Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

4.1

Published by 43 ศาสตรา ทรายสมุทร, 2021-10-12 14:40:55

Description: 4.1

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนนิ งาน โครงการ ออกแบบสตกิ๊ เกอร์ Line ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 คณะผจู้ ัดทำ นาย ธนกฤต เศรษฐธี ร รหสั นักศึกษา 05487 นาย นิมิตร สนธเิ พช็ ร รหสั นกั ศกึ ษา 07340 นาย ศาสตรา ทรายสมุทร รหสั นักศึกษา 07342 หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพชัน้ สูง พุทธศักราช 2562 ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ลั วทิ ยาลยั เทคโนโลยเี มอื งชลบรหิ ารธรุ กจิ

ก คำนำ รายงานผลการดำเนินงาน โครงการออกแบบสติกเกอร์ไลน์ ซึ่งดำเนินการโดยผู้เรียนระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดบั ชั้นประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชนั้ สูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ เปน็ โครงการที่ สอดคล้องกับสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริการธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงค์การ ดำเนนิ งานเพือ่ ใหผ้ ู้รับได้รบั สินคา้ ตามความต้องการและเพอ่ื ใหผ้ จู้ ดั ทำโครงการได้ ใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ นับเป็นโครงการที่มีประโยชน์ต่อเยาวชนทุกเพศทุกวัยโครงการนี้ได้รับความร่วมมือจากวิทยาลัย เทคโนโลยเี มอื งชลบริหารธรุ กิจเปน็ อย่างดี โครงการน้ไี ดร้ บั ความรว่ มมือจากวิทยาลยั เทคโนโลยีเมืองชลบริหารธรุ กิจ โครงการนด้ี ำเนินการต้ังแต่ 14 มิถุนายน 2564 และเสร็จสิ้นการดำเนินงานแล้ว คณะผู้รับผิดชอบจึงจัดทำรายงานผลการดำเนินงานต่อ ผู้เกี่ยวข้องและสถานศึกษาดังรายละเอียดที่ปรากฏในข้อมูลการรายงานผลการดำเนินงานโครง การออกแบบ สตก๊ิ เกอร์ไลน์ คณะผจู้ ัดทำ

ข สารบัญ เนื้อหา หน้า บทที่ 1 .......................................................................................................................................................... 1 หลกั การและเหตผุ ล .....................................................................................................................................1 วตั ถุประสงค์ ................................................................................................................................................1 ตัวชีวดั ความสำเรจ็ .......................................................................................................................................1 ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั ......................................................................................................................................1 บทที่ 2 .......................................................................................................................................................... 2 2.1 ทฤษฎีการสื่อสาร .................................................................................................................................3 2.1.1 องคป์ ระกอบของการสือ่ สาร..........................................................................................................3 2.1.2 การส่ือสารภายใน-ภายนอก ..........................................................................................................5 2.1.3 แนวคดิ การส่ือสารระหวา่ งบคุ คล ..................................................................................................6 2.2 ทฤษฎกี ารคิดสรา้ งสรรค์.......................................................................................................................7 2.3 หลักการวาดการต์ นู .............................................................................................................................8 2.3.1 ความหมายของการ์ตูน ..................................................................................................................8 2.3.2 การเขยี นภาพการ์ตูน .....................................................................................................................8 2.3.3 การวาดการ์ตูนขนั้ พนื้ ฐาน..............................................................................................................8 2.4 ทฤษฎีสกี บั การออกแบบงานกราฟิก.................................................................................................. 10 2.4.1 ทฤษฎีและการใชส้ ี...................................................................................................................... 10 2.5 แนวทางการออกแบบสตกิ เกอร์......................................................................................................... 14 2.5.1 แนวทางสำหรับภาพสติกเกอร์ ภาพหลกั และภาพเก็บ .............................................................. 14 2.5.2 แนวทางสำหรบั ขอ้ ความโปรยต่างๆ ............................................................................................ 14 2.5.3 ลิขสิทธิ์และกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง.................................................................................................. 15 2.5.4 ประเภทไฟลส์ ติกเกอร์ ................................................................................................................ 15 2.5.5 ขนาด จำนวน และข้อความในสตกิ เกอร์ Line แต่ละชุด............................................................. 15 บทท่ี 3 ........................................................................................................................................................ 16 ระยะเวลาดำเนินการ ................................................................................................................................ 16 แผนการปฏิบตั งิ าน ................................................................................................................................... 16 วธิ ีดำเนนิ งาน ............................................................................................................................................ 17 การวางแผน(Plan) .............................................................................................................................. 17

ค การปฏิบัติ(Do) ..................................................................................................................................... 17 การตรวจสอบ(Check) ......................................................................................................................... 18 แนวทางการนำผลประเมนิ ไปปรับปรงุ (Act).......................................................................................... 18 บทท่ี 4 ........................................................................................................................................................ 19 1.วิธดี ำเนนิ การ......................................................................................................................................... 19 1.1 เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการประเมนิ .......................................................................................................... 19 1.2 วิเคราะห์ข้อมูล .............................................................................................................................. 19 2.เกณฑแ์ ละการแปลผลข้อมลู ................................................................................................................. 19 3.ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู .......................................................................................................................... 20 ตอนที่ 1 ผลการดำเนนิ โครงการ .......................................................................................................... 20 ตอนที่ 2 การประเมนิ ผลงานโครงการหรืองานสรา้ งสรรค์..................................................................... 20 ตอนที่ 3 ผลสำรวจความพงึ พอใจ ......................................................................................................... 21 บทที่ 5 ........................................................................................................................................................ 22 1.ผลการดำเนนิ งานตามวตั ถุประสงค์....................................................................................................... 22 2.สรปุ ผลการดำเนนิ งานตามชี้วัดความสำเรจ็ ........................................................................................... 22 3.จดุ เด่น/จดุ ควรพฒั นา ........................................................................................................................... 23 4.ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาโครงการ .................................................................................................... 23 เอกสารอ้างอิง ............................................................................................................................................. 24 ภาคผนวก ................................................................................................................................................... 25 1.แบบประเมนิ ผลโครงการ...................................................................................................................... 26 2.หนังสอื รบั รองการใช้ประโยชน์จากผลงานโครงการหรืองานสรา้ งสรรค์................................................. 28 3.ภาพกิจกรรม (ก่อนดำเนนิ โครงการ/ระหวา่ งดำเนนิ / และเม่ือสน้ิ สดุ โครงการ)...................................... 31

1 บทท่ี 1 บทนำ หลกั การและเหตผุ ล ปจั จบุ ันแอพพลิเคชั่น LINE คอื คอื แอพพลเิ คชั่นท่ผี สมผสานบริการ Messaging และ Voice Over IP นำมาผนวกเขา้ ดว้ ยกนั จึงทำให้เกดิ เปน็ แอพพลิเคช่ันทีส่ ามารถแชท สรา้ งกลุม่ ส่งข้อความ โพสต์รปู ตา่ ง ๆ หรือจะ โทรคยุ กันแบบเสียงกนั ไดโ้ ดยขอ้ มูลทั้งหมดไม่ต้องเสยี เงนิ หากเรา ใช้งานโทรศัพทท์ ่ีมีแพคเกจอนิ เทอรเ์ นต็ อยแู่ ล้ว แถมยงั สามารถใชง้ านรว่ มกนั ระหวา่ ง iOS และ Android รวมทง้ั ระบบปฏบิ ตั ิการอื่น ๆ ได้อีกด้วยการทำงานของ LINE นั้น มลี กั ษณะคลา้ ย ๆ กับ WhatsApp ท่ีต้องใชเ้ บอร์โทรศัพท์เพ่ือยนื ยันการใช้งาน แต่ LINE ไดเ้ พมิ่ ลูกเลน่ อ่ืน ๆ เข้ามาทำให้ LINE มจี ดุ เดน่ ทเี่ หนือกวา่ WhatsApp ทำให้ได้รับความนิยมสงู สุดและไลนน์ นั้ มีฟเี จอรห์ ลายอย่าง ที่ เปน็ จดุ เด่นทำใหม้ ีความแตกต่างจากแอพพลเิ คชั่นอื่น โดยเฉพาะสตกิ เกอร์ไลน์ทีม่ ีท้ังภาพและ ตัวหนงั สือเพ่ือทีจ่ ะได้ สามารถสือ่ สารกับผตู้ ดิ ต่อได้อยา่ งมีประสิทธ์ิภาพ วตั ถุประสงค์ โครงการออกแบบสตกิ๊ เกอร์ Line มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อสร้างหรือออกแบบสติ๊กเกอรไ์ ลน์สำหรับการส่ือสารทสี่ ะดวกสบาย 2. เพอ่ื ให้ผ้จู ดั ทำโครงการมรี ายได้ระหว่างเรยี นและใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ โครงการออกแบบสติ๊กเกอร์ Line มตี วั ชว้ี ัดความสำเร็จในการดำเนินงาน ดังน้ี 1. เชงิ ปริมาณ ผลิตและจดั จำหนา่ ย สติก๊ เกอร์ Line ถงึ 10 คน 2. เชงิ คุณภาพ สามารถผลิต สต๊ิกเกอร์ Line ได้ 1 เซต็ ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั โครงการออกแบบสติ๊กเกอร์ Line มผี ลทคี่ าดวา่ จะได้รบั ดังนี้ 1. ลูกคา้ จะไดร้ บั สติ๊กเกอร์ Line ในส่วนของรูปแบบที่ลูกค้าตอ้ งการ 2. ผจู้ ัดทำโครงการมรี ายได้ระหวา่ งเรยี นและใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์

