4. ถ้าไมจ่ ำเปน็ ก็ไมเ่ ลือกที่ต้งั ในบรเิ วณ ทก.ทภ. แต่ให้เลือกท่ีต้งั ท่หี ่างจาก ทก.ทภ. และใหเ้ ลือกทต่ี ง้ั หา่ งจาก ทก.ทภ. ในระยะไมเ่ กนิ 4 กม. ทตี่ งั้ นี้เรียกว่า พนั .ส.ทภ. 5. ปฏิบัติงานตลอด 24 ชม. โดยการจดั ผลดั ทำงานและเฉพาะพวกทำงานเท่านัน้ ทีไ่ ปปฏิบตั งิ าน ณ บริเวณ ทก.ทภ.(หลัก) ผลดั พกั รวมกนั ณ ทีต่ ้ัง พัน.ส.ทภ. ชุดปฏิบัตงิ าน ณ ทก.ทภ.หลงั 1. รอง ผบ.พัน.ส.ทภ. เป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติงานโดยตรง 2. ประกอบดว้ ยกำลงั พลสว่ นหนงึ่ ของ พนั .ส.ทภ. จาก ร้อย.บก กองร้อยสายและวิทยถุ ่ายทอด ตอนซ่อมบำรุง ยานยนต์ หมวดศนู ย์ขา่ วและนำสาร และหมวดวิทยุ 3. ทำงานเกยี่ วกับการสนับสนุนการปฏบิ ตั งิ าน ของ พนั .ส.ทภ. จากรอ้ ย.บก. กองรอ้ ยสายและวิทยุถ่ายทอด ตอนซ่อมบำรุงยานยนต์ หมวดศนู ยข์ า่ วและนำสาร และหมวดวทิ ยุ 4. เลือกท่ตี ั้งใน ทก.ทภ.หลัง 5. ปฏิบัติงานตลอด 24 ชม. โดยการจดั ผลดั ทำงาน ชุดปฏบิ ัติงานทแ่ี ยกไปปฏบิ ัตงิ านกับหน่วยอน่ื 1.นายสิบอาวโุ สเป็นผู้ควบคมุ และไปอยใู่ นความควบคมุ ทางการปฏบิ ตั ิของ ฝสส. แต่ละหนว่ ย 2. เปน็ กำลงั สว่ นนอ้ ยของ พนั .ส.ทภ. ซงึ่ ประกอบดว้ ย ชดุ สร้างสาย ชุดวิทยถุ ่ายทอด 3. จะทำงานเกยี่ วกับการบริการส่ือสาร 4. เลือกท่ีต้งั บรเิ วณ ท่ีต้งั หมวด ส. ของหนว่ ยเทา่ นั้น 5. การปฏบิ ัตงิ านตลอดเวลา 24 ชม. โดยการจดั พลดั การทำงาน 6. ไดร้ ับการสนับสนุนทางธรุ การ จาก ร้อย.บก. หรอื จากหน่วยท่ไี ปรว่ มปฏิบัติงาน 7. ขณะไมแ่ ยกไปปฏิบตั งิ านก็คงรวมอยูก่ ับชุดปฏิบตั งิ าน ณ ทก.ทภ. หลัก บรเิ วณทตี่ ้งั
หน้า 61 8. การเคลอ่ื นย้ายไปฏบิ ัติตามนโยบายของ ผบ.พัน.ส.ทภ. และดำเนนิ ตามคำแนะนำของ ฝสส. ของหน่วยนัน้ 2. การปฏบิ ัตงิ านของหน่วย การปฏบิ ัติงานของ ตอน บก.พัน. 1. จัดต้ังสำนกั งานของ ผบ.พัน ในบรเิ วณท่ตี งั้ พัน.ส.ทภ. 2. จัดห้องบรรยายสรุปและหอ้ งยุทธการ 3. รว่ มกับสว่ นธรุ การในเรื่องการป้องกันทต่ี ั้ง 4. การเคลื่อนย้าย 4.1 ผบ.พนั เคล่ือนย้ายไปกับ มทภ. 4.2 ส่วนทเ่ี หลอื เคลื่อนยา้ ยไปพร้อมกบั ส.พนั .ทภ. โดยมี ฝอ.3 เปน็ ผูก้ ำกับดูแล การปฏิบัติของร้อย.บก. 1. แบ่งกำลังพลและยุทโธปกรณส์ ว่ นหนง่ึ เพ่ือให้การสนบั สนนุ แก่การปฏิบตั ิของชดุ ปฏิบตั งิ าน ณ ทก.ทภ.หลงั 2. กำลังพลและอุปกรณ์ส่วนใหญ่ อยู่ที่ตั้ง พัน.ส.ทภ. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัตขิ องชุดปฏิบตั ิงาน ณ ทก.ทภ. หลกั 3. แบ่งพ้นื ท่ใี นบรเิ วณ พัน.ส.ทภ. ใหแ้ ก่กองรอ้ ยที่ทำงานในชุดปฏบิ ัติงาน ณ ทก.ทภ.หลกั 4. จดั ต้ังสำนกั งาน บก.รอ้ ย. 5. จัดทีป่ ระกอบอาหาร ท่เี ล้ียงดู และประกอบอาหารเลย้ี งดู ทสี่ ุขา ทพี่ ักผอ่ น ท่ีรวมพล 6. จดั ทำเรือ่ งสขุ าภบิ าล และปอ้ งกันทตี่ ั้งโดยการร่วมือกบั หมวดตอนตา่ งๆท่ีอยู่ ณ ท่ตี ง้ั พนั .ส.ทภ. 7. การเคลอ่ื นยา้ ย 7.1 ส่วนทส่ี นบั สนุนชุดปฏิบตั งิ าน ณ ทก.ทภ.หลัก เคล่อื นยา้ ยไปพร้อมกบั พัน.ส.ทภ. 7.2 ส่วนท่ีสนบั สนุนชุดปฏิบตั งิ าน ณ ทก.ทภ.หลัง เคล่อื นย้ายไปพร้อมกบั ชดุ ปฏบิ ตั งิ านนนั้ การปฏิบตั งิ านของ ตอนซอ่ มบำรุงยานยนต์ 1.จดั แหลง่ รวมรถ ณ บริเวณที่ตง้ั พัน.ส.ทภ. 2. จัดบรกิ ารซอ่ มบำรงุ ยานยนต์ 3. การเคล่ือนย้ายคงเคลอื่ นยา้ ยไปพรอ้ มกับ พนั .ส.ทภ. การปฏบิ ตั ิงานของ ตอนการภาพ 1. จัดแหล่งรวมรถ ณ บริเวณท่ตี ัง้ พัน.ส.ทภ. 2. จดั บริการซอ่ มบำรุงยานยนต์ 3. การเคล่อื นยา้ ยคงเคลอ่ื นย้ายไปพรอ้ มกับ พัน.ส.ทภ. การปฏิบัตงิ านของกองรอ้ ยวทิ ยแุ ละศูนยข์ า่ ว 1. จัดต้งั สำนักงาน บก.ร้อยวิทยุและศูนยข์ า่ ว 2. ร่วมกบั ร้อย.บก. ในเรอ่ื งการป้องกนั ทต่ี ง้ั 3. การเคลื่อนย้ายคงทำการเคลือ่ นย้ายเป็นสว่ นๆ แตค่ งมีส่วนหนึ่งเคล่อื นย้ายไปพรอ้ มกับ พัน.ส.ทภ.
หน้า 62 การปฏบิ ัตขิ องหมวดศนู ย์ข่าวและนำสาร 1. แบง่ กำลงั พลและยทุ โธปกรณ์ส่วนหนง่ึ ไปปฏบิ ัติงานกับชุดปฏิบัติการ ณ ทก.ทภ.หลงั 2. กำลังพลและยทุ โธปกรณ์สว่ นใหญ่ อย่กู ับชุดปฏิบัติการ ณ ทก.ทภ.หลัก 3. เลือกที่ตั้งและจัดตง้ั ศนู ย์การสอื่ สาร ณ บริเวณ ทก.ทภ.หลัก 4. เลือกและกำหนดพน้ื ที่สำหรับชดุ ปฏิบตั กิ ารอกั ษรลบั (ถ้ามี) ณ บรเิ วณใกลศ้ นู ยก์ ารส่อื สาร 5. ผลัดทำงานปฏิบัติงานทศี่ นู ย์การส่ือสาร ส่วนผลัดพกั จัดท่พี ักผ่อนอยูบ่ รเิ วณท่ีตัง้ พัน.ส.ทภ. 6. ร่วมกบั ร้อย บก. ในเรื่องการระวงั ทต่ี ้ัง 7. การระวงั ทีต่ ัง้ ศนู ยก์ ารสอ่ื สาร ใหป้ ระสานกับ ผบ.รอ้ ย.บก. 8. การจดั ทก.ทภ.ทางยุทธวธิ ี หรอื ทก.ส่วนหน้า กใ็ ห้จัดศูนยก์ ารสอ่ื สารข้นึ ใหม่ จากผลัดพักโดยรวมเป็นชุด การปฏบิ ตั ิงานสำหรับ ทก.ท่จี ดั ตงั้ ขน้ึ ใหม่ 9. การเคลือ่ นยา้ ย 9.1 ผลดั ทำงานเคล่อื นย้ายพรอ้ ม ทก.ทภ. 9.2 ผลดั พักเคล่อื นย้านพร้อม พัน.ส.ทภ. การปฏิบัตงิ านของหมวดวทิ ยุ 1. แบ่งกำลงั พลและยุทโธปกรณส์ ว่ นหนง่ึ ไปปฏบิ ตั งิ านกบั ชุดปฏิบัติ ณ ทก.ทภ.หลัง 2. แบ่งกำลังพลและยทุ โธปกรณ์สว่ นหน่งึ ไปปฏิบัตติ ามคำส่ัง 3. กำลงั พลและยทุ โธปกรณ์สว่ นใหญ่ ปฏบิ ัตงิ านกบั ชดุ ปฏบิ ตั งิ าน ณ ทก.ทภ.หลกั 4. ส่วนปฏิบัตงิ าน เลือกทตี่ ง้ั ติดตง้ั และใช้งาน 5. บก.มว. และส่วนทเ่ี หลอื จดั ไปรวมกับ พนั .ส.ทภ. เป็นส่วนอะไหล่ 6. ร่วมกบั ร้อย.บก. ปอ้ งกนั ทตี่ ัง้ 7. ถ้ามีการจัด ทก.ทางยทุ ธวิธี หรือ ทก.สว่ นหน้า จดั ชุดปฏบิ ตั ิกับส่วนอะไหล่ร่วมไปกบั ชุดปฏิบตั ิงาน ทก. ที่จัดต้ังใหมเ่ พื่อเตรียมการวางการสื่อสารทางยทุ ธวธิ ีข้ึนใหม่ 8. การจัดข่ายวทิ ยตุ า่ งๆ ปฏบิ ัติตามคำสัง่ 9. การเคลอื่ นย้าย 9.1 สว่ นหนง่ึ เคล่ือนย้ายไปกับส่วนล่วงหน้าของกองทพั 9.2 สว่ นปฏบิ ตั ิงานท่ี ทก.ทภ. จะเคล่อื นยา้ ยไปพรอ้ มกบั ทก.ทภ. 9.3 บก.หมวดและสว่ นอะไหล่ จะเคลื่อนยา้ ยไปพร้อมกบั พนั .ส.ทภ. การปฏบิ ตั ขิ องกองรอ้ ยสายและวิทยุถ่ายทอด 1. จดั ตงั้ สำนกั งานกองร้อยสาย และวิทยุถ่ายทอด 2. รว่ มกบั รอ้ ย.บก. ในเรื่องการระวงั ปอ้ งกนั ท่ีตัง้ 3. การเคลื่อนย้ายคงเคลอ่ื นย้ายไปพรอ้ มกบั พัน.ส.ทภ. การปฏิบัตงิ านของหมวดสาย