2 บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง โครงการออกแบบสตกิ๊ เกอร์ Line มีเอกสารที่เกย่ี วข้องกบั การดำเนินงาน ดงั น้ี 2.1 ทฤษฎกี ารสือ่ สาร 2.1.1 องคป์ ระกอบของการสอ่ื สาร 2.1.2 การสือ่ สารภายใน-ภายนอก 2.1.3 แนวคิดการสอื่ สารระหว่างบคุ คล 2.2 ทฤษฎกี ารคดิ สร้างสรรค์ 2.3 หลักการวาดการ์ตูน 2.3.1 ความหมายของการต์ นู 2.3.2 การเขียนภาพการต์ ูน 2.3.3 การวาดการ์ตูนขัน้ พื้นฐาน 2.4 ทฤษฎีสีกบั การออกแบบงานกราฟฟกิ 2.4.1 ทฤษฎีและการใชส้ ี 2.4.2 ทฤษฎสี ี และ จิตวทิ ยาในการใชส้ ี 2.5 แนวทางการออกแบบสติกเกอร์ 2.5.1 แนวทางสำหรับภาพสติกเกอรภ์ าพหลักและภาพแทบ็ 2.5.2 แนวทางสำหรบั ข้อความโปรยตา่ ง ๆ 2.5.3 ข้อกำหนดเกย่ี วกับธรุ กิจการโฆษณาและข้อกำหนดอ่ืน ๆ 2.5.4 ประเภทไฟลส์ ติกเกอร์ 2.5.5 ขนาดจำนวนและข้อความในสติกเกอร์Lineแตล่ ะชุด 2.5.6 การเว้นระยะขอบสติกเกอร์Line

3 2.1 ทฤษฎีการส่ือสาร การสอ่ื สาร คือ กระบวนการสง่ สารและรับสาร (Message) สารในท่ีนหี้ มายถึง ความรู้สึก ความคดิ ความรู้ ความตอ้ งการ เปน็ นามธรรม จับตอ้ งไมไ่ ดร้ ับรู้ไดด้ ว้ ยสมองหรอื จิตเอกสาร จดหมาย หนังสือพิมพ์เหล่าน้ีไม่ใช่สาร ตัวหนังสอื ที่อยูในเอกสารจดหมาย หรือหนังสอื พมิ พก์ ็ยัง ไม่ใช่สารแต่กใ็ กล้กบความเปน็ สาร สารคือความหมายที่มา กบั ตัวหนงั สอื เหลา่ น้ัน รวมท้งั ทีม่ ากบั ภาพ กับแบบตัวพิมพ์ กับการออกแบบจัดหน้า ทำใหเ้ กิดความรูส้ กึ ความคดิ ความรู้แก่ผู้อ่าน การส่ือสารตามความหมายทัวไป หมายถงึ การส่ือสารความรู้ความคดิ ความรสู้ ึก ความ เข้าใจ ระหวางบคุ คล(Imterpersonal Communication) เพ่ือความเขา้ ใจร่วมกนเพ่ือทำงานร่วมกนั องคป์ ระกอบของการ ส่ือสารเบ้ืองตน้ มี3 ประการคือผู้ส่งสาร ตวั สารและผ้รู ับสาร การสอ่ื สารเปน็ ส่ิงทีเ่ กิดข้นึ ในสิง่ มีชีวิตเทา่ น้ัน การ สื่อสารเปน็ สญั ญาณของการมีชีวติ ผทู้ ่ี ส่ือสารไมไ่ ด้ก็คือผ้ทู ี่ตายแล้ว การสอ่ื สารมรี ูปแบบ วิธกี ารหลากหลาย กว้างขวาง เมื่อจะทำความ เข้าใจการสอ่ื สาร เพือ่ ทจี่ ะนำทางความเข้าใจการต์ นู อกี ต่อหนึ่ง จึงตอ้ งพิจารณาทลี ะส่วน ทลี่ ะด้าน ตามเกณฑ์ท่จี ะพจิ ารณา รปู ภาพที่ 2.1 กระบวนการส่ือสาร S–M–C –R 2.1.1 องคป์ ระกอบของการสอ่ื สาร การสอ่ื สารเปน็ กระบวนการ (Process) หมายความวา่ การสอ่ื สารมี องค์ประกอบท่ี สง่ ผลตอ่ เน่อื งกนั ท่รี จู้ กกนั ดใี นหม่ผู ู้ทำงานดา้ นการสอ่ื สาร S - M - C - R โดยมกี ารกระทา เชื่อมโยง ระหว่างกนั เพ่ือให้เกิดเปน็ กระบวนการสือ่ สาร รวมทง้ั ส่งิ รบกวน (Noise) ดังน้ี S = Sender หมายถงึ ผู้สางสาร- เป็นจดุ เรมิ่ ต้นของการสื่อสารแต่ละคร้งั M = Message หมายถงึ สาร - เป็นความรู้ ความคดิ ความรู้สึก ที่ผู้ส่งสารถา่ ยทอดออกไป จะโดยตง้ั ใจหรอื ไม่ก็ตาม (เชน่ กลน่ิ ปากเปน็ สารที่ผู้ส่งสารไม่ตั้งใจถา่ ยทอด แต่เป็นสงิ่ ทีผ่ อู้ ื่นรับรู้ได้) สารเป็นนามธรรม เปน็ เจตนารมณ์ของผู้ ส่งสาร จับ ตอ้ งไม่ไดต้ ัวอย่างเชน่ จดหมาย-จดหมายไม่ ใส่สาร แมแ้ ตต่ ัวหนังสือในจดหมายก็ไม่ใช่สาร แมว้ ่าจะใกล้ ตวั มากท่ีสุดแล้วกต็ าม ความหมาย หรือเรอื่ งราวในจดหมายต่างหากคือ สาร คำกล่าวที่วา่ “อ่านระหวา่ งบรรทัด” ก็ คือการอา่ น “สาร” ท่ีแทรกซ้อนมาโดยไม่ไดเ้ ขียนออกมาใหอ่านไดต้ รงๆ น่ันเอง C = Channel หมายถงึ ช่องทางส่งสารในกรณีท่ีเป็นการสื่อสารทางตรง (Cirect Communication – ผสู้ ง่ สารสาร กบั ผรู้ ับสารเผชิญหน้าโดยตรง) ช่องทางสง่ สารก็คือ ภาพ รส กลิ่น เสยี ง สมั ผสั และจติ ในกรณที เ่ี ปน็ การสือ่ สาร ทางอ้อม (Indirect Communication -ผสู้ ่งสาร กับผูร้ บั สารไมไ่ ดอ้ ยู่ในทเ่ี ดียวกัน ) ต้องใชส้ ่ือ(Media - พหูพจน์

4 Medium) เปน็ ตัวแทนสง่ สารเชน่ จดหมาย เอกสาร ในการท างานด้านการสื่อสารซง่ึ มักจะเปน็ การส่ือสารทางอ้อม ตัว C - Channel นจ้ี งึ มกมั ีความหมายวา่ เปน็ Media ไปด้วยโดยปริยายในกรณีการต์ นู , การต์ ูนคือส่อื ชิดหนึ่ง R = Receiver หมายถึงผู้รบั สารในกรณเี ปน็ การสอ่ื สารกบั ตัวเองผ้รู บั สารก็คือตวั เอง รูปภาพที่ 2.2 แนวคิดการส่อื สาร เงอ่ื นไขที่เชอื่ มโยงระหวา่ งผสู้ ่งสารกบั สารคอื แนวคิดการส่อื สาร ( Communication Concept) ซงึ่ มีได้ 2 อย่างคือ 1. สื่อสารเพ่ือความพอใจ / เข้าใจ ของตนเอง เรยี กว่า การส่ือสารแบบอตั นัย (Subjective Communication) 2. 2. สอ่ื สารเพอ่ื ความพอใจ / เขา้ ใจ ของผู้อ่นื เรียกว่า การสอ่ื สารแบบปรนัย (Objective Communication) รูปภาพที่ 2.3 การใช้ภาษา ส่งิ ท่ีเชื่อมโยงระหว่าง สารกบั สือ่ คอื การใชภ้ าษา (วิชาการส่อื สารเรยี กวา่ การ เข้ารหัส - Encoding) ซึ่งเป็น หน้าที่ของผู้ส่งสาร เมือ่ ผสู้ ่งสารมสี ารในใจแล้ว และกำหนดแนวคดิ ในการส่ือสารแล้ว จากน้ันกเ็ ป็นการใช้ภาษาทจ่ี ะ สอื่ สาร ซ่งึ มใี หเ้ ลือก2 ประเภท คือ วัจนภาษา / ภาษาถ้อยคำ (Verbal Language) อวัจนภาษา / ภาษาท่ไี ม่ใชถ่ ้อยคำ (NonVerbal Language) ในขั้นตอนน้ีอาจจะมีสงิ่ รบกวน (Noise) เปน็ อุปสรรคต่อการเขา้ รหสั ได้แก่ ทักษะการใช้ภาษา คณุ ภาพการ ผลิตสอ่ื เป็นต้น

5 รูปภาพท่ี 2.4 การตีความ ส่งิ ทีเ่ ชอื่ มโยงระหวา่ ง สื่อ กบั ผ้รู บั สาร คือ การตีความ (วิชาการสอื่ สาร การถอดรหัส - Decoding) ซ่ึงผู้รับสาร จำเป็นตอ้ งมีความร้คู วามเข้าใจ และทักษะในภาษาน้นั ๆ ในระดับหน่งึ จงึ จะถอดรหสั หรือ ตคี วามได้จามเจตนาของ ผู้สง่ สาร และเช่นเดียวกันกบั ขน้ั ตอนเขา้ รหัส, ขนั้ ตอนถอดรหสั ก็อาจมีNoise ได้อนั เกิดจาก สภาพแวดล้อม (เช่น แสงนอ้ ย, เสยี งดัง) หรอื อคติของผรู้ ับสารทโ่ี นม้ น้าวการตีความใหผ้ ดิ เพ้ียน สิง่ ที่เป็นเงือ่ นไขของการสื่อสารแต่ไมม่ ีอยู่ ในแผนภาพนยี้ ังมีอีกหลายอย่างแต่มีอยอู่ ยา่ งหน่งึ ซึ่งมีสว่ นช่วยให้การสอื่ สารการ์ตนู มปี ระสิทธภิ าพนัน้ คือทัศนคติ ทางบวก (Positive Attitude) ท่ีผรู้ บั สารมตี อ่ สื่อการ์ตูน อันเนอ่ื งมาจากคุณสมบัตขิ องส่ือการต์ ูนเอง ไดแ้ ก่ รปู แบบ ที่เป็นภาพ, เนือ้ หาที่เปน็ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละท่าทีในการสื่อสารแบบ Objective 2.1.2 การส่อื สารภายใน- ภายนอก การสอื่ สารแบง่ ตามเกณฑ์พ้ืนฐานที่สุด คือเกณฑภ์ ายใน/ ภายนอกรา่ งกาย มี2 ดา้ น คือ 1. การสอื่ สารภายในตนเอง 2.การส่อื สารภายนอก หรือระหวา่ งบคุ คลสาร (Message) ทส่ี ่อื หรอื ส่งถึง ม2ี ชนิด คือ การสอื่ สารภายใน สารทางกายภาพของการส่ือสารภายในตนเอง (Interpersonal Communication) คือ สาร (หรอื สารสนเทศ - Information) ท่อี ยูใ่ นนฮอรโ์ มนซึ่งเป็นโปรแกรมการทำงานของอวยวั ะส่วน ต่างๆ ของร่างกาย ให้ทา งานตามลำดับ ตามเวลา ตามปรมิ าณ ทีก่ า หนด เรยี กว่า “รหัสชีวิต” (Life Code) ท่ีถา่ ยทอดมาทางกรรมพนั ธสารทางจติ ภาพของ การสอื่ สารภายในตนเองคือความคิด อันเป็นการส่อื สารกบั ตัวเอง (Interpersonal Communication) โดยถือว่าผู้ ส่งงสารกับผู้รับสารเปน็ คนคนเดยี วกนั การเขียนภาพ หรือการเขยี นการต์ นู ประเภทท่จี ัดว่าเปน็ การสื่อสารกับตัวเอง ไดแ้ ก่ ภาพรา่ ง หรือภาพสเกต็ ซ์(Sketch) ซ่งึ ผวู้ าดทำ ขัน้ เพ่ือศึกษาหรอื อ้างอิงก่อนทจ่ี ะลงมือทำ ชิน้ งาน จริงอยา่ ง ประณตี อนั ทจ่ี รงิ ความหมายเดิมของคำวา่ “การต์ ูน” ก็หมายถึง ภาพร่าง นี่เองภาพที่เขียน เลน่ โดยไม่ตง้ั ใจ หรอื ใน ยามในลอย หรือ Doodle (อาจแปลว่า ภาพเขียนใจลอย) เปน็ ภาพทีเ่ ขียน ขัน้ ในระหวา่ งทท่ี ำอะไรบางอยา่ งอยู่เชน่ ฟงั บรรยายในห้องเรียน, รว่ มประชุม, โทรศพั ท์ เปน็ ต้น ภาพประเภทน้ีอาจจำนำมาศึกษาวเิ คราะหจ์ ติ ใจ ผเู้ ขียนได้แบบเดียวกับการใช้ภาพหยดหมึก

6 การสอื่ สารระหวา่ งบุคคล สารของการสื่อสารภายนอก หรอื การสอ่ื สารระหว่างบคุ คลกม็ ี2 ชนดิ เชน่ เดยี วกนั คือ ทั้งทางกายภาพกับ ทางจติ (ความรู้ ความคิด) สารของการส่อื สารภายนอกทางกายภาพ คอื สารท่ีมีการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนใน การติดต่อสัมพนั ธก์ นั เชน่ ในการถ่ายเลือด ในการสัมพันธร์ ่างกายและในกระบวนการทางเพศ เป็นตน้ สารของการสอ่ื สารภายนอกทางจติ ภาพ คือ ความรสู้ ึก ความคดิ ความรู้ ความ ตอ้ งการ ซงึ่ เปน็ ท่ีอยู่ใน กระบวนการส่ือสารตามปกติทว่ั ไป 2.1.3 แนวคิดการสอื่ สารระหว่างบคุ ล แนวคิดในการส่ือสาร คือแนวทาง หรอื กรอบความคดิ ทีจ่ ะกำหนดวธิ กี ารและ รายละเอียดในการสื่อสารให้ เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั เรือ่ งนีเ้ ปน็ เงือ่ นไขพนื้ ฐานอยา่ งหนง่ึ ในการ พจิ ารณาประเมินความสำเร็จของการสือ่ สารแต่ ละเรื่องว่า มากหรือน้อยกวา่ เป็นผลมาจากทิศทาง หรือทา่ ทดี ังกล่าว ท่ีสำคัญ เก่ียวขอ้งกบั การ์ตนู ก็คือ แนวคิดใน การสอ่ื สารเป็นเง่ือนไขท่มี สี ว่ น กำหนดความเป็นการ์ตูน หรือไม่เป็นการ์ตูนดว้ ยเมื่อมเี จตนาทีจ่ ะส่ือสาร - โดยเฉพาะ สอ่ื สารกบั ผูอ้ ่นื เครื่องมือสำคญั ทีจ่ ำเปน็ ต้องใช้กคือ ภาษา มภี าษาใหเ้ ลือก 2 ประเภทคือ ภาษาถ้อยคำ (Verval Language) กบั ภาษาท่ีไม่ใช่ถ้อยคา (Nonverbal Language) แต่ก่อนทจี่ ะใชภ้ าษาสื่อสารตอ้ งมี แนวคิดในการ สอ่ื สารเปน็ กรอบกำ กบั เสยี ก่อน จึงจะกำหนดวิธกี ารและรายละเอยี ดต่างๆ ให้เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั มแี นวคดิ ใน การสื่อสาร 2 แนว คอื การส่ือสารแบบอัตนยั (Subjective Communication) กบั การส่อื สารแบบปรนยั (Objective Communication) ชองนักการเมืองบางคนทั้งๆ ท่ไี มช่ อบแนวคดิ ของเขาหรือสง่ิ ท่เี ขาพูด, บางคนชอบ ฝีมอื วาดภาพของจติ กรบางคนทั้งๆ ท่ี ไมไ่ ด้ชอบส่ิงท่ีเขาวาด ประเดน็ อัตนัยท่พี ูดถึงไมใ่ ช่เรื่องลกั ษณะส่วนตวั (ซ่ึง หลีกเลย่ี งไม่ได้)แต่ เปน็ เรอื่ งของแนวคดิ ในการส่ือสาร ซง่ึ มีผลตอ่ การสอ่ื ภาษาและเจตนาตีความ