หน้า 63 1. แบง่ กำลังพลและยุทโธปกรณ์สว่ นหนงึ่ ไปปฏิบตั ิงานชุดปฏบิ ตั งิ าน ณ ทก.ทภ.หลงั 2. แบ่งชุดสรา้ งสายสำหรับวางสายและบำรงุ รักษาสาย ไปยงั หน่วยรองของกองทัพภาค 3. กำลงั พลและยุทโธปกรณ์ท่เี หลืออยู่กบั ชดุ ปฏบิ ัติงาน ณ ทก.ทภ.หลกั 4. ตอนโทรศพั ทเ์ ลอื กใช้ทีต่ ง้ั ใชง้ านเครื่องสลบั สาย สำหรบั ทก.ทภ. วางสายภายใน และติดตงั้ โทรศัพท์ สำหรับ ทก.ทภ. 5. ชดุ สร้างสายท่ีเหลือวางสายไปยังหน่วยขึ้นตรงอน่ื ๆ 6. ผลัดปฏบิ ัตงิ านปฏบิ ตั อิ ยู่บรเิ วณ ทก.ทภ., บก.หมวด และสว่ นทีพ่ กั จัดทพี่ กั อยู่ ณ บรเิ วณ พนั .ส.ทภ. 7. รว่ มกบั รอ้ ย.บก.ในเร่ืองการป้องกันท่ตี ้งั 8. การวางสายปฏิบัติตามแผนทเ่ี ส้นทางสายและแผนผังวงจรทีก่ ำหนดไว้ 9. ถา้ มีการจัด ทก.ทางยทุ ธวิธี หรือ ทก.ทภ. ส่วนหนา้ ก็จดั ชดุ ปฏบิ ัตงิ านจากผลัดพกั รว่ มไปกับชดุ ปฏิบัตงิ าน สำหรับ ทก.ทภ. ทจี่ ดั ตัง้ ข้ึนใหม่ เพอื่ เตรียมการวางสายขึน้ ใหม่ 10. การเคลื่อนย้าย 10.1 ส่วนหนง่ึ จะเคลือ่ นย้ายไปกับหน่วยล่วงหนา้ ของ ทก.ทภ. 10.2 สว่ นปฏบิ ตั งิ านท่ี ทก.ทภ. เคล่ือนยา้ ยไปพรอ้ มกับ ทก.ทภ. 10.3 บก.มว. และสว่ นใหญ่เคล่อื นยา้ ยไปพร้อม พนั .ส.ทภ. การปฏิบตั ิของหมวดวทิ ยุถ่ายทอด 1. แบง่ กำลงั พลและยุทโธปกรณ์สว่ นหนง่ึ ไปต้ังสถานีปลายทางและคลื่นพาห์ กบั หนว่ ยรอง 2. แบ่งกำลังพลและยุทโธปกรณ์อีกส่วนหนง่ึ ไปต้งั สถานปี ลายทางและคลน่ื พาห์ ณ บริเวณ ทก.ทภ. 3. แบง่ กำลังพลและยุทโธปกรณ์ส่วนหนงึ่ ไปยงั สถานีถ่ายทอดกลางทาง 4. การจดั ระบบวทิ ยถุ ่ายทอดปฏบิ ัตติ ามคำสั่ง 5. บก.มว. และกำลงั พลและยทุ โธปกรณท์ ีเ่ หลอื จากการใชง้ านไปตง้ั อย่รู ว่ มกบั พัน.ส.ทภ. เปน็ สว่ นอะไหล่ 6. ร่วมกบั ร้อย.บก. ในการปอ้ งกันท่ตี ้ีง 7. การเคลอื่ นย้าย 7.1 ส่วนอะไหลเ่ คลอื่ นยา้ ยไปกับสว่ นล่วงหนา้ ของ ทก.ทภ. 7.2 บก.มว. เคล่อื นย้ายไปพร้อมกบั พนั .ส.ทภ. 7.3 สถานีปลายทางและสถานีถา่ ยทอดเคลื่อนย้ายตามคำสงั่ ผบ.พัน.
หน้า 64 ตอนท่ี 3 การส่ือสารของกองทัพภาค 1. กล่าวทวั่ ไป กองทัพเป็นหน่วยเหนือของกองพล ในการปฏิบัติการในสนาม โดยที่กองทัพน้อย จะได้รับการแบง่ มอบหน่วยจากกองทัพ หรือกองทัพบก ให้มาบังคับบัญชา กับ บก. และ ร้อย.บก.ทน. ที่หน่วยกำลังรบ หน่วยสนับสนุนการรบ และหน่วยสนับสนุนทางการช่วยรบ มทภ. มีฐานะเป็นผู้บังคับบัญชา โดยตรงของ มทน. กองทพั นอ้ ยมีงานหลักในการ ควบคุมอำนวยการยทุ ธ และเตรียมการป้องกันประเทศจากการรุกราน ภายนอก กองทัพน้อยเป็นหน่วยกำลังรบ และสนับสนุนการรบ ที่สามารถควบคุมอำนวยการประสานงาน ด้านการช่วยรบอยา่ งสมบูรณ์ ยกเว้นงานด้านการระดมสรรพกำลัง การพิทักษพ์ ้ืนที่ส่วนหลัง กองทัพจะเป็น ผู้ดำเนินการให้เป็นส่วนรวมโดยการปฏิบตั ิของ มทบ. รปู ท่ี 11 (หนา้ 74 ) แสดงใหเ้ ห็นกองทพั และกองทัพนอ้ ย ในการปฏบิ ัติการในสนาม โดยท่ี ทก.ทน. จะสามารถควบคุมบังคับบัญชา วางแผนประสานงาน อำนวยการ และกำกับดูแลการปฏิบัติงานของหน่วย ที่ขึ้นบังคับบัญชาได้ถึง 5 กองพล โดยสามารถปฏิบัติงานได้ต่อเนื่องตลอด 24 ชั่งโมง ทน. จะตั้งพื้นที่ บญั ชาการหลกั ได้ 1 แหง่ และสามารถจดั ตั้งทยี่ ุทธการทางยุทธวิธี เคลื่อนท่ไี ด้ 1 แหง่ โดยปกติ ทน. จะต้อง ได้รบั การสนบั สนุน ในเรื่องการวางการติดต่อสอื่ สาร (กำลงั พลและเคร่ืองมอื ) ในการตดิ ตอ่ ส่ือสารภายใน และ ภายนอก จากหน่วยกองพลน้อยทหารสื่อสาร ที่มาให้การสนับสนุน สำหรับกองทัพบกไทย คงเป็นภารกิจ ของกองพันทหารสือ่ สารของกองทัพภาค (พัน.ส.ทภ.) เป็นผู้ดำเนินการให้ ซึ่งโดยปกติ ทน.จะต้องพิจารณา ในเรื่องการวางระบบการสื่อสาร ไว้ถ้ายามปกติซึ่งจะเป็นการประสาน และคำแนะนำจากฝ่ายการสื่อสาร ของกองทพั (ฝสส.ทภ.) 2. ระบบการตดิ ต่อสื่อสารทางวทิ ยุ ข่ายวิทยุของกองทัพภาค ประกอบขึ้นเป็นข่ายภายในกองทัพภาค และข่ายภายนอกกองทัพภาค จากการปฏบิ ตั ขิ องกองร้อยวิทยุ และศูนยข์ า่ ว พนั .ส.ทภ. แบ่งออกเปย็ ขา่ ยดงั นี้ ข่ายภายในกองทพั ภาค 2.1 ข่ายบังคบั บัญชา/ยุทธการที่ 1 (ปส./วทพ.) ใชว้ ิทยุ VRC-2100+Message terminal สถานีบังคบั ข่าย ณ ทก.ทภ.(หลกั ) โดยมี สถานีลูก ขา่ ย คอื ทก.ทน. , ม.สมทบ และ พล.ร.(------) 1 กองพล 2.2 ข่ายบังคบั บัญชา/ยทุ ธการท่ี 2 (ปส./วทพ.) ใช้วิทยุ VRC-2100+Message terminal สถานบี งั คับขา่ ย ณ ทก.ทภ.(หลกั ) โดยมีสถานีลูก ขา่ ย คือ ทก.ทน., ปตอ.สมทบ , กกล.ทพ. และ พล.ร.(-----) ๑ กองพล 2.3 ข่ายบังคบั บญั ชา/ยุทธการที่ 3 (ปส./วทพ.)
หน้า 65 ใช้วิทยุ VRC-2100+Message terminal สถานบี งั คับขา่ ย ณ ทก.ทภ.(หลัก) โดยมีสถานี ลูกข่าย คือ กรม ช. และ พล.ร.(----) 1 กองพล 2.4 ขา่ ยบงั คับบัญชา/ยุทธการท่ี 4 (ปส./วทพ.) ใชว้ ิทยุ VRC-2100+Message terminal สถานบี งั คับข่าย ณ ทก.ทภ.(หลัก) โดยมสี ถานี ลูกข่าย คอื หน่วย รพศ. และ พล.ร.(----) 1 กองพล 2.5 ขา่ ยส่งกำลังบำรงุ ที่ 1 (ปส./วทพ.) ใช้วทิ ยุ VRC-2100+Message terminal สถานบี งั คับขา่ ย ณ บชร. (ไดจ้ ดั มาจาก ร้อย.ส.บชร.ทก.ทบ.) สถานีในข่าย มีดังนี้ ทก.ทภ.(หลัก),ทก.ทน.,รพศ.,ป.สมทบ,กรม ม.ทภ.,พล.ร.(----) 2 กองพล 2.6 ข่ายสง่ กำลงั บำรงุ ที่ 2 (ปส./วทพ.) ใช้วิทยุ VRC-2100+Message terminal สถานีบงั คบั ข่าย ณ บชร. (ได้จัดมาจาก ร้อย.ส.บชร.ทก.ทบ.) สถานใี นข่าย มีดังน้ี ทก.ทภ.(หลัก),ทก.ทน.,กกล.ทพ.,ม.สมทบ และ พล.ร.(----) 2 กองพล 2.7 ข่าย มทภ.บช.ทภ. เป็นรถบังคับบญั ชา สำหรับใชเ้ ปน็ ที่บัญชาการทางยุทธวิธี โดยจดั ให้ มทภ. หรอื มทภ. อาจ มอบให้กับ มทน. รถ CAR COMMAND นี้ประกอบด้วย ชุดวิทยุ ใช้งานในย่านความถี่ VHF/FM และ VHF/AM รวมท้ัง UHF/AM ในการควบคุมยทุ ธรว่ ม/อากาศพ้นื ดนิ ได้ 2.8 ข่ายคำขอทางอากาศ (ปส./วทพ.) ใช้วิทยุ VRC-2100+Message terminal โดยที่ ทก.ทภ.(หลัก) เปน็ สถานบี ังคับข่าย ทำการ ส่ือสารกับ ศสอ. ทม่ี าสนับสนนุ 2.9 ขา่ ยนายทหารตดิ ต่อ ป.(ปถ./คำพูด) ใชช้ ดุ วิทยุ VRC-745 โดยที่ ทก.ทภ.(หลัก) เปน็ สถานบี ังคบั ข่ายใช้สำหรับการประสาน/ตดิ ต่อ ของนายทหารตดิ ต่อปืนใหญ่ กบั ป.สมทบ 2.10 ข่ายนายทหารตดิ ตอ่ ทอ.(ปถ./คำพดู ) ใชช้ ดุ วิทยุ VRC-745 โดยท่ี ทก.ทภ.(หลัก) เปน็ สถานีบังคบั ข่ายใช้สำหรับประสานการ ปฏิบตั งิ านของนายทหารติดตอ่ ทอ. กับ ศสอต. 2.11 ข่ายลาดตะเวน ทภ.(ปถ./ปส./คำพดู ) ใช้ชุดวิทยุ VRC-745 และ VRC-2100 หรอื PRC-2200 โดย ทก.ทภ.(หลัก) เปน็ สถานบี งั คบั ขา่ ยดำรงการสื่อสาร กับ กรมม.ของกองทพั
หนา้ 66 ข่ายภายนอกของกองทพั ภาค 2.12 ขา่ ยบงั คบั บญั ชา/ยทุ ธการ ทบ. ใช้วิทยุ VRC-2100+Message terminal เป็นลูกข่ายของ ทบ. โดยสถานีจัดตั้ง ณ ทก.ทภ.(หลัก) 2.13 ข่ายสง่ กำลงั บำรุง ทบ. ใช้วทิ ยุ VRC-2100+Message terminal เปน็ ลกู ขา่ ยของ ทบ. โดยสถานจี ัดตง้ั ณ บชร. (โดยชดุ วทิ ยุจดั จาก ร้อย ส.บช./กบ.ทบ.) จดั มาสนับสนุน 3. แสดงผงั ขา่ ยการส่อื สารทางวทิ ยุกองทัพภาค ข่ายภายในกองกองทพั ภาค (11 ขา่ ย) (1) ขา่ ย บช./ยกท่ี 1 ปิงปอง / AR1 ฟตุ บอล / AR2 เทนนสิ / AR3 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 S สบข S โบว์ลงิ /AR0 นามข่าย กีฬา / AR VRC-2100 ความถี่ (หลัก) xxxx ความถ(่ี รอง) xxxx (2) ข่าย บช./ยกที่ 2 ยอดชาย / B2 ลอ้ ต๊อก / B3 กรุงศรวี ิไล / B4 สมบัติ / B1 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 สบข สรพงศ์/B0 นามขา่ ย ดารา / B1 VRC-2100 ความถ่ี (หลัก)xxxx ความถ่ี(รอง) xxxx
หน้า 67 (3) ข่าย บช./ยกท่ี 3 ไทยรัฐ / CR1 มตชิ น / CR2 VRC-2100 VRC-2100 S สบข สยามรฐั /CR0 นามข่าย หนงั สอื พิมพ์/CR VRC-2100 ความถ(ี่ หลัก)xxxx ความถ(ี่ รอง)xxxx (4) ข่าย บช./ยกท่ี 4 ชงโค / KR1 มะลิ / KR2 VRC-2100 VRC-2100 S สบข ความถ(่ี หลกั )xxxx ชบา/KR0 ความถ(่ี รอง)xxxx นามข่าย ดอกไม้ / KR VRC-2100