7 2.2 ทฤษฎีการคิดสร้างสรรค์ สร้างสรรคข์ องนักจติ วิทยาท่ีไดก้ลา่ วถงึ ทฤษฎขี องความคดิ สร้างสรรค์โดย แบ่งเป็นกล่มุ ใหญ่ๆ ได้ 4 กลุ่ม 1. ทฤษฎคี วามคิดสร้างสรรคเ์ ชิงจิตวิเคราะห์ นกั จติ วิทยาทางจิตวิเคราะห์หลายคน เช่น ฟรอยด์และครสิ ได้เสนอแนวคิดเก่ยี วกบัการเกิดความคิดสร้างสรรค์วา่ ความคดิ สร้างสรรค์ เปน็ ผลมาจากความขดั แย้งภายในจติ ใต้ สำนกึ ระหว่างแรงขับทางเพศ (Libido) กับความร้สู กึ รับผิดชอบทางสงั คม (Social conscience) ส่วน คูไบ และรัค ซง่ึ เป็นนักจิตวิทยาแนวใหม่กลา่ ว วา่ ความคิดสร้างสรรคนน์ น้ั เกดิ ข้ึนระหวา่ งการรู้สตกิ ับจติ ใตส้ ำนกึ ซ่ึงอยใู่ น ขอบเขตของจติ ส่วนท่ี เรียกวว่า จิตกอ่ นสำนกึ 2. ทฤษฎีความคิดสรา้ งสรรค์เชงิ พฤตกิ รรมนยิ ม นกจั ติ วิทยากลมุ่ นม้ี แี นวความคิด เกี่ยวกับเรือ่ งความคิด สร้างสรรคว์ า่ เป็นพฤติกรรมท่ีเกดิ จากการเรยี นรู้โดยเนน้ ที่ความสำคญั ของการเสรมิ แรงการตอบสนองท่ีถูกตอ้ งกบั สิง่ เรา้ เฉพาะหรอื สถานการณน์ อกจากน้ียังเนน้ ความสมั พนั ธท์ างปัญญาคือการโยงความสัมพนั ธจ์ ากสง่ิ เร้าหน่งึ ไปยังสง่ิ เรา้ ต่างๆ ทำใหเ้ กดิ ความคดิ ใหม่หรือสงิ่ ใหม่เกิดขึน้ 3. ทฤษฎคี วามคิดสร้างสรรค์เชิงมานษุ ยนิยม นกั จติ วิทยาในกลมุ่ นี้มีแนวคิดว่าความคดิ สรา้ งสรรค์เปน็ สิ่งที่ มนษุ ยม์ ตี ิดตวั มาต้งั แต่เกดิ ผู้ที่สามารถนำความคดิ สรา้ งสรรค์ออกมา ใช้ไดค้ ือผู้มสี ัจการแห่งตน คือรู้จักตนเอง พอใจ ตนเองและใชต้ นเองเต็มตามศักยภาพของตน มนุษยจ์ ะสามารถแสดงความคดิ สร้างสรรค์ของตนเองมาได้อย่าง เตม็ ท่นี นน้ั ขน้ึ อยกู่ บั การสร้าง สภาวะหรอื บรรยากาศที่เอ้ืออำนวย ได้กล่าวถงึ บรรยากาศท่ีสำคญั ในการสรา้ งสรรค์วา่ ประกอบด้วยความปลอดภยั ในเชงิ จติ วิทยาความมน่ั คงของจิตใจความปรารถนาทีจ่ ะเลน่ ความคดิ และการเปิดกว่าง ทจี่ ะรับประสบการณ์ใหม่ 4. ทฤษฎอี ูตา้ (AUTA) ทฤษฎีน้ีเปน็ รปู แบบของการพัฒนาความคดิ สร้างสรรคใ์ หเ้ กดิ ข้ึนในตัวบคุ คลโดยมี แนวคิดว่าความคดิ สรา้ งสรรคนน์ ัน้ มีอยู่ในมนุษย์ทุกคนและสามารถพฒั นาใหส้ ูงขึ้นได้การพฒั นาความคิกสร้างสรรค์ ตามรปู แบบอตู ้าประกอบด้วย 4.1 การตระหนัก (Awareness) คือ ตระหนกั ถึงความสำคัญของความคดิ สร้างสรรค์ทีม่ ีต่อตนเอง สงั คม ทั้งในปัจจบุ ันและอนาคต และตระหนักถงึ ความคิดสรา้ งสรรคท์ ม่ี ีอยใู่ นตนเองดว้ ย 4.2 ความเข้าใจ (Understanding) คือ มีความรู้ความเข้าใจอย่างลกึ ซึ้งในเรือ่ งราว ต่างๆ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั ความคดิ สร้างสรรค์ 4.3 เทคนคิ วธิ ี (Techniques) คอื การรเู้ ทคนิคในการพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ทั้งทีเ่ ป็นเทคนิคสว่ นบุคคล และเทคนิคทเ่ี ปน็ มาตรฐาน 4.4 การตระหนักในความจรงิ ของสงิ่ ต่างๆ (Actualization) คือ การรู้จกั หรือ ตระหนักในตนเอง พอใจใน ตนเอง และพยายามใช้ตนเองและพยายามใช้ตนเองเตม็ ศักยภาพ รวมทัง้ การเปิดกวา้ งรับประสบการณ์ต่างๆ โดยมี การปรบั ตวั ได้อย่างเหมาะสม การตระหนักถึง เพอ่ื นมนุษย์ด้วยกนั การผลิตผลงานด้วยตนเองและมคี วามคิดทย่ี ืด

8 หยนู่ เข้ากับทุกรปู แบบของชีวิตองคป์ ระกอบทั้ง 4 นจี้ ะผลกั ดนั ให้บุคคลสามารถดึงศกั ยภาพเชิงสรา้ งสรรคข์ อง ตนเองออกมาใช้ได้ จากทฤษฎีความคิดสรา้ งสรรค์ที่กล่าวมาแลว้ ทงั้ หมด จะเห็นวา่ ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ ทักษะท่มี ีในตวั บุคคลทุกคน และสามารถท่จี ะพฒั นาให้สูงขึ้นได้โดยอาศยัการเรยี นรแู้ ละ บรรยากาศที่เอือ้ อำนวย 2.3 หลักการวาดการต์ ูน 2.3.1 ความหมายของการต์ ูน การ์ตูน มาจากภาษาอังกฤษาวา่ cartoon หมายถึง ภาพวาดต่างๆทวี่ าดขึ้นโดยไม่เนน้ ให้ เหมือนกบความ เปน็ จรงิ ท้งั หมด โดยจะตัดทอนรายละเอยี ดออกมา ภาพการ์ตูนจึงเขยี นขน้ึ ดว้ ยรูป เสน้ แบบงา่ ยๆ โดยเนน้ คณุ ลกั ษณะพเิ ศษของรปู รา่ ง กรยิ า ท่าทาง หนา้ ตาอารมณ์ของคน สัตว์ วตั ถุ สง่ิ ของ การต์ ูนจัดเปน็ งานทศั นศลิ ป์ เพราะเปน็ งานศิลปะทร่ี บั รู้ไดท้ างการมองเห็น การ์ตูนนนั้ มัก ใช้ประกอบใน งานต่างๆ ทงั้ การ์ตูนประกอบหนังสือ ภาพยนตร์ แผนป้ายโฆษณา 2.3.2 การเขยี นภาพการ์ตนู ข้นั ตอนการเขียนภาพการ์ตูน มดี งั นี้ 1. กาหนดแนวคดิ เรม่ิ จากการจนิ ตนาการถงึ การต์ นู วาต้องการวาดออกมาในรปู แบบใด 2. กาหนดโครงสร้าง โดยการร่างภาพท่จี ะวาดเป็นโครงสรา้ งภาพรวม ด้วยเสน้ และรปู ทรง เรขาคณติ หรือ รูปทรงตา่ งๆ ผสมผสานกนั 3. กาหนดความรู้สกึ คือการถ่ายทอดอารมณค์ วามรู้สึกทีผ่ เู้ ขยี นต้องการใหป้ รากฎในภาพ การต์ นู นนั้ เพ่ือให้ ผูช้ มทราบวาตวั การต์ นู เหล่าน้ันมีอารมณค์ วามรู้สึกอยางไร 2.3.3 การวาดการต์ นู ขน้ั พน้ื ฐาน 1. การวาดใบหน้าจะแบ่งออกเป็น 3 สว่ นคือ 1.1 ชว่ งหนา้ ผาก 1.2 ช่วงตาถึงปลายจมูก 1.3 ชว่ งปลายจมกู ถงึ คางการวาดใบหนา้ มุมตา่ งๆ ให้มองรูปหน้าใหเ้ ปน็ 3 มิติ เปน็ สว่ นของวงกลม และวงรีท่ถี ูกตดั ส่วนทา้ ยออกไป เวลาวาดข้ึนเป็นรปู ทรงเรขาคณิตตามแบบ แลว้ ก็แบง่ ออก 3 ส่วน เติม ใบหน้าตามตำแหนง่ ตามหลักการวาดใบหนา้

9 รปู ภาพท่ี 2.5 การวาดโครงหน้า 2. การวาดรา่ งกาย หลกั การคือ ให้ขีดเส้น 9 เส้น ที่มีช่องไฟท่ีเท่ากน 8 ช่อง แล้วลองวาด ห่นุ ตามแบบโดย วางสดั สว่ นตามภาพคอื สว่ นหัวประมาณ 1 สว่ น ช่วงตัวลงมาประมาณ 2 สว่ น ช่วงเอวถงึ เปา้ ลงมา 1 สว่ น ช่วงขา บนลงมาประมาณ 2 ส่วน ชว่ งขาล่างถึงเท้าประมาณ 2 สว่ น *สงั เกตวา ช่วงศอกจะอยูในช่วงประมาณเอว และมือ จะเลยชว่ งเป้ากางเกงลงมาอีกเลก็ นอ้ ย* รูปภาพที่ 2.6 เส้นผมและทรงผม 3. การวาดทรงผม จะเห็นวา่ ทรงผมขั้นพ้นื ฐานทนี่ ำมาสรา้ งความแตกตา่ งใหต้ วั ละครได้ หลกั การวาดผมก็ คือ วาดเสน้ หลักห่างๆก่อน แล้วค่อยมาแยกเส้นยอ่ ยทหี่ ลัง โดยดูทิศทางแสงเงา ส่วนทถ่ี กู ซ้อนทับกนมากก็ลงเส้นถ่ี ข้นึ 4. การวาดแววตา มหี ลายแบบหลายสไตล์สามารถเลอื กตามความชอบ นักวาดการต์ ูนอาจ วาดตามสไตล์ ของตวั เอง หรอื ท าตามอยางแบบทวั่ ๆไปท่พี บเหน็ ตามหนังสือการต์ นู มีตัง้ แต่ดวงตา ง่ายๆ ไปจนถึงดวงตาท่มี ีความ ละเอียดสูง 5. การวาดมอื สดั สว่ นของมือคือ 2 ส่วน การวาดมือสามารถดมู ือตวั เองประกอบด้วย *ข้อควรระวงั * การวาดมือคือการสังเกตนิว้ หัวแมม่ ือวาหนั เข้าตวั หรือหันออกตัวในท่าทาง น้ันๆ

10 2.4 ทฤษฎีสกี ับการออกแบบงานกราฟิก 2.4.1 ทฤษฎแี ละการใชส้ ี สมี ีความสำคญั อยางมากต่องานออกแบบ โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในงานออกแบบกราฟิก เพระนอกจากจะทำให้ ภาพหรือสง่ิ ต่างๆ มคี วามสดใส สวยงาม และน่าสนใจ แล้วยงั มบี ทบาทในการสื่อ ความหมายได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมและมีคุณภาพอีกด้วย ในการใชส้ เี พ่ือส่ือความหมายในงานกราฟิกน้ัน ควรจะได้ศกึ ษาใหม้ คี วามรู้ความ เข้าใจเพ่ือท่ีจะไดน้ ำสีไปใช้ประกอบในงานกราฟกิ ให้งานนนั้ สามารถตอบสนองไดต้ รงตามจุดประสงคม์ ากท่สี ุด สคี อื อะไร สเี ป็นเร่อื งเกย่ี วขอ้ งกบชีวติ ประจำวนั ของคนมากมายโดยที่ไมไ่ ดน้ ึกถึงการทำความเขา้ ใจวา สคี ือ อะไร และถูกสร้างขน้ึ ได้อยางไรจะชว่ ยให้สามารถแกปัญหาตา่ งๆ ได้ แสงสี ขาวและสเปกตรัมของสี แสงสขี าวซ่ึงมีก าเนิดมาจากดวงอาทติ ยจ์ ริงๆแลว้ ประกอบดว้ ยสรี ุ้ง เม่ือ ส่องแสงผ่านปรซิ มึ แสงก็จะแตกออกมาเปน็ สเปกตรัมของสี สเี หลา่ นค้ี อื สี แดง แสด เหลอื ง เขยี วนำ้ เงนิ คราม และ สมี ว่ ง ซึ่งสีเหลา่ นี้คอื สเปกตรัมของแสงสีท่มี องเหน็ ไดผ้ า่ นปริซึม แต่ส่วนสเปกตรมั ท่ีมองไมเ่ หน็ ไดม้ คี ่า ค่าหนึ่งเปน็ ของตวั เอง ซึง่ เรยี กวา่ “ส”ี ซง่ึ สิ่งนั้นมี มากมายหลายลา้ น สี ความแตกต่างของสหี นงึ่ ไปยงั สี ถัดไปอาจจะมองไมเ่ หน็ ความแตกต่าง สเปกตรมั ของแสงที่มองเหน็ สามารถแบ่ง ออกได้มากกวา่ 1 สี แตก่ ลบั มองเห็นเป็นสีเดยี ว ซึง่ ขนึ้ อยู่กบั สที ่ีอยู่รอบข้างน้ันเปน็ เพราะวา่ สายตาของคนจะผสมสที ่ี อยู่ใกล้กนั ให้โดยอตั โนมตั ิ กาเนดิ แสงและแสงสะทอ้ น แสงกำเนดิ จากตน้ กำเนิดแสงที่มพี ลงั งาน เชน่ ดวงอาทิตย์ หลอดไฟฟ้าหรือ จอคอมพิวเตอร์ สว่ นแสงสะท้อนคือแสงท่ีกระทบกบวัตถุ แลว้ สะทอ้ นออกมาโดยท่มี ุมตกกระทบเทา่ กบมุมสะท้อน นีค่ ือแสงทมี่ องเหน็ เมื่อมองวตั ถุทีไ่ มไ่ ด้เปน็ ต้นกาเนิดแสง แสงทถ่ี กู ผลติ ออกมา โดยต้นกำเนดิ อาจจะประกอบไปด้วยสีท้ังหมด หรือสีผสม หรือ อาจจะเปน็ สีใดสีหนึง่ แสงท่ถี ูกผลิตจะเดินทางเปน็ เส้นตรงจากนน้ั กำหนดแสงมายังตา โดยยังคง สภาพของสที ี่ถกู สรา้ งไว้พอกระทบกบ วัตถุใดๆ ก็ตามวัตถุน้นั ก็จะดูดกลนื แสงบางส่วนไว้ แล้ว สะท้อนแสงบางส่วนออกมา สที ี่เห็นนน้ั เปน็ สีท่เี กิดจากการ สะท้อนของแสง รปู ที่ 2.7 กำหนดแสงและแสงสะทอ้ น

11 สงิ่ ที่สำคญั ประการหนึง่ ทต่ี ้องคำนึงถงึ ก็ คือ สามารถมองเห็นบางสงิ่ ก็เพราะวาสงิ่ นั้นให้แสงออกมา และเหน็ บางสงิ่ กเ็ พราะวาสงิ่ น้นั สะท้อนแสงไดเ้ มื่อสง่ิ ที่ให้แสงให้กำเนดิ แสงออกมา ส่งิ เหล่าน้นั กจ็ ะใหส้ ีทม่ี องเห็นเมื่อส่งิ น้ัน สะทอ้ นแสงออกมา สีถกู กำหนดโดยสขี องแสงท่ชี นกบั วตั ถุและสีของวัตถทุ ่ีสะท้อน แผนกระดาษสขี าวท่ีมีสีขาวก็เพราะว่ากระดาษสะทอ้ นทุกสีของแสงสีขาวไม่ดูดกลืนสีใดๆเลย ถา้ ฉายแสงสี นำ้ เงินไปในกระดาษสขี าว กระดาษจะกลายเป็นสนี ้ำเงนิ เพราะวากระดาษสขี าวจะสะท้อนแสงสีน้ำเงินออกมา อีก กรณหี น่งึ คือ ถ้าฉายแสงสีขาวไปบนกระดาษสีแดง กระดาษสีแดง จะกลายเป็นสแี ดง เพราะวาสที ั้งหมดยกเว้นสแี ดง จะถูกดดู กลืน ทฤษฎสี ี ความพึงพอใจความชอบและความไมช่ อบเกย่ี วกับสีของคนแตล่ ะคน แต่ละกลมุ่ เป้าหมาย มสี ว่ นทีช่ ักจงู ให้ เกดิ ความรูส้ กึ สนใจ และเข้าใจถึงคุณค่าของภาพเหลา่ นน้ั จะสามารถตอบสนอง แรงกระต้นุ ได้ตามวัตถุประสงค์เป็น เป้าหมายสำคัญของงานออกแบบมที ฤษฎสี ีเกยี่ วกบเรื่องสีท่จี ะช่วยใหค้ วามกระจ่างในเรื่องของความหมาย และ อทิ ธิพลของสีที่มตี อ่ การรับรู้ทัศนยี ภาพท่ีปรากฏ เพ่ือให้สามารถสื่อความหมายได้เปน็ อย่างดเี ป็นที่ยอมรบั และท่ีนยิ ม ใชก้ ันอย่างแพรห่ ลายมีอยู่ 4 ทฤษฎคี ือ 1. ทฤษฎตี ามหลักวิชาฟสิ ิกส์ จะอธิบายความหมายของสจี ากการมองเห็นโดยมีความเกยี่ วข้องกบเรื่องแสง ตามทฤษฎีสนี ้ี สี หมายถึง ส่วนประกอบของสเปกตรัม (Spectra Composition) แม่สแี สงนีป้ ระกอบด้วยสี 3 สี ได้แก่Red, Green, Blue ถา้ นำเอาแสงของสีท้ัง 3 สี มาผสมกันจะทำใหไ้ ดส้ ีใหม่อีก 3 สี 2. ทฤษฎีตามหลักวชิ าเคมี อธิบายความหมายของสีตามคุณสมบตั ิครีมมี่ทป่ี รากฏ คือ เปน็ สว่ นผสมท่ยี อ้ มขน้ึ (Dye) หรอื เป็นเน้อื แท้ ของสี (Pigment) ซงึ่ กำหนดแม่สีไวเ้ ปน็ 3 สี คือ สีแดง สีเหลอื ง สีน้ำเงิน ถา้ นำเอา เนื้อสีมาผสมกนั จะไดส้ ีใหม่อีก 3 สี 3. ทฤษฎีตามหลกั จติ วทิ ยา เป็นทฤษฎที เ่ี กยี่ วข้องกบส่ิงแวดลอ้ ม อันเป็นแรงกระต้นุ สิ่งเร้า ตามทฤษฎนี จ้ี ะอธิบาย คุณสมบัติของสตี าม สง่ิ เร้าประเภทต่างๆ ทีม่ องเห็นแม่สตี ามทฤษฎนี ีป้ ระกอบด้วย สีเหลอื ง สเี ขยี ว สีน้ำเงิน และสีแดง และถา้ น าสีทงั้ 4 มาผสมกันจะได้สีใหม่อีก 4 สี 4.ทฤษฎสี ีของมันเซลล์ (สีทใี่ ช้ในชีวติ ประจำวัน) สามารถอธบิ ายความหมายและคณุ สมบตั ขิ องสที ่ใี ช้ในชวี ติ ประจำวนั มนั เซลล์ (Munsell) ศลิ ปนิ ชาว อเมริกันได้กำหนดแมส่ ีเปน็ 5 สี ดว้ ยกัน คือ สแี ดง สเี หลอื ง สีเขียว สนี ้ำเงิน และสมี ว่ ง เมอ่ื นำ้ มาผสมกนั จะได้สีใหม่ อกี 5 สี