หน้า 68 (5) ข่าย กพ/กบ.ทบ. ท่ี 1 ขอนแก่น/CNR4 หนองคาย/CNR5 อุบล/CNR3 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 S อ่างทอง/CNR6 SS โคราช/CNR2 สบข S VRC-2100 กรุงเทพ/ CNR0 VRC-2100 VRC-2100 S ชัยนาท/CNR7 ความถี่(หลกั )xxxx นามขา่ ย จงั หวัด/CNR รอ้ ยเอ็ด/CNR1 ความถี่(รอง)xxxx VRC-2100 VRC-2100
(6) ข่าย กพ./กบ.ทบ.ท่ี 2 บางใหญ่/A5 หน้า 69 บางออ้ /A4 VRC-2100 บางพลัด/A6 VRC-2100 สบข VRC-2100 บางมด/A1 S บางบอน/A7 SS บางจาก/A3 VRC-2100 VRC-2100 VRC-2100 S บางเขน/A2 S บางนา/A8 นามขา่ ย บางชัน/A0 VRC-2100 S VRC-2100 ความถ(่ี หลกั )xxxx ความถี่(รอง)xxxx (7) ขา่ ย มทภ.บช.ทภ. UHF/VHF,AM,FM หรือ ใช้คำวา่ (ปถ./ปสม.) ปารีส/CD2 โตเกียว/CD3 ปักกง่ิ /CD4 รถ. ผบ.นขต. VRC-745 CDM สมทบ VRC-2100 CAK ฯลฯ สบข วอชิงตัน/CD1 นามขา่ ย โลกา/CDA ความถ(่ี หลัก) xxxx VRC-745 ความถี่(รอง)xxxx VRC-2100
หน้า 70 (8) ข่ายคำขอทางอากาศ จิ้งจก/MK2 สบข VRC-2100 กง้ิ กา่ /MK1 นามขา่ ย ตกุ๊ แก/MK S VRC-2100 ความถ(่ี หลัก) xxxx ความถ(่ี รอง) xxxx (9) ขา่ ยนายทหารตดิ ตอ่ ป.( ปถ.) อีกา นามขา่ ย อีแรง้ VRC-745 S สบข ความถี่(หลกั )xxxx อินทรยี ์ ความถ(่ี รอง)xxxx VRC-745 (10) ขา่ ยนายทหารติดต่อ ทอ.(ปถ.) ลำปาง นามข่าย เชยี งกง สบข VRC-745 เชียงใหม่ S VRC-745 ความถี่(หลัก)xxxx ความถี่(รอง)xxxx
หน้า 71 (11) ข่ายลาดตระเวน ทภ. (ปถ./ปสม.) สบข ดาวเรือง/RT2 ชบา/RT1 VRC-2100 PRC-2200 นามข่าย ดอกไม้/RT VRC-2100 VRC-745 PRC-2200 ความถ(่ี หลกั )xxxx ความถ(ี่ รอง)xxxx VRC-745 หนว่ ยภายนอกของกองทพั ภาค (๒ ข่าย) (12) ข่าย บช/ยก.ทบ.(ปส.) จนิ ตหรา/CH2 ความถ(ี่ หลกั )xxxx ความถ(่ี รอง)xxxx VRC-2100 S นามขา่ ย ดารา / CH
หนา้ 72 (13) ขา่ ย กพ/กบ.ทบ.(ปส.) สนิ จัย/CH2 นามข่าย สตาร์ / CH VRC-2100 ความถ(่ี หลกั ) xxxx ความถ(่ี รอง) xxxx SS หมายเหตุ S = จดั จาก พัน.ส.ทภ. SS = จดั จาก ร้อย สบช./กบ.ทบ. สบข. = สถานบี งั คบั ข่าย (ร้อย สบช./กบ.ทบ. จัดตง้ั ขึน้ ในสภาวะสงครามให้ดเู อกสารประกอบบทท่ี 8 เร่อื งการจัดหนว่ ย) 4. ระบบวิทยุหลายช่องการสื่อสาร (วิทยุถ่ายทอด) โดยปกติ ทภ.และ ทน. จะได้รับการสนับสนุน จาก พัน.ส.ทภ. และ กรม ส.1 การเชื่อมโยงระบบวิทยุหลายช่องการสั่งการนี้ จะไปถึงหน่วยกำลังรบของ กองพลได้ถงึ 30 ช่องการส่ือสาร โดยเชื่อมเข้าที่ตัง้ ณ ทก.หลัง ของกองพล ก็ได้ถา้ จำเป็น (ระบบในปัจจบุ นั ทำได้ ๒ วธิ ี) โดยหนว่ ยของกองพลตอ้ งได้รบั การเชือ่ มโยงดว้ ยชดุ ปลายทาง ณ ทก.หลกั ของกองพลดว้ ย 5. ระบบทางสาย โดยปกติระบบทางสายทางยุทธวิธี ของ ทภ.และ ทน. จะใช้ภายในเท่านั้น เนื่องจากการ วางสายภายนอก มีระยะทางไกล ความสิ้นเปลืองสูง ความอ่อนตัวน้อย และยุ่งยากในการส่งกำลังและ ซ่อมบำรงุ ยทุ โธปกรณ์ 6. รายละเอียดเพ่ิมเตมิ สามารถดูไดจ้ ากตำราเอกสารยทุ โธปกรณ์ประเภทวทิ ยุ และยทุ โธปกรณป์ ระเภทสาย และวิทยถุ า่ ยทอดของโรงเรียนทหารสอื่ สาร กรมการทหารสอ่ื สาร
หน้า 73 รูปที่ 10 แผนผงั การสื่อสารทางโทรศัพท์ ทน. พล.ร. หลัก พล.ร. หลัง พล.ร.หลัง พล.ร.หลัก พล.ร.หลัก ทก.ทภ.หลัก พล.ร.หลงั พล.ร.หลัง พล.ร.หลัก พล.ร.หลัก พล.ร.หลงั หมายเหตุ บชร. ทก.ทน.(หลัก) 1. ทน.อาจไดร้ ับการจัดกำลงั ท่ไี มต่ รงกับข่ายท่ปี รากฏกไ็ ด้ 2. อาจวางระบบเพม่ิ ไปยังหน่วยขึ้นตรงอน่ื ๆ ได้อกี ตามความต้องการ 3. ใช้ชุดวทิ ยุเครอ่ื งคลื่นพาห์/ถ่ายทอด RL-420 , DX – 111 4. เส้นประแสดงถงึ การเชือ่ มตอ่ ระบบ ณ ทก.หลงั (กองพล)ซึ่งจะวางหรือไมว่ างกไ็ ด้ 15 ชอ่ งการสอื่ สาร 30 ชอ่ งการส่อื สาร
หนา้ 74 140 KM XX XX XX XX XX X X XX X 4 X X XX X 5 XX DIV XX DIV XX DIV XX DIV XX DIV Km SPT SPT SPT SPT AREA XX SPT AREA AREA AREA AREA XX XX XX X XX XXX ยุทธวิธี X 2 XXX 5 0 Km หลกั X XXXX X X X (หลัก) X X XXX X บชร. หมายเหตุ การจัดพน้ื ที่การรบของกองทพั นอ้ ย XXXX (ทบ.สหรฐั ฯ) (หลัง) รูปท่ี 11 ทมี่ าของภาพ, FM. 11-92
- 76 - บทท่ี 4 กรมทหารสื่อสารท่ี 1 1. กล่าวทวั่ ไป เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านการสื่อสารในระดับกองบัญชาการกองทัพบกให้สูงข้ึน และ สอดคล้องกับแผนงานโครงการพัฒนากองทัพ กองทัพบกจึงได้อนุมัติจัดตั้งกรมทหารสื่อสาร กองบัญชาการ กองทัพบกข้ึน ตามคำสั่ง ทบ. ที่ 214/31 ลง 25 ต.ค. 31 โดยใช้นามเต็มของหน่วยว่า “กรมทหารสื่อสารที่ 1” ใชน้ ามยอ่ “ส.1” มที ่ตี ั้งช่ัวคราวและท่ีต้งั ถาวรอยู่ในค่ายกำแพงเพชรอัครโยธิน อ.กระทุ่มแบน จว.สมุทรสาคร การประกอบกำลัง ประกอบด้วย 1. กองบงั คบั การ และกองร้อยกองบังคบั การ 2. กองพนั ทหารส่อื สาร จำนวน 2 กองพัน กรมทหารสอ่ื สารที่ 1 บก. และ รอ้ ย บก. 101 102 อจย. 11 – 2 อจย.11 – 15 ( 3 พ.ย. 31 ) ( 25 ก.ค. 20 ) รปู ที่ 12 ผงั การจัด กองบังคบั การและกองรอ้ ยกองบงั คบั การ กรมทหารสือ่ สารที่ 1 2. ภารกจิ บังคับบัญชา วางแผน อำนวยการ ควบคุม และกำกับดูแลหน่วยทหารส่ือสารที่ได้รับการบรรจุมอบ และทีม่ าขนึ้ สมทบในด้านการปฏิบัติ การฝึก และการสง่ กำลังบำรุง 3. ขดี ความสามารถ 3.1 บังคับบัญชา วางแผน อำนวยการ ควบคุม และกำกับดูแล หน่วยทหารส่ือสารที่ได้รับการบรรจุมอบ และ ทีม่ าขน้ึ สมทบไดต้ งั้ แต่ 2 – 4 กองพนั 3.2 วางแผน และกำหนดลำดับข้นั ตอน การจัดตงั้ ระบบการติดตอ่ ส่ือสาร การปฏิบตั ิ และการปรนนิบตั ิบำรงุ 3.3 ควบคุมทางเทคนิค และประสานแผนการส่ือสารของหนว่ ยรองเกี่ยวกับการติดต้ัง การปฏิบัติ และ การปรนนิบัติบำรุง ระบบการตดิ ต่อส่อื สารและ/หรือ การปฏิบตั ิการส่อื สารอเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ นื่ ๆ
- 77 - 3.4 กำหนดรายละเอียดของวิศวกรรมระบบ และการควบคุมระบบการติดต่อสื่อสารในเขตพ้นื ท่ีทร่ี บั ผิดชอบ 3.5 อำนวยการและประสานการปฏิบัติ การฝึก การส่งกำลังบำรุงและการธุรการให้แก่หน่วยท่ีได้รับ การบรรจมุ อบ และหนว่ ยทีข่ น้ึ สมทบ 3.6 ดำเนินการให้ กรมทหารสือ่ สารปฏิบัตกิ ารอย่างต่อเน่อื งได้ตลอด 24 ชั่วโมง 3.7 จัดใหม้ ีการตดิ ต่อสื่อสารภายในกองบงั คบั การและกองรอ้ ยกองบงั คับการ กรมทหารสือ่ สาร 3.8 ดำเนินการทางธุรการ การเงิน การเล้ียงดู การส่งกำลัง การขนส่ง การซ่อมบำรุงข้ันหน่วย และ การบริการทางการแพทย์ 3.9 จดั ใหม้ ีการบริการทางกฎหมาย และอนุศาสนาจารย์ให้แก่หน่วยท่ีได้รับการบรรจมุ อบ และหน่วย ท่ีมาขนึ้ สมทบ 3.10 เคล่อื นทีด่ ้วยยานยนตใ์ นอตั ราได้ 80 % และเคลื่อนทใ่ี นภมู ิประเทศได้อยา่ งจำกดั 3.11 ทำการรบอย่างทหารราบไดเ้ ม่ือจำเปน็ บก. และ ร้อย บก. บก.กรม ร้อย บก. บก.ร้อย ตอนยานยนต์ มว.วศิ วกรรมและควบคมุ ระบบ ตอน บก.กรม มว.ส่อื สาร บก.มว. ตอนวศิ วกรรมระบบ ตอนควบคมุ ระบบ บก.มว. ตอนวิทยุ ตอนทางสาย รูปท่ี 13 ผงั การจัด กองบงั คบั การและกองรอ้ ยกองบงั คบั การ กรมทหารสือ่ สารที่ 1