12 แม่สี (สขี น้ั ท่ี1 หรือสีปฐมภมู ิ) เปน็ สีทม่ี คี วามเข้มมากสามารถนาไปผสมใหเ้ กิดสตี า่ งๆ ได้มากมายหลายสีแม่สีมี3 สคี ือ สีแดง สเี หลอื ง สีนำ้ เงนิ สีข้นั ท่ี2 (สีทุตยิ ภมู ิ) เกิดจากการน าแม่สมี าผสมกนทลี ะคโู่ ดยมีอัตราส่วนเท่ากัน จะทำใหเ้ กดิ สมี าอกี 3 สคี ือ สี ส้ม สีเขยี ว สมี ่วง สขี ้นั ที่3 (สตี ติยภมู ิ) ได้จากการนำสีท่เี กดิ ขึน้ ใหม่ (สขี ้ันท่ี2) มาผสมกบั แม่สที ีละคู่ โดยมีอัตราสว่ นเทา่ กันจะทำให้ไดส้ ีใหม่อกี 6 สี คอื สีมว่ งแดง สีแสดแดง สเี หลืองแสด สีเขียวเหลือง สนี ้ำเงินเขยี วและสีน้ำเงนิ ม่วง ซ่งึ บางทีก็เรยี กวา่ วงล้อสี ธรรมชาติ วงลอ้ สธี รรมชาติ 1.สีทุกสใี นวงล้อเป็นสีแท้ (Hue) เพราะทกุ สจี ะมีความเขม้ หรอื ความสดใสในตัวของมนั เองซ่งึ เกดิ จากการ ผสมของแมส่ ี 2.เม่ือนำสีทุกสมี าผสมกนั ในอัตราสว่ นที่เทา่ กนจะทำให้เกิดเปน็ สีกลาง (Neutral) 3.สีทีอ่ ยใู่ กล้กันจะมคี วามกลมกลนื กนั เพราะเปน็ การผสมสีจากสีร่วมกัน เชน่ มว่ งแดง แดง และแสดแดง เป็นตน้ รปู ภาพที่ 2.8 วงลอ้ สีธรรมชาติ 4.สตี รงกนั ขา้ มในวงล้อสีจะมีลักษณะสีที่ตัดกันหรือเปน็ ปฏิปกั ษต์ ่อกนั เช่น สีแดง กับสีเขยี ว ฉะนัน้ ในวงล้อ สจี งึ มสี ีตดั กันอย่างแทจ้ รงิ (True Contrast) อยู่ 6 คู่ การนำสีตรงกันข้ามมาใช้ในงานออกแบบ จะช่วยทำใหภ้ าพ นา่ สนใจมากขนึ้ แต่ตอ้ งใชใ้ ห้ถูกหลกั การ คือ ไม่ควรใช้สีที่ตดั กนั อย่างแท้จรงิ ในสดั ส่วนท่ีเทา่ กนั ถา้ จะใช้ควรจะมี สดั ส่วนประมาณ 80 : 20 หรือมิฉะน้ันก็ต้องทำให้สใี ดสีหน่ึงหรือท้ังคลู่ ดความสดใสรนุ แรงลงไปทเี่ รียกว่า การเบรกสี ซงึ่ อาจทำได้โดย - การทำใหส้ ีอ่อนจางลงโดยเติมสขี าวลงไปในสีแท้ซง่ึ เรียกวธิ นี ี้วา่ “Value ” หรือ “Tint” เชน่ ผสมสีขาวลง ในสีแดง ทำให้ได้สีชมพู

13 - การทำให้สีเขม้ หรือสมี ดื เรยี กวา่ “Shade” วธิ กี ารก็คือ เตมิ สดี ำลงไปในสีแท้น้นั เช่น เตมิ สีดำลงไปในสี แดง อาจจะไดส้ แี ดงเลอื ดหมู - การใช้วธิ กี ารใช้สีเทา (สว่ นผสมของสีขาวกบสีดำ) ผสมลงเล็กนอ้ ย จะทำให้สนี ัน้ หมน่ ลง หรืออาจใชส้ ี ตรงกนั ข้ามเพียงเล็กน้อยก็จะทำให้สง่ิ นัน้ ลดความสดลงไปได้เชน่ กนั วรรณะสี (Tones) วรรณะของสี หมายถึงกลุ่มสีทีป่ รากฏใหค้ วามรูส้ ึกที่แตกต่างกันสงั เกตุจากวงลอ้ สจี ะปรากฏเป็น 2 วรรณะ คอื - วรรณะสีร้อน (Warm Tones) ลักษณะของสจี ะให้ความรสู้ กึ สดใสร้อนแรงฉูดฉาด หรือ รา่ เรงิ สีใน กลุม่ นีไ้ ด้แก่ สีเหลอื ง สีแดง สีแสดและสีที่ใกล้เคยี ง - วรรณะสีเย็น (Cool Tones) ความร้สู กึ ทปี่ รากฏในภาพจะแสดงความสงบ เยือกเยน็ จนถึง ความเศรา้ ไดแ้ ก่ สีนำ้ เงิน สมี ่วง สีเขยี วและสีทีใ่ กลเ้ คยี ง จิตวทิ ยาในการใช้สี แมว้ ่าจะมีทฤษฎเี ก่ียวกับสีอย่างมากมายแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการนำไปใช้งาน แต่ ลักษณะเฉพาะหรือคุณค่าเฉพาะของสแี ตล่ ะสยี อมจะเป็นตัวแทนของอารมณ์ต่างๆ ในวัตถุที่ มสี ีปรากฏขนึ้ ในตวั เม่ือ สายตาได้สัมผสั วตั ถุ ได้เหน็ ความแตกตา่ งหลากหลายของสีในวัตถุย่อมเกดิ ความรู้สึกต่างๆ ได้แก่ ตนื่ เต้น หนาวเยน็ หรือ อบอุ่น อ่อนหวาน นุ่มนวล หรอื แข็งกระด้าง และ นอกจากความรู้สกึ ท่ีเกดิ ขึน้ แลว้ ยงั เป็นทย่ี อมรับกันอีกวา่ สี เปน็ สญั ลักษณ์ของความคิดทาง นามธรรมบางประการอีกด้วย เช่น ความสงบสนั ติ การเคลือ่ นไหว อนั ตราย ความ ตาย อิทธพิ ลของ สีที่เก่ยี วเนื่องกบการรบั รู้และการจดจำสง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั มีผลกระทบต่อระบบประสาทสมั ผัสได้ ดกี ว่ารูปร่าง ลายเส้น หรือถ้อยคำตลอดจนเปน็ มโนทศั น์ตา่ งๆ การมีความรแู้ ละประสบการณใ์ น การเลือกใชส้ ีของ นกั ออกแบบ จงึ เป็นสว่ นสำคญั ทจ่ี ะทำใหเ้ อกสารเหล่านน้ั บรรลุเปา้ หมายตาม ต้องการได้ไมย่ ากนกั การเรียนรู้ถงึ อทิ ธพิ ลที่มตี ่อความรู้สกึ ของการมองสีแต่ละสี จงึ เป็นสงิ่ ทน่ี ่าศึกษาอย่างย่ิง

14 2.5 แนวทางการออกแบบสติกเกอร์ 2.5.1 แนวทางสำหรบั ภาพสติกเกอร์ ภาพหลกั และภาพเก็บ -ภาพสตกิ เกอรจ์ ะต้องไมม่ รี ปู แบบที่เหมือนกับท่ี LINE ได้ออกแบบไปแลว้ -ภาพทีไ่ มเ่ อื้ออำนวยการใช้สำหรบั บทสนทนาไม่ควรทำ -จะตอ้ งเป็นภาพวาดไมใ่ ชภ้ าพถ่าย -ภาพทด่ี ยู าก เช่น ทวิ ทศั น์ท่ีกวา้ งขวาง หรอื คาแรคเตอร์ท่ีสูงเกนิ ไปไม่ควรทำ -หา้ มสติกเกอรท์ ่ีส่วนสำคัญขาดสมดุล เชน่ สซี ดี จาง หรือ ไมต่ รงแถวตรงแนว -ภาพที่เปน็ แค่โลโก้เท่านัน้ ไม่ส่ืออารมณใ์ ดๆก็ไมส่ ามารถผ่าน LINE ได้ -ภาพทเ่ี ป็นแค่ขอ้ ความธรรมดาๆไมส่ ามารถผา่ นได้ -สติกเกอร์ท่ีสะกดคำผิด โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ สว่ นคำไทยตามสมัยนยิ มน้นั ก็ ไมค่ วร เชน่ รับแซบ่ , จบปะ่ , โอปะ่ หรอจงิ ดิ เปน็ ตน้ -ห้ามสติกเกอรแ์ ละขอ้ ความขัดแย้งกันรวมถึงคำอธิบายทีข่ ัดแยง้ กบั คนอ่ืน เชน่ วาดรูปคนสง่ หวั ใจแต่เขียนคำวา่ เกลียดมาก เป็นต้น -สติกเกอร์ชุด (40 ภาพ) กับสตกิ เกอรห์ ลกั หรือภาพทีโ่ ชว์บนแท็บจะต้อง แตกตา่ งจากทงั้ 40 สติกเกอร์ท่ใี ชส้ ่งสื่ออารมณต์ อนแชท - สติกเกอร์ต้องพรอ้ มขายภายใน Sticker Shop ด้วย ไมส่ ามารถทำส่งไปแล้วนำ กลับมาปรบั แต่งแก้ไขเพ่มิ เติมไดอ้ ีก 2.5.2แนวทางสำหรบั ข้อความโปรยตา่ งๆ ขอ้ กาหนดเกี่ยวกับข้อความโปรย ไม่ว่าจะเปน็ ชื่อสติกเกอร์, คำอธบิ ายเกยี่ วกบั สติกเกอร์, ชื่อผู้ออกแบบ และ ข้อความเก่ียวกับลิขสิทธ์มิ ดี ังนี้ - ข้อความต้องไม่มรี ูปแบบเดียวกันกับที่ LINE ได้ออกแบบไปแล้ว - ขอ้ ความต่างๆต้องสะกดถูกตอ้ งไมผ่ ิดพลาดด้วยประการท้งั ปวง จะอ้างว่าใชฟ้ อนตพ์ ิเศษ - ช่ือสติกเกอร์หรือคำอธิบายตอ้ งไมเ่ ป็นองค์ประกอบโฆษณา เช่น ดไู อเทม็ น้ีในสโตรภ์ ายในวนั น้ี หรือแค่ค้นหาดว้ ย “ชอ่ื สินค้าหรือสติกเกอร”์ ออนไลน์ - ข้อความท่ีมชี ื่อเวป็ ไซต์ หรือ URL ไมส่ ามารถทำได้ - ขอ้ ความท่ีมี่ emoji เช่นรูปหัวใจ หรือคาแรคเตอร์อน่ื ๆ ซึ่งมผี ลแตกต่างกันไปตามอปุ กรณ์ของ ผู้ใชง้ าน อยา่ งรูป ^_^ , @-@ แบบนีไ้ ม่สามารถทำได้ - ข้อความที่ขดั แย้งกบั สตกิ เกอร์ - ขอ้ ความทส่ี นั้ เกินไป

15 2.5.3 ลิขสิทธแิ์ ละกฎหมายที่เกี่ยวข้อง -สติกเกอร์นนั้ จะต้องไมผ่ ิดกฎหมายของแตล่ ะประเทศทวี่ างจำหนา่ ยซึ่งปัจจุบนั สามารถหาสติกเกอร์ไดท้ ั่วโลกเท่าที่ App Line พร้อมใหบ้ รกิ ารในประเทศน้นั ๆ -สตกิ เกอร์ท่ีผิดกฎหมายลิขสิทธ์ิ -ภาพทม่ี ีลขิ สทิ ธไิ์ ม่ชดั เจน เชน่ การต์ ูนเขยี นเลา่ เร่ืองต่อๆกันเองโดยแฟนการต์ ูน หรือเรยี ก วาแฟนฟิกชัน่ (Fan Fiction) ซง่ึ อา้ งอิงเนื้อหาตน้ ฉบับที่มีลิขสิทธแ์ิ มโ้ ครงเรื่อง เป็นคนละแบบกนั ก็ไมส่ ามารถนำคาแรคเตอร์น้ันมาทำสติกเกอร์ได้ -สติกเกอร์ซึ่งไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธ์ไิ ม่สามารถผ่านไดห้ ากทาง Line เห็นว่า Creator มีการทำผิดในข้อใดขอ้ หนึง่ หรือหลายข้อกระท่งั ทาง Lineพิจารณาวา่ ไมเ่ หมาะสมก็ สามารถหยดุ การจำหน่ายสตกิ เกอร์เหล่านั้นได้ทันที และแน่นอนว่าเงินท่ีสะสมมากจะโดนยดึ กลับไป 2.5.4 ประเภทไฟลส์ ติกเกอร์ สำหรับรูปแบบไฟลภ์ าพท่ที าง LINE ต้องการคอื PNG (อา่ นวา่ ปิง ย่อมากจาก Portable Network Graphics) ซึง่ ไฟล์ประเภทนี้จะมีพ้ืนที่หลังโปร่งใส สามารถกำหนดค่างา่ ยๆได้ในโปรแกรมกราฟกิ 2.5.5 ขนาด จำนวน และข้อความในสตกิ เกอร์ Line แต่ละชดุ ขนาดจะแบง่ ออกเป็น 3 รปู แบบ คือ ภาพหลัก (Main lmage) , ภาพสติกเกอร์ (Sticker lmage) และภาพแทบ็ ในห้องแชท (Chat room tab lmage) โดยทั้งหมดจะต้องมีความละเอียดของภาพ 72 dpi และโหมด สแี บบ RGB

16 บทที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน โครงการออกแบบสต๊กิ เกอร์ไลน์มีวธิ กี ารดำเนินงาน ดังน้ี ระยะเวลาดำเนินการ โครงการออกแบบสติ๊กเกอร์ไลน์มีระยะเวลาการดำเนินงานตง้ั แต่14 มิถนุ ายน 2564 ถึง -- ตลุ าคม 2654 แผนการปฏิบัติงาน โครงการออกแบบสต๊ิเกอร์ไลน์มแี ผนการปฏิบัตงิ านทีก่ ำหนดไว้ ดังนี้ วธิ กี ารดำเนนิ งาน ภาคเรยี นที่ 1 / 2564 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 1. เขยี นแผนการทำ โครงการ 2. ศึกษาหาข้อมลู 3. วเิ คราะหร์ ะบบงาน 4. มอบหมายหนา้ ท่ี รับผดิ ชอบ 5. การดำเนนิ โครงการ 6. การติดตามประเมินผล 7. สรปุ โครงการ

17 วธิ ดี ำเนินงาน โครงการออกแบบสติก๊ เกอร์ไลน์มวี ธิ ีการดำเนนิ งานท่ปี ฏบิ ัติ ดงั น้ี รายการ การดำเนินงาน การวางแผน (Plan) (เนอื่ งดว้ ย สถานการณ์ COVID – 19 เลขจำเปน็ ตอ้ งใชส้ ่ือ ออนไลน์ในการ พูดคยุ และสอื่ สาร และวางแผน) การปฏิบัติ (Do)

18 การตรวจสอบ/ ประเมินผล(Check) แนวทางการนำผล ประเมนิ ไปปรับปรุง (Act)

19 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน การประเมินโครงการออกแบบสติ๊เกอร์ไลน์ใชร้ ูปแบบการประเมนิ โครงการแบบประเมินประสทิ ธผิ ล และ ประสทิ ธิภาพ มีรายละเอยี ดดังน้ี 1. วิธีดำเนนิ การ ประเมนิ ผลการดำเนินงาน ไดด้ ำเนนิ การดังน้ี 1.1 เครอื่ งมือที่ใช้ในการประเมิน 1) แบบตรวจสอบรายการ ประเภทประเมนิ คา่ (Rating Scale) 2) แบบประเมินความพึงพอใจ ประเภทประเมนิ ค่า (Rating Scale) 1.2 วเิ คราะห์ข้อมูล ในการวเิ คราะห์ ดำเนนิ การดงั นี้ 1) วิเคราะห์ผลด้วยการหาค่าจำนวน ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ีย และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ⚫แบบตรวจสอบรายการ ⚫ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 2. เกณฑแ์ ละการแปลผลข้อมูล ⚫ การแปลผลจากคา่ ร้อยละ โดยใชห้ ลกั เกณฑ์ดังน้ี ระดบั 1 หมายถึง นอ้ ย หรือ ปรับปรุง (ต่ำกว่า 60 % ของศกั ยภาพทคี่ วรจะเป็น) ระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ หรอื ปานกลาง ( 60 % ถึง 69% ของศักยภาพท่ีควรจะเปน็ ) ระดับ 3 หมายถงึ ดี หรือ สงู ( 70 % ถงึ 79% ของศกั ยภาพที่ควรจะเป็น) ระดับ 4 หมายถึง ดมี าก หรือ สูงสดุ ( 80 % ขน้ึ ไป ของศกั ยภาพท่คี วรจะเป็น) ⚫ การแปลผลจากคา่ เฉลย่ี เลขคณติ ( ) โดยใชห้ ลกั เกณฑ์ 5 ระดับ ดงั นี้ คา่ เฉลย่ี เลขคณติ ( ) ความหมาย 4.50 – 5.00 ระดับการปฏิบัติมากที่สดุ / เหมาะสมมากทส่ี ุด 3.50 – 4.49 ระดบั การปฏิบัติมาก / เหมาะสมมาก 2.50 – 3.49 ระดับการปฏิบัติปานกลาง / เหมาะสมปานกลาง 1.50 – 2.49 ระดบั การปฏบิ ัตนิ ้อย / เหมาะสมนอ้ ย 1.00 – 1.49 ไม่มีการปฏิบตั ิ/ ควรปรับปรุง ⚫การแปลผลจากคา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (SD) โดยใช้หลกั เกณฑด์ ังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด,2545 )ใช้ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานไม่เกนิ 1.0