- 78 - อตั ราการจัดและยทุ โธปกรณ์ หมายเลข 11 – 2 ( 3 พ.ย. 31 ) หน่วย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เคร่อื งมือสอื่ สารทคี่ วรทราบ กองบังคับการ - ผบ.กรม พ.อ.(พ) (1) กรม - รอง ผบ.กรม พ.อ. (2) - เสธ.กรม พ.อ. (1) - นายทหารฝ่ายธุรการและกำลังพล พ.ต. (1) - ผช.นายทหารฝ่ายธรุ การและกำลัง พล ร.อ. (1) - นายทหารฝา่ ยยทุ ธการและการข่าว พ.ท. (1) - ผช.นายทหารฝา่ ยยทุ ธการและการ ขา่ ว พ.ต. (1) , ร.อ. (1) - นายทหารฝา่ ยส่งกำลงั บำรงุ พ.ต. (1) - ผช.นายทหารฝ่ายสง่ กำลงั บำรงุ ร.อ. (1) กองบงั คบั - นายทหารแผนท่ี ร.อ. (1) - รยบ. 2 ½ ตัน - TE – 33 (1) การกองรอ้ ย - นายทหารการเงิน พ.ต. (1) - นายทหารพระธรรมนญู ร.อ.(1) (1)66 - โทรศัพท์สนาม (3) - นายแพทย์ พ.ต. (1) - อนศุ าสนาจารย์ ร.อ. (1) - รถพ่วงบรรทุกน้ำ - นายทหารตดิ ต่อ ร.อ. (1) - ผบู้ งั คับกองรอ้ ย พ.ต. (1) (1) 400 GAL - รอง ผบ.ร้อย ร.อ. (1) - จ่ากองรอ้ ย จ. (1) - เสมียนกองร้อย ส.อ. (1) - นายสบิ สทู กรรม จ. (1) - พลสทู กรรม ส.อ. (1) - พลสูทกรรม ส.ต. (4) - พลสูทกรรม พลฯ (7) - ชา่ งอาวุธ จ. (1) - เสมยี นสง่ กำลงั จ. (1) - ทหารบรกิ าร พลฯ (26)
- 79 - หนว่ ย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครื่องมอื สื่อสารทีค่ วรทราบ ตอน บก.กรม - จ่ากรม จ. (1) - TE – 33 (1) - นายสิบยุทธการและการขา่ ว จ.(1) - โทรศพั ทส์ นาม (10) - ผช. นายสบิ ยุทธการและการข่าว ส.อ. (2) - นายสบิ แผนท่ี จ. (2) ( เหล่าแผนที่ ) - ชา่ งเขียน จ. (1) - เสมยี นพมิ พ์ดีด ส.อ. (3) - เสมียนการเงนิ จ. (1) (เหลา่ กง.) ส.อ. (1) - นายสิบกำลังพล จ. (1), ส.อ. (1) - นายสิบส่งกำลงั จ. (1) ตอนยานยนต์ - นายทหารยานยนต์ ร.ท. (1) - รยบ. ¼ ตนั (6) - AN/VRC – 46 (4) - นายสบิ ยานยนต์ จ. (1) - รยบ. 2 ½ ตัน(1) - AN/VRC – 47 (2) - ช่างยานยนต์ล้อ จ. (1), ส.อ. (1) - รยบ. 2 ½ ตัน(1) - AN/VRC – 77 (1) - ผช.ชา่ งยานยนตล์ ้อ ส.ต.(1), พลฯ(1) มีกว้าน - โทรศพั ทส์ นาม (2) - พลขับ จ. (2), ส.อ. (6) - รถพว่ ง ¼ ตนั (6) - พลรถบรรทกุ นำ้ ส.อ. (1) - รถพ่วง1 ½ตัน(2 - รถยนต์บรรทุกน้ำ (1) 6,000 ลิตร บก.มว. - ผบ.มว. ร.อ. (1) - รยบ. ¼ ตัน (1) - TE – 33 (1) วิศวกรรมและ - นายสบิ ยุทธการ จ. (1) - รถพ่วง ¼ ตัน(1) - AN/VRC – 160 (1) ควบคุมระบบ - เสมยี น ส.อ. (1) สมั ภาระ - โทรศัพท์สนาม (2) ตอน - พลขับรถ ส.อ. (1) - เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ (2) วิศวกรรม - นายทหารวศิ วกรรมระบบ ร.อ. (1) - เครอ่ื งตรวจสอบความถี่ ระบบ - ผช.นายทหารวิศวกรรมระบบ ร.ท(1) HP – 5385A (1) - ชา่ งเขียน ส.อ. (1) - เครื่องแสดงสภาพการแกว่ง - เสมยี น ส.อ. (1) HP – 54201A (1) - เครื่องวดั รวม HP – 3466A / 34111A (2) - เคร่อื งกำเนดิ ความถี่ HP – 8656B (1) - เคร่ืองวัดความเขม้ ของ สัญญาณ HP – 8590A / 853A (1) - เครื่องวัดกำลังออกอากาศ MD – 43 (1)
- 80 - หนว่ ย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครือ่ งมอื สอ่ื สารท่คี วรทราบ - เครอ่ื งวดั รวมอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดจิ ิตอล ขนาดเลก็ (1) - ชดุ โทรศพั ทส์ นาม (1) ตอนควบคมุ - นายทหารควบคุมระบบ ร.อ.(1) - TE – 33 (1) ระบบ - ผช.นายทหารควบคุมระบบ - เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ (4) ร.ท. (1) - เครอ่ื งวัดรวมอเิ ลก็ ทรอนิกส์ - นายสิบควบคมุ ระบบ จ. (1) ดจิ ติ อล ขนาดเล็ก (1) - พนักงานควบคุมระบบ ส.อ. (3) - ชดุ โทรศพั ทส์ นาม (3) - เสมยี น ส.อ. (1) บก.มว. - ผบ.มว. ร.ท. (1) - รยบ. ¼ ตนั (1) - TE – 33 (1) สื่อสาร - รอง ผบ.มว. จ. (1) - รถพ่วง ¼ ตัน(1) - ผ้าสัญญาณหมายหนว่ ย (3) - นายสบิ ศนู ยข์ ่าว จ. (1) สัมภาระ - เครื่องวดั รวมอเิ ล็กทรอนิกส์ - เสมียนศูนย์ข่าว ส.อ.(3), ส.ต. (1), ดิจติ อล ขนาดเลก็ (1) พลฯ (2) - AN/VRC – 160 (1) - พลนำสาร ส.อ.(1), ส.ต.(2) - โทรศัพทส์ นาม (2) - พลขบั ส.อ. (1) ตอนวิทยุ - ผบ. ตอน จ. (1) - รยบ. 1 ½ ตัน (1) - TE – 33 (2) - หน. ชุดวิทยุ จ. (4) - รถพ่วง ¾ ตัน(1) - AN/VRC – 47 (1) - พนักงานวทิ ยุ ส.อ.(4), ส.ต. (4), พล สมั ภาระ - HF/SSB GRC – 620 (1) ฯ (4) - เครอื่ งวัดรวมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ - พลขับ ส.อ. (1) ดิจิตอล ขนาดเล็ก (2) - RC – 292 (2) - AN/GRA – 39 (2) - PP – 2953/U (2) - ชุดเครื่องมือซอ่ มอปุ กรณ์ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ TK–101(1) - โทรศพั ทส์ นาม (2) ตอนทางสาย - ผบ.ตอน จ. (1) - รยบ. 1 ½ ตัน (2) - TE – 33 (2) - พนกั งานสลับสาย จ. (1), ส.อ. (2), - รถพว่ ง ¾ ตนั (2) - TE – 21 (2) ส.ต. (4) สมั ภาระ - เครื่องวัดรวมอิเล็กทรอนิกส์ - หัวหน้าชดุ สรา้ งสาย ส.อ. (2) ดจิ ติ อล ขนาดเลก็ (2) - พนักงานสร้างสาย ส.ต. (4), พลฯ(4) - เครอื่ งวางสายเคเบิ้ลดว้ ยนว้ิ - พลขบั รถ ส.อ. (2) RL – 31 (2) - เครือ่ งสลับสายโทรศัพท์สนาม อตั โนมตั ิ DX–111(2) - เครอ่ื งต่อสายเคเบ้ิล
- 81 - หน่วย ตำแหน่ง ยานพาหนะ เครือ่ งมอื สือ่ สารท่ีควรทราบ ตอนเสนารกั ษ์ - นายสบิ พยาบาล จ. (1), ส.อ. (2) - รถยนตพ์ ยาบาล - โทรศพั ท์ MK–356 / G (1) - พลเสนารักษ์ พลฯ (1) 1 ¼ ตนั (1) - โทรศัพทส์ นาม (5) - พลขับรถพยาบาล ส.อ. (1) - RL – 420 (2) - SB – 86/PT (1) - สายเคเบิ้ล CX – 4566/U 250 ฟุต (10) - สายเคเบลิ้ CX – 163/U(10) - สาย WD–1 /TT บนลอ้ สาย RL – 159 / U (10) - โทรศัพท์สนาม (2) 4. กองพันทหารส่ือสาร กองบัญชาการกองทัพบก ( พัน ส.บก.ทบ. ) ให้เป็นหน่วยขึ้นการบังคับบัญชาโดยตรง ต่อ กรมทหารสื่อสารท่ี 1 และให้เปลี่ยนนามหน่วยเป็น “กองพันทหารส่ือสารที่ 101 กรมทหารสื่อสารที่ 1” นามย่อ ส.1 พัน.101 และยงั คงมกี ารจดั หน่วยตาม อจย.11 – 15 ลง 25 ก.ค. 20 ตามเดมิ 5. จัดต้ังกองพันทหารสื่อสารข้ึนอีก 1 กองพัน โดยมีนามเต็ม “กองพันทหารส่ือสารที่ 102 กรมทหารส่ือสารที่ 1” การจัดหน่วยใช้ตาม อจย. 11 – 15 ลง 25 ก.ค. 20 มีท่ีต้ังช่ัวคราวและที่ต้ังปกติถาวร อยู่ในค่ายกำแพงเพชรอคั รโยธิน อ.กระทุม่ แบน จว.สมุทรสาคร กองพนั ทหารส่ือสารที่ 101 และ 102 บก. และ รอ้ ย บก. กองรอ้ ยปฏบิ ัติการส่อื สารประจำ บก. กองร้อยปฏิบัตกิ ารสอื่ สารสนาม กองรอ้ ยปฏิบตั กิ ารสอื่ สารสนบั สนนุ รปู ท่ี 14 ผังการจดั กองพนั ทหารสื่อสารที่ 101 และ 102
- 82 - 1. ภารกิจ จัดให้มีการติดต่อสื่อสาร กิจการภาพทางพื้นดิน การนำสาร และการนำสารทางอากาศ ให้กองบัญชาการกองทัพบก และการสื่อสารจากกองบัญชาการกองทัพบก ไปยังหน่วยรองหลัก และ การติดต่อสอื่ สารรว่ มในการสนบั สนนุ ทางอากาศ 2. การแบ่งมอบ เปน็ หน่วยอตั ราของ กรมทหารส่อื สารที่ 1 3. ขดี ความสามารถ 3.1 ติดตง้ั ปฏบิ ัติการและดำรงการติดต่อส่ือสารทกุ ชนิด รวมทั้งศูนย์ขา่ ว การนำสารยานยนต์ โทรพิมพ์ โทรศัพท์ และวิทยุ ณ กองบัญชาการกองทัพบก กองบัญชาการกองทัพบกส่วนหน้า ศนู ย์ปฏิบัตกิ าร ทางยทุ ธวิธี และสำหรับท่ตี ้ังการติดต่อส่ือสารร่วมสนับสนุนทางอากาศ 3.2 ติดต้ังและปฏิบัติการใช้ระบบวิทยุถ่ายทอด จากกองบัญชาการกองทัพบกไปยัง กองบญั ชาการหนว่ ยรองหลกั ทีใ่ ชร้ ะบบสนธิการสอื่ สารแถบกวา้ งไดต้ ามความจำเป็น 3.3 ตดิ ตัง้ และปฏิบตั ิการใชร้ ะบบคล่ืนพาห์ชนดิ สาย 4 คู่เกลยี วคู่ 3.4 จดั ใหม้ กี ารติดต่อสอ่ื สารสำหรบั ทบี่ ัญชาการกองทพั บกทางยทุ ธวิธีเคลอ่ื นท่ีเมื่อต้องการ 3.5 จัดให้มีระบบการส่ือสารหลายทาง เพ่ือเช่ือมต่อหน่วยต่างๆ ของกองทัพบกกับศูนย์การส่ือสาร หลกั และศูนย์การส่อื สารรอง เมื่อจำเป็น 3.6 บริการถ่ายภาพทางพืน้ ดินใหก้ บั กองบญั ชาการกองทพั บก 3.7 ปฏิบัติการนำสารทางอากาศและโดยพลนำสาร ระหว่างกองบัญชาการกองทัพบก และ กองบัญชาการหนว่ ยรองหลัก 3.8 ปฏบิ ตั กิ ารรบอย่างทหารราบไดเ้ มอ่ื จำเปน็ 3.9 หน่วยน้จี ะได้รบั หนว่ ยมาสมทบดังตอ่ ไปนี้ 3.9.1 ระบบการส่ือสารแถบกว้าง 3.9.2 กองร้อยเฮลิคอปเตอร์ขนสง่ 3.9.3 หนว่ ยเสนารกั ษใ์ นพื้นท่ีตามความเหมาะสม
- 83 - กองบังคบั การและกองร้อยกองบงั คบั การ บก. และ ร้อย บก. บก.พัน รอ้ ย บก. บก.รอ้ ย ตอนสง่ กำลงั กองพนั ตอนซอ่ มบำรุงยานยนตก์ องพัน ตอนการภาพ ตอน บก.พัน ตอนซอ่ มเครอ่ื งกำเนิดไฟฟา้ หมวดสง่ กำลังและซอ่ มบำรุงสอ่ื สาร หมวดเสนารักษ์ บก.มว. 2 ชุดซ่อมวิทยุ ชุดซ่อมเครือ่ งมือสอื่ สารประเภทสาย ตอนสง่ กำลงั สายสื่อสาร รปู ที่ 15 ผงั การจดั กองบังคบั การและกองรอ้ ยกองบงั คับการ อัตรากำลงั พล 18 นาย นายทหาร 99 นาย นายสิบ 56 นาย ส.ต.กองประจำการและพลฯ 173 นาย รวม
- 84 - กองบงั คับการ และกองร้อยกองบังคับการ กำลังพลและยุทโธปกรณท์ ่ีควรทราบ หน่วย ตำแหน่ง ยานพาหนะ เครื่องมอื สอื่ สารท่คี วรทราบ กองบังคบั การ - ผบ.พนั พ.อ. (1) - แผน่ ผ้าสญั ญาณหมาย หนว่ ย (6) กองพนั - รอง ผบ.พัน พ.ท. (1) - วิทยซุ ิงเกิลไซดแ์ บนด์ - นายทหารกำลังพล พ.ต. (1) KWN2 (3) - นายทหารฝา่ ยยทุ ธการและการขา่ ว - โทรศัพท์ TA-312/PT (20) - ตู้สลับสาย SB-22/PT (2) พ.ท. (1) - วิทยซุ ิงเกลิ ไซด์แบนด์ - ผช.นายทหารฝา่ ยยทุ ธการและการ KWN2 (3) ข่าว ร.อ. (1) - นายทหารฝ่ายสง่ กำลังบำรงุ พ.ต. (1) - นายทหารศูนย์การสือ่ สาร ร.อ. (1) - นายทหารการเงิน ร.อ. (1) - นายทหารยานยนต์ ร.อ.(1) กองบงั คบั การ - นายทหารการรหสั ร.อ. (1) - รยบ. ¼ ตนั (2) กองรอ้ ย - ผู้บงั คบั กองร้อย พ.ต. (1) - รยบ. ¾ ตัน (1) - รอง ผบ.รอ้ ย ร.อ. (1) - รยบ.2 ½ตัน(2) - จา่ กองรอ้ ย จ.(พ)(1) - รถพว่ ง¼ตัน(2) - นายสิบส่งกำลัง จ. (1) - รถพ่วง 1 ตัน (2) - นายสบิ สทู กรรม จ. (1) - รถพ่วง 1 ตัน - พลสูทกรรม ส.อ. (2) บรรทกุ นำ้ (1) - พลสูทกรรม ส.ต. (5) - พลสทู กรรม พลฯ (7) - ชา่ งอาวธุ ส.อ. (1) ตอน บก.พัน - เสมยี นธรุ การ ส.อ. (1) - รยบ.2 ½ตัน(1) - เสมียนการเงนิ จ. (1), ส.อ. (2) - รยบ. ¼ ตัน (3) - จ่ากองพัน จ.(พ) (1) - รถพว่ ง 1 ตัน (1) - นายสิบยทุ ธการ จ.(1), ส.อ. (1) - รถพว่ ง¼ ตนั (3) - นายสบิ กำลังพล จ.(1), ส.อ. (2) - นายสิบรหสั จ.(1), ส.อ. (2) ตอนส่งกำลงั - ชา่ งเขยี นแบบ จ.(1) - รยบ. ¼ ตัน (1) กองพัน - นายสิบสง่ กำลังบำรงุ จ.(พ) (1) - รยบ.2 ½ตนั (1) - ผช.นายสบิ ส่งกำลงั บำรุง ส.อ. (1) - รยบ. ¾ ตนั (1) - เสมียนสง่ กำลงั ส.อ.(1),ส.ต.(2) - รถพ่วง 1 ตัน(2) - รถพว่ ง¼ ตนั (2)
- 85 - หนว่ ย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เคร่อื งมอื สื่อสารที่ควรทราบ ตอนซอ่ มบำรงุ - นายทหารซ่อมบำรงุ ยานล้อ ร.ท. - รยบ.2½ ตัน(3) ยานยนต์กอง (1) - รยบ. ¾ ตนั (1) พนั - นายสบิ ซ่อมบำรุงยานยนต์ จ.(พ) (1) - รถพ่วง 1 ตัน (3) ตอนชา่ งซ่อม เครื่องกำเนดิ - ชา่ งยานยนต์ล้อ จ.(2),ส.อ - รถกู้ขนาดกลาง (2),ส.ต.(2) ไฟฟา้ 5 ตนั (1) ตอนการภาพ - นายสบิ รถกู้ จ. (1), ส.อ.(1) - รยบ.2 ½ตัน(2) บก.มว.สง่ กำลงั - หน.ช่างซอ่ มเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ และซ่อมบำรุง จ.(พ)(1) - เคร่อื งกำเนดิ ไฟฟ้า สาย ส. - ชา่ งซอ่ มเคร่อื งกำเนิดไฟฟ้า ติดตัง้ บนรถพ่วง 2 ชดุ ซอ่ มวิทยุ จ.(2), ส.อ. (6) PU-618 (2) - นายทหารการภาพ ร.ท.(1) - นายสิบการภาพ จ. (1) - รยบ. ¼ ตนั (3) - กลอ้ งถ่ายภาพนง่ิ KH-4 - หน.ช่างถา่ ยภาพ จ. (1) - หน.นายสบิ ห้องลา้ งภาพ จ. (1) - รยบ.2 ½ตัน(2) A1 (1) - ชา่ งถา่ ยภาพนง่ิ ส.อ. (4) - ชา่ งถ่ายภาพยนต์ ส.อ. (2) - รถพ่วง¼ตนั (2) - กล้องถา่ ยภาพนง่ิ KS-14 (5) - นายทหารสง่ กำลังสายส่อื สาร ร.อ - รถพว่ ง 1 ตันบรรทุก - กล้องถ่ายภาพนง่ิ KS-15 (1) (1) - นายทหารซอ่ มบำรุงสือ่ สาร นำ้ (1) - กลอ้ งถา่ ยภาพนิ่ง ร.ท.(1) KS-19A1(2) - หน.ชา่ งซ่อม จ. (พ) (1) - หน.ชุดซ่อมวทิ ยุ จ.(พ)(1), จ.(1) - กลอ้ งถา่ ยภาพยนต์KS-10(2) - ช่างซ่อมวิทยุ จ.(4), ส.อ.(4) - เครอ่ื งวดั รวมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ TS-505/U (2) - เครอ่ื งวัดความถ่ี AN/URM-32 (2) - เคร่อื งวัดความถี่ AN/URM-79 (2) - เครอ่ื งวดั ความถ่ี AN/URM-80 (2) - เครอ่ื งวดั ความถ่ี AN/URM-81 (2) - เคร่อื งวดั ความถี่ AN/URM-105 (8) - รถซ่อม AN/MSM – 16 (2) - เครือ่ งกำเนดิ สญั ญาณ AN/URM-70 (2) เครื่องวัดแรงเคลื่อน ME-30/U (2)
- 86 - หน่วย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครือ่ งมอื ส่ือสารท่คี วรทราบ ชุดซ่อมเครอื่ ง - หน.ชดุ ซ่อม จ.(พ) (1) - รยบ. 2 ½ ตนั (3) - เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้า ส่ือสารประเภท - ชา่ งซ่อมโทรศัพทธ์ รรมดา PU-618(2) ส.อ.(2) - รยบ. ¼ ตนั (1) สาย - ชา่ งซ่อมเครอ่ื งคลนื่ พาห์ จ.(1),ส.อ - รยบ.2½ตัน (1) - เคร่ืองตรวจหลอด (1) - รถพว่ ง 1 ตัน (1) TV-7/U(2) - ช่างซ่อมโทรพมิ พ์ จ.(1),ส.อ.(1) - รถพ่วง¼ตัน(1) - เครื่องวัดรวมอิเลก็ ทรอนิกส์ TS-505/U (1) - รถซ่อม AN/MSM – 16 (1) - เครอ่ื งตรวจวัด MK –155(1) - เครอ่ื งวดั ความถ่ี AM/TSM-16 (1) - ชุดเคร่ืองตรวจ TS-140/PCM (1) - ชดุ เครอ่ื งมือ TE-49 (2) - เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ PU-618(1) - เครอื่ งวัดกำลัง TS-402/U (1) - เครื่องตรวจหลอดTV-7/U(1 ตอนส่งกำลัง - นายสบิ สง่ กำลังสายสือ่ สาร สายสอื่ สาร จ.(พ)(1) - ผช.นายสบิ ส่ง ฯ ส.อ. (1) - เสมยี นส่งกำลังสายส่อื สาร ส.อ.(2), ส.ต. (1) หมวดเสนารักษ์ - ผบ.มว. ร.อ.(1) - ร ย บ . ¼ ตั น (1) - โทรศพั ท์ TA-312/PT (1) - รอง ผบ.มว. ร.ท.(1) (รถพยาบาล) - นายสิบพยาบาล จ.(2), ส.อ. (3) - พลขบั รถพยาบาล ส.อ. (1) - พลเสนารักษ์ ส.ต. (2), พลฯ (4)
- 87 - กองพันทหารสือ่ สารท่ี 101 และ 102 กรมทหารสอื่ สารที่ 1 1. ความรับผดิ ชอบ 1.1 ความรับผิดชอบของหน่วยงาน 1.1.1 กองบังคับการกองพนั และกองร้อยกองบังคบั การ กองทัพบกไทย อตั ราการจัดและยทุ โธปกรณ์ หมายเลข 11-15 (25 ก.ค. 20) 1.1.1.1 ภารกจิ - อำนวยการ, ประสานงานและทำการฝึก กองพนั ทหารส่ือสารท่ี 101และกองพันทหารส่ือสารที่ 102 ตลอดจนจดั ให้มสี ง่ิ อำนวยความสะดวกสำหรบั ผู้บังคบั กองพันในการควบคมุ และบังคบั บญั ชากองพนั - จัดให้มีการสนับสนุนการส่งกำลังและซ่อมบำรุงข้ันสนามสายส่ือสารสำหรับกองพัน และหน่วย ในอัตราของกองบญั ชาการกองทพั บก - จัดให้มีบริการถ่ายภาพทางพ้ืนดิน ณ ท่ีตั้งกองบัญชาการกองทัพบกตลอดจนการบริการล้างและอัด ภาพนิ่งขาว-ดำ (ทางยุทธวิธี) ใหก้ บั หนว่ ยต่างๆ ของกองทัพบกไดเ้ ท่าทจ่ี ำเป็น - จัดให้มกี ารนำสารทางอากาศและนายทหารนำสารสำหรบั กองบัญชาการกองทพั บก 1.1.1.2 การแบง่ มอบ จดั เปน็ หน่วยในอัตราของ กองพนั ทหารสอื่ สารท่ี 101 และ 102 1.1.1.3 ขดี ความสามารถ 1.1.1.3.1 วางแผน ควบคุม บังคับบัญชา กำกับดูแล และประสานการปฏิบัติตลอดจนทำการฝึก กองพันทหารสื่อสารท่ี 101 และกองพันทหารส่ือสารท่ี 102 รวมท้ังดำเนินการสนับสนุนด้านธุรการและ การสง่ กำลังบำรุงใหก้ บั กองพนั ดังตอ่ ไปน้ี - การจัดการกำลังพล - การซอ่ มบำรุงขน้ั สนามเพ่ิมเตมิ สำหรับยานพาหนะของหนว่ ยในอตั รา - การซ่อมบำรุงข้ันสนามเพ่ิมเติม ให้กับหน่วยในอัตราและหน่วยต่างๆ ที่ขึ้นกับ กองบญั ชาการกองทพั บก - ประสานการจัดทำใบเบกิ , การส่งกำลังสายยุทธบรกิ าร, การก้ซู ่อมสำหรับหน่วยในอตั รา - การบริการทางการแพทยแ์ ละการส่งกลับสายแพทย์ 1.1.1.3.2 จัดให้มีบริการถ่ายภาพทางพ้ืนดิน ณ ท่ีต้งั กองบัญชาการกองทัพบก รวมทั้งภาพน่งิ และ ภาพยนตร์ แต่ให้มีบรกิ ารล้างและอดั ขยายภาพนิ่งอยา่ งเดียว 1.1.1.3.3 จัดให้มีกำลังไฟฟ้าสำหรับการทำงานของเครื่องมือส่ือสาร ณ ที่ตั้งกองบัญชาการ กองทพั บกได้อยา่ งจำกัด 1.1.1.3.4 จัดให้มีนายทหารนำสารท างอากาศ และบริการนำสารทางอากาศระหว่าง กองบัญชาการกองทพั บก และกองบญั ชาการหนว่ ยรอง 1.1.1.3.5 ทำการรบอย่างทหารราบได้เม่ือจำเปน็
- 88 - 1.1.2 กองร้อยปฏิบตั กิ ารสอ่ื สารประจำกองบัญชาการ กองทพั บกไทย อัตราการจดั และยทุ โธปกรณ์ หมายเลข 11-17 (25 ก.ค. 20) นามหน่วย กองร้อยปฏิบตั ิการส่ือสารประจำกองบญั ชาการ 1.1.2.1 ภารกจิ จดั ให้มสี ่งิ อำนวยความสะดวกทางการส่ือสารแบบประจำทีต่ ้งั ให้กับกองบัญชาการกองทัพบก และกองบญั ชาการกองทัพบกสว่ นหน้า 1.1.2.2 การแบง่ มอบ เป็นหน่วยในอัตราของกองพันทหารส่ือสารที่ 101 และกองพันทหารสื่อสารท่ี 102 กรมทหารส่อื สารท่ี 1 1.1.2.3 ขดี ความสามารถ 1.1.2.3.1 ติดต้ัง ปฏิบัติการและบำรุงรักษาเคร่ืองมือสื่อสารแบบประจำท่ีตั้ง ให้แก่ กองบัญชาการกองทัพบกและกองบัญชาการกองทัพบกส่วนหน้า รวมท้ังการดำเนินการศูนย์ข่าว การนำสาร ภายในท่ีตัง้ การนำสารยานยนต์ และการนำสารทางอากาศ โทรศัพทแ์ ละโทรพมิ พ์ 1.1.2.3.2 จัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการบังคับบัญชา การดำเนินการทางธุรการ และการสง่ กำลัง การซ่อมบำรุงยานยนต์ และการเลี้ยงดูของกองร้อย 1.1.2.3.3 ทำการรบอย่างทหารราบได้เมอื่ จำเป็น กองร้อยปฏบิ ัตกิ ารสื่อสารประจำกองบัญชาการ บก.ร้อย มว.ปฏบิ ัตกิ ารโทรศพั ท์ มว.ศูนยก์ ารสอ่ื สาร มว.ปฏบิ ัตกิ ารโทรพมิ พ์ บก.มว. ตอนปฏบิ ัตกิ ารโทรศพั ท์ บก.มว. ชดุ โทรพมิ พ์ 15 ชุด ตอนควบคมุ วงจร ตอนตดิ ตงั้ ซ่อมบำรงุ โทรศัพท์ 5 ชุด อตั รากำลังพล บก.มว. ตอนปฏบิ ัติการศนู ยข์ า่ ว ตอนนำสาร ยานยนต์10 คัน นายทหาร 11 นาย นายสบิ 129 นาย ส.ต.กองประจำการและพลฯ 90 นาย รวม 230 นาย รปู ท่ี 16 ผงั การจดั กองรอ้ ยปฏิบตั กิ ารสอ่ื สารประจำกองบญั ชาการ
- 89 - หนว่ ย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เคร่อื งมือสือ่ สารท่ีควรทราบ บก.ร้อย - ผบ.รอ้ ย พ.ต. (1) - รยบ. ¼ ตัน (1) - แผ่นผ้าสัญญาณหมายหน่วย (28) - วิทยซุ งิ เกลิ ไซด์แบนด์ KWN2(1) - รอง ผบ.รอ้ ย ร.อ. (1) - รยบ. ¾ ตัน (1) - ตู้สลบั สาย SB-22/PT (1) - เครื่องมอื ชดุ TE-33 (1) - จ่ากองร้อย จ.(พ) (1) - รยบ. 2 ½ ตนั (2) - ชุดเครอ่ื งมอื ช่างเล็กทรอนกิ ส์ MK-680/G(1) - นายสิบสูทกรรม จ.(1) - รถพว่ ง 1 ตัน (3) - โทรศัพท์ TA-312/PT (8) - ไฟฉาย (70) - นายสบิ ยานยนต์ จ.(พ) (1) - รถพ่วงบรรทุกนำ้ (1) - วทิ ยซุ ิงเกลิ ไซด์แบนด์ KWN2(2) - รยบ. ¼ ตัน (1) - เครือ่ งมอื ชุด TE-33 (6) - ชุดแผงปลายสายติดต้ังบนรถ - รยบ. 2 ½ ตนั SB-611/MRC (2) มีกวา้ น (1) บก.มว. - นายทหารโทรศัพท์ - รยบ. ¼ ตัน (2) ปฏิบตั กิ าร ร.อ.(1),ร.ท.(1) - รถพว่ ง ¼ ตัน (2) โทรศัพท์ - นายสิบการโทรศัพท์ จ(พ)(1) ตอนควบคุม - หน.ตอน จ.(พ) (1) - รยบ. ¾ ตัน (2) วงจร - หน.ชดุ จ.(2) - รถพว่ ง 1 ตัน (2) ตอน - หน.ตอน จ.(พ) (1) - รยบ. ¾ ตนั (5) - เครื่องตรวจชุดTS26/TSM(1) - รยบ. 2 ½ ตนั (4) - เครอ่ื งมือชุด TE-33 (4) ปฏบิ ัตกิ าร - หน.พนกั งานสลัสาย - รถพว่ ง 1 ตัน (2) - เครอ่ื งสลบั สายกลาง AN/MTC-1 (2) - เครอื่ งสลบั สายกลาง AN/MTC-7 (3) โทรศพั ท์ โทรศัพท์ จ.(5) - ตู้สลบั สาย SB-22/PT (2) - เครอื่ งวัดรวม AN/URM-105 (2) - ช่างซอ่ มโทรศพั ทก์ ลาง - อปุ กรณ์ชดุ ซ่อมรถMK-680/G(1) ธรรมดา ส.อ. (4) ตอนติดต้งั - หน.ตอน จ.(พ) (1) - รยบ. ¾ ตนั (5) - ชุดเครอื่ งมอื TE-33 (5) ซ่อมบำรุง - หน.ชุดซ่อมและตดิ ตัง้ - รถพว่ ง 1 ตัน (5) - สายเคเบ้ลิ CX-162/G500ฟุต (25) โทรศพั ท์ - สายเคเบ้ิล CX-162/G200ฟตุ (25) โทรศพั ท์ จ.(5) - สายเคเบลิ้ CX-4566/U250ฟุต(40) - ชา่ งซอ่ มและตดิ ต้ังโทรศัพท์ - สายเคเบล้ิ CX-163/G (50) - แผงปลายสายเคเบิล้ TA-323/G ส.อ.(5) (100) - ชุดเครือ่ งมือพลสาย TE-21 (25) - เครอ่ื งวางสาย RL-31 (5) - เคร่อื งขยายโทรศพั ท์ TA-287/G(15) - โทรศัพท์ TA-236/PT(200) - โทรศัพท์ TA-264/PT(5) - โทรศัพท์ TA-312/PT(250)
- 90 - หน่วย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครือ่ งมือสอ่ื สารที่ควรทราบ - เครื่องตรวจชดุ TS-26/TSM(5) บก.มว.ศูนย์ - นายทหารศูนยก์ ารส่ือสาร - รยบ. ¼ ตนั (1) - เครอ่ื งมือชุด TE-73 (5) - แผงหมุดตอ่ สาย TA-125/GT(20) การสือ่ สาร ร.อ.(1) - รยบ. ¾ ตนั (2) - สาย WD-1/TT บนลอ้ สาย - นักบิน ร.อ. (1), ร.ท.(1) - รถพว่ ง 1 ตัน (2) RL-159/U (40) - เครอ่ื งต่อสาย MK-356/G (5) - นายสบิ ศูนย์ข่าว จ.(พ) (1) - รถพ่วง ¼ ตนั (1) - แผงสายเคเบ้ลิ J-1077/U (10) - ชดุ อุปกรณ์ซอ่ มบำรุง - ช่างซอ่ มเครอื่ งบินเบา - เคร่ืองบินเบา MX-842/GT (5) ส.อ.(2) L-19 (2) - เครอื่ งมอื ชดุ ซ่อมบำรงุ ตอน - นายทหารศนู ย์ขา่ ว ร.ท. (2) - รยบ. 2 ½ ตนั (2) เครื่องบนิ เบา (2) - เครอื่ งบินชุดซ่อมบำรงุ เคร่อื งบิน ปฏบิ ตั ิการ - นายสบิ ศนู ย์ขา่ ว จ. (2) - รยบ. ¾ ตัน (2) เบาข้ันหน่วย (1) ศนู ยข์ ่าว - ผช.นายสบิ ศนู ยข์ ่าว - รถพ่วง 1 ตัน (4) - เครื่องคำนวณการเดนิ อากาศ (2) - เครื่องเขียนแผนการเดินอากาศ(2) ส.อ.(2),ส.ต.(4) - ตู้สลับสาย SB-22/PT (2) ตอนนำสาร - หน.พลนำสาร ส.อ.(1) - รยบ. ¼ ตัน (10) - เครอ่ื งตรวจ TS-2 (4) - เคร่อื งมอื ชุด TE-508 (4) ยานยนต์ - หน.พลนำสาร จ. (2) - เครอื่ งวดั รวม AN/URM-105 (4) - เครื่องกำเนิดไฟฟา้ PU-322/G(15) - พลนำสารยานยนต์ ส.อ. (10) - เครื่องโทรพิมพ์ AN/GGC- 3 (15) - เครื่องโทรพิมพ์ AN/PGC-1(45) บก.มว. - นายทหารโทรพมิ พ์ ร.อ.(1), - รยบ. ¼ ตนั (3) - เครอ่ื งแปลงสญั ญาณ ปฏิบตั ิการ ร.ท.(1) - รถพ่วง ¼ ตัน (3) TH-5/TG (45) โทรพมิ พ์ ชุดปฏบิ ัติการ - หน.ตอน จ.(พ) (1) - รยบ. ¾ ตัน (15) โทรศัพท์ - ผช. หน.ตอน จ. (3), ส.อ.(3) - หน.ชุด จ.(พ) (2), จ.(13) - พนักงานโทรพมิ พ์ ส.อ.(30)
- 91 - 1.1.3 กองร้อยปฏบิ ตั ิการสอ่ื สารสนาม อตั ราการจดั และยทุ โธปกรณ์ หมายเลข อจย.11-18 (25 ก.ค. 20) นามหน่วย กองร้อยปฏิบตั ิการส่ือสารสนาม 1.1.3.1 ภารกจิ 1.1.3.1.1 จัดใหม้ เี ครอ่ื งมอื สอ่ื สารหลกั เพื่อ เชื่อมต่อระหว่างกองบัญชาการกองทัพบก และ กองบัญชาการกองทพั บกสว่ นหนา้ หนว่ ยรองของกองทพั บกและทตี่ ้งั ทางการสง่ กำลงั บำรุง 1.1.3.1.2 ติดตั้งและซ่อมบำรุงสายเคเบิลสนามจากกองบัญ ชาการกองทัพบกและ กองบัญชาการกองทัพบกส่วนหน้า ไปยังทตี่ ั้งสถานีวิทยถุ ่ายทอด วิทยุโทรพิมพ์และศนู ยป์ ฏิบัติการทางยุทธวิธี ตลอดจนการติดต้ังวงจรทางสายโทรศพั ทท์ างไกลไปยังหนว่ ยและทตี่ ้งั ตา่ ง ๆ 1.1.3.1.3 จัดให้มีเครื่องคล่ืนพาห์ โทรเลขและโทรศพั ท์ ณ ท่ีต้ังกองบัญชาการกองทพั บกและ กองบัญชาการกองทพั บกส่วนหน้า หน่วยรองของกองทัพบกและท่ตี ั้งการส่งกำลงั บำรุง 1.1.3.1.4 จัดให้มีข่ายสถานีวิทยุโทรพิมพ์ และวงจรจุดถึงจุด เพื่อความมุ่งหมายใน การบงั คับบญั ชาและการส่งกำลงั บำรงุ 1.1.3.2 การแบ่งมอบเป็นหน่วยในอัตราของ กองพันทหารส่ือสารที่ 101 และกองพันทหาร สื่อสารที่ 102 กรมทหารสอื่ สาร ท่ี 1 1.1.3.3 ขดี ความสามารถ 1.1.3.3.1 ติดต้งั และบำรงุ รักษาส่ิงอำนวยความสะดวกในการสือ่ สารหลกั ดังตอ่ ไปนี้ - โดยวิทยุถ่ายทอดจากกองบัญชาการกองทัพบกส่วนหน้าไปยัง กองบัญชาการ กองทัพบก และหน่วยรองของกองทัพบก - โดยวทิ ยโุ ทรพมิ พ์ไปยงั หนว่ ยรองของกองทัพบก 1.1.3.3.2 ติดตั้งและบำรุงรักษาสายเคเบิลสายคู่และสาย 4 เกลียวคู่ (เอส-4) จากกองบัญชาการ กองทพั บก และกองบัญชาการกองทพั บกส่วนหน้า 1.1.3.3.3 ตดิ ตัง้ วงจรสายโทรศัพท์ทางไกลไปยังหนว่ ยและทีต่ ้ังต่าง ๆ 1.1.3.3.4 ปฏิบัติและบำรุงรักษาเคร่ืองคลื่นพาห์ โทรศัพท์ และเครื่องคล่ืนพาห์โทรเลข ท่กี องบัญชาการกองทัพบก กองบัญชาการกองทัพบกส่วนหนา้ หน่วยรองของกองทพั บก และท่ีตงั้ การสง่ กำลัง บำรงุ ตา่ ง ๆ 1.1.3.3.5 จัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการบังคับบัญชา การดำเนินการทางธุรการ การส่งกำลงั การเลย้ี งดู การซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณ์สายส่อื สารข้ันหน่วยและขนั้ สนาม การซอ่ มบำรงุ ยานพาหนะ ขั้นหน่วยของกองรอ้ ย 1.1.3.3.6 ปฏบิ ัติการรบอย่างทหารราบเม่อื จำเป็น
- 92 - รปู ท่ี 17 ผงั การจัดกองร้อยปฏบิ ัติการสือ่ สารสนาม ส.1 พนั .101, 102 อจย.11-19 (25 ก.ค.20) กองรอ้ ยปฏบิ ัติการสอื่ สารสนาม บก.ร้อย มว.ปฏบิ ตั กิ ารสาย มว.วทิ ยโุ ทรพมิ พ์ มว.วทิ ยุถ่ายทอด บก.มว. ตอนเครอื่ งคลื่นพาห์ 7 ชุด บก.มว. ตอนวิทยถุ า่ ยทอด ตอนวทิ ยุถ่ายทอด ปลายทาง 14 ชดุ 12 ชุด ตอนสร้างสายเคเบล้ิ สนาม 2 ชุด บก.มว. ตอนวิทยุโทรพมิ พ์ ตอนวิทยุโทรพมิ พ์ บังคับบญั ชา 11 ชุด ส่งกำลังบำรุง 6 ชดุ อตั รากำลังพล นายทหาร 8 นาย นายสิบ 191 นาย ส.ต.กองประจำการและพลฯ 77 นาย รวม 276 นาย กองร้อยปฏบิ ตั กิ ารส่ือสารสนาม กำลงั พลและยุทโธปกรณท์ ่ีควรทราบ หน่วย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครอื่ งมือสอื่ สารท่คี วรทราบ กองบังคบั การ - ผบ.รอ้ ย พ.ต. (1) - รยบ. ¼ ตัน (1) - ชุดวิทยุซงิ เกิลไซดแ์ บนด์ KWM-2A (1) กองรอ้ ย - - รอง ผบ.รอ้ ย ร.อ. (1) - รยบ. 2 ½ ตนั (3) - อุปกรณ์ชดุ รถซ่อมMK-680/U(1) - - จา่ กองรอ้ ย จ.(พ)(1) - รยบ. ¾ ตัน (1) - แผน่ ผา้ สัญญาณหมายหน่วย (32) นายสบิ ยานยนต์ จ.(พ)(1) - รถพ่วงบรรทกุ น้ำ - ตู้สลับสาย SB-22/PT (1) นายสิบสูทกรรม จ.(1) 1 ½ ตัน (1) - โทรศัพท์ TA-312/PT(8) - รถพ่วง ¼ ตนั (1) - เครอื่ งมือชุด TE-73 (1) รถพ่วง 1 ตัน (3)
- 93 - หน่วย - ตำแหนง่ - ยานพาหนะ เครอื่ งมือส่ือสารที่ควรทราบ - - รยบ. ¼ ตัน (1) - เครื่องปลายทางโทรศัพท์ AN/TCC-7 (2) บก.มว. นายทหารระบบคล่นื พาห์ - รยบ. ¾ ตัน (1) ปฏิบัติการ ร.อ.(1),ร.ท. (1) - รถพ่วง ¼ ตนั (1) - เครอื่ งวัดรวมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ TS-505/U หน.พนักงานเคร่อื ง - รถพ่วง 1 ตัน (1) (1) สาย คลืน่ พาห์ จ.(พ)(1) - รยบ. 2 ½ ตนั (4) หน.ตอน จ.(พ) (1), จ.(1) รยบ.2½ตัน - รถซอ่ ม AN/MSM-16 (1) ตอนเครอื่ ง - หน.ชุดเครอ่ื งคลื่นพาห์ M-602(4) - เครอ่ื งกำเนิดไฟฟา้ ติดบนรถพ่วง คลน่ื พาห์ - จ.(7) พนักงานเครอื่ งคลื่นพาห์ รยบ. 2 ½ ตัน (2) PU-618 (1) - ส.อ. (7) รถพว่ ง 1 ตัน (2) - เครื่องวดั รวม AN/URM-105 (2) - ชดุ โทรเลขโทรศัพทป์ ลายทาง ตอนสรา้ งสาย - หน.ชดุ สรา้ งสายเคเบล้ิ - รยบ. ¼ ตนั (1) เคเบิล้ สนาม สนาม จ.(2) - รยบ. 2 ½ ตนั (2) AN/MCC-6พรอ้ มเครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟา้ (7) นายสิบสร้างสายเคเบล้ิ รถพ่วง ¼ ตัน (1) - เคร่ืองตรวจวดั MK-155/TCC(1) - สนาม ส.อ.(2) - ชดุ เครอ่ื งตรวจวัด TS-140 (1) - ชุดเครอื่ งตรวจหลอด TV-7/U(1) กองบงั คับการ - นายทหารวิทยุถา่ ยทอด - - ชุดเครอ่ื งมอื TE-123 (2) หมวดวิทยุ - เครอ่ื งมอื ชุด TE-73 (2) ถ่ายทอด - ร.อ.(1),ร.ท. (1) - - โทรศพั ท์ TA-312/PT (4) - สายเคเบ้ิล CX-1512/G(20) - หน.พนกั งานวิทยุถ่ายทอด - - สายเคเบิล้ CX-1066/G(40) - สายเคเบิ้ล CX-1065/G(200) - จ.(พ)(1), จ.(1) - แผงสายเคเบ้ิล TA-323/G(20) - เครอ่ื งมอื พลสร้างสาย TE-21(10) ช่างซ่อมเครอื่ งกำเนดิ - เคร่อื งวางสาย RL-200/G (2) - เครอ่ื งขยายโทรศัพท์ AN/TCC-11 (6) ไฟฟา้ จ.(พ)(1) , ส.อ. (1) - ชุดตรวจ TS-712/TCC-11 (2) - ชดุ เครอื่ งตรวจ TS-27/TSM(2 ช่างซ่อมวิทยุ จ.(พ)(1), - สาย WD-1/TT บนลอ้ RL-159/U (2) - เคร่อื งวดั รวมอิเลก็ ทรอนิกสT์ S-505/U (2) - รถซอ่ ม AN/MSM-16 (2) - เคร่อื งวดั ความถ่ี AN/TSM-16 (2) - เครื่องวดั ความถ่ี AN/URM-32 (2) - เครอื่ งวดั ความถี่ AN/URM-80 (2) เครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้าติดบนรถพ่วง PU/618 (2) จ.(1)
- 94 - หน่วย ตำแหน่ง ยานพาหนะ เครือ่ งมอื สื่อสารท่คี วรทราบ - ช่างซอ่ มเครือ่ งคลืน่ พาห์ จ.(พ)(1), จ.(1) - เครอ่ื งกำเนิดสัญญาณ AN/URM-70 (2) - เครื่องวัดรวม AN/URM-105 (2) - ชดุ วทิ ยุซิงเกลิ ไซด์แบนด์ KW-M2A (2) - ชุดวทิ ยปุ ลายทาง AN/TRC-35 (2) - เครือ่ งตรวจวดั MK-155/TCC(2) - ชดุ เคร่อื งตรวจวัด TS-140/PCM (2) - ชดุ เครื่องตรวจหลอด TV-7/U(2) - ชดุ เครื่องมือ TE-123 (2) - เครือ่ งมือชดุ ชา่ งซ่อมวิทยุและเรดาร์ TK-87/U (2) - เครอ่ื งมอื ชดุ ช่างซอ่ มวิทยุและเรดาร์ TK- 88/U (2) - เครื่องวัดแรงเคลือ่ น ME-30/U (2) ตอนวิทยุ - หน.ตอน จ.(พ) (1) - รยบ. 2½ ตัน (14) - เครอ่ื งวัดรวม AN/URM-105 (1) ถา่ ยทอด - หน.ชุดวทิ ยุถ่ายทอด ปลายทาง - ชดุ วิทยุปลายทาง AN/MRC-73 (14) จ.(14) - เครื่องตรวจหลอด TV-7/U (14) - เครื่องมอื ชุด TK-145/G (14) ตอนวิทยุ - หน.ตอน จ.(1) - รยบ. 2½ ตนั (14) - เครอ่ื งวัดรวม AN/URM-105 (12) ถ่ายทอด - หน.ชดุ วทิ ยุถา่ ยทอด - ชดุ เครื่องขยาย AN/MRC-54 (12) จ.(12) - เครือ่ งตรวจหลอด TV-7/U (12) - เคร่ืองมือชดุ TK-145/G (12) บก.มว.วทิ ยุ - นายทหารวิทยุ ร.อ.(1), - รยบ. 2 ½ ตนั (1) - เครื่องมอื ฝึกเลขสญั ญาณ โทรพมิ พ์ ร.ท.(1) - รยบ. ¼ ตัน (2) AN/GSC-T1 (1) - หน.พนักงานวิทยโุ ทร- - รถพ่วง ¼ ตัน (2) - เครือ่ งวดั รวมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ TS-505/U พมิ พ์ จ.(พ) (1) (1) - ช่างซอ่ มวทิ ยุ จ.(พ)(1), - รถซ่อม AN/MSM-16 (1) จ.(1) - เครอ่ื งวดั ความถี่ AN/URM-32 (1) - ช่างซ่อมโทรพมิ พ์ จ.(1) - เครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้าติดบนรถพ่วง - ชา่ งซอ่ มเคร่ืองกำเนิด PU/618 (1) ไฟฟา้ จ.(พ)(1), ส.อ.(1) - เครื่องวัดรวม AN/URM-105 (5) - ชุดเครอ่ื งตรวจ TS-2/TG (1) - ชดุ เครอ่ื งมอื TE-50B (1) - เครื่องมือชุดชา่ งซ่อมเรดาห์และวิทยุ TK-87/U (2)
- 95 - หน่วย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครอ่ื งมือส่ือสารท่คี วรทราบ ตอนวทิ ยุ หน.ตอน จ.(พ) (1) โทรพมิ พ์ - หนชุดวิทยุโทรพิมพ์ - รยบ. 2½ ตัน (11) - ชุดวิทยุ AN/GRC-26D (11) บังคับ - จ.(11) บัญชา - รยบ. 2 ½ ตนั (6) - ชดุ วิทยุ AN/GRC-26D (6) - หน.ตอน จ.(พ)(1) ตอนวิทยุ - หน.ชดุ วิทยโุ ทรพมิ พ์ โทรพมิ พ์ จ.(6) สง่ กำลงั บำรงุ 1.1.4 กองร้อยปฏบิ ตั ิการส่อื สารสนบั สนนุ อัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ หมายเลข 11-19 (25 ก.ค. 20) นามหน่วย กองร้อยปฏิบัติการ สื่อสารสนบั สนุน 1.1.4.1 ภารกิจ - จัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกทางการสื่อสารของศูนย์ปฏิบัติการทางยุทธวิธี ให้กั บ กองบัญชาการกองทัพบก - จัดให้มีวิทยุโทรพิมพ์และเจ้าหน้าที่ เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติการร่วมอากาศ – พื้นดิน ของ กองทพั บก 1.1.4.2 การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอัตราของ กองพันทหารสื่อสารท่ี 101 และกองพันทหารส่ือสาร ท่ี 102 กรมทหารสือ่ สารที่ 1 1.1.4.3 ขดี ความสามารถ 1.1.4.3.1 จัดให้มี และติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกทางการสื่อสารของศูนย์ปฏิบัติการ ทางยทุ ธวิธี สำหรับกองบัญชาการกองทัพบกได้ 1 ศนู ย์ 1.1.4.3.2 จัดให้มี และปฏิบัตกิ ารด้วยเคร่อื งวทิ ยุโทรพิมพใ์ นหนา้ ทตี่ อ่ ไปนี้ 1.1.4.3.2.1 เป็นสถานบี ังคับข่ายในขา่ ยคำขอทางอากาศของกองทัพบก 3 ข่าย 1.1.4.3.2.2 เป็นสถานีบังคับข่าย สำหรบั ข่ายกระจายข่าวของกองทพั บก 1 ชุด 1.1.4.3.2.3 เป็นสถานีบังคับข่ายสำหรับนายทหารบกติดต่อ 2 ข่าย และสำหรับ ปฏบิ ัตกิ ารทฐ่ี านส่งเครอ่ื งบินขบั ไล่ทงิ้ ระเบิดของ กองทัพอากาศ 6 ชดุ 1.1.4.3.2.4 เป็นสถานีบังคับข่ายสำหรับข่ายนายทหารติดต่อลาดตระเวนทางอากาศ ยทุ ธวิธีของกองทพั อากาศ 3 ชดุ 1.1.4.3.3 จัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการบังคับบัญชา การดำเนินการทางธุรการ และ การส่งกำลงั การซอ่ มบำรงุ ยานยนต์ และการเลย้ี งดูของกองรอ้ ย 1.1.4.3.4 ปฏิบตั ิการรบอยา่ งทหารราบได้เมอื่ จำเป็น
- 96 - (ฝกึ ) รปู ท่ี 18 ผังการจดั กองรอ้ ยปฏิบัติการสือ่ สารสนบั สนุน ส.1 พัน. 101, 102 อจย. 11-19 (25 ก.ค. 20) กองร้อยปฏบิ ัตกิ ารสอ่ื สารสนบั สนนุ บก.รอ้ ย มว.ศูนย์ปฏบิ ตั ิการทางยุทธวิธี มว.วทิ ยุโทรพิมพ์ บก.มว ตอนปฏิบัตกิ ารโทรศพั ท์ บก.มว. ตอนวิทยุโทรพิมพ์ศูนย์ปฏบิ ตั กิ าร ตอนวทิ ยโุ ทรพมิ พน์ ายทหารบกติดต่อ ตอนวทิ ยโุ ทรพมิ พ์การขา่ วและนายทหารบกตดิ ต่อลาดตระเวน นายทหาร 5 นาย นายสิบ 108 นาย ส.ต.กองประจำการและพลฯ 23 นาย รวม 166 นาย
- 97 - กองรอ้ ยปฏิบัตกิ ารสื่อสารสนาม กำลังพลและยุทโธปกรณ์ท่คี วรทราบ หนว่ ย ตำแหนง่ ยานพาหนะ - เครอ่ื งมอื สอื่ สารท่คี วรทราบ ชุดวิทยุซงิ เกลิ ไซดแ์ บนด์ KW-M2A กองบังคบั การ - ผบ.ร้อย พ.ต. (1) - รยบ. ¼ ตนั (1) - (1) กองรอ้ ย - รอง ผบ.รอ้ ย ร.อ. (1) - รยบ. 2 ½ ตนั (3) - อุปกรณ์ชดุ รถซ่อมMK-680/G (1) - จ่ากองร้อย จ.(พ)(1) - รถพ่วง 1 ตัน (2) - แผน่ ผา้ สญั ญาณหมายหน่วย (16) - นายสบิ สง่ กำลงั จ.(พ) (1) - รถพว่ ง ¼ ตัน (1) - ตู้สลบั สาย SB-22/PT (1) - นายสิบยานยนต์ จ.(พ)(1) - รถพ่วงบรรทกุ น้ำ - โทรศพั ท์ TA-312/PT(8) - นายสิบสูทกรรม จ.(1) - กลอ้ งถา่ ยภาพนงิ่ KS-19A (2) บก.มว.ศนู ย์ - ผบ.มว. ร.อ.(1) 1 ½ ตัน (1) โทรศัพท์ TA-312/PT(10) ปฏบิ ตั กิ าร - นายสบิ ศูนย์ขา่ ว จ.(พ)(1) - รยบ. ¼ ตัน (2) - ทางยุทธวิธี - ผช.นายสิบศนู ย์ขา่ ว ส.อ.(1) - รยบ. ¾ ตัน (1) - เคร่ืองมือชดุ TE-73 (1) - ชา่ งถ่ายภาพนิง่ จ.(1), ส.อ.(1) - รถพว่ ง ¼ ตัน (1) - โทรศพั ท์ TA-312/PT(2) - เสมียนศูนย์ข่าว ส.อ.(2) - รถพ่วง 1 ตัน (2) - สายเคเบ้ิล CX-162/G200 ฟตุ (10) ตอน - หน.ตอน จ.(พ) (1) - รยบ. 2 ½ ตัน (1) - สายเคเบ้ลิ CX-162/G (10) ปฏิบัตกิ าร - ช่างซอ่ มและติดตั้งโทรศพั ท์ - รยบ. 2 ½ ตัน (2) - แผงสายเคเบลิ้ TA-323/G (4) โทรศัพท์ ส.อ.(2) - รถพว่ ง 1 ตัน (2) - สายเคเบิ้ล CX-162/G 500ฟุต(10) - หนพนกั งานสลบั สายโทรศัพท์ - รยบ. ¾ ตนั (1) - เครือ่ งวางสาย RL-31 (1) จ.(1) ตกู้ ลางโทรศัพท์ AN/MTC-7W/PU (1) - เครอื่ งวดั AN/URM-105 (1) - เคร่อื งต่อสาย MK-356/G(1) - แผงหมดุ สาย TA-125/GT(2) - สายWD-1/TTบนลอ้ RL-159(2) กองบงั คับการ - นายทหารวิทยุ ร.อ.(1),ร.ท.(1) - รยบ. ¼ ตัน (2) - ชุดฝกึ เลขสญั ญาณAN/GSC-T1(1) หมวดวิทยุ - หน.พนักงานวทิ ยุ จ.(พ)(1) - รยบ. 2 ½ ตนั (1) - รถซอ่ ม AN/MSM-16 (1) โทรพิมพ์ - ชา่ งซอ่ มเครอื่ งกำเนิดไฟฟ้า - รถพ่วง ¼ ตัน (2) - เครื่องตรวจชดุ TS-2/TG (1) จ.(พ)(1), ส.อ.(1) - รยบ. ¾ ตนั (1) - เครอ่ื งวดั ความถี่ AN/URM-32 (1) - ช่างซ่อมวิทยุ จ.(พ)(1), จ.(1) - รถพว่ ง 1 ตัน (1) - เครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟา้ ติดบนรถพ่วง - ช่างซอ่ มโทรพมิ พ์ จ.(1) PU-618 (2) - เครื่องวดั รวม AN/URM-105 (2) - ชุดเครื่องตรวจหลอด TV-7/U(2)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123