20 3.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนท่ี 1 ผลการดำเนนิ โครงการ หัวข้อประเมนิ X S.D. ความหมาย มากท่ีสดุ 1. ทา่ นคดิ วา่ ผลการดำเนนิ งาน/โครงการน้บี รรลุวัตถปุ ระสงคเ์ พียงใด 5.00 0.00 2. ทา่ นพอใจผลสำเร็จของงาน/โครงการตามเป้าหมายเพยี งใด 5.00 0.00 มากทสี่ ดุ 3. ความเหมาะสมของงบประมาณ 4.66 0.57 มากทีส่ ดุ 4. ความเหมาะสมของวัสดุอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการปฏิบตั ิงาน 4.33 0.57 มาก 5. ความร่วมมอื ของผรู้ ่วมงาน 4.33 0.57 มาก 6. ขั้นตอนของการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามกำหนดเวลา 4.66 0.57 มากทส่ี ุด 7. ผลงานตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายทำให้เกิดผลกระทบเพียงใด 5.00 0.00 มากท่สี ุด รวมเฉลีย่ 4.71 0.32 มากที่สดุ จากตาราง พบวา่ ประเด็นการการปฏบิ ัตติ ามข้นั ตอนและวธิ ดี ำเนินงาน โดย เฉลี่ยรวมอยู่ในระดับ เหมาะสมมาก ค่าเฉลี่ยร้อยละ94.2 สรุปได้ว่า เกณฑ์และการแปลผล ข้อมูล อยูใ่ นระดับดมี าก หรือ สูงสดุ ตอนที่ 2 การประเมนิ ผลงานโครงการหรืองานสร้างสรรค์ หวั ข้อประเมิน X S.D. ความหมาย ด้านเน้อื หา 1. ความถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ของเนอื้ หา 4.00 0.00 มาก 2. ความชดั เจนในการอธิบายเน้อื หา 4.00 0.00 มาก 3. การเรยี บเรียงเนือ้ หาทเี่ ขา้ ใจง่าย 4.66 0.57 มากทีส่ ุด 4. เนือ้ หาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงงาน 4.66 0.57 มากทส่ี ดุ 5. เน้ือหามสี าระและประโยชน์ สามารถนำไป 4.33 0.57 มาก ประยุกตใ์ ช้งานได้ในชีวิตประจำวนั ด้านการนำเสนอ 1. มคี วามชดั เจนของภาพ เสียง หรอื ตัวอักษร 3.66 0.57 มาก 2. การใชภ้ าษาถกู ต้องเหมาะสม 4.00 1.00 มาก 3. ความนา่ สนใจและเทคนคิ ท่ใี ชใ้ นช้นิ งาน 4.33 0.57 มาก 4. การดำเนนิ เรือ่ งอยา่ งต่อเนื่องเหมาะสมกับเวลา 4.33 0.57 มาก 5. การจดั วางองค์ประกอบเหมาะสม 4.66 0.57 มากท่สี ุด รวมเฉล่ยี 4.26 0.50 มาก

21 จากตาราง พบว่า ความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการออกแบบสติ๊เกอร์ไลน์ โดย มี เหมาะสมมาก มีค่าเฉล่ีย มากท่ีสดุ ( 4.66 SD =0.57 ) เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า เหมาะสมมาก มคี ่าเฉลย่ี ตำ่ สุด (3.66 SD =0.00) โดย มคี า่ เฉลี่ยรวม 4.26 อยู่ในระดับ เหมาะสมมาก ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD) =0.50 สรปุ ไดว้ า่ เหมาะสมมาก ตอนท่ี 3 ผลสำรวจความพึงพอใจ หัวข้อประเมิน X S.D. ความหมาย ดา้ นเนอื้ หา 4.33 0.70 มาก 1. ความถูกต้องครบถ้วนสมบูรณข์ องเนอื้ หา 4.44 0.72 มาก 2. ความชดั เจนในการอธิบายเนือ้ หา 4.22 0.66 มาก 3. การเรียบเรียงเนอื้ หาทเี่ ข้าใจงา่ ย 4.33 0.70 มาก 4. เนอื้ หาสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 4.33 0.70 5. เนอ้ื หามสี าระและประโยชน์ สามารถนำไป มาก ประยุกตใ์ ชง้ านได้ในชวี ติ ประจำวนั 4.55 0.52 มากที่สุด ด้านการนำเสนอ 4.66 0.50 มากทีส่ ุด 1. มคี วามชดั เจนของภาพ เสยี ง หรอื ตวั อกั ษร 4.44 0.52 2. การใชภ้ าษาถูกตอ้ งเหมาะสม 4.44 0.52 มาก 3. ความนา่ สนใจและเทคนคิ ทใี่ ชใ้ นชิ้นงาน 4.55 0.52 มาก 4. การดำเนนิ เรือ่ งอย่างตอ่ เนอื่ งเหมาะสมกับเวลา 4.43 0.61 มากที่สุด 5. การจดั วางองคป์ ระกอบเหมาะสม มาก รวมเฉลย่ี จากตาราง พบว่า ความพึงพอใจเกีย่ วกับโครงการออกแบบลายสกรีนเสอื้ โดย มี เหมาะสมมาก มีคา่ เฉลย่ี มากท่ีสดุ ( 4.33 SD = 0.52 ) เม่ือพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า เหมาะสมมาก มีคา่ เฉลี่ยตำ่ สุด ( 4.22 SD = 0.50) โดยมคี า่ เฉลย่ี รวม อย่ใู นระดบั เหมาะสมมาก ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD) = 0.61 สรุปไดว้ ่า เหมาะสมมาก

22 บทท่ี 5 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน การดำเนนิ งานโครงการออกแบบสติ๊เกอร์ไลน์มผี ล ดังน้ี 1. ผลการดำเนินงานตามวตั ถปุ ระสงค์ สภาพความสำเรจ็ ที่ วตั ถปุ ระสงค์ บรรลุ ไมบ่ รรลุ รอ้ ยละ ผลการดำเนนิ งาน ผใู้ ชส้ ามารถสอ่ื สาร 1 เพอ่ื สร้างหรือออกแบบสต๊ิกเกอร์ไลนส์ ำหรับการ √ 80% ไดอ้ ยา่ งสดวกมาก ขึ้น และงา่ ยต่อการ ส่ือสารทส่ี ะดวกสบาย เข้าใจในการสื่อสาร สามารถสรา้ ง 2 เพื่อให้ผู้จัดทำโครงการมีรายได้ระหว่างเรียนและใช้ √ 80% รายได้ระหว่าง เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ เรยี นได้ 2. สรุปผลการดำเนินงานตามตวั ช้วี ดั ความสำเร็จ สภาพความสำเรจ็ ที่ เปา้ หมายของ โครงการ บรรลุ ไม่บรรลุ ร้อยละ ผลการดำเนินงาน สติ๊กเกอรเ์ ชต็ ท่ี 2 เชงิ ปรมิ าณ ผลิตสต๊กิ เกอร์ Line 2 เช็ต √ 50% ไมไ่ ดร้ ับการอนุมตั ิ จาก LINE Market เชงิ คณุ ภาพ สามารถผลติ สต๊กิ เกอร์ Line ได้ 1 เซ็ต √ 90% ได้รบั การอนุมัติ

23 (ขั้น ACTION) 3. จุดเด่น/จดุ ควรพัฒนา จดุ เด่นของโครงการออกแบบสต๊ิเกอร์ไลน์ มี ดงั นี้ 1. ความสดวกสบายในการส่อื สารด้วยสติก๊ เกอร์ไลน์ 2. ใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ได้ 3. ไดร้ ับรายได้ระหว่างเรียน จุดท่คี วรพฒั นาของโครงการออกแบบสต๊ิเกอร์ไลน์ มี ดงั นี้ 1. ออกแบบลายสต๊กิ เกอรใ์ หม่ๆ 2. ใช้ระยะเวลาในการ Create แบบสติ๊กเกอร์ 4. ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนาโครงการ ออกแบบสต๊ิเกอรไ์ ลน์ มี ดงั นี้ 1. ย่นระยะเวลาในการออกแบบและผลติ สตก๊ิ เกอรใ์ หม่ๆ 2. ลงชื่อ....................................................... ลงช่ือ....................................................... (นายธนกฤต เศรษฐธี ร) (นางสาวสาวณิ ี บุญทวงศ์) ประธานโครงการ หัวหนา้ สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ ลงชือ่ ....................................................... (นางสาวพรี พร กาญจนอทุ ยั ศริ ิ) รองผอู้ ำนวยการฝา้ ยวชิ าการ

24 เอกสารอ้างองิ Line Creators Market. แนวทางการทำสติ๊กเกอร์. แหลง่ ทมี่ าข้อมูล : https://creator.line.me/th/stickermaker/ (วันทีส่ บื คน้ 28 กนั ยายน พ.ศ. 2564). Mango Zero. การลงทะเบยี นเปิดรา้ น และขายสต๊ิเกอร์. แหลง่ ท่ีมาข้อมูล : https://www.mangozero.com/how-to-created-your-own-sticker-line/ (วันทีส่ บื คน้ 30 กนั ยายน พ.ศ. 2564). กระปุกดอทคอม. Line แอพ แชทยอดฮิต. แหลง่ ทมี่ าข้อมูล : https://line.kapook.com/view64457.html (วันทส่ี บื คน้ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564). Research.Siam. วธิ ีการผลติ สตกิ๊ เกอร์. แหลง่ ท่ีมาข้อมูล : https://e-research.siam.edu/kb/sticker-line-creator-market-how-to-produce-stickers-line-creator- for-market/ (วันทส่ี ืบคน้ 2 ตลุ าคม พ.ศ. 2564).

25 ภาคผนวก 1. แบบประเมนิ ผลโครงการ 2. หนงั สือรบั รองการใช้ประโยชน์จากผลงานโครงการหรอื งานสรา้ งสรรค์ 3. ภาพกจิ กรรม (กอ่ นดำเนินโครงการ/ระหวา่ งดำเนิน/ และเมื่อสน้ิ สุดโครงการ)

26 1.แบบประเมินผลโครงการ ภาพประเมนิ โครงการ (นักเรียน) ภาพประเมนิ โครงการ (อาจารย)์

27 ภาพประเมินโครงการ (ผลสำรวจความพึงพอใจของลกู คา้ ที่ซอื้ สนิ คา้ )

28 2. หนังสอื รบั รองการใชป้ ระโยชนจ์ ากผลงานโครงการหรอื งานสรา้ งสรรค์

29

30

31 3. ภาพกิจกรรม (กอ่ นดำเนินโครงการ/ระหวา่ งดำเนิน/ และเม่ือสน้ิ สดุ โครงการ) ก่อนดำเนินโครงการ ระหว่างดำเนนิ สนิ้ สดุ โครงการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook