การปรนนบิ ตั บิ ารุง ๑.ผบช.มงุ่ หวงั ในการปบ. ในหนา้ ทพ่ี ลขับ (ขัน้ ท่ี ๑)น้ันเพอื่ ประสงคอ์ ะไร ก.ตอ้ งการใหม้ งี านทา ข. เพื่อตอ้ งการเบิก สป. ค.เพื่อเอาไปแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง ง.เพ่ือรักษาง.ยุทโธปกรณแ์ ละเพอื่ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ๒.การปบ. เม่ือตรวจพบข้อบกพร่องหรอื ทางานไมส่ มบูรณเ์ กนิ ขั้นที่ ๑พลขบั ต้องปฏิบัตอิ ย่างไร ก.แขวนป้ายชะงักใชง้ าน ข.รายงาน ผบช.ทราบทันที ค.ทาการแกซ้ อ่ มเองไดเ้ ลย ง.ส่งซอ่ มตามสายงานของ ผบช. ๓.จา่ สิบเอกปยิ ะทัศนฯ์ นา รยบ.บรรทุกนา้ ขนาด ๕,๐๐๐ ลติ รไปสง่ น้าขณะวง่ิ อย่ไู ดย้ นิ เสยี งเครือ่ งยนตด์ ังไมส่ มา่ เสมอแล้วจดจา ไป ปบ.เม่อื ถึงหนว่ ยถือว่าเป็นการ ปบ.ห้วงใด ก.การ ปบ.ขณะใช้งาน ข.การ ปบ.ขณะหยุดพกั ค.การ ปบ. หลงั ใชง้ าน ง.การ ปบ.กอ่ นใช้งาน ๔.ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งแล้ว ก.การ ปบ.ขน้ั ๑ เปน็ งานในหน้าทีพ่ ลขับทากไ็ ดไ้ มท่ าก็ได้ ข.การ ปบ.ขน้ั ๑ เป็นการตรวจสภาพทว่ั ไปเพ่ือให้ทราบข้อบกพรอ่ งของยุทโธปกรณ์ ค.การ ปบ.ขน้ั ๑ ต้องทาบอ่ ยๆ เพ่ือจะไดน้ าไปเบิก สป. ง.ทก่ี ลา่ วมาแลว้ ถกู ต้องทกุ ข้อ ๕.การปบ.ในหน้าท่ีพลขับ (ขนั้ ท่ี ๑)มกี ารปบ.หลักอยู่ ๓ ขนั้ คอื ข้อใด ก.ก่อนใชง้ าน ขณะใชง้ านและหลังใช้งาน ข.ก่อนใชง้ าน ขณะหยุดพักและขณะใช้งาน ค.ขณะหยดุ พกั ขณะใช้งานและในโรงรถ ง.หลังใช้งาน ขณะใช้งานและในโรงรถ ๖.การปรนนิบัตบิ ารุงเปน็ หวั ใจสาคัญ พลขบั จะละเลยเสยี มิได้ คือการ ปบ.ประเภทไหน ก.การ ปบ.รอบ ๓ เดือน ข.การ ปบ. รอบ ๖ เดอื น ค.การ ปบ.ประจาวนั ง.การ ปบ.ประจาสัปดาห์ ๗.กอ่ นนา รยบ.ออกไปใชง้ าน พลขับทาการตรวจสภาพเรียบรอ้ ย เป็นการตรวจสภาพทั่วไปดว้ ยอะไร ก.ตรวจสภาพดว้ ยหู ข.ตรวจสภาพด้วยความชานาญ ค.ตรวจสภาพดว้ ยจมูก ง.ตรวจสภาพด้วยสายตา ๘. พลขบั ทุกคนท่ีนารถออกใช้งานจะตอ้ งมีบตั รการใชร้ ถประจาวันเสมอ แตม่ ีข้อยกเวน้ อะไรบา้ ง ก. ขับรถเข้าขบวน,ขบั รถพยาบาลฉกุ เฉนิ ข. ขับรถพยาบาลฉุกเฉนิ ,ขับรถปฏิบัติงานทางยทุ ธวธิ ี ค. ขับรถปฏบิ ัตงิ านทางยุทธวิธ,ี ขบั รถรับสง่ ทหารกองเกียรตยิ ศ ง. ขบั รถเข้าขบวน,ขบั รถปฏบิ ัตงิ านทางยทุ ธวิธี ๙. การ ปบ.ประจาวนั จะปฏบิ ัตใิ นกรอบของแบบพิมพ์ อะไร ก. ทบ. 468 – 360 ข. ทบ. 468 – 310 ค. ทบ. 468 – 201 ง. ทบ. 468 – 378 ๑๐. พลขบั จะกระทาการ ปบ.ขณะใชง้ าน จะกระทาการไดอ้ ยา่ งไร ก. ตรวจดูรอยบริเวณใต้รถ ข.ฟงั เสยี งและกลน่ิ ทีผ่ ิดปกติ ค. ตรวจเครอื่ งช่วยความปลอดภัยขณะขับรถ ง. สงั เกตดูระดบั น้าในเครอ่ื งวดั ขณะขับรถ
แผนกวิชาการจูโ่ จมและส่งทางอากาศ การสนบั สนุนทางอากาศโดยใกล้ชดิ 1.ข้อใดคือความหมายของการสนบั สนนุ ทางอากาศโดยใกล้ชิด ก. การปฏบิ ตั ทิ ่ีลึกเขา้ ไปในดนิ แดนขา้ ศกึ เปา้ หมายไมจ่ าเป็นตอ้ งมกี ารควบคมุ ปฏิบตั ไิ ดต้ ามเสรี ตามความรเิ รมิ่ ของกองทพั อากาศ ข. การปฏบิ ัติทางอากาศหรือการโจมตีทางอากาศท่ีกระทาต่อเป้าหมายของ ขศ. บนผวิ พื้น โดยการร้องขอจากหน่วยภาคพ้ืน ค. การปฏิบตั ิไปตามความริเร่มิ ของกาลังทางอากาศหลงั จากได้วางแผนรว่ มกบั หนว่ ยกาลงั ภาคพ้ืน ง. การปฏบิ ัตทิ างอากาศหรอื การโจมตีทางอากาศที่กระทาต่อเป้าหมายที่ลึกเขา้ ไปในดินแดนของ ขศ. หลงั จากได้วางแผนร่วมกับกาลังทางอากาศ 2.ข้อใดไมจ่ ดั วา่ เปน็ ประเภทของการสนับสนุนโดยใกลช้ ดิ ก. การคมุ้ กันขบวนเดินเทา้ ข. การบนิ คมุ้ กัน ค. การโจมตีทางอากาศ ง. การขดั ขวางทางอากาศ 3.ผู้ควบคมุ อากาศยานหน้าคือใคร (FAC) ข. นายทหารอากาศ (นักบนิ ) ก. ผตู้ รวจการณ์ทไ่ี ด้รบั การฝกึ ง. ถกู ทุกข้อ ค. ผบู้ ังคบั หนว่ ยทีผ่ ่านการอบรม 4.ในการจดั หนว่ ยควบคมุ ทางอากาศยุทธวิธี จะมีชุดผู้ควบคมุ อากาศยานหนา้ (ชผคน)ที่จัดส่งออกไปปฏิบตั ิการรว่ มกับหน่วย กาลงั ภาคพ้นื มีหน้าทใี่ ห้คาแนะนาต่อ ผบ.หน่วยนั้นเกีย่ วกับการขอใชก้ าลังทางอากาศและทาหนา้ ทส่ี ่งคาขอไปยงั หนว่ ยเหนือที่มี อานาจในการสั่งใชก้ าลังทางอากาศ อยากทราบว่า ชผคน.จะจดั ส่งไปหนว่ ยถงึ หน่วยภาคพ้นื ระดบั ใด ก. กองทัพภาค ข. กองพล ค. กองกาลังผสม ง. กรมและกองพนั 5.ข้อใดเป็นคุณสมบัตขิ องผ้นู าอากาศยานหนา้ FORWARD AIR GUIDE (FAG) ก. มีความรู้ยุทธวธิ ีภาคพืน้ และยทุ ธวธิ อี ากาศยาน ข. มคี วามรภู้ าษาอังกฤษและการอา่ นแผนที่ ค. ผา่ นการอบรมหนา้ ท่ี ผนอ. (FAG) ง. มีควมารู้การติดต่อสื่อสาร,ยุทธวธิ ีภาคพื้นและยุทธวิธอี ากาศยาน 6.พ้นื ท่ีในการสนับสนนุ ทางอากาศโดยใกลช้ ิด ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. จากหนา้ สดุ ของการวางกาลังฝ่ายเราไปจนถึงขอบหนา้ ของเขตภายในขา้ ศกึ ข. จากแนวประสานการยิงสนบั สนุนและเขา้ ไปในเขตภายในข้าศึก ค. จากขอบหนา้ พื้นทีก่ ารรบไปจนถงึ แนวประสานการยงิ สนบั สนุน ง. จากขอบหน้าพืน้ ที่การรบไปจนถงึ เขตภายในขา้ ศึก 7.การสง่ คาขอทนั ที(เรง่ ดว่ น) จะตอ้ งใหค้ าขอถึงผู้มีอานาจอนุมตั ิการใช้ บ. ของ ทอ. และจะไดร้ ับการตอบสนองในเวลาอย่างช้า เท่าไร ? ก. 2 ช่วั โมงเข้ารหสั ข. 6 ชั่วโมงเขา้ รหัส ค. 2 ชั่วโมงไมเ่ ขา้ รหสั ง. 6 ชัว่ โมงไมเ่ ข้ารหัส 8.คาขอทนั ทีทันใดมีหวั ขอ้ อะไรบา้ ง ? ก. ใคร อะไร ทไี่ หน เม่อื ไร อย่างไร เท่าไร ข. ใคร อะไร ท่ไี หน ทาไม เมื่อไร ค. ใคร อะไร ท่ไี หน เมือ่ ไร ทาไม อย่างไร ง. ใคร อะไร ท่ไี หน อย่างไร
9.กอ่ นท่ีเครื่องบินจะออกจากจดุ บนิ วน(CP) นกั บนิ จาได้รับขอ้ มูลข่าวสารจากหน่วยภาคพื้นในเร่อื งใดบ้าง ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ ง ก. สภาพอากาศ ลักษณะทหี่ มาย สถานการณ์ข้าศึก ข. นามเรียกขาน จานวนละแบบอากาศยาน เวลาในการใหก้ ารสนบั สนนุ ค. สภาพอากาศ ลักษณะท่ีหมาย สถานการณ์ข้าศึกและการต่อต้าน แนวกาลังฝ่ายเดียวกนั การยิงของ ปืนใหญ่ ง. นามเรยี กขาน ลักษณะที่หมาย สภาพอากาศ เวลาในการใหก้ ารสนับสนนุ 10.หลังจากเครื่องบินโจมตีเป้าหมายแลว้ หนว่ ยภาคพ้ืนจะต้องรายงานผลการโจมตีเปา้ หมายใหน้ ักบนิ ทราบ ข้อใดกลา่ วไม่ ถูกต้องในขั้นตอนนี้ ก. แจง้ ตาบลระเบิดหรือตาบลกระสนุ ตก ข. แจ้งผลการทาลายเป้าหมายเป็นเปอร์เซน็ ต์ ค. แจ้งเวลาระเบิดกระทบเป้าหมาย ง. ปรบั แกต้ าบลกระสุนตกใหน้ ักบนิ 11.การพิสูจน์ฝ่ายเพ่ือต้องการทราบวา่ เปน็ หนว่ ยทหารฝา่ ยเดยี วกนั สิ่งทตี่ ้องแสดงน้ันอย่างไร ? ก. แผ่นผ้าสัญญาณ VS - 17 ปูเปน็ ตัวอักษร ข. ลข.ควันสแี ดง ค. ทศั นสญั ญาณ ง. หมายแนว หมายที่ต้งั 12.ในการเตรยี มการในระหวา่ งรออนมุ ตั คิ าขอ และรออากาศยานมาสนับสนุน ผู้บังคบั หน่วยจะตอ้ งกระทา สงิ่ ใดบา้ ง? ก.ดารงการตดิ ต่อสื่อสารกบั ป. หน่วยเหนอื ข.ผบ.หน่วย ให้ พลวิทยุเป็นผูใ้ ช้วิทยุเพียงผเู้ ดยี ว ค.ให้กาลงั พลในหน่วยเฉลย่ี กระสนุ เตรยี มตะลุมบอน ง.ถกู ทขุ ้อ 13.ผู้นาอากาศยานหน้า (FAG) มหี นา้ ทีอ่ ย่างไร ก. นาอากาศยานเขา้ โจมตีเปา้ หมายได้ ข. รายงานสภาพอากาศ ค. แนะนา บ.โจมตี เก่ยี วกับทิศทางที่ปลอดภัย ง. ถูกทกุ ขอ้ 14.จดุ ที่ไดก้ าหนดอ้างทางภมู ิศาสตร์บนพน้ื ดนิ หรอื บนผิวนา้ ใชเ้ พ่อื เป็นตาบลใหเ้ คร่ืองบินหรือการส่งทางอากาศมาปรากฏทน่ี ัน้ คอื ความหมายอย่างไร ก. ที่ตงั้ ขา้ ศึก ข. จุดบินวน ค. ที่ตงั้ ฝ่ายเดียวกัน ง. ทิศทางการโจมตี 15.ในการปอู กั ษรรหสั บอกฝา่ ยเมอ่ื บ. ใกลถ้ ึงทต่ี ั้งหน่วย ใครต้องเป็นผสู้ ่ังใหป้ ูสญั ญาณ ก. นักบิน ข. ผบ.หน่วย ค. ผนอ. ง. หน.ชุดปแู ผน่ ผ้า
การดารงชพี ในปา่ 1.การทดสอบพชื ที่กินได้ กระทาได้อยา่ งไร ก. ชิมคอย ข. สอบถามชาวบา้ น ค.ดูจากสัตว์ ง. ถูกทุกขอ้ 2. กาสร้างที่พกั ทางทหารกระทาได้ 2 วธิ ี คือ ก. เร่งดว่ น , ถาวร ข. ก่งึ ถาวร , ถาวร ค. กึ่งเร่ง , เรง่ ดว่ น , ถาวร ง. เร่งดว่ น , ก่งึ ถาวร 3. การทานา้ ให้สะอาดมีกวี่ ธิ ีอะไรบา้ ง ก. 3 วธิ ี ต้ม , ยาฆ่าเช้ือ , กรอง ข. 3 วธิ ี ต้ม , กลั่น , ใส่ยาฆา่ เช้ือ 2 ชนิด ค. 3 วธิ ี ยาฆ่าเชอื้ , กรอง , ซ้อื ตดิ ตัว ง. ผิดทกุ ขอ้ 4. ส่งิ สาคญั ที่สุดในการดารงชพี ในป่าไดแ้ ก่ ? ข. การมนี ้าดม่ื ที่ปลอดภัย ก. การมีอาหารรบั ประทานสมบรู ณ์ ง. การมีกาลงั ใจและความตั้งใจอันแน่วแน่ ค. การมที พ่ี กั ท่สี ุขสบาย 5. ปา่ ในประเทศไทยเราสามารถแบ่งป่าไม้ออกตามลักษณะของปา่ เป็น 2 ชนดิ ได้แก่ ? ก. ป่าแดงและปา่ ดงดิบ ข. ปา่ ดงดิบและป่าผลดั ใบ ค. ป่าดงดบิ และป่าเบญจพรรณ ง. ปา่ ดินน้าจดื และป่าดินนา้ เค็ม 6. เมอ่ื เราอยใู่ นปา่ อนั ตรายที่จะเกดิ กบั เรามี 2 ประเภทได้แก่ ? ก. น้าปา่ และสตั ว์ป่า ข. พชื ท่ีเป็นพิษและสัตวป์ า่ ค. ธรรมชาตขิ องป่าและทหารข้าศกึ ง. กนิ อาหารทเี่ ป็นพษิ และไขป้ ่า 7. ปัญหาใหญๆ่ ของการดารงชพี แบง่ ออกเป็น 3 ประเภทไดแ้ ก่ ? ก. พืช, สตั ว์, นา้ ข. อาหาร, นา้ , ทพี่ ัก ค. กาลงั พล, อาวธุ ยทุ โธปกรณ์, ยารกั ษาโรค ง. อาวุธ, เคร่อื งนุ่งหม่ , ทพ่ี ัก 8. การนอนในปา่ ทถ่ี กู ตอ้ งในการดารงชพี ควรเลอื กให้ทหารนอนอย่างไร ? ก. นอนสงู กวา่ พน้ื ดนิ ข. นอนในพน้ื ทีโ่ ลง่ แจง้ ค. นอนเอาศรี ษะเขา้ หาต้นไม้ใหญๆ่ ง. นอนใกลก้ องไฟ 9. การแสวงหาอาหารในป่าแบง่ ออก 2 ชนิด ใหญๆ่ คอื ? ก. ในน้า,บนพืน้ ดนิ ข. นา้ , ที่พัก ค. ในปา่ ดงดิบ,ในปา่ โปร่ง ง. สัตว์,พืช 10. การแบง่ ประเภทปัญหาใหญๆ่ ซ่งึ เกี่ยวกับการดารงชีพให้เหมาะสมกบั ภูมิภาคมอี ยูด่ ้วยกนั 4 ประการ คอื ? ก. ชุดดารงชีพในปา่ ข. ชดุ ดารงชีพในทะเล ค. ชดุ ดารงชพี ในทะเลทราย ง. ถกู ทุกขอ้
11. วิธีการติดไฟในขณะทเี่ ราอยูใ่ นป่าซงึ่ ไมม่ ไี ม้ขดี ไฟหรือไฟแชค็ ที่นาติดตวั ไปวธิ กี ารติดไฟทย่ี ากทสี่ ุดได้แก่ชนิดใด ? ก. หินและเหล็ก ข. ใช้ไม้ถูกนั ค. กระจกและแสงแดด ง. ใชเ้ ชือกป่าน ถกู ับไม้ 12. รา่ งกายของคนเรามีตอ้ งการน้า 1 คน/วนั นน้ั 2 - 5 ลิตรการทานา้ แสวงหาไดจ้ ากในปา่ ให้สามารถ ทาใหส้ ามารถดื่มไดด้ ้วย วธิ กี ารใส่ยาฆ่าเชอ้ื ฮาราโฮน 2 เมด็ ต่อน้า 1 กระติก ควรใส่ยาแลว้ ท้ิงไวก้ ี่นาที ? ก. 3 นาที ข. 10 นาที ค. 30 นาที ง. 40 นาที 13. ผลไม้และพืชต่างๆท่เี ราพบในป่าซ่งึ จะนามาประกอบอาหารหรือกินนนั้ มีวิธีปฏบิ ตั ดิ ว้ ยกัน 4 วธิ วี ิธใี ดท่ีไมป่ ลอดภัย 100 % การปฏิบัติ 4 วิธี ? ก. สอบถามชาวบ้าน ข. ดูจากสตั ว์ ค. ความคุ้นเคย ง. ชิมแลว้ คอย 14. เรอ่ื งทส่ี าคญั ทส่ี ุดในการดารงชีพอยู่ในปา่ ซง่ึ เป็นกญุ แจท่จี ะนาไปสคู่ วามสาเร็จ 8 ประการ คอื ขอ้ ใด ? ก. SERVIVAL ข. SURVIVEL ค. SURVIVAL ง. SEVRIVAL 15. พืชในประเทศไทยมีประมานกีช่ นิด ก. สองแสนหา้ หมืน่ ชนิด ข. สามแสนกวา่ ชนดิ ค. นบั ไมถ่ ว้ น ง. ข้อ ก. และ ข. ถูกตอ้ งทีส่ ุด
แผนกวชิ าทว่ั ไป --------------------------------- ๑. ขอ้ ใดเป็นเหตุผล และความจาเป็นทต่ี ้องศึกษาวิชาครทู หาร? ก. เพราะเป็นวชิ าท่ีเรยี นง่าย ข. เพือ่ ความก้าวหน้าทางราชการ ค. เพ่อื เป็นหลักในการอบรมสั่งสอนผ้อู น่ื ง. เพอ่ื ใหม้ คี วามรขู้ ั้นตน้ ๒.การจะเป็นครทู ด่ี ีและประสบความสาเรจ็ น้นั จะต้องมีคุณลกั ษณะอยา่ งไร สาคญั ท่สี ุด ? ก. มคี วามรกู้ วา้ งขวางทกุ วชิ าและประสบการณ์ในสนามมาก ข. มคี วามรใู้ นบทเรียนทส่ี อนและมีเทคนิคการสอนดี ค. สอนแบบเดิม ทร่ี ุ่นพีเ่ คยสอน ง.ควรมียศและตาแหน่งสูงกวา่ ผู้เรียน ๓.ลกั ษณะของครทู ด่ี ีประการหน่ึงคือ จะต้องมวี ิญญาณครู คาว่า “วิญญาณครู” น้นั มีความหมายตรงกับ ของใด? ก. มีบคุ ลิกลักษณะเหมาะสมทจี่ ะเปน็ ครู ข. มีความสามารถในการสอนเปน็ อย่างดี ค. มีจิตรกั การสอนและพอใจในอาชีพครู ง. เปน็ ผคู้ งแกเ่ รยี น ๔. การฝึกภาคสนามของหลกั สูตรต่างๆ น้นั เปน็ การนาเอาหลกั การสอนข้อใดมาใชม้ ากที่สดุ ? ก. การเร้าใจ ข.ความสมจริง ค. ความรู้เดมิ ง. การกระตุ้น ๕. องคป์ ระกอบของการกลา่ วนาทีต่ อ้ งนามากล่าวเสมอในครั้งแรกของการสอน คอื อะไร ? ก. การแนะนาอปุ กรณ์การสอน ข. การแนะนาตัวครู ค.ความมุ่งหมายและเหตผุ ลในการเรยี น ง. ต้องกล่าวทัง้ หมดทกุ ขอ้ ๖. วิธีสอนมอี ยหู่ ลายวธิ ี การเลอื กใช้วิธีการสอนแบบใดนั้น จะข้นึ อยู่กับปัจจัยในเร่ืองอะไรบ้าง ? ก.จานวนนกั เรียน ข.ความรเู้ ดมิ ค. พนื้ ฐานความรู้ของนักเรยี น ง. ตอ้ งพจิ ารณาทกุ ข้อท่กี ล่าวมา ๗. วิธีการสอนแบบใด ทไี่ ม่ทาให้เกิดความสนใจ และไม่ส่งเสริมให้นกั เรียนมีทศั นคตใิ นการเรียน? ก. วิธีสอนแบบเชิงแสดง ข. วิธีสอนแบบเชิงประชุม ค.วธิ สี อนเชิงบรรยาย ง. ทกุ วิธที ี่กลา่ วมา ๘.ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ งทส่ี ุด เกี่ยวกับการพดู ของครู ? ก. พูดเชน่ เดยี วกับการใหโ้ อวาท ข. จังหวะการพดู ตอ้ งสม่าเสมอ ค. พดู เช่นเดยี วกบั การพูดสนทนา ง. ระดับเสยี งในการพดู ตอ้ งสมา่ เสมอ ๙. ผทู้ ่ที าหน้าท่ีครจู าเป็นอยา่ งยิ่งทจี่ ะต้องเปน็ ผู้ที่มคี วามรู้ในเร่ืองทส่ี อน มีเทคนิคการสอนทีด่ ี และทส่ี าคญั คอื จะต้องมีศิลปะในการพูดท่ดี ดี ว้ ย ดังน้นั การพดู จงึ เปน็ การสรา้ งสมั ผัสทีด่ รี ะหว่างครูกับนกั เรยี น อยาก ทราบวา่ “การสรา้ งสัมผัสระหว่างครกู บั นกั เรียน” ตรงกับขอ้ ใด ? ก. พดู เมื่อนกั เรียนต้งั ใจฟงั ข. เตรยี มการสอนมาเปน็ อย่างดี ค. มีทัศนคติที่ดี ง. เตรยี มการกลา่ วนามาเปน็ อยา่ งดี
๑๐.ในการเตรยี มการสอนของครู เร่อื งใดๆ น้นั สงิ่ แรกทคี่ รูจะต้องนามาพจิ ารณา คืออะไร ? ก. การทาแบบการสอน ข. วธิ ดี าเนินการสอน ค. เอกสารหรือหลักฐานอ้างอิง ง.ความมุ่งหมายของบทเรียน ๑๑.แผนการสอน ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องที่สุด ? ก. เพื่อใชเ้ ป็นคมู่ อื การสอน ข. เพอื่ ใหส้ ามารถสอนแทนกนั ได้ ค. เพ่ือใช้เปน็ ตารามาทาการสอน ง. เพ่ือใช้เป็นหลักฐานการรบั ตรวจ ๑๒. หลังจากทาแผนการสอนเรียบร้อยแลว้ ข้นั ตอนตอ่ ไปจะตอ้ งทาอะไรก่อนทาการสอน ? ก. เข้าสอนได้ทนั ที ข. เตรยี มหลักฐานทางธรุ การใหเ้ รยี บร้อย ค. ตอ้ งมกี ารตรวจสอบครง้ั สดุ ท้าย ง. ตอ้ งมกี ารสกั ซอ้ มทดลอง ๑๓.“ครจู ะต้องเป็นผู้ทีส่ ามารถนาเอาหลักการ วธิ ีการและเทคนิคการสอนตา่ งๆ ไปใช้ใหบ้ ังเกิดผลดี” ขอ้ ความ ดังกลา่ วอยู่ในคุณลักษณะครูท่ีดีข้อใด? ก. มีความรู้ในบทเรียนท่สี อน ข. มบี ุคลกิ ลกั ษณะในการเป็นผ้นู า ค. มคี วามรูใ้ นเทคนิคการสอน ง. มีทัศนคติท่ีดตี อ่ อาชพี ครู ๑๔.การสอนวิธใี ดๆ ก็ตาม แบง่ ออกเปน็ ๓ ส่วน คอื กลา่ วนา อธบิ าย และสรุป หรอื ทบทวน อยากทราบว่า การกลา่ วนากระทาเพ่ือความมุง่ หมายอะไร ? ก.ความสมั พันธร์ ะหวา่ งครกู ับนักเรยี น ข. กล่าวเปิดการสอนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ค. กล่าวในสง่ิ ท่ดี ีต่ืนเตน้ ง. บอกเกณฑ์การวดั ผลและประเมนิ ผล ๑๕. วิธีสอนแบบใด เร้าใจใหน้ ักเรียนสนใจ และระวังตวั เพือ่ ตอบคาถามอยู่ตลอดเวลาทค่ี รูสอน ? ก. วธิ ีสอนเชงิ บรรยาย ข. วธิ สี อนเชงิ ประชมุ ค. วิธสี อนแบบเชิงแสดง ง. วิธสี อนแบบอภิปราย ๑๖.แผนบทเรียนอย่างน้อยต้องประกอบดว้ ยกี่ส่วน ? ก. ๔ สว่ น ข. ๓ สว่ น ค. ๒ ส่วน ง. ๑ ส่วน ๑๗.เมือ่ ทา่ นได้ศกึ ษาหลักของวิชาครูจบลงแลว้ อยากทราบว่าส่ิงที่ท่านจะได้รบั อะไรต่อไปในชวี ิต ? ก. ความเปน็ ครู ข. ความกา้ วหนา้ ค. ความรอบร้ดู ้านวิชาการ ง. ความมั่นใจ ๑๘. หลกั การสอนท่วี า่ ดว้ ย “บอกความมุ่งหมาย” จะนามาใชใ้ นขัน้ ตอนใดขณะทาการสอน ? ก. ข้ันตอนการกลา่ วนา ข. ขนั้ การอภปิ ราย ค. ข้ันการสรปุ ง. ข้นั ตอนไหนกไ็ ดแ้ ล้วแตโ่ อกาส ๑๙. ขณะทาการสอนหรอื เมื่อสอนจบบทเรยี นแล้ว นักเรียนถามคาถามว่า จานวนคาถามจะเปน็ เคร่อื งบง่ ช้ีถงึ เร่ืองอะไรมากท่สี ดุ ? ก. บทเรยี นนัน้ เปน็ เรื่องที่ยากมาก ข. บทเรียนนั้นครสู อนไดด้ มี าก ค.´บทเรยี นนัน้ มีความสาคญั มาก ง. นกั เรยี นสนใจเรยี นในวชิ านน้ั ๒๐. แบบหรือวธิ ีการสอน ท่ใี ชใ้ นเนื้อหา จะมที ั้งหมดก่ีแบบ ? ก. ๒ แบบ ข. ๓ แบบ ค. ๔ แบบ ง. ๕ แบบ
คณุ ลักษณะยานยนต์ ๑.คาวา่ “ รถบรรทกุ ” ทางทหารหมายความวา่ อะไร ก.รถท่ีใช้ลอ้ สาหรับเคลือ่ นย้ายคน ข.รถท่ใี ช้ลอ้ สาหรบั เคลอื่ นยา้ ยคน,สัตว์,ส่งิ ของ ค.รถท่ีใช้ล้อสาหรบั เคล่ือนย้ายคน,อาวธุ ,กระสนุ ,และเครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ ง.รถทีใ่ ชล้ ้อหรอื สายพานสาหรับบรรทกุ คน และส่ิงของทางทหาร ๒.รยบ.๑/๔ ตัน ๔x๔ เอ็ม ๑๕๑ เอ.๑ อยากทราบว่า ๔x๔ หมายความว่าอย่างไร ก.รถทีม่ ี๔ ลอ้ เคลื่อนทไ่ี ดท้ ั้ง ๔ ล้อ ข.รถทมี่ ี๔ ล้อ มกี าลังขับเคลือ่ น ๔ ลอ้ ค.รถทม่ี ๔ี ลอ้ ลากจูงรถพว่ งท่มี ลี อ้ ๔ ล้อ ง.รถท่มี ี๔ ล้อ บรรทุกกาลงั พลได้ ๔คน ๓.ข้อใดคือความหมายของคาว่า “น้าหนักรถ” ก.น้าหนกั สมั ภาระหรอื ผ้โู ดยสาร รวมท้ังเจ้าหนา้ ท่ีประจารถ ข.น้าหนกั ท้งั หมดของรถท่ีตดิ ตง้ั อปุ กรณ์พร้อมด้วยเติมนา้ มนั เชื้อเพลงิ เรยี บร้อย แตไ่ ม่มพี ลประจารถ ค.น้าหนักทัง้ หมดของรถทตี่ ดิ ตง้ั อปุ กรณ์พรอ้ มเตมิ น้ามนั เชอ้ื เพลงิ เรียบรอ้ ย รวมทั้งพลประจารถ ง.น้าหนักของรถทัง้ หมดทต่ี ดิ ตง้ั อปุ กรณ์และสามารถปฏิบตั กิ ารได้ รวมทงั้ พลประจารถ และนา้ หนักสัมภาระ ๔.ขอ้ ใดต่อไปน้คี อื “ ระยะสงู พ้นพื้น ” ของรถ ข.ระยะระหวา่ งระดับพืน้ ดนิ กบั พ้ืนใต้ท้องรถ ก.ระยะระหว่างระดับพ้ืนดินกบั ความสงู ของล้อรถ ง.ระยะระหวา่ งระดบั พ้ืนดนิ กับกนั ชนหน้ารถ ค.ระยะระหวา่ งระดับพ้ืนดนิ กับจุดท่ตี า่ ท่สี ดุ ใตท้ อ้ งรถ ๕.ถา้ แบ่งประเภทยานยนต์ตามลักษณะการใชง้ านอยากทราบวา่ รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน เอ็ม ๓๕ จะจัดอยู่ในยานยนต์ชนิดใด ก.ยานยนต์ธุรการ ข.ยานยนตใ์ ชง้ านท่วั ไป ค.ยานยนต์ยทุ ธวธิ ี ง.ยานยนตต์ ิดตั้งอุปกรณพ์ ิเศษ ๖.ประเภทของยานยนต์แบง่ ตามลกั ษณะการใช้งานได้กีช่ นดิ ก.๑ ชนิด ข.๒ ชนดิ ค.๓ ชนิด ง.๔ ชนิด ๗.รถกู้ ๕ ตนั จัดอยู่ในยานยนต์แบบใด ค.ยานยนต์ใช้งานพเิ ศษ ง.ยานยนตต์ ิดตง้ั อปุ กรณ์พิเศษ ก.ยานยนต์ใชง้ านท่วั ไป ข.ยานยนต์รบ ๘.การปรนนบิ ตั บิ ารุงก่อนใชง้ านกระทาเพอ่ื อะไร ก.ดคู วามถูกตอ้ งของยานพาหนะ ข.ตรวจระบบตา่ งๆ ของเคร่อื งยนต์ ค.ตรวจสภาพการยดึ ตรึงของตัวรถ ง.ถูกทุกข้อ ๙.ขอ้ ใดคือความหมายของ “ รถพ่วง ” ? ก. รถท่อี อกแบบไว้สาหรับลากจงู โดยมคี าน และห่วงสาหรับเกาะ ข. รถยนต์ที่ออกแบบไว้ลากจงู ไดโ้ ดยมหี ่วงสาหรับเกาะ ค. รถยนต์ท่ีออกแบบไว้สาหรบั ลากจงู ได้ทกุ สภาพถนนโดยมีห่วงสาหรับเกาะ ง. รถยนต์ท่อี อกแบบใหม้ ีกาลงั มากๆเพ่อื จะไดล้ ากจูงได้ ๑๐.รยบ. ๑/๔ ตัน ๔ x ๔ เอ็ม ๑๕๑ เอ.๑ อยากทราบว่า ๑/๔ ตนั หมายถึงอะไร ? ก. นา้ หนกั รถ ข. น้าหนักบรรทกุ ค. น้าหนักบรรทุกในภมู ิประเทศ ง. น้าหนกั ทั้งหมดของรถ
การปรนนิบตั ิบารุง ๑.ผบช.ม่งุ หวงั ในการปบ. ในหน้าท่ีพลขับ (ข้นั ท่ี ๑)นั้นเพ่ือประสงค์อะไร ก.ต้องการให้มีงานทา ข. เพื่อตอ้ งการเบิก สป. ค.เพื่อเอาไปแก้ไขข้อบกพร่อง ง.เพอื่ รักษายุทโธปกรณ์และเพอ่ื ให้มปี ระสทิ ธิภาพ ๒.การปบ. เมือ่ ตรวจพบข้อบกพร่องหรือทางานไม่สมบูรณ์เกินขัน้ ท่ี ๑ พลขบั ตอ้ งปฏบิ ัติอยา่ งไร ก.แขวนปา้ ยชะงกั ใช้งาน ข.รายงาน ผบช.ทราบทันที ค.ทาการแก้ซอ่ มเองได้เลย ง.ส่งซ่อมตามสายงานของ ผบช. ๓.จา่ สิบเอกปยิ ะทศั น์ฯ นา รยบ.บรรทกุ น้า ขนาด ๕,๐๐๐ ลิตรไปสง่ น้าขณะว่ิงอยู่ไดย้ นิ เสียงเคร่ืองยนต์ดงั ไม่สมา่ เสมอแล้ว จดจาไป ปบ.เมือ่ ถึงหนว่ ยถือวา่ เปน็ การ ปบ.หว้ งใด ก.การ ปบ.ขณะใชง้ าน ข.การ ปบ.ขณะหยุดพกั ค.การ ปบ. หลงั ใช้งาน ง.การ ปบ.ก่อนใชง้ าน ๔.ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งแล้ว ก.การ ปบ.ขน้ั ๑ เปน็ งานในหนา้ ทพี่ ลขับทาก็ได้ไม่ทาก็ได้ ข.การ ปบ.ขน้ั ๑ เป็นการตรวจสภาพท่วั ไปเพือ่ ให้ทราบข้อบกพร่องของยทุ โธปกรณ์ ค.การ ปบ.ขั้น ๑ ตอ้ งทาบ่อยๆ เพอื่ จะได้นาไปเบกิ สป. ง.ท่กี ลา่ วมาแล้วถูกตอ้ งทกุ ขอ้ ๕.การปบ.ในหน้าท่พี ลขับ (ข้นั ท่ี ๑)มกี ารปบ.หลักอยู่ ๓ ขน้ั คือขอ้ ใด ก.กอ่ นใช้งาน ขณะใชง้ านและหลังใชง้ าน ข.กอ่ นใช้งาน ขณะหยุดพักและขณะใช้งาน ค.ขณะหยดุ พกั ขณะใชง้ านและในโรงรถ ง.หลงั ใชง้ าน ขณะใช้งานและในโรงรถ ๖.การปรนนิบัตบิ ารงุ เปน็ หวั ใจสาคญั พลขบั จะละเลยเสียมไิ ด้ คือการ ปบ.ประเภทไหน ก.การ ปบ.รอบ ๓ เดือน ข.การ ปบ. รอบ ๖ เดือน ค.การ ปบ.ประจาวนั ง.การ ปบ.ประจาสัปดาห์ ๗.กอ่ นนา รยบ.ออกไปใชง้ าน พลขบั ทาการตรวจสภาพเรยี บรอ้ ย เป็นการตรวจสภาพท่ัวไปดว้ ยอะไร ก.ตรวจสภาพด้วยหู ข.ตรวจสภาพดว้ ยความชานาญ ค.ตรวจสภาพด้วยจมกู ง.ตรวจสภาพดว้ ยสายตา ๘. พลขบั ทุกคนท่นี ารถออกใชง้ านจะต้องมบี ตั รการใชร้ ถประจาวันเสมอ แต่มขี อ้ ยกเวน้ อะไรบา้ ง ก. ขบั รถเขา้ ขบวน,ขับรถพยาบาลฉกุ เฉิน ข. ขบั รถพยาบาลฉุกเฉนิ ,ขบั รถปฏิบตั งิ านทางยทุ ธวิธี ค. ขับรถปฏบิ ัติงานทางยทุ ธวธิ ,ี ขับรถรับสง่ ทหารกองเกยี รติยศ ง. ขบั รถเข้าขบวน,ขบั รถปฏบิ ัติงานทางยทุ ธวธิ ี ๙. การ ปบ.ประจาวันจะปฏบิ ัติในกรอบของแบบพมิ พ์ อะไร ก. ทบ. 468 – 360 ข. ทบ. 468 – 310 ค. ทบ. 468 – 201 ง. ทบ. 468 – 378 ๑๐. พลขบั จะกระทาการ ปบ.ขณะใชง้ าน จะกระทาการได้อยา่ งไร ก. ตรวจดรู อยบรเิ วณใต้รถ ข.ฟังเสยี งและกลิน่ ท่ผี ิดปกติ ค. ตรวจเคร่อื งช่วยความปลอดภัยขณะขบั รถ ง. สังเกตดูระดบั นา้ ในเครื่องวดั ขณะขับรถ
แผนกวชิ าทวั่ ไป ๑. เคร่อื งช้ีความเปน็ ผู้นามอี ยูด่ ว้ ยกันหลายประการ อยากทราบว่าขอ้ ใดไมใ่ ช่เครอื่ งช้คี วามเป็นผู้นา? ก. วนิ ยั ข.กล้าหาญ ค. ขวัญ ง. สมรรถภาพ ๒. ขอ้ ความใดมคี วามหมายตรงกบั คาวา่ “ความรักหมคู่ ณะ” ? ก.ความจงรกั ภักดี ความภาคภูมิใจ ความศรทั ราตอ่ หน่วยและบคุ คลที่อยรู่ ว่ มกัน ข.ความจงรักภกั ดี ความภาคภมู ิใจ ความศรัทราในตัวผู้นาและหนว่ ยท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ ค.ความจงรกั ภกั ดี ความภาคภมู ิใจ ความศรทั ราต่อหน่วยทส่ี มาชิกแตล่ ะบุคคลของหน่วยแสดงออกให้เห็น ง.ความจงรักภกั ดีทบี่ ุคคลในหน่วยมีใหซ้ งึ่ กันและกนั ๓. “ความเป็นผ้เู ช่ือถอื ได”้ มีความหมายตรงกับขอ้ ใด? ก. ได้รับความไว้วางใจและความเช่ือถือจากสงั คม ข. ปฏบิ ัติหนา้ ทด่ี ้วยความถกู ตอ้ ง ดว้ ยความซือ่ สตั ย์สจุ รติ ค.การได้รบั ความไวว้ างใจในการปฏบิ ตั ิงานตามหนา้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ง. ปฏบิ ัตงิ านตามหนา้ ทใี่ ห้สาเร็จลุลว่ งไปด้วยดี ๔. บคุ คลท่ีสามารถปฏิบัตงิ านได้ทกุ สภาวะและตัดใจจากสง่ิ ยัว่ ยไุ ด้ จึงนาไปสูค่ วามสาเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดีไม่ ว่าจะอยสู่ ภาพแวดล้อมใดๆ ก็ตามบุคคลเช่นน้มี ีคุณลกั ษณะของผนู้ าเร่ืองใด ? ก.ความอดทน ข. ความเด็ดขาด ค. ความกลา้ หาญ ง. ทกุ ข้อท่ีกลา่ วมา ๕. ผู้นาที่ไมห่ าความสะดวกสบายและความกา้ วหน้าใหก้ ับตนเองจากความเดอื ดรอ้ นของผอู้ ืน่ และ ผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชาเป็นคุณลกั ษณะของผนู้ าขอ้ ใด? ก. ความจงรักภักดี ข. ความซอ่ื สัตย์ ค. ความไม่เห็นแก่ตัว ง. ความยุติธรรม ๖. ข้อใดเป็นอานาจหนา้ ท่ีตามกฎหมายของแต่ละบคุ คลในหนว่ ยทหาร ที่มีต่อผ้ใู ต้บงั คับบญั ชาชั้นยศและอานาจที่ไดร้ บั มอบ ? ก. ผู้นา ข. ผู้บังคับบญั ชา ค. การบังคบั บญั ชา ง. การจัดการ ๗. ข้อใดเปน็ รากฐานของพฤตกิ รรม? ข.ความต้องอนั เกดิ จากการเรยี น ก.ความตอ้ งการบังคบั บัญชา ง. ถกู ทกุ ข้อ ค. ความตอ้ งการรวมกลมุ่ ๘. ผนู้ าอาศยั หลักเกณฑอ์ ะไรเพื่อเปน็ เคร่ืองบง่ บอกผลการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยวา่ จะสาเรจ็ หรือล้มเหลว ? ก. หลกั การผนู้ า ข. คุณลักษณะผนู้ า ค. เคร่อื งชว้ี ดั ความเป็นผ้นู า ง. พฤตกิ รรมมนุษย์ ๙. ความเจริญกา้ วหนา้ ทางด้านวิทยาการของโลก นน้ั จะเจรญิ ก้าวหน้าไปอยา่ งไม่หยดุ ยง้ั และมกี ารพฒั นาใหเ้ จรญิ ยิ่งๆ ขึ้น ไปตลอดเวลา ท่านจะพจิ ารณาคุณลกั ษณะของผู้นาในเรือ่ งใดจึงจะไดช้ ื่อวา่ เปน็ ผนู้ าทที่ นั สมยั ? ก.ความรู้ ข. กาลเทศะ ค. ความกระตือรือรน้ ง. ความเป็นผู้เช่อื ถือได้
๑๐. การปกครองบงั คบั บัญชาอย่างตรงไปตรงและ ไม่มีอคติต่อผบู้ ังคับบญั ชาคนใด ดว้ ยความเสมอภาคการ ปฏบิ ัติเช่นน้ีตรง กบั คณุ ลักษณะผ้นู าเร่ืองใด? ก. ความจงรกั ภักดี ข. ความกล้าหาญ ค.ความไมเ่ หน็ แก่ตวั ง.ความยุติธรรม ๑๑. ขอ้ ใด ผู้นาไม่ควรนาใช้มากท่ีสุดในการจูงใจผ้ใู ต้บงั คับบญั ชา ? ก. การใหร้ างวัลควรใหใ้ นเวลามกี ารประชุมช้แี จง ข. การตาหนิควรตาหนใิ นที่ประชมุ เทา่ นน้ั เพือ่ ให้ทราบด้วยทว่ั กนั ค. การให้รางวลั ควรใช้เป็นคาชมเชยมากกว่าเป็นสง่ิ ของ ง. การตาหนิควรเรยี กมาตาหนสิ องตอ่ สอง ๑๒. คาพดู ทว่ี า่ “ ไมฆ่ ่านอ้ ง ไม่ฟอ้ งนาย ไม่ขายเพือ่ น” ไมน่ าปญั หาสว่ นตวั ของผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชาของตนไปนินทาให้ผอู้ ื่นฟัง ไมว่ ิพากษว์ ิจารณผ์ ู้บงั คับบัญชาของตนตอ่ หน้าผู้ใต้บงั คับบัญชาเป็นคณุ ลักษณะผนู้ าเรือ่ งใด? ก.กาลเทศะ ข.วิจารณญาณ ค.ความจงรกั ภกั ดี ง.การไมเ่ ห็นแก่ตัว ๑๓.เครอื่ งชคี้ วามเปน็ ผูน้ าเปน็ สิ่งทจี่ ะชใ้ี ห้เหน็ ถงึ ความสาเร็จหรือความลม้ เหลวในการเป็นผูน้ าทางทหารนัน้ ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง? ก.สมรรถภาพ ข.หลกั การของผ้นู า ค.คุณลกั ษณะของผนู้ า ง.พฤติกรรมของมนษุ ย์ ๑๔. การปฏิบัติตนยึดมน่ั อย่ใู นหลกั ธรรมและรกั ษาสจั จะวาจาโดยสม่าเสมอพูดส่งิ ใดกป็ ฏิบตั ติ ามนัน้ เปน็ คุณลกั ษณะของ ผ้นู าเรอ่ื งใด ? ก. วิจารณญาณ ข. ความอดทน ค. ความยุตธิ รรม ง.ความซ่ือสัตย์ ๑๕. ข้อใดเปน็ องค์ประกอบของความเปน็ ผนู้ า ? ก.ตวั ผนู้ า ส่งิ แวดล้อม สถานการณ์ ข.ตวั ผ้นู า หน่วยทหาร สถานการณ์ ค. ตวั ผูน้ า หน่วยทหาร สง่ิ แวดลอ้ ม ง. ตวั ผู้นา พฤติกรรม สงิ่ แวดลอ้ ม ๑๖.ถ้ากาลงั พลในหนว่ ยงานของทา่ นมขี ดี ความสามารถในการปฏิบัตงิ านตามหนา้ ท่หี รอื ภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบอย่ใู นระดบั มาตรฐาน ท่ีสงู แสดงว่าหนว่ ยของทา่ นมีสถานภาพอย่างไร? ก.มีความรกั หมคู่ ณะ ข.มีขวญั ดี ค.มีวินยั ดี ง.มีสมรรถภาพดี ๑๗. ความเป็นผูน้ าทางทหารเป็นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ทีจ่ ะจูงใจและอานวยการให้ทหารปฏิบัติภารกจิ สาเร็จ โดยให้ ผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาตอบสนองอย่างไร ? ก. เอาอกเอาใจเรา ข. ประจบสอพลอและเอาของกานัลมาให้ ค. เชื่อฟงั นับถอื และร่วมมอื อยา่ งจรงิ ใจ ง. ปฏบิ ัตงิ านตามคาส่ัง ๑๘.การสรา้ งความประทบั ใจ ใหเ้ ป็นทีน่ ิยมของผอู้ นื่ อยตู่ ลอดเวลา ทัง้ กาย วาจา ใจ คือขอ้ ใด? ก.การวางทา่ ทาง ข.ความยุตธิ รรม ค.สมรรถภาพ ง.การยอมรบั นับถอื ๑๙. บุคลิกลกั ษณะของบคุ คลยอ่ มจะไมเ่ หมือนกนั จะเปลยี่ นแปลงไปได้ทุกเวลา ปัจจัยตา่ งๆท่จี ะก่อใหเ้ กิดบุคลกิ ลักษณะมี อะไรบา้ ง? ก.ประสบการณ์ กรรมพันธุ์ สถานการณ์ ข.สิ่งแวดลอ้ ม ประสบการณ์ สถานการณ์ ค.กรรมพันธ์ุ สิ่งแวดลอ้ ม ประสบการณ์ ง.กรรมพนั ธ์ุ ส่งิ แวดล้อม สถานการณ์ ๒๐. ขอ้ ใด คือ ตัวกาหนดทจี่ ะเป็นผนู้ าทดี่ ีและไมด่ ี ? ก.มนุษยสัมพันธ์ ข.ต้นทนุ ชวี ิต ค.จิตสานึกของบคุ คล ง.ความตอ้ งการทางร่างกาย
ขอ้ สอบ วิชาการอา่ นแผนทีแ่ ละการใชเ้ ข็มทศิ 1. รูปลายเสน้ ทเี่ ขยี นแสดงผิวพนื้ พภิ พ ลงบนพนื้ ราบตามมาตราส่วน สง่ิ ท่ีมนษุ ยส์ รา้ งข้ึนและทปี่ รากฏตามธรรมชาตจิ ะแสดง ด้วยสัญลักษณ์เสน้ และสี เป็นความหมายของอะไร ? ก. สัญลกั ษณ์ของแผนที่ ข. สญั ลกั ษณท์ างทหาร ค. แผนท่ี ง. ถูกทุกข้อ 2. แผนที่ทม่ี ีใช้อย่ใู นปัจจบุ นั สามารถแบง่ ได้กป่ี ระเภท ? ก. 3 ประเภท ข. 5 ประเภท ค. 7 ประเภท ง. ไมม่ ีขอ้ ถูก 3.ข้อใดมคี วามหมายเชน่ เดียวกบั คาว่า “เสน้ ละตจิ ดู ” ? ก. เสน้ ร้งุ , เส้นแวง ข. เสน้ ลองติจูด, เสน้ แวง ค. เสน้ ขนาน, เส้นลองติจูด ง. เส้นรุง้ , เส้นขนาน 4. แผนทที่ ่ีมีใช้อยูใ่ นประเทศไทย ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องที่สุด ? ก. 1 : 25,000 มีอย่ทู กุ จงั หวดั ข. 1 : 50,000 มอี ยู่ 830 ระวาง ค. 1 : 250,000 มีอยู่ 53 แผ่น ง. ถกู ทกุ ข้อ 5. แผนทท่ี ่ีเหมาะแก่การใช้รบในเมือง คือแผนที่อะไร ? ก. L 9013 ข. แผนท่ีตัวเมอื ง ค. 1 : 12,500 ง. ถูกทุกขอ้ 6. ขอ้ ใดไม่ใชส่ ีท่ีใช้เขียนสญั ลักษณ์บนแผนที่ ? ข. สเี หลอื ง ง. สีนา้ ตาลแดง ก. สนี ้าเงนิ (ฟา้ ) ค. สีเขยี ว 7. ในปจั จบุ นั ประเทศไทยได้ปรบั ปรุงแก้ไขแผนทชี่ ุดลา่ สุดออกมาใช้งานเพือ่ ใหเ้ กิดความทนั สมัยและมีความถกู ต้องมากย่งิ ขึ้น มชี อื่ วา่ อะไร ? ก. L 7018 ข. 1501 ค. L 8019 ง. L 9013 8. แผนทช่ี ุดปจั จุบนั มาตราสว่ น 1 : 50,000 ท่ีมีการปรบั ปรงุ แกไ้ ขโดยใช้พื้นหลกั ฐานอ้างอิงทางราบ WGS– 84 จะมี หมายเลขระวางเหมือนเดิม แต่ชือ่ ระวางอาจเปล่ียนไปเนื่องจากสาเหตุอะไร ? ก. มกี ารเล่ือนขอบระวาง ข. ขอบเขตของแผนท่ีเล่ือนไปจากเดมิ ค. มกี ารเปลย่ี นระบบในการจดั ทา ง. ขนาดแผนทใ่ี หญ่ขนึ้ กวา่ เดิม 9. ในการศกึ ษาเรื่องรายละเอยี ดขอบระวาง เพราะสาเหตุใดจงึ หยิบยกแผนท่ีมาตราส่วน 1 : 50,000 มาเปน็ แนวทาง ? ก. หนว่ ยทหารสว่ นใหญใ่ ชแ้ ผนที่ 1 : 50,000 ข. มรี ายละเอียดมากกว่าแผนทอ่ี ่นื ๆ และศึกษาทาความเข้าใจง่าย ค. มีความชัดเจนเนอื่ งจากแผนที่ 1 : 50,000 มคี วามเปน็ มาตรฐานในรายละเอียดค่อนข้างสูง ง. ท่ีกล่าวมาถูกทุกขอ้
10. จะปรากฏอย่ทู ่ีก่งึ กลางขอบระวางด้านบนและด้านลา่ งทางซา้ ย ปกตใิ ชช้ ื่อภูมปิ ระเทศเดน่ ทางภูมศิ าสตร์หรอื สื่อทาง ธรรมชาติ หรอื ใช้ชื่อเมืองทีใ่ หญ่ เป็นความหมายของคาว่าอะไร ? ก. ชอ่ื ชุด ข. ชื่อมาตราสว่ น ค. ช่ือระวาง ง. หมายเลขลาดับชุด 11. เสน้ ขนาน คือเสน้ วงกลมเล็กที่ลากรอบโลก และขนานกับเสน้ ศนู ยส์ ูตร อยากทราบวา่ เส้นขนานแตล่ ะเส้นมีค่าเทา่ กับ เทา่ ไร ก. 15 องศา ข. 8 องศา ค. 6 องศา ง. 1 องศา 12. เสน้ เมอรเิ ดียน คอื เสน้ ท่ีลากเชอ่ื มโยงระหวา่ งขั้วโลกเหนือกับขั้วโลกใต้ โดยที่ปลายของเส้นจะบรรจบกันทข่ี ั้วโลกทั้งสอง อยากทราบว่าเสน้ เมอรเิ ดยี นรอบโลกมีกเี่ สน้ ? ก. 360 เสน้ ข. 180 เสน้ ค. 90 เสน้ ง. ถกู ทกุ ขอ้ 13. ตามราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ท่ี 36 เม่ือวนั ที่ 21 ม.ี ค. 2462 มีผลบังคับใช้ตัง้ แต่ 1 เม.ย. 2463 กาหนดให้เวลาสาหรบั กรงุ สยามท่ัวราชอาณาจักรเป็น 7 ชม. ก่อนเวลากรีนชิ ตรงกบั สมยั รชั กาลทเ่ี ท่าไร ? ก. รชั กาลท่ี 5 ข. รชั กาลท่ี 6 ค. รชั กาลที่ 7 ง. ไมม่ ขี อ้ ถูก 14.ในการทาแผนท่รี ะบบ UTMกริด ได้แบ่งโลกออกเปน็ กี่โซน ? ก. 15 โซน ข. 30 โซน ค. 45 โซน ง. 60 โซน 15. มาตราสว่ นสามารถแยกแผนท่ที างทหารไดก้ ข่ี นาด ? ก. 4 ขนาด ข. 3 ขนาด ค. 2 ขนาด ง. ถกู ทกุ ข้อ 16. การเขียนมาตราส่วนของแผนท่ีข้อใดถูกตอ้ ง? ข. 1/50,000 ก. 1 ง. ถกู ทกุ ข้อ 50,000 ค. 1 : 50,000 17.ทิศมีอย่ทู ้ังหมด 8 ทิศ อยากทราบวา่ ทศิ แตล่ ะทิศทามุมเท่ากนั กีอ่ งศา ? ก. 120 องศา ข. 90 องศา ค. 45 องศา ง. 30 องศา 18. การหาความสูงสาหรบั ประเทศไทย ใช้พ้ืนระดับนา้ ทะเลปานกลาง โดยเลอื กทเ่ี กาะหลัก จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ใช้ ระยะเวลาในการคดิ คานวณ 5 ปี มีค่าเฉล่ียความสูงเทา่ ไร ? ก. 1.4477 เมตร ข. 1.7744 เมตร ค. 1.4747 เมตร ง. ไม่มขี ้อถกู 19. ในแผนท่แี ต่ละระวางของประเทศไทย ผู้ใชแ้ ผนที่จะเห็นได้ว่า.....เม่อื ทาการวดั มมุ หรือขีดมมุ บนแผนทท่ี กุ ครง้ั ไม่ตอ้ งนาคา่ มมุ กริดแม่เหล็กมาคิดคานวณเลย ทั้งนีเ้ ปน็ เพราะสาเหตอุ ะไร ? ก. ทิศเหนอื แม่เหล็กกบั ทศิ เหนือกริดเปน็ ทิศเดียวกัน ข. ทิศเหนือกริดกบั ทศิ เหนือจริงเปน็ ทิศเดยี วกนั ค. ประเทศไทยมีเสน้ แรงแมเ่ หลก็ ที่มคี ่าเบ่ียงเปน็ 0 (ศนู ย์) ง. ถูกทุกขอ้ 20. จากหลักฐานทไี่ ดม้ ีการบนั ทึกไวเ้ ปน็ ลายลักษณอ์ ักษร อยากทราบว่าประเทศใดมกี ารใช้เข็มทิศเป็นประเทศแรกของโลก ? ก. ประเทศอิตาลี ข. ประเทศจีน ค. ประเทศอเมรกิ า ง. ประเทศสวเี ดน
การเล็ดลอดหลบหนี 1. ความมุ่งหมายของการเล็ดลอดหลบหนี เพอื่ ให้ทราบหลักการในขอ้ ใด ? ก. เมื่อตนเองหรอื หนว่ ยถกู ตดั ขาดจากกาลังส่วนใหญ่ ข. เมอ่ื ตนอย่ใู นเขตหลังของข้าศกึ ค. เมอ่ื ตกเป็นเชลยศกึ ง. ทกุ ข้อท่กี ล่าวมา 2. การปลอมแปลง ปดิ บัง โดยการเดินทางปะปนไปกบั พลเรอื น เปน็ การเล็ดลอดหลังแนววิธใี ด ? ก. โดยการแทรกซมึ ข. เลด็ ลอดโดยการลวง ค. ปฏิบัตกิ ารแบบกองโจร ง. ถูกเฉพาะขอ้ ข. และ ค. 3. การเล็ดลอดชนดิ ใด ปฏิบตั ิต่อจากการหลบหนี ก. ระยะใกล้ ข. ระยะไกล ค. แทรกซึม ง. การรบแบบกองโจร 4. การตกลงใจทาการตงั้ รบั ณ ที่มน่ั ปัจจบุ นั ตอ้ งอาศยั ปัจจัยอะไรบา้ ง ? ก. เวลา, ลักษณะภูมปิ ระเทศ, ลมฟ้าอากาศ ข. สถานการณ์, กาลังข้าศกึ , ภารกจิ ค. กาลงั ฝ่ายเรา, กาลงั ฝา่ ยข้าศกึ , ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ง. เวลา, ข่าวสารเกีย่ วกับข้าศึก, สป.ต่าง ๆ , กาลังทจ่ี ะทาการตา้ นทาน ณ ทม่ี ัน่ ต้งั รับ 5. การเล็ดลอดหมายถงึ ? ก. การปฏิบตั ทิ กุ วิถีทางเพ่ือให้พ้นจากท่ีคุมขัง ข. การปฏิบัติทกุ วิถที างเพื่อใหพ้ น้ จากการทรมาน ค. การปฏบิ ตั ทิ กุ วิถีทางเพ่อื ให้พน้ จากการถูกจบั ง. การปฏบิ ัติทุกวิถีทางเพอ่ื ให้พน้ จากพ้ืนทีก่ ารรบ 6. เม่ือท่านตกเป็นเชลยศกึ ควรตอบคาถามในเรือ่ งอไรบา้ ง ? ก. ยศ, ช่ือ, สกุล, หมายเลขประจาตัว ข. ยศ, ช่อื , สกุล, ภูมลิ าเนา, หมายเลขประจาตัว ค. ยศ, ช่ือ, สกลุ , ภูมลิ าเนา, สังกัด, หมายเลขประจาตวั ง. ยศ, ชื่อ, สกุล, วนั เดือนปีเกดิ , หมายเลขประจาตัว 7. การวางแผนในการเล็ดลอดหลบหนวี ธิ แี ทรกซึมจะอาศัยปัจจัยท่ีสาคัญอะไรบ้าง ? ก. ท่อี ยปู่ ัจจุบนั , การวางกาลงั ของข้าศึก, ทัศนวิสัย, สมรรถภาพของผู้เล็ดลอด ข. เวลา, ข้าศึก, ภูมิประเทศ, ลมฟา้ อากาศ ค. เวลา, ขา้ ศึก, ขวญั , ทัศนวสิ ยั ง. ขา้ ศกึ , ภมู ิประเทศ, ลมฟ้าอากาศ 8. การปฏิบัตกิ ารเล็ดลอดหลบหนี ทบ.ได้มอบความรบั ผิดชอบใหก้ ับหนว่ ยใด ? ก. ขว.ทบ. ข. ขกท.ทบ. ค. นสศ. ง. ศปก.ทบ. 9. ขอ้ ใดเป็นสาเหตทุ ไ่ี มค่ ิดจะหลบหนี ? ก. ขาดการฝึก ข. ไมว่ างแผน ค. ความเพกิ เฉย ง. ความหวาดกลัว
10. ขอ้ ใดไม่ใชค่ ุณค่าของการหลบหนี ? ก. อิสระภาพ ขา่ วสารทางทหาร ข. เพิม่ กาลงั ให้ฝ่ายเดียวกันควบคุมไว้ ค. บน่ั ทอนกาลงั รบขา้ ศกึ ให้เกดิ ความว่นุ วาย ง. ทาใหข้ ้าศึกขวญั ตา่ 11.ประเภทของการเลด็ ลอดแบ่งออก 2 ประเภท ไดแ้ ก่อะไรบ้าง ? ก. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทระยะยาว ข. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทหลงั แนวรบ ค. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทระยะไกล ง. 1.ประเภทใกล้ประชดิ 2.ประเภทไม่ประชิด 12.ขอ้ ใดกลา่ วถงึ การเลด็ ลอดระยะใกล้ได้ถูกต้อง ? ข. รทู้ ต่ี ัง้ ,การวางกาลังของขา้ ศึก ก. มีสภาพรา่ งกายด,ี รู้ทิศทางระยะทาง ง. ท่ีกลา่ วมาถกู ทกุ ข้อ ค. มอี าหารและเส้ือผ้า 13.การเลด็ ลอดระยะไกลวธิ ใี ดเป็นวิธที ีด่ ที ่ีสดุ ? ก. การแทรกซมึ ข. การลวง ค. กองโจร ง. แบบผสม 14.การสง่ กลับข้าศึกไปยังพ้นื ที่ส่วนหลกั ต้องทาการสง่ กลับไปจนถึงหนว่ ยระดับใด ? ก. กองทัพภาค ข. กองพล ค. กรม ง. กองพนั 15.การปฏบิ ัติต่อเชลยศกึ ขอ้ ใดถูกตอ้ งท่สี ดุ ? ก. จับกุม,คน้ ,แยก,รวดเร็ว,พิทักษ์ ข. คน้ ,จบั กมุ ,แยก,เงยี บ,รวดเรว็ ค. จบั กมุ ,ค้น,แยก,เงยี บ,รวดเรว็ , ง. ค้น,แยก,เงยี บ,เรว็ .พทิ ักษ์
สะกดรอย 1. การสะกดรอยด้วยสายตามิใช่ของใหมแ่ ทจ้ ริงคือของเก่าทพี่ รานปา่ ไดป้ ฏบิ ัตมิ าแลว้ หรอื นักเรียนก็เคยปฏิบัตมิ านกั สะกด รอยจะต้องเปน็ ผมู้ คี วามรู้ในเร่อื งใด ? ก. รจู้ ักการเอาใจใส่ ข. รจู้ กั การสงั เกตส่งิ เล็กๆน้อยๆ ค. รู้หลักการตรวจการณ์ ง. ทีก่ ล่าวมาถกู ทกุ ข้อ 2. ลักษณะการปฏบิ ัตงิ านของชุดสะกดรอยมีหลายประการเชน่ เปน็ ชดุ แกป้ ัญหาให้ ผบช.ปฏบิ ัติงานเม่ือ ผบช.ส่งั , ชดุ สะกดรอย ปฏิบตั งิ านใกลข้ า้ ศึก 100 - 200 เมตร จดุ อ่อนของนักสะกดรอย ได้แก่ ? ก. หา้ มขาดการฝึกฝนเกนิ 3 เดือนและตอ้ งฝกึ ตนเองสปั ดาหล์ ะ 2 คร้งั ข. ห้ามขาดการฝกึ ฝนเกิน 2 เดือนและตอ้ งฝึกตนเองสปั ดาห์ละ 2 ครั้ง ค. ห้ามขาดการฝึกฝนเกิน 2 เดอื นและตอ้ งฝกึ ตนเองสปั ดาห์ละ 3 ครงั้ ง. ห้ามขาดการฝกึ ฝนเกนิ 3 เดอื นและต้องฝกึ ตนเองสปั ดาห์ละ 3 ครง้ั 3.คณุ ลักษณะของนักสะกดรอยท่ีดปี ระกอบด้วย สายตาดี, ปัญญาด,ี ความจาดี, อดทน, แขง็ แรง เป็นพล ลว.นาดี ประเภทการ สะกดรอย 3 อยา่ ง คือ ? ก. สายตา, ดมกลนิ่ . การสงั เกต ข. สายตา, จมกู ดี, การสงั เกต ค. สายตา, ดมกล่นิ , การฟงั เสียง ง. สายตา, จมูกด,ี การจาดี 4. สิง่ ทน่ี ักสะกดรอยไม่ควรทา 5 ประการ คอื อย่าก้มหนา้ หารอยตลอดเวลา, อยา่ เสยี งดัง, อย่าจับต้นไม้, อยา่ หลอกตวั เอง, อย่าไปเมอ่ื เหนอ่ื ยปจั จยั ท่ีมีผลกระทบตอ่ การสะกดรอยมีอะไรบา้ ง ? ก. แดด, ลม, ฝนุ่ , ระยะทาง ข. แสง, เสยี ง, เวลา, เหน่อื ย ค. แดด, ลม, ฝน, เวลา ง. แสง, เสยี ง, ฝน, เวลา 5. ลักษณะรอยที่พบเกิดจากขา้ ศกึ เคล่ือนทเี่ ร็ว ๆ หรอื วิ่ง รอยจะมีลกั ษณะอยา่ งไร ? ก. รอยหา่ ง, รอยกระจาย, รอยต้ืน ข. รอยห่าง, รอยคอ่ ย, รอยลึก ค. รอยห่าง, รอยกระจาย, รอยเป็นแนวเดียวกนั ง. รอยหา่ ง, รอยลกึ , รอยเปน็ แนวเดยี วกัน 6. ประเภทของรอยมีรอยบนพน้ื ดนิ และรอยระดบั สูงเมือ่ ทา่ นสะกดรอยแล้วรอยหายท่านควรทาอย่างไร ? ก. ถอยหลงั กลับไปเรมิ่ ต้นใหม่ ข. แยกกันเดินหาให้ทัว่ ค. ถอยหลังไป 4 - 5 กา้ วเร่มิ คน้ หาอย่างเป็นระบบ ง. จบภารกิจ 7. ขา่ วสารอะไรทไ่ี ดจ้ ากรอย ? ก. จานวนคน, ทศิ ทาง, อายคุ น, เพศชาย – หญงิ ข. ทศิ ทาง, ความเรว็ , อายุของรอย, มขี องหนกั หรอื ไม่ ค. เพศชาย – หญิง, ยุทโธปกรณ์, เวลา, ขวัญ ง. ยุทโธปกรณ์, เวลา, ทศิ ทาง, มขี องหนกั 8. การคานวณจานวนคนมสี ตู รการคานวณอย่างไร ? ก. ขดี กรอบยาว36 นิว้ หารด้วย 2 ข. ขีดกรอบยาว18 น้ิว ค. หารอยเท้าหลัก ง. ที่กลา่ วมาถกู ทุกข้อ 9. รอยตอ่ ไปน้ีอะไรจัดเปน็ รอยบนพนื้ ดิน ? ข. รอยมือจบั บนต้นไม้ ก. รอยน้ากระเพอื่ ม ง. ใยแมลงมุม ค. ก่งิ ไมห้ รอื ใบไมห้ กั
10. การลวงและการตอ่ ตา้ นการสะกดรอยเปน็ ลกั ษณะพึงประสงคข์ องหน่วยทหาร เพอ่ื การต่อต้านการตดิ ตามของข้าศึก ข้อใด ไมใ่ ช่ ก. จงใจนาออกนอกทาง, ลวงเขา้ พื้นที่ซุม่ ข. คงหลังคอยกลบเกลื่อนร่องรอย ค. แยกออกเปน็ กลมุ่ เล็ก ๆ ง. หักก่ิงไมท้ าเครื่องหมายตลอดทาง 11. การหาจานวนคนรอยเทา้ ถ้ารอยเท้าไมช่ ดั เจน จะใช้วธิ ใี ดในการหาจานวนคนจากรอย ก. ขีดกรอบยาว 36 นวิ้ แลว้ หารด้วย 2 ข. ขดี กรอบยาว 18 นวิ้ ค. หารอยเท้าหลัก ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก 12.ข้อไม่ใชก่ ารลวง ? ก. เดินถอยหลงั ข. ค่อยๆ วงิ่ ทลี ะคน ค. กวาดรอยบนพื้นทางเดิน ง. เดินในร่องนา้ 13. ปจั จัยที่ชว่ ยในการสงั เกตการณ์เกยี่ วกบั เงามี ๒ ลกั ษณะ คือ ? ก. เงาตามธรรมชาตแิ ละเงาที่มนุษยส์ ร้างขน้ึ ข. เงาจากแสงอาทิตยแ์ ละเงาจากแสงไฟ ค. เงาภายในและเงาภายนอก ง. เงาบนพื้นดนิ และเงาเหนือพน้ื ดิน 14.ประเภทของรอยมอี ยู่ 2 ประเภท ไดแ้ ก่อะไร ? ข.รอยระดับต่า,รอยระดบั สูง ง. รอยระดับสงู ,รอยระดบั เดยี วกนั ก. รอยระดบั สูง,รอยบนพ้นื ดนิ ค. รอยระดับสูง,รอยระดับกลาง 15.ข้อใดคอื คณุ ลักษณะของรอย ? ข. การเคลอื่ นย้าย,การเปลี่ยนสี ก. ลกั ษณะเฉพาะตัว,การแบนราบ ง. ถกู ทกุ ข้อ ข. ส่ิงทถ่ี กู ทง้ิ ไว้หรอื ขยะ,การรบกวน
ข้อสอบวิชาสอื่ สาร ๑. ชุดวิทยุ PRC-624 สามารถตัง้ ความถี่ลว่ งหนา้ ได้ก่ชี ่อง ? ก. ๒ ชอ่ ง ข. ๕ ชอ่ ง ค. ๑๐ ช่อง ง. ๑๒ ช่อง ง. ๘ เครอื่ ง ๒. ขา่ ยวทิ ยใุ น มว.ปล. ของกองร้อย อวบ. มวี ิทยุ PRC-624 จานวนกเ่ี ครื่อง ? ก. ๔ เครื่อง ข. ๕ เคร่อื ง ค. ๖ เครื่อง ๓. ชดุ วิทยุ AN/PRC-77 มีย่านความถ่ใี ชง้ านตัง้ แตเ่ ท่าไรถงึ เทา่ ไร ? ก. 30.00 – 75.95 MHz ข. 53.95 – 70.95 MHz ค. 30.00 – 52.95 MHz ง. 53.95 – 75.95 MHz ๔. ชุดวทิ ยุ AN/PRC - 77 มรี ะยะการส่อื สารประมาณเท่าไร ? ก. 8 และ 12 กม. ข. 5 และ 8 กม. ค. 8 และ 12 ไมล์ ง. 5 และ 8 ไมล์ ๕. ชดุ วทิ ยุ AN/PRC-77 สามารถตั้งความถ่ีล่วงหน้าไดก้ ี่ชอ่ งสถานี ? ก. ๒ ชอ่ ง ข. ๓ ชอ่ ง ค. ๑๐ ช่อง ง. ๕ ช่อง ๖. อุปกรณ์ชนดิ ใด ไม่ใช่สว่ นประกอบชดุ ของ CE-11? ก. RL-39 (โครงลอ้ ) ข. ST-34 , 35 (สายผ้าใบ) ค. TA-1/PT ง. DR-8 (ลอ้ ม้วนสาย) ๗. โทรศัพทส์ นาม TA-1/PT เป็นโทรศัพทใ์ ช้กาลงั งานประเภทใด ? ก. หมอ้ ไฟร่วมเฉพาะสญั ญาณเรยี ก ข. กาลังงานเสียง ค. หมอ้ ไฟประจาเคร่ือง ง. หม้อไฟรว่ ม ๘. โทรศัพท์ TA – 1/PT เมอื่ ใชก้ ับสาย WD – 1/TT สามารถทาการตดิ ตอ่ สือ่ สารในระยะทางไกลสดุ เท่าไร ? ก. ๑๕ กม. ข. ๑๖ กม. ค. ๑๗ กม. ง. ๑๘ กม. ๙. เม่ือมีสัญญาณเรียกเข้า TA-1/PT จะแสดงสญั ญาณเตอื นการเรยี กเขา้ ในลกั ษณะใดบา้ ง .? ก. เสียงสญั ญาณ ข. แสงสัญญาณ ค. เสียงสญั ญาณและแสงสญั ญาณ ง. เสยี งสญั ญาณและทัศนะสัญญาณ ๑๐. โทรศพั ท์ TA – 312/PT มรี ะยะในการกร่ิงเรียก ไกลสดุ เท่าไร? ก. ๓๕ กม. ข. ๓๖ กม. ค. ๓๗ กม. ง. ๓๘ กม. ๑๑. ตู้สลับสายฉุกเฉนิ SB – 993/GT ประกอบดว้ ยอะแดพเตอร์ U – 184/GT ๗ ตัว ซง่ึ ทาด้วยพลาสติกใส ทาให้สามารถรบั ทางสายไดส้ งู สุด ก่ีทางสาย ? ก. ๖ ทางสาย ข. ๗ ทางสาย ค. ๘ ทางสาย ง. ๙ ทางสาย ๑๒. ตสู้ ลับสาย SB – 22/PT หนักประมาณ ๓๐ ปอนดส์ ามารถรับทางสายได้ ๑๒ ทางสาย ถ้าตอ่ พ่วง ๒ เครือ่ ง เขา้ ด้วยกนั สามารถรบั ทางสายได้สูงสดุ กท่ี างสาย ? ก. ๒๔ ทางสาย ข. ๒๕ ทางสาย ค. ๒๙ ทางสาย ง. ๓๐ ทางสาย
๑๓. ตสู้ ลับสาย SB – 22/PT หนกั ประมาณ ๓๐ ปอนด์ สามารถรับทางสายได้ ๑๒ ทางสาย ถ้าต่อพว่ ง ๒ เคร่ือง เข้าดว้ ยกัน สามารถรบั ทางสายได้สงู สุด ก่ีทางสาย ? ก. ๒๔ ทางสาย ข. ๒๕ ทางสาย ค. ๒๙ ทางสาย ง. ๓๐ ทางสาย ๑๔. ข่ายการสอ่ื สารทางสายของ พนั .ร. ต้องใช้ ตู้สลบั สาย SB – 22/Pt ก่ีตู้ ? ก. ๑ ตู้ ข. ๒ ตู้ ค. ๓ ตู้ ง. ๔ ตู้ ๑๕. ตสู้ ลับสาย SB – 86/P สามารถรับทางสายได้ ๓๐ ทางสาย ถา้ ต่อพว่ ง ๒ เครื่องเข้าดว้ ยกนั สามารถรับ ทางสายได้สงู สดุ กีท่ างสาย ? ก. ๕๘ ทางสาย ข. ๕๙ ทางสาย ค. ๖๐ ทางสาย ง. ๖๑ ทางสาย ๑๖. ระเบียบการวิทยุโทรศัพทก์ าหนดขน้ึ เพอื่ อะไร ? ก. เร่งรัดการสง่ ขา่ วให้เรว็ ข้ึนและลดความผิดพลาดให้น้อยลง ข. ช่วยลดการฝา่ ฝนื การรกั ษาความปลอดภยั ให้น้อยลง ค. ช่วยให้ใชก้ ารติดตอ่ สอื่ สารทางวิทยมุ ีประสทิ ธภิ าพดียิ่งขึ้น ง. หลกี เล่ยี งความสบั สนระหวา่ งตวั อักษร ๑๗. ตัวอกั ษรภาษาไทยสองตัวท่จี ะต้องอา่ นออกเสยี งต่างออกไปจากปกติ คือ ? ก. ขอ – ข้าว และ สอ – เสือ ข. ขอ – ข้าว และ สอ – สงิ โต ค. ขอ – ไข่ และ สอ – สิงโต ง. ขอ – ไข่ และ สอ – เสือ ๑๘. นามสถานีเป็นนามทต่ี ัง้ ข้นึ มาเพ่ืออะไร ? ข. แทนชือ่ นามขา่ ย ก. แทนชอ่ื นามหนว่ ย ง. แทนชื่อนามเรียกขาน ค. แทนชื่อนามรวม ๑๙. นามในการเรยี กขาน มี ๓ ชนดิ อะไรบา้ ง ? ข. นามสถานี นามรวม นามขา่ ย ก. นามสถานี นามรวม นามหมู่ ง. นามสถานี นามรวม นามหน่วย ค. นามสถานี นามหนว่ ย นามข่าย ๒๐. ในกรณีทท่ี ่านสง่ ขา่ วผิด (พดู ผดิ ) ทา่ นจะใช้คาพดู ตามระเบียบการวทิ ยโุ ทรศัพท์ ว่าอย่างไร ? ก. ผดิ – หยุด ข. ผดิ – จดุ ค. ผดิ – ขอแก้ ง. ผิด – ขอแก้ไข
ขอ้ สอบวิชาเหลา่ ทหารราบ ชุดที่ ๑ ๑. การจัดยามคอยเหตุ จัดท่ฟี งั การณ์ จัดที่ตรวจการณ์ เป็นเรื่องอะไรของหมู่ ปล. ในการต้งั รบั ก. หลักการใช้ ข. ภารกจิ ค. การระวังปอ้ งกนั ง. หนา้ ที่ ๒. ขอ้ ใดไมใ่ ชม่ าตรการควบคุมทางยุทธวิธใี นการเขา้ ตี ก. แนวออกตี ข. ตาบลลงรถ ค. รูปขบวน ง. แนวประสานงานข้นั สดุ ทา้ ย ๓. การยิงฉากของ ปก. เพอื่ ป้องกนั อันตรายจะตอ้ งทาการยงิ ผ่านทีม่ ่ันของหน่วยขา้ งเคียง ไมต่ า่ กวา่ กเี่ มตร ก. ๕๐ เมตร ข. ๓๐ เมตร ค. ๑๕๐ เมตร ง. ๑๐๐ เมตร ๔. แบบของการดาเนนิ กลยุทธ์ในการรบดว้ ยวธิ ีรกุ มี ๓ แบบ คือ ก. การเข้าตีตรงหนา้ ,การเจาะ, การโอบ ข. การเข้าตีต่อสว่ นกาบัง,การเข้าตีเชิงรับ ค. การเจาะ,การโอบ ๒ ปกี ,การตโี ต้ตอบ ง. การเข้าตีตรงหน้า,การเจาะ,การแทรกซึม ๕. ขอ้ ใดกลา่ วผิด ข. xxx กองทพั ก. x กรมผสม ง. ถูกทกุ ขอ้ ค. xx กองพล ๖. การจดั กาลังเพอื่ การเขา้ รุกปะทะ ( หนว่ ยระดับกองพลขึน้ ไป ) ก. ส่วนรบ,สว่ นสนับสนนุ การรบ,สว่ นสนับสนนุ การชว่ ยรบ ข. กองกระหนาบ, กองระวงั หน้า, ส่วนระวงั ป้องกัน ค. สว่ นรบปะทะ, สว่ นรบ, กาลงั สว่ นใหญ่ ง. ส่วนกาบัง, กองระวงั หนา้ , และกาลังส่วนใหญ่ ๗. ส้วมควรอย่หู ่างจากโรงครัวและแหลง่ นา้ อย่างน้อยกหี่ ลา ก. ๒๐๐ หลา ข. ๔๐๐ หลา ค. ๓๐๐ หลา ง. ๑๐๐ หลา ๘. ขอ้ ใดกลา่ วผดิ ก. เสบยี งสนามประเภท ก อาหารสดและอาหารแหง้ ทกุ ชนิดใชบ้ ริโภคประจาวันตาม รายการ ข. เสบยี งสนามประเภท ข อาหารทบ่ี รรจกุ ระป๋องหรือภาชนะอื่นใด ในลักษณะทานองเดยี วกนั ค. เสบยี งสนามประเภท ง อาหารทย่ี ่อยง่ายใช้เปน็ อาหารชกู าลังและบารุงร่างกายสาหรบั ผู้ป่วย เช่น ซปุ นม ผลไม้ ขนมหวาน ง. เสบยี งสนามประเภท ค อาหารสาเร็จรปู บรรจุภาชนะรับประทานไดท้ ันที ๙. มว.ปล. ในฐานะกองหนนุ ของกองร้อย ในการปฏิบตั กิ ารรบด้วยวิธรี กุ ภารกจิ คือ ก. ชว่ ยในการตงั้ รับ, ชว่ ยในการสนับสนุน, ปอ้ งกนั การเข้าตีเจาะ ข. จากัดการเจาะแนว, ร่วมในการตโี ต้ตอบ, รักษาการติดต่อกบั หน่วยข้างเคยี ง ค. เพอ่ื ให้สามารถระวังป้องกันรอบตัว, ใหส้ ามารถป้องกันทางลกึ , เปน็ กองหนุนของ กองร้อย ง. ผิดทุกข้อ
๑๐. ขอ้ ความตอ่ ไปน้ขี อ้ ใดถกู ทสี่ ุด ก. จดุ แยกหมวดตอ้ งเปน็ จุดทกี่ าหนดขน้ึ ไว้ล่วงหน้าบนพ้นื ดิน โดยอยูห่ ลงั แนวออกตเี ทา่ นน้ั ข. จุดแยกหมวดต้องเป็นจุดทกี่ าหนดขน้ึ ไวล้ ว่ งหน้าบนแผนท่ี โดยอยู่หลงั แนวออกตีเท่านนั้ ค. จุดแยกหมวดตอ้ งเปน็ จดุ ท่ีกาหนดขน้ึ ไวล้ ่วงหนา้ บนพนื้ ดนิ โดยอาจอย่หู นา้ หรือหลงั แนวออกตกี ็ได้ ง. จดุ แยกหมวดตอ้ งเปน็ จดุ ท่ีกาหนดขนึ้ ไว้ล่วงหนา้ บนพน้ื ดนิ โดยอยู่บนแนวออกตี ๑๑. การแบ่งมาตราส่วนของแผนท่ีจะแสดงไวเ้ ปน็ เศษสว่ น แสดงถงึ ความสมั พันธร์ ะหว่างระยะในแผนท่ี กับระยะจริงในภมู ิ ประเทศ แบง่ ออกเปน็ ๓ ขนาด อยากทราบว่ามาตราส่วนขนาดใด ใชส้ าหรบั การวางแผนท่วั ๆ ไป และใช้สาหรบั การศึกษา พิจารณาทางยทุ ธศาสตรข์ องหน่วยระดบั สูง ก. มาตราส่วนใหญ่ ข. มาตราส่วนเลก็ ค. มาตราสว่ นปานกลาง ง. มาตราสว่ น ๑ : ๒๕๐,๐๐๐ ๑๒. เขม็ ทิศเลน็ เซติก เปน็ เข็มทิศท่ีทาขึน้ เพ่อื ใหส้ ามารถปิด – เปิด ไดเ้ พอื่ ปอ้ งกนั การชารดุ เสียหายทข่ี อบของด้านขา้ งจะมี มาตราสว่ นเส้นบรรทัด ขนาดมาตราสว่ น ๑ : ๕๐,๐๐๐ หรือ ๑ : ๒๕,๐๐๐ ประกอบด้วยส่วนประกอบก่ีสว่ น อะไรบ้าง ก. ๒ สว่ น คือ ฝาตลบั เขม็ ทิศและเรือนเข็มทศิ ข. ๓ ส่วน คอื ฝาตลับเขม็ ทิศ, เรือนเข็มทิศ, ก้านเล็ง ค. ๓ สว่ น คอื ฝาตลบั เข็มทิศ,เรือนเขม็ ทิศ, เสน้ เลง็ ง. ๒ สว่ น คือ ฝาตลับเขม็ ทศิ และมาตราส่วน ๑๓. หนา้ ท่ีของนายทหารฝ่ายธุรการและกาลังพล มอี ยู่ ๒ ประเภทคอื หน้าทที่ ัว่ ไปและหนา้ ทเ่ี ฉพาะ หน้าท่ีเฉพาะเกยี่ วกับ กาลังพล ๑๐ ประการ ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ ง ก. จัดทาหลักฐานสาหรับกองบังคับการ ข. การจดั การกาลงั พลและการดาเนินการกาลังพล ค. จดั แบง่ เสมยี นให้กับ ฝอ. อ่ืน ๆ ง. ถกู ทุกขอ้ ๑๔. การอ่านเข็มทิศ ควรระลกึ ถึงระยะปลอดภยั ในการใชเ้ ข็มทิศ โดยไม่อ่านใกล้กบั สงิ่ ต่าง ๆ ต่อไปนี้ ข้อใดกล่าวผดิ ก. สายโทรเลข, สายโทรศพั ท์ และลวดหนาม ๑๐ เมตร ข. หมวกเหล็ก ๑ เมตร ค. ปนื ใหญ่,รถยนต์ ๑๘ เมตร ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ค. ๑๕. หน่วยท่เี หมาะสมทสี่ ุดที่ใช้ในการขยายผลในการรบดว้ ยวธิ รี ุก ก. กองพลทหารราบ ข. หน่วยยานเกราะและหน่วยทหารราบยานเกราะ ค. พล.ร.เบา ง. ถูกทุกข้อ ๑๖. ความสาเร็จในการถอนตัวเม่ือข้าศึกไม่กดดันข้ึนอยกู่ บั อะไร ข. ความคลอ่ งแคล่วในการเคลอื่ นที่ ก. การรักษาความลับ ง. การกาบงั และการซอ่ นพราง ค. การมแี ผนท่ดี ี ๑๗. รูปขบวนที่จะใช้เมอ่ื สถานการณ์ขา้ ศกึ ยังไมก่ ระจา่ ง แต่คาดว่านา่ มกี ารปะทะเกิดขึน้ ขา้ งหนา้ คอื รูปขบวนใด ก. รปู ขบวนหมวดสามเหล่ยี มแหลมหลงั ข. รปู ขบวนหมวดแถวตอน ค. รูปขบวนสามเหล่ียมแหลมหนา้ ง. รปู ขบวนหมวดหน้ากระดาน
๑๘. ข้อความต่อไปนี้ ขอ้ ใดมใิ ช่การแจ้งการถอนตวั ของกองรักษาด่านรบ ก. เวลาถอนตวั แล้วเสร็จ ข. เวลาถอนตัวตามแผน ค. เวลาเริม่ ถอนตัวจรงิ ง. การขออนมุ ตั ถิ อนตวั ๑๙. ความสาเร็จในการถอนตวั เม่อื ขา้ ศึกกดดันขึ้นอยูก่ ับอะไร ก. การตรวจการณ์ของข้าศกึ ข. แจง้ เตือนการเขา้ มาของขา้ ศกึ ค. การลวงและการรักษาความลับ ง. ความคล่องแคล่วในการเคลือ่ นที่ ๒๐. หลกั นิยมในการรบด้วยวิธรี ุก ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ ง ก. ค้นหา ติดตาม สรู้ บ ทาลาย ตรึง ข. ค้นหา ตรึง สู้รบ ติดตาม ทาลาย ค. คน้ หา ตรึง ติดตาม สู้รบ ทาลาย ง. ค้นหา ตรงึ สรู้ บ ทาลาย ติดตาม ๒๑. ในการรน่ ถอย การปฏบิ ัติซ่ึงกาลงั รบที่กระจายกนั อยู่ ผละออกจากขา้ ศึก การปฏิบัติดงั กล่าวเรียกวา่ ก. การถอย ข. การรบหน่วงเวลา ค. การถอนตวั จากการรบ ง. การรน่ ถอย ๒๒. ข้อใดไมใ่ ชก่ ารมุ่งหมายของการถอย ข. เพ่อื เพม่ิ ระยะระหว่างฝา่ ยต้งั รบั กบั ขา้ ศึก ง. เพื่อยดึ ครองภมู ปิ ระเทศที่ได้เปรียบกว่า ก. เพ่อื ให้เกิดเสรีในการปฏบิ ัติ ค. เพ่อื ไปใช้เขตปฏิบตั ิการอ่ืน ๒๓. การปฏบิ ัติการรน่ ถอยแบ่งออกเป็น.............อะไรบา้ ง ก. การถอนตวั เวลากลางวนั , การถอนตัวเวลากลางคนื ข. การรบหนว่ งเวลา, การถอนตัวภายใตค้ วามกดดนั , การผละจากการรบ ค. การถอนตวั , การรบหน่วงเวลา, การถอย ง. การรบหน่วงเวลา, การผละจากการรบ, การถอย ๒๔. ในที่ต้ังถาวรเฉลย่ี แลว้ ทหารคนหน่ึงต้องการน้า ๗๐ แกลลอน สาหรับคา่ ยพกั กึ่งถาวร ความตอ้ งการนา้ อย่รู ะหวา่ งก่ี แกลลอน ก. ๒๐ – ๓๐ แกลลอน ข. ๒๐ – ๔๐ แกลลอน ค. ๒๐ – ๕๐ แกลลอน ง. ๒๐ – ๗๐ แกลลอน ๒๕. ข้อใดไมใ่ ชค่ วามมงุ่ หมายของการรบด้วยวธิ ีรับ ก. เพ่อื ทาลายข้าศึกหรือล่อใหข้ ้าศกึ เข้ามาในพ้ืนทที่ ต่ี อ้ งการ ข. ผลักดันข้าศึก ด้วยการยงิ และรบประชิด ค. เพ่อื รอโอกาสกลับมาเปน็ ฝ่ายรุก ง. เพอื่ ลดขดี ความสามารถในการรบด้วยวิธรี กุ ของขา้ ศกึ ๒๖. ระดับการต้านทานของส่วนทท่ี าการต้งั รบั มีกี่ระดับ อะไรบา้ ง ก. มี ๓ ระดับ ๑ การต้งั รับ, ๒ การรบหน่วงเวลา , ๓ ฉากกาบงั ข. มี ๒ ระดบั คอื ๑ การรบหนว่ งเวลา ค. มี ๑ ระดับ คือ การรบหนว่ งเวลา ง. มี ๔ ระดบั คือ ๑ การตง้ั รบั , ๒ ฉากกาบัง, ๓ ฉากขัดขวาง, ๔ การรบหนว่ งเวลา
๒๗. เคร่อื งมอื หรือเอกสารในการทางานของ ฝอ. ๕ หรือ นายทหารฝา่ ยกิจการพลเรือนในการปฏบิ ัตงิ าน ใช่เคร่อื งมือหรอื เอกสาร ข้อใดกล่าวถกู ต้องในการดาเนินงาน เชน่ เดียวกับ ฝอ.อนื่ ๆ ก. บนั ทึกประจาวัน ข. รายงานหรอื สรปุ สถานการณ์ ค. เอกสารแยกเร่ือง ง. ถูกทกุ ข้อ ๘. การตโี ตต้ อบ เป็นการตตี อ่ ท่หี มาย อยา่ งไร ข. ที่หมายจากดั ก. ที่หมายหลัก ง. ทีห่ มายกองรอ้ ย ค. ทหี่ มายต่อเนอื่ ง ข. ลวงและตา้ นทาน ๒๙. ภารกิจของส่วนท่ีเหลอื ไวป้ ะทะ คือขอ้ ใด ง. เข้าประชิดขา้ ศกึ ก. กาบงั และถอนตัว ค. ยบั ยง้ั และต้านทาน ๓๐. ในพื้นทร่ี กทึบ หลุมบคุ คลคู่ หา่ งไม่เกนิ เทา่ ไร ข. ๕ เมตร ก. ๑๐ เมตร ง. ๒๐ เมตร ค. ๑๕ เมตร ๓๑. ในการรบหนว่ งเวลา หนว่ ยจะไมท่ าการรบแตกหักยกเว้น ก. เมือ่ หน่วยไม่มีเสรีในการดาเนนิ กลยทุ ธ์ ข. ไมส่ ามารถปฏบิ ัตติ ามแผนข้ันตน้ ได้ ค. เม่ือไมม่ ีทางเลอื กเป็นอย่างอื่น ง. ถกู ทุกข้อ ๓๒. หมูว่ างกาลังต้ังรับ กวา้ ง ลกึ เท่าไร ข. ๒๕ - ๑๐๐ เมตร ก. ๓๐ - ๑๐๐ เมตร ง. ๔๐ – ๑๐๐ เมตร ค. ๓๕ - ๑๐๐ เมตร ๓๓. นายทหารส่งกาลังของกองร้อยคือใคร ข. รอง ผบ.รอ้ ย ก. ผบ.ร้อย. ง. ส.ส่งกาลงั ค. จ่ากองรอ้ ย ๓๔. ขนั้ ของระเบยี บการนาหนว่ ย การรับภารกิจ ภารกิจไดร้ ับจากคาส่ังอะไร ก. สถานการณ,์ การวางแผนข้นั ต้น, กาลังฝ่ายข้าศึก, กาลังฝ่ายเรา ข. การวางแผนขัน้ ต้น,แนวความคิดในการปฏิบัติ ค. คาส่งั เตือน, คาสัง่ ยทุ ธการ หรือ คาส่งั เปน็ สว่ น ๆ ง. ถูกทกุ ข้อ ๓๕. หน่วยระดบั กองพัน ต้ังรบั ไดอ้ ย่างไร ข. ตง้ั รับแบบเคลอ่ื นที่ ก. ต้งั รบั เป็นพ้นื ทอ่ี ย่างเดยี ว ง. ตง้ั รบั แบบเกื้อกลู ค. ตั้งรับแบบผสม ๓๖. หงายฝ่ามือยกแขนขนึ้ ไปขา้ งหน้าเสมอไหล่ ทาซา้ ๆ หลาย ๆ คร้ัง อย่าให้แขนงอเป็นการใหส้ ัญญาณ สาหรับ ฮ. ปฏิบตั อิ ยา่ งไร ก. บินไปข้างหนา้ ข. เคลอ่ื นทีก่ ลับไป ค. ถูกเฉพาะขอ้ ข. ง. ถกู ทง้ั ขอ้ ข. และ ค.
๓๗. การต้ังรบั พิเศษ ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง ก. การต้งั รบั หน้าเนิน, การต้งั รบั วงรอบ, การตงั้ รับแบบคลอ่ งตัว ข. การต้งั รับแนวลานา้ ,การต้งั รับลาดหน้าเนิน,การต้งั รับหลังเนนิ ค. การตัง้ รบั ลาดหลงั เนนิ , การต้งั รับแนวลานา้ , การตง้ั รบั วงรอบ ง. การตั้งรับวงรอบ, การตง้ั รับแนวลานา้ , การตัง้ รบั ลาดหนา้ เนนิ ๓๘. ข้อใดไม่ใชห่ ลกั พ้นื ฐานทางยทุ ธวิธีของการรบด้วยวิธรี กุ ก. คล่คี ลายสถานการณ์ ข. ให้ไดเ้ ปรียบและดารงการเกาะ ค. ยึด และควบคุมภมู ิประเทศสาคญั ง. การทาลายกาลงั รบของข้าศึก ๓๙. การเล็งทนุ่ ระเบดิ เอ็ม ๑๘ เอ ๑ ใหเ้ ล็งตอ่ เป้าหมายที่ปรากฏข้างหน้า ในทางลึกในระยะทางตรง ๔๕ ม. จากทุ่นระเบิด ใชร้ ะยะเลง็ สูงจากระดับเทา้ ถงึ หัวเข่า และระยะทใ่ี ช้เล็งหา่ งจากทนุ่ ระเบดิ ๕๐ ม. คุณลกั ษณะของทนุ่ ระเบิดดงั กลา่ ว จะบรรจุ สะเกด็ ระเบดิ หรือลูกปลายจานวนกลี่ ูก ก. ๕๐๐ ลกู ข. ๖๐๐ ลกู ค. ๗๐๐ ลูก ง. ๘๐๐ ลกู ๔๐. ขอ้ ใดไมใ่ ชแ่ บบของการรน่ ถอย ๓ แบบ ข. การถอนตวั จากการรบ ง. การถอย ก. การถอนตวั ภายใตก้ ารกดดันของขา้ ศกึ ค. การรบหนว่ งเวลา ๔๑. อัตรากาลังพลของ บก. และ ร้อย. บก.กรม.ร. ใครทาหน้าท่ีเปน็ นายทหารการทะเบียนศพดว้ ย ก. ผู้ช่วยนายทหารฝ่ายธรุ การและกาลังพล ข. ผู้ช่วยนายทหารฝา่ ยการขา่ ว ค. ฝอ. ๓ ของหน่วย ง. นายทหารฝ่ายกจิ การพลเรอื นของหน่วย ๔๒. กองรกั ษาด่านรบ เปน็ ส่วนระวงั ปอ้ งกนั ระดบั ใด ข. กองพล ก. กรม ง. ทัพภาค ค. ทพั นอ้ ย ๔๓. ระเบียบการนาหน่วยข้นั ท่ี ๒ ออกคาสั่งเตือนอยา่ งนอ้ ยที่สดุ จะตอ้ งกล่าวถึงเร่อื งใด ก. ออกคาส่ังเตือน,ลว.ภมู ิประเทศ, ออกคาสัง่ ยุทธการ ข. ออกคาส่ังเตอื น, ออกคาสั่งยุทธการ, ตรวจทร่ี วมพล,เวลาพร้อมปฏบิ ัติ ค. ออกคาสงั่ เตอื น,ภารกจิ , เวลาปฏิบัตกิ าร, เวลาและสถานท่อี อกคาส่ัง ง. ภารกิจ, เวลาปฏิบัตกิ าร, การแนะนาโดยเฉพาะเจาะจงถ้าม,ี เวลาและสถานทอี่ อกคาสงั่ สมบรู ณ์ ๔๔. แผนการดาเนนิ กลยุทธ์ คอื แผนการใชห้ มู่ ปล. แผนนีจ้ ะตอ้ งงา่ ย ออ่ นตัวและให้การจู่โจม ประกอบด้วย ก. ภารกจิ ภมู ปิ ระเทศ ลมฟา้ อากาศ และข้าศกึ ข. ทศิ ทางเข้าตี ตาบลตรวจสอบ ข้นั การปฏบิ ัติ และการควบคมุ ค. เสน้ ทาง ทิศทางเข้าตี รูปขบวน การเขา้ ตะลุมบอน และการควบคุม ง. เสน้ ทาง รูปขบวน การเขา้ ตะลมุ บอน การเสริมความมน่ั คง ณ ที่หมาย และการ ควบคุม ๔๕. ข้อใดคอื ความมุ่งหมายหลกั ของการรบด้วยวธิ ีรกุ ข. เพอื่ ขดั ขวางมิใหข้ ้าศกึ ใชภ้ ูมิประเทศสาคญั ก. เพอ่ื ยึดรักษาภมู ิประเทศสาคญั ง. เพื่อลวงและหนั เหการปฏิบตั ขิ องขา้ ศึก ค. การทาลายกาลงั รบของขา้ ศึก
๔๖. ลดขีดความสามารถของขา้ ศึกทจ่ี ะขัดขวางต่อการเคล่อื นที่ของส่วนดาเนินกลยทุ ธ และทาลายขา้ ศกึ ตามขดี ความสามารถของอาวธุ แตล่ ะชนดิ เปน็ ภารกจิ ของ ก. ส่วนยิงสนับสนุน ข. ส่วนดาเนินกลยทุ ธ ค. ลดขดี ความสามารถในการตอบโต้ของข้าศึก ง. การดารงความหนุนเนอื ง ในการเขา้ ตี ๔๖. ลดขีดความสามารถของข้าศกึ ที่จะขดั ขวางต่อการเคล่ือนท่ขี องส่วนดาเนินกลยทุ ธ และทาลายข้าศกึ ตามขดี ความสามารถ ของอาวธุ แต่ละชนดิ เปน็ ภารกิจของ ก. สว่ นยิงสนบั สนนุ ข. สว่ นดาเนนิ กลยทุ ธ ค. ลดความสามรถในการตอบโต้ของขา้ ศกึ ง. การดารงความหนุนเน่อื งในการเขา้ ตี ๔๗. การปฏิบตั ิการรบด้วยวธิ ีรุก ประกอบดว้ ยกลมุ่ การปฏบิ ตั ิท่ีสาคัญ ๓ กล่มุ ก. การรกุ เข้าปะทะ, การลาดตระเวนดว้ ยกาลัง, การไลต่ ดิ ตาม ข. การเขา้ ตแี ละการขยายผล, การเข้าตผี ่าน, การรกุ เข้าปะทะ ค. การรกุ เขา้ ปะทะ, การเข้าตีและการขยายผล, การไลต่ ดิ ตาม ง. การรบปะทะ, การตีโฉบฉวย, การขยายผล ๔๘. แบบของการดาเนินกลยุทธ ในการรบด้วยวิธีรุก มี ๓ แบบ คือ ก. การเข้าตตี รงหน้า, การเจาะ, การโอบ ข. การเขา้ ตีต่อสว่ นกาบัง, การเข้าตีเร่งรีบ,การขยายผล ค. การเจาะ, การโอบ ๒ ปีก, การตตี ลบ ง. การเข้าตีตรงหนา้ , การเจาะ, การแทรกซมึ ๔๙. เปน็ ตาบลที่สงั เกตได้งา่ ยในภูมปิ ระเทศ เช่น ชุมทางถนน ใช้สาหรบั ควบคมุ การเคลือ่ นท่ี หรือใช้เปน็ ตาบลอา้ งองิ สาหรับ รายงานท่ีอยู่ของหน่วยทหารฝ่ายเดยี วกัน คอื ก. ตาบลติดต่อ ข. ตาบลตรวจสอบ ค. ขนั้ การปฏบิ ตั ิ ง. จุดประสาน ๕๐. การยิงในการต้ังรับ เป็นการยงิ เพ่อื ทาลายการเขา้ ตะลมุ บอนของขา้ ศกึ ขา้ งหน้า การวางกาลงั ของฝา่ ยเราเปน็ การยิงในข้อ ใด ก. การยิงระยะไกล ข. การยงิ ปอ้ งกนั ระยะใกล้ ค. การยิงป้องกันขนั้ สุดท้าย ง. การยงิ ในพื้นท่ีการรบ ............................................................................
ขอ้ สอบวชิ าเหลา่ ราบ ชุดท่ี ๒ ๑. ทาลายกาลงั รบของข้าศึกเขา้ ยึดและควบคมุ พนื้ ที่รวมท้ังประชาชนและทรพั ยากรในพนื้ ท่ี คือภาระกจิ ของ ? ก. พัน.ร ข. กรม.ร ค. พล.ร ง. ทภ. ๒. มหี นา้ ที่รับและจ่ายสิ่งอุปกรณข์ องกองพนั ปฏบิ ัติการซ่อมบารุงข้นั หน่วยของกองพัน ปฏิบัตแิ ละควบคมุ ตาบลจ่ายส่งิ อปุ กรณ์ ณ.ท่ตี ง้ั ขบวนสมั ภาระของกองพัน ปฏิบัตกิ ารบรกิ ารทางการแพทยใ์ ห้กับหนว่ ยตามอตั รา การจดั ของกองทหารราบ เป็นขีด ความสามารถของหน่วยใด ? ก. ร้อย.อวบ.ท่ี.๑ ข. รอ้ ย.สสช.พัน.ร. ค. ร้อย.สสก.พนั .ร. ง. ตอนส่งกาลงั กองพนั ๕. รปู ขบวนหมวดแถวหน้ากระดาน พวก คจตถ. จะเคลอ่ื นท่ีไปอยู่ทางหลัง ผบ.หมวด ในระยะห่างจาก ผบ.หมวด ประมาณ ๑๐ เมตร โดยจัดอยู่ในรูปขบวนอะไร ? ก. แถวตอน ข. แถวหนา้ กระดาน ค. สามเหลยี่ มแหลมหนา้ ง. สามเหลยี่ มแหลมหลัง ๖. คุณลักษณะของยานยนต์ท่ใี ช้ในราชการทหาร ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง ? ก. มไี ฟพรางหนา้ - หลัง ข. มกี นั ชนหน้า - หลัง แขง็ แรง ค. ยานยนตส์ ายพาน ง. มีขอลากจูง ๗ การซอ่ มยุทโธปกรณท์ ่ชี ารุด ใหใ้ ช้การอยา่ งสมบูรณ์ โดยกาหนดมาตรฐานการซ่อมไวเ้ ป็นเอกสารโดยเฉพาะ หมายถงึ การ ซอ่ มอย่างไร ? ก. การซ่อมใหญ่ ข. การซอ่ มแก้ ค. การซอ่ มสร้าง ง. การซอ่ มคืนสภาพ ๘. ในรปู ขบวนเฝา้ ตรวจเคลอ่ื นทีส่ ลบั ขณะทเ่ี ปล่ียนหนา้ ท่ีจากชุดเฝ้าตรวจเป็นชุดยิงเคลือ่ นทีน่ ้ัน ผบ.หมู่จะอยู่ ณ ท่ใี ด ? ก. ชดุ เคลอื่ นที่ ข. ชุดเฝ้าตรวจ ค. อยู่กบั ผบ.หมอู่ าวธุ เสริม ง. ขอ้ ข.กบั ขอ้ ค.ถกู ๙. ในการฝกึ การยงิ และการดาเนินกลยุทธเบอ้ื งต้น โดยแบ่งการฝึกออกเป็น ๒ ขั้น คอื ข้ันที่ ๑ และขั้นที่ ๒ สาหรับในการฝึกใน ข้นั ท่ี ๒ นัน้ จะตอ้ งใช้สนามฝกึ กว้าง ยาว เทา่ ไร ? ก. กว้าง ๒๕ - ๓๐ เมตร ยาว ๒๕๐ เมตร ข. กว้าง ๕๐ - ๑๐๐ เมตร ยาว ๒๕๐ เมตร ค. กวา้ ง ๑๐๐ - ๑๕๐ เมตร ยาว ๒๕๐ เมตร ง. กวา้ ง ๑๐๐ - ๒๐๐ เมตร ยาว ๒๕ เมตร ๑๐. อารพ์ ีจี - ๗ เป็นอาวุธทีใ่ ช้สาหรบั เล็งเป้าหมายรถถงั เมือ่ ทาการยงิ เป้าหมายเคลื่อนทใี่ นภูมิประเทศด้วยความเรว็ ๒๐ กม./ ชม. จะใชม้ ุมดักเท่าไร ? ก. ๒ มุมดกั ข. ๓ มมุ ดกั ค. ๔ มุมดัก ง. ๕ มมุ ดัก ๑๑. เพอ่ื ยดึ และรกั ษาภมู ิประเทศสาคัญ,เพอ่ื ลวงและหันเหการปฏิบัติของข้าศกึ ,เพอื่ ให้ไดม้ าซึง่ ขา่ วสารเก่ียวกับขา้ ศกึ คือคา จากัดความในขอ้ ใดของการรบด้วยวธิ ีรกุ ? ก. ความมุ่งหมายหลัก ข. ความมุ่งหมายรอง ค. หลักพนื้ ฐานทางยทุ ธวิธีของการรบด้วยวธิ ีรกุ ง. หลักนยิ มในการรบด้วยวิธีรกุ ๑๒. การเขา้ ตีทม่ี นั่ ดัดแปลงแข็งแรงโดยเขา้ ตะลุมบอนท่ตี ้งั ของขา้ ศึกในหลมุ เปิดรอบๆหลุมปดิ เป็นการปฏิบัติงานหมายเลข ? ก. หมายเลข ๑ ข. หมายเลข ๒ ค. หมายเลข ๓ ง. หมายเลข ๔
๑๓. มว.ปล.เขา้ ตพี นื้ ที่ส่ิงกอ่ สร้างถาวร แยกพนื้ ทใี่ ห้อย่โู ดดเดี่ยว เป็นการปฏิบัตขิ น้ั ใด ? ก. ขั้นที่ ๑ ข. ข้นั ๒ ค. ข้ันท่ี ๓ ง. ขนั้ ที่ ๔ ๑๔. กล้องเล็ง ทใ่ี ช้กับ ค. ๙๓ ขนาด ๘๑ มม. ท้ัง ๒ แบบ มอี ยู่ด้วยกันกีแ่ บบ ? ก. ๑ แบบ ข. ๒ แบบ ค. ๓ แบบ (m4, m34, m53) ง. ๔ แบบ ๑๕. การขยายผล เปน็ การปฏบิ ตั ิทต่ี อ่ เนือ่ งจากการเข้าตี เพ่อื ขยายผลความได้เปรยี บในการปฏิบัติตอ่ ที่หมายทอ่ี ยู่ลึกไปข้างหลงั ต่อท่ีบังคบั การ กองหนนุ หน่วยยงิ สนบั สนุนของขา้ ศึก ตามปกตกิ ารสั่งการให้เริม่ ขยายผล มกั จะกระทาในรูปของคาสงั่ อะไร ? ก. คาสงั่ ยทุ ธการ ข. ผนวกคาส่ังยุทธการ ค. คาส่งั เปน็ สว่ นๆ ง. อนผุ นวกคาสงั่ ยุทธการ ๑๖. การปฏบิ ตั ิการเชิงรุกโดยอาศยั การจู่โจม ความเร็วในการเคล่อื นท่ี การลวง การรักษาความลบั และลักษณะการลักลอบคอื การปฏบิ ัติการแบบใด ? ก. การต่อตา้ นกองโจร ข. การแทรกซมึ ค. การตโี ฉบฉวย ง. การซุม่ โจมตี ๑๗. การลาดตระเวน การตโี ฉบฉวย การเข้าตีทาลายการเขา้ ตี และการตโี ตต้ อบ เป็นขอ้ พจิ ารณาการรบดว้ ยวิธรี ับในเรื่อง ? ก. การซุม่ โจมตี ข. การตโี ฉบฉวย ค. การปฏิบตั เิ ชงิ รุก ง. การระวังปอ้ งกนั ๑๘. การยทุ ธขัดขวางเป็นการใช้ทางยทุ ธศาสตร์ปกตเิ ปน็ เรื่องของหน่วยระดับใด ? ก. ร้อย.ร. ข. พนั .ร. ค. กรม.ร. ง. ทัพน้อยสนาม ๑๙. การถอยเปน็ ปฏิบตั ิซงึ่ กาลังรบไมม่ กี ารปะทะ เคลื่อนทอี่ อกจากขา้ ศกึ ตามแผนของตน การถอยจะเรม่ิ ต้นปฏิบตั ิการร่นถอย ในประเภทอะไรกอ่ น ? ก. การถอนตัวนอกความกดดัน ข. การถอนตัวจากการรบ ค. การรบหน่วงเวลา ง. การถอนตัวภายใตก้ ารกดดนั ของข้าศึก ๒๐. เปน็ วธิ ที ีเ่ หมาะท่ีสุดในการตรึงกาลงั ขา้ ศกึ ให้อยใู่ นทม่ี ัน่ ซึ่งจะอานวยให้สามารถจับหรือทาลายกาลังข้าศกึ ได้ เปน็ การดาเนิน กลยุทธท่ียากลาบาก หน่วยปฏบิ ัตกิ ารต้องใชก้ าลังมากกวา่ ปกติ และต้องมีความคลอ่ งแคลว่ เหนือกวา่ ขา้ ศกึ ซ่งึ จะสามารถ ปฏบิ ัตกิ ารไดอ้ ยา่ งจ่โู จม เปน็ การดาเนินกลยุทธแบบใด ? ก. การตตี ลบ ข. การโอบลอ้ ม ค. การเจาะ ง. การเขา้ ตีสนบั สนุน ๒๑. การแบ่งมอบกาลังในทางลกึ โดยธรรมดาสว่ นต่างๆของกาลังรบกระจายออกไปในเขตปฏิบัตกิ าร เพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ตั ิการรบท่ี ได้รบั มอบ ในการปฏบิ ัตกิ ารรบด้วยวิธรี ุก จะใชก้ าลงั ส่วนใดเป็นส่วนระวังปอ้ งกนั ,ส่วนเข้าตี และสว่ นหนนุ ? ก. สว่ นกาลังรบ ข. สว่ นระวังป้องกัน ค. สว่ นหนนุ ง. สว่ นต้ังรับหนา้ ๒๒. เป็นเคร่ืองกดี ขวางท่ใี ช้สกัดกั้นท้ังยานพาหนะและทหารราบ เปน็ เคร่ืองกีดขวางทไ่ี ดผ้ ล มักใช้กนั สว่ นมากในหนว่ ยระดบั กองร้อยและกองพัน ไดแ้ กส่ นามท่นุ ระเบิดสงั หาร,สนามทุน่ ระเบดิ ดักรถถงั ,ไม้ล้มขวาง,หลุมระเบดิ เรยี กวา่ เครอ่ื งกดี ขวางชนดิ ใด? ก. สนามทุน่ ระเบดิ ข. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลและทนุ่ ระเบิดดัรถถัง ค. เคร่ืองกดี ขวางทีส่ ร้างขน้ึ ง. เคร่ืองกีดขวางผสม ๒๓. ระเบียบปฏบิ ตั ิประจา เป็นคาส่งั ประเภทใด? ข. คาสง่ั ทัว่ ไป ก. คาสง่ั นโยบาย ง. คาสง่ั การรบ ค. คาสั่งเฉพาะ
๒๔. กระโจมลวดหนามที่วางไว้เพ่ือปอ้ งกันการเขา้ ตะลุมบอนอยา่ งจู่โจมของข้าศึกอยู่ในระยะใกล้พอทจี่ ะตรวจการณ์เห็นได้จาก ท่มี ่นั ทงั้ กลางวนั และกลางคนื ประมาณ ๓๐ - ๑๐๐ หลา แลว้ แต่ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ โดยลอ้ มรอบทม่ี ่ันกองรอ้ ย อาจเชื่อมต่อ โดยตลอดกับทม่ี ่ันกองพัน เรยี กว่า? ก. กระโจมลวดหนามประเภทป้องกันตน ข. กระโจมลวดหนามประเภททางยุทธวธิ ี ค. กระโจมลวดหนามประเภทเพิม่ เติม ง. กระโจมลวดหนามประเภทลวดหีบเพลง ๒๕. วถิ ีกระสุนของเครอื่ งยงิ ลูกระเบดิ เกอื บจะราบ เมอ่ื ยงิ ออกไปในระยะเทา่ ไร? ก. ๑๕๐ เมตร ข. ๓๐๐ เมตร ค. ๖๐๐ เมตร ง. ๗๐๐ เมตร ๒๖. การยงิ เป้าหมายเปน็ แนว พลยงิ อาวธุ กลจะทาการยิงให้ครอบคลุมเป้าหมายในเขตรับผดิ ชอบของหมู่ ในระยะกเ่ี มตร? ก. ๓๐๐ เมตร ข. ๔๖๐ เมตร ค. ๖๐๐ เมตร ง. ๗๐๐ เมตร ๒๗. ตาบลท่กี ระสนุ ปรส.๑๐๖ ม.ม. ตกของแต่ละนดั มักจะไปอยรู่ วมกันตรงจุดศูนย์กลางของตาบลกระสนุ ตกเป็นจานวนมาก นดั ท่ีสดุ ซ่งึ ที่จุดศูนยก์ ลางนีเ้ รียกว่า? ก. จดุ อาการกระจาย ข. จุดศูนยก์ ลางตาบลกระสนุ ตก ค. กรวยกระสนุ วิถี ง. จดุ ปานกลางมณฑล ๒๘. การตีโอบสองปกี กับการเข้าตตี ลบ แตกต่างกนั อย่างไร? ก. รูปขบวนทาการรบ ข. การกาหนดน้าหนกั ในการเขา้ ตี ค. ความมุง่ หมาย ง. การจดั กาลังเข้าทาการรบ ๒๙. การยงิ เตรยี มแบง่ การยงิ เปา้ หมายออกเป็นขั้นๆ เพือ่ ใหก้ ารเข้าตีเป็นไปอย่างตอ่ เน่อื ง ในข้ันแรกควรโจมตีในเรื่องอะไร? ก. ระบบอาวุธยงิ สนบั สนนุ ข. ศนู ย์การส่อื สารและการบงั คับบญั ชา ค. กองหนุนข้าศึกในทรี่ วมพล ง. ข้าศึกในพนื้ ท่ีตัง้ รับหนา้ ๓๐. การยิงควนั พรางเพ่ือชว่ ยเสริมความมน่ั คงของหน่วยทยี่ ึดทห่ี มายไดแ้ ลว้ ควรวางตาบลยงิ ใหห้ ่างจากฝ่ายเราระยะเท่าไร? ก. ๕๐๐ เมตร ข. ๑,๐๐๐ เมตร ค. ๑,๕๐๐ เมตร ง. ๒,๐๐๐ เมตร ๓๑. เครอ่ื งกดี ขวางแบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท อยากทราบว่าลวดกระโจมสูงมกี ่เี ส้นและลวดกระโจมตา่ มกี เ่ี ส้น? ก. กระโจมสงู ๑๕ เสน้ กระโจมต่า ๑๐ เสน้ ข. กระโจมสงู ๑๐ เส้น กระโจมตา่ ๑๒ เสน้ ค. กระโจมสงู ๑๒ เส้น กระโจมต่า ๑๐ เส้น ง. กระโจมสงู ๑๐ เสน้ กระโจมต่า ๑๔ เสน้ ๓๒. หลกั การสงครามมี ๑๐ ข้อ การพฒั นาระบบต่อส่เู บ็ดเสรจ็ การจัดพื้นท่เี พ่ือการตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ จะแบ่งพื้นท่อี อกเป็น ๒ พน้ื ที่ คอื ? ก. พืน้ ที่การรบและพื้นที่สว่ นหลัง ข. พ้ืนท่นี อกประเทศและพื้นทีใ่ นประเทศ ค. พ้ืนทน่ี อกประเทศและพ้นื ทก่ี ารรบ ง. พื้นท่สี ว่ นหลงั และพืน้ ทีแ่ นวชายแดน ๓๓. การต้งั รับตามแนวลาน้า หน่วยระดับกองพันมีการต้ังรบั อยู่ ๒ แบบ คือ อาศยั ลาน้าอย่างมากที่สดุ และ ? ก. วางกาลงั ตามแนวลานา้ ให้น้อยทสี่ ุด ข. อาศัยลาน้าเปน็ เครื่องกีดขวางอย่างนอ้ ยที่สุด ค. วางกาลงั ทงั้ ๒ ฝ่งั เท่าๆกัน ง. วางกาลงั ตามแนวลานา้ ให้มากที่สดุ ๓๔. การเลง็ เปา้ หมายคนยนื ในระยะ ๓๐๐ เมตร ต้องทาการเลง็ จุดใด? ก. ศีรษะและลาคอ ข. ก่งึ กลางลาตัว(ระดบั เข็มขัดถึงหวั ใจ) ค. ต่ากว่าหัวเข่าลงไป ง. ตรงหวั เข่า ๓๕. การปฏิบัตกิ ารต่อกาลังขา้ ศกึ โดยใชห้ นว่ ยกดดนั โดยตรงรว่ มกบั หนว่ ยโอบล้อมเปน็ การปฏิบตั ิในเรื่องอะไร? ก. การเคล่อื นทเ่ี ข้าปะทะ ข. การเขา้ ตี ค. การขยายผล ง. การไลต่ ิดตาม
๓๖. ชุด ร - ถ ตามปกติภายในพนั ร. จะปฏิบตั ิอย่างไร? ก. ๑ มว.ถ.สมทบ ๑ กองร้อย อวบ. ข. ๑ ร้อย ร.สมทบ ๑ มว.ถ. ค. ๑ มว.ถ.สมทบ ๑ มว.ปล. ง. ๑ มว.ปล.สมทบ ๑ มว.ถ. ๓๗. ปลย.เอม็ ๑๖ เอ ๑ สามารถทาการยิงไดท้ งั้ แบบอตั โนมัตแิ ละกง่ึ อัตโนมัติดว้ ยการใช้คนั บงั คับการยิง แบ่งการทางาน ออกเปน็ หลายขั้น อยากทราบวา่ การทางานขน้ั ที่ ๖ คอื ? ก. การปลดกลอน ข. การขน้ึ นก ค. การปอ้ นกระสุน ง. การป้อนกระสุนเขา้ สูร่ ังเพลงิ ๓๘. การบันทึกสนามทุน่ ระเบิดปอ้ งกันตนแบบเรง่ ด่วนใชแ้ บบบันทึกของ ทบ.๔๖๒ - ๐๓๕ ในการลงหม่วู นั เวลา จะลงตรงไหน? ก. ซา้ ยบน ข. ซา้ ยลา่ ง ค. ขวาบน ง. ขวาลา่ ง ๓๙. ในการวางสนามทนุ่ ระเบิดทางยุทธวธิ ี มกี ่วี ธิ ี? ก. ๑ วธิ ี ข. ๒ วธิ ี ค. ๓ วิธี ง. ๔ วธิ ี ๔๐. การพลางหมวกเหล็กมีก่ชี นดิ ? ก. ๔ ชนดิ ข. ๕ ชนดิ ค. ๖ ชนิด ง. ๗ ชนิด ๔๑. ทิศทางหลักในแผนที่มีกชี่ นิด อะไรบ้าง ? ก. ๒ ชนิด ทิศเหนอื จรงิ , ทิศเหนือแมเ่ หล็ก ข. ๓ ชนดิ ทิศเหนอื จรงิ ,ทิศเหนือแม่เหลก็ ,ทิศเหนอื กริด ค. ๒ ชนดิ ทิศเหนอื จรงิ , ทิศเหนอื กรดิ ง. ถูกท้ังขอ้ ก และ ค ๔๒. รถพ่วงทุกประเภทไม่ควรใชค้ วามเร็วเกนิ เท่าไร ? ก. ๓๐ ไมล์/ชม. ข. ๔๐ ไมล์/ชม. ค. ๕๐ ไมล์/ชม. ง. ๖๐ ไมล์/ชม. ๔๓. การถอนตัวโดยข้าศกึ กดดัน มว.ปล. เมือ่ ทาหน้าที่ส่วนกาบงั ของกองร้อยอาวธุ เบาท่ีกาหนดให้เปน็ กองหนนุ ของกองพนั โดยปกติ เปน็ สว่ นกาบงั ของกองพนั ในการถอนตัวเมือ่ ขา้ ศึกกดดนั ทีต่ ั้งขา้ งต้นของส่วนกาบงั คือ ? ก. ดา้ นหลงั ของหนว่ ยในแนวหน้าของพนั ร.มาตรฐาน ข. ด้านหลงั ของกองหนนุ ของพัน ร.ยานเกราะ ค. ดา้ นหลังของหนว่ ยในแนวหน้าของพนั ร.ยานเกราะ ง. ด้านหนา้ ของหน่วยในแนวหน้าของพัน ร.ยานเกราะ ๔๔. สายดับบลวิ ดี - ๑/พที ี ทนแรงดงึ สงู สุดกปี่ อนด์ ? ข. ๒๐๐ ปอนด์ ก. ๑๐๐ ปอนด์ ง. ๔๐๐ ปอนด์ ค. ๓๐๐ ปอนด์ ๔๕. สารเคมีทใ่ี ชใ้ นทางทหารชนดิ ใดท่ีแบ่งประเภท ตามความมงุ่ หมาย ? ก. สารไร้สมรรถภาพ ข. สารสาลกั ค. สารประสาท ง. สารอาเจยี น ๔๖. กาลังท่เี หลือไวป้ ะทะ จะปฏิบัติอย่างไร ? ก. ป้องกนั การถอนตวั ของกาลังสว่ นใหญ่ดว้ ยการลวงและการต้านทาน ข. ถอนตัวตามเวลา ค. ถอนตวั เมอ่ื สง่ั ง. ข้อ ก. และ ขอ้ ค. ถูก
๔๗. การปฏิบัติการเข้าตีในเวลากลางคนื เพ่อื หลีกเล่ียงความเสยี หายอยา่ งหนกั เพ่ือดารงความกดดัน เพ่อื ให้ไดช้ ยั ชนะหรอื ขยายผลแห่งความสาเรจ็ เพือ่ ลดการจู่โจม คือการกลา่ วในเร่อื งใดของการเข้าตีในเวลากลางคนื ? ก. กล่าวท่วั ไป ข. นิยามศัพย์ ค. ความมงุ่ หมาย ง. ปจั จยั พงึ ประสงค์ ๔๘. .................รบั ผิดชอบในการกากบั ดูแลสงิ่ อปุ กรณข์ องกองร้อย ? ก. ผบ.รอ้ ย. ข. รอง ผบ.รอ้ ย. ค. จา่ กองรอ้ ย ง. นายทหารและนายสบิ ทกุ คนภายในกองร้อย ๔๙. ตามปกติกองร้อยเขา้ ตี ขา้ มลานา้ ดว้ ยเรือมักจะมีภารกจิ ในข้นั แรกคอื ? ก. ลาดตระเวนหาขา่ ว ข. ลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศ ค. ทาการยึดภูมิประเทศ ง. ถูกทุกข้อ ๕๐. ป้อมสนามเปน็ งานท่ีสรา้ งขึ้นโดยหน่วยรบและหน่วยช่วยรบทุกหนว่ ย แบง่ ออกตามคาจากดั ความได้ ๒ อยา่ งคือ ? ก. ปอ้ มสนามถาวรและป้อมสนามทสี่ ร้างโดยหนว่ ยทหารการชา่ ง ข. ป้อมสนามท่ีสรา้ งโดยหนว่ ยการใชแ้ ละปอ้ มสนามถาวร ค. ปอ้ มสนามถาวรและป้อมสนามเร่งดว่ น ง. ป้อมสนามที่สร้างโดยหนว่ ยใชแ้ ละป้อมสนามที่สรา้ งโดยหนว่ ยทหารช่าง ...............................................................................
ข้อสอบวชิ าเหล่าทหารราบ ชดุ ที่ ๓ จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สดุ เพยี งขอ้ เดียว ๑. การยิงยอ่ มสัมฤทธิ์ผลไดด้ ้วยการฝึกใช้อาวธุ และการปฏบิ ัตติ ามคาสั่ง โดยเคร่งครัด มีความชานาญในมาตราระยะยิง,การเลง็ ,การล่ันไก การสนใจในการรบั คาสั่ง กล่าวถึงข้อใด ก. การควบคมุ การยงิ ข. วินัยการยงิ ค. กลา่ วโดยทัว่ ไป ง. การเลอื กท่ีตง้ั ยงิ ๒. เปน็ การดาเนนิ กลยทุ ธท่ีเข้าโจมตตี ลอดกวา้ งด้านหน้าในทศิ ทาง หรือบนเสน้ ทางทีต่ รงและสั้นที่สุดคือ ก. การเจาะ ข. การเข้าตีตรงหนา้ ค. การโอบ ง. การตตี ลบ ๓. ข้อความใดทีไ่ มอ่ ยูใ่ นหลกั ของการรายงานให้ผู้บงั คบั บัญชาช้ันเหนอื ทราบในเร่ืองการปฏิบัติ ก. สถานการณ์ทัว่ ๆ ไป ข. สถานการณท์ ่ีกาลังเผชญิ อยู่ ค. ความคืบหนา้ ของการปฏบิ ัตกิ าร ง. เสนอแนะหนทางปฏิบัติ ๔. การเสริมความม่ันคงและการจดั ระเบียบใหม่ เป็นการกระทาเพ่ือความม่งุ หมายอะไร ก. เพื่อยบั ยงั้ การตีโตต้ อบ ข. เตรียมการเข้าตตี อ่ ไป ค. ลดความสญู เสียตอ่ กาลงั ฝ่ายเรา ง. ถกู ขอ้ ก. และ ข. ๕. ข้อความใดทก่ี ลา่ วถงึ การเสริมความมน่ั คง ณ ทห่ี มาย ก. จัดวางกาลงั พลและอาวุธตามลักษณะภูมปิ ระเทศท่เี หมาะสม ข. การแจกจา่ ยกระสุนเพ่ิมเติม ค. รายงานให้ผู้บงั คับบญั ชาหนว่ ยเหนอื ทราบ ง. ร้องขอการสง่ กาลังเพมิ่ เติมตามความจาเป็น ๖. ขอ้ ความใดท่ีกลา่ วถึง การจัดระเบยี บใหม่ ก. สง่ ส่วนระวงั ปอ้ งกนั ไปขา้ งหน้าและทางปีก ข. ลาเลียงผู้บาดเจบ็ ไปยังที่ตัง้ ปกปิดกาบัง ค. ทาการขุดหลมุ ฝงั ตัวตามความจาเปน็ ทง้ั รถสายพานและกาลังพล ง. ดารงความกดดันข้าศึกท่ที าการถอนตวั ๗. การเข้าตีพืน้ ทสี่ งิ่ กอ่ สร้างถาวรในการกวาดล้างอาคาร ผบ.หมวด จะตอ้ งปฏิบัติในเร่อื งอะไรกอ่ น ก. ทาการแยกอาคารใหอ้ ย่โู ดดเด่ียว ข. ทาการยดึ ทางเดินหรือรอ่ งทางเขา้ อาคารเอาไว้ ค. ทาการกวาดลา้ งอาคาร ง. ทาลายข้าศกึ ทอ่ี ยู่บนหลังคา ๘. การเข้าไปกวาดลา้ งภายในอาคาร ควรเข้าชอ่ งทางใด ก. ประตู ข. หนา้ ต่าง ค. ชอ่ งทางท่ีเกิดจากการสรู้ บ ง. เจาะช่องทางเข้าใหม่ ๙. การเลอื กเส้นทางแทรกซึมใหม้ ลี กั ษณะอยา่ งไร ก. หลกี เลย่ี งทม่ี ัน่ ข้าศกึ ข. เส้นทางที่มกี ารกาบังและซอ่ นพรางดี ค. สะดวกตอ่ การควบคุมบังคับบัญชาและการเดินทาง ง. ท่กี ล่าวมาถกู ทุกขอ้ ๑๐. การกาหนดเขตการยงิ ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว เมือ่ เข้าประจาทมี่ ่ันในครง้ั แรกนั้น หมวดควรกาหนดระเบียบปฏบิ ัตปิ ระจา ในลกั ษณะใด ก. ระบบพกิ ดั ข. ระบบนาฬกิ า ค. จุดตัดของแนวถนน ง. ภมู ิประเทศสาคญั ๑๑. เป้าหมายทด่ี เี ยี่ยมสาหรบั เครื่องยงิ ลูกระเบดิ เอม็ .๒๐๓ คอื อะไร ก. เครือ่ งยิงลกู ระเบดิ ของข้าศึก ข. ทหารราบขา้ ศึกที่ลงรบเดินดิน ค. ยานพาหนะหมุ้ เกราะ ง. รถถงั
๑๒. อาวธุ ตอ่ สรู้ ถถงั หลกั ท่ใี ช้ตอ่ ส้รู ถถงั ในระยะใกลข้ องหมู่ คอื อาวุธอะไร ก. เครอื่ งยิงลูกระเบิด เอม็ .๒๐๓ ข. ปืนกลเอม็ ๖๐ ค. อาวุธตอ่ ส้รู ถถังขนาดเบา ง. อาวธุ ตอ่ สูร้ ถถังขนาดกลาง ๑๓. ขณะท่ีกาลังส่วนใหญด่ ดั แปลงภมู ปิ ระเทศเพ่ือทาท่ีมัน่ การรบ จะต้องกาหนดทหารทาหน้าท่ีเป็นส่วนระวงั ปอ้ งกนั จัดตงั้ ที่ ตรวจการ หนา้ ที่ม่ันของหมวดอย่างนอ้ ยทส่ี ุดกแ่ี ห่ง ก. ๑ แหง่ ข. ๒ แหง่ ค. ๓ แหง่ ง. ๔ แห่ง ๑๔. ในการเหน็ ภาพในเวลากลางคืน การปรับสายตาให้คนุ้ เคยกบั ความมืดประมาณ ๙๘ % ต้องใช้เวลานานถึงกี่นาที ก. ๒๐ นาที ข. ๓๐ นาที ค. ๓๕ นาที ง. ๔๐ นาที ๑๕. มว.ปล. เขา้ ตพี นื้ ท่ีส่ิงกอ่ สร้างถาวร การแยกพื้นทใ่ี ห้โดดเดย่ี ว เปน็ การปฏบิ ตั ใิ นขน้ั ใด ก. ขน้ั ที่ ๑ ข. ขั้นที่ ๒ ค. ขน้ั ที่ ๓ ง. ขนั้ ท่ี ๔ ๑๖. การลาดตระเวนเพือ่ ใหไ้ ด้ขา่ วสารเก่ียวกบั ข้าศกึ หรอื ภูมปิ ระเทศตามเส้นทาง โดยเฉพาะเสน้ ทางใดเส้นทางหน่ึง เรียกว่า ก. การลาดตระเวนเสน้ ทาง ข. การลาดตระเวนเขต ค. การลาดตระเวนพืน้ ท่ี ง. การลาดตระเวนรบ ๑๗. การรบปะทะจะเกิดขึน้ กับสว่ นไหนของกาลังรกุ เขา้ ปะทะกอ่ น ก. กองระวงั หนา้ ข. กองกระหนาบ ค. กองระวงั หลัง ง. ทกุ ส่วนของส่วนระวังปอ้ งกัน ๑๘. การยิงเพ่ือกาจัดการเจาะและการยงิ โต้ตอบเปน็ การยิงแบบใด ก. การยงิ ระยะไกล ข. การยิงระยะใกล้ ค. การยงิ ภายในพ้ืนท่ีการรบ ง. การยงิ ปอ้ งกนั ข้นั สดุ ทา้ ย ๑๙. การลาดตระเวนท่มี ัน่ ใหมใ่ นระดับ มว. ปกติแล้วจะเปน็ ผ้ใู ด ก. ผบ.มว. ข. รอง ผบ.มว. ค. ส.ประจา มว. ง. ผบ.หมู่ ปก. ๒๐. แบบของการปฏบิ ัติการต้ังรบั มอี ยู่ ๒ แบบ ได้แก่ข้อใด ก. แบบพืน้ ท่/ี แบบคลอ่ งตวั ข. เร่งดว่ น/ปราณีต ค. พ้นื ที่/ประณีต ง. เคลื่อนที/่ เรง่ ด่วน ๒๑. จดุ ประสานงานกาหนดจัดขึ้นที่ใด ก. ขอบหนา้ พื้นทก่ี ารรบ ข. บนเสน้ แบง่ เขต ค. บนแนวออกตี ง. บนทหี่ มาย ๒๒. การปฏบิ ตั ิการท่ีจาเปน็ เพื่อทราบเก่ยี วกับกาลัง,ที่ตง้ั ,การประกอบกาลงั ของขา้ ศกึ ซง่ึ จะตอบโต้ต่อฝา่ ยเราเป็นคาจากดั ความในข้อใด ก. ใหไ้ ดเ้ ปรยี บและดารงการเกาะ ข. คล่ีคลายสถานการณ์ ค. ขยายผลเมือ่ ทราบจดุ ออ่ นข้าศกึ ง. ลดความสามารถในการตอบโตข้ า้ ศึก ๒๓. ท่ตี รวจการณ์ที่ดีของ ค.๖๐ ควรอย่หู ่างจากท่ีต้ังยงิ เทา่ ใด ก. ๙๐ หลา ข. ๑๐๐ หลา ค. ๑๒๐ หลา ง. ๑๕๐ หลา ๒๔. แนวขอบหนา้ พนื้ ที่การรบเปน็ เสน้ แบ่งพืน้ ทร่ี ะหวา่ งส่วนใดกบั ส่วนใด ก. กองรักษาด่านท่วั ไป ข. กองรกั ษาดา่ นรบกบั สว่ นระวังป้องกนั เฉพาะบรเิ วณ ค. พืน้ ที่ส่วนระวงั ป้องกนั กับพน้ื ทีก่ ารรบ ง. พน้ื ที่ตงั้ รบั หน้ากบั พนื้ ทก่ี องหนุน
๒๕. การปฏบิ ัติเพือ่ รกั ษาความเป็นกลุม่ กอ้ นของกาลงั รบเอาไว้ จนกวา่ จะมีโอกาสทีจ่ ะทาการรบด้วยวธิ รี กุ เปน็ ความม่งุ หมายใน เรื่องอะไร ก. การรบดว้ ยวิธรี ่อนถอย ข. การถอนตวั ค. การถอย ง. การรบหน่วงเวลา ๒๖. หลักสาคญั ของการสอนเป็นเคร่อื งนาทางให้ครเู ลือกวธิ ีการใช้การสอน อบุ ายและเทคนคิ ในการสอนให้ไดผ้ ลดี มี ๖ ประการ แต่สงิ่ ที่นบั วา่ เปน็ หัวใจของการเรียน และเปน็ ปญั หาเบอื้ งตน้ ท่ีสาคัญที่สุดคอื ขอ้ ใด ก. เรา้ ความสนใจ ข. บอกความมุง่ หมาย ค. เรยี นด้วยการปฏิบัติ ง. ความสมจริง ๒๗. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้มิใชแ่ บบทีต่ ้ังยิงปนื กล เอ็ม.๖๐ ก. แบบบอ่ ข. แบบวงกลม ค. แบบเกือกม้า ง. แบบหลุมบคุ คลสองหลุม ๒๘. สถานที่ที่ผบู้ ังคับบัญชาสง่ ทหาร ๒ – ๔ คน ไปประจาอยใู่ นเวลากลางคนื หรือทัศนวิสัยไมด่ ี เพ่ือคอยฟงั ความเคล่อื นไหว ของขา้ ศึก เรียกวา่ อะไร ก. ที่ตรวจการณ์ ข. ท่ีส่ังการ ค. ที่ฟงั การณ์ ง. ท่ีสงั เกตุการณ์ ๒๙. ขอ้ ใดมิใช่เป็นการดาเนินการวธิ ีในการปฏบิ ตั ขิ องหน่วยข่าวกรอง ก. การบนั ทกึ ข. การประมาณการ ค. การประเมินคา่ ง. การตีความ ๓๐. ระยะการเดนิ ตามปกติตรงกับขอ้ ใด ก. ๑๒ – ๒๔ กม. ใน ๑๒ ชม. ข. ๑๕ – ๓๐ กม. ใน ๒๐ ชม. ค. ๒๐ – ๓๒ กม. ใน ๒๔ ชม. ง. ๒๕ – ๓๕ กม. ใน ๒๔ ชม. ๓๑. การปฏบิ ตั ิการรบดว้ ยวธิ รี กุ ประกอบดว้ ยกลุ่มการปฏบิ ัติทีส่ าคัญ ๓ กลมุ่ ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้อง ก. รกุ เขา้ ปะทะ ข. การโอบลอ้ ม ค. การเข้าตแี ละการขยายผล ง. การไล่ตดิ ตาม ๓๒. การใชห้ มวด ค.๖๐ ทมี่ ีลกั ษณะสะดวกในการควบคมุ บงั คับบญั ชา เพม่ิ เตมิ กระสุนไดส้ ะดวกสามารถทาการยิงและยา้ ยการ ยงิ ไดส้ ะดวก และสามารถทาการยงิ ไดต้ อ่ เน่ือง ในการปฏบิ ตั ิการรบดว้ ยวิธีรกุ ผบ.รอ้ ย. จะเปน็ ผู้สั่งการใช้ในลักษณะใด ก. สมทบกับหมวดปืนเลก็ ข. ผบ.มว.ค.๖๐ ประสานกับ ผบ.มว.ปืนเลก็ ค. ชว่ ยส่วนรวมหรอื ข้นึ สมทบการใช้ส่วนรวม ง. วางแผนการเปลยี่ นยา้ ยท่ีตง้ั ยิง ๓๓. การดาเนนิ กลยุทธมหี ลายแบบ ถ้าสามารถทาได้ควรเข้าตีแบบใด ก. การเข้าตีตรงหนา้ ข. การเขา้ ตีเจาะ ค. กาลังส่วนใหญ่ ง. ไม่มขี อ้ ถกู ๓๔. เขา้ ประชิดข้าศกึ ด้วยการดาเนนิ กลยุทธเพื่อจบั หรอื ทาลายขา้ ศึก ตอบโตก้ ารปฏิบตั ิการทกุ รปู แบบของข้าศกึ เป็นภารกจิ ของหน่วยใด ก. กรม ร. ข. กองพันทหารราบ ค. กองพนั ทหารราบเบา ง. กองรอ้ ยอาวธุ เบา ๓๕. รถพว่ งทุกประเภทไมค่ วรใช้ความเร็วเกินเท่าไร ข. ๔๐ ไมล/์ ชม. ก. ๓๐ ไมล/์ ชม. ง. ๖๐ ไมล/์ ชม. ค. ๕๐ ไมล/์ ชม.
๓๖. เครื่องยงิ จรวดขนาด ๔๐ มม.หรอื อาร์พีจี ๒ ระยะยิงไกลสดุ เทา่ ไร ก. ๔๐๐ ม. ข. ๕๐๐ ม. ค. ๖๐๐ ม. ง. ผิดทุกขอ้ ๓๗. รูปขบวนทาการรบของหมู่และ มว.ปืนเลก็ มีปจั จยั ในการที่ ผบ.มว. ใช้รูปขบวนขึ้นอยกู่ บั อะไร ก. ภารกจิ , สถานการณข์ องขา้ ศึก ข. ภมู ปิ ระเทศ,ทัศนวิสยั และสภาพลมฟ้าอากาศ ค. ข้อ ก. ถูก ง. ขอ้ ก. และ ข้อ ข. ถกู ๓๘. มว.ค.๖๐ เข้าตเี วลากลางวัน ผบ.มว.ค.๖๐ ตรวจภมู ปิ ระเทศเพอื่ ให้ไดร้ ายละเอยี ดเรอื่ งอะไร ก. ใหไ้ ด้การเคลื่อนท่ีข้าศึก ข. ให้ได้เส้นทางการเคลอ่ื นที่ขา้ ศึก ค. ให้ได้ภูมิประเทศสาคญั ง. ใหไ้ ดข้ ่าวสาร ๓๙. มว.ปล. และ มว. ค.๖๐ เข้าตีเวลากลางคืน การใชเ้ ครอ่ื งฉีดไฟในการเข้าตกี ลางคนื จะใช้เฉพาะเม่อื ใด ก. เม่อื เร่ิมการตะลมุ บอนแลว้ เทา่ นั้น ข. เมื่อเร่มิ การตะลมุ บอนและเข้าแนวประสานขั้นสุดทา้ ย ค. เม่อื หลังการตะลมุ บอนแล้วเท่านนั้ ง. เม่อื ระหวา่ งการตะลุมบอนแล้วเท่านน้ั ๔๐. มว.ปล. เขา้ ตพี นื้ ท่สี ง่ิ กอ่ สรา้ งถาวร อาคารสาคญั คือ ก. อาคารที่มเี จ้าหนา้ ท่ีสาคญั ของรฐั บาล ข. ท่ที าการสาธารณูปโภค ค. ท่ีมคี ุณค่าในทางประวตั ศิ าสตร์ ง. ถกู ทุกขอ้ ๔๑. มว.อาวธุ หนัก ในการเข้าตี – ตงั้ รับ ผบ.มว.อาวุธหนัก นอกจากเป็น ผบ.มว. แลว้ ยงั ทาหน้าท่ีอะไรอีก ก. นายทหารฝ่ายส่งกาลงั บารุง ข. นายทหารฝา่ ยอานวยการรบ ค. นายทหารฝา่ ยกจิ การพเิ ศษ ง. นายทหารฝ่ายกิจการพลเรือน ๔๒. การจดั ชุดทาลายรถถัง ใครเป็นผูร้ บั ผดิ ชอบกาหนดภารกิจการตโี ฉบฉวย ก. ผบ.ชุดทาลายรถถัง ข. ผบ.กรม ค. ผบ. พัน ง. ผบ. พล. ๔๓. หลักการรบด้วยวธิ ีรบั การปฏิบัติเชงิ รกุ ฝ่ายตั้งรบั จะดาเนนิ การอยา่ งไร ก. การลาดตระเวน ข. การเข้าตโี ฉบฉวย ค. การเข้าตีทาลายการตีโต้ตอบ ง. ถูกทุกข้อ ๔๔. หนว่ ยท่ีมีขดี ความสามารถในการตั้งรับแบบเคลื่อนที่ เปน็ หน่วยทตี่ า่ ที่สดุ คอื ก. หนว่ ยระดบั กองทัพ ข. หนว่ ยระดับกองพล ค. หน่วยระดบั กรม ง. หนว่ ยระดับกองพัน ๔๕. อจย.กรม.ร. ตามคาส่งั ทบ. ท่ี ๑๔๓/๒๒ เร่อื งอตั ราการจดั ยทุ โธปกรณ์ ลง ๑ พ.ย. ๒๒ ใช้ อจย. หมายเลขอะไร ก. อจย. ๗ - ๑๕ ข. อจย. ๗ - ๑๑ ค. อจย. ๗ - ๑๒ ง. อจย. ๗ - ๑๓ ๔๖. รูปขบวนมาตรฐานในการรบด้วยวธิ รี กุ มกี ่รี ูปขบวน ก. ๑ รูปขบวน ข. ๒ รปู ขบวน ค. ๓ รปู ขบวน ง. ๔ รูปขบวน ๔๗. ใน มว. ลว. ของกองพันทหารราบเบา จดั เป็นหน่วยในอตั ราของหน่วยใด ก. กองรอ้ ยสนบั สนุนการรบ ข. กองรอ้ ยอาวธุ เบา ค. กองรอ้ ยกองบังคบั การ ง. ไมม่ ีข้อถูก ๔๘. ข้อใดไม่ใช่เป็นจดุ อ่อนของรถถัง ก. ทัศนวสิ ยั จากัด ข. หอ้ งเคร่ืองยนต์ ค. ข้ามคูกวา้ ง ๑ – ๑.๕ ม. ไม่ได้ ง. พนื้ ท่ลี ุ่ม, โคลนตม
๔๙. กองรกั ษาดา่ นรบจะต้ังอยูบ่ นภูมปิ ระเทศทีด่ ีท่ีสดุ ข้างหน้าขอบหนา้ พืน้ ท่กี ารรบ ในหลักการใหมใ่ นระยะประมาณเทา่ ไร ก. ๘๐๐ – ๒,๐๐๐ ม. ข. ๑,๐๐๐ – ๒,๔๐๐ ม. ค. ๑,๐๐๐ – ๒,๐๐๐ ม. ง. ๑,๐๐๐ – ๒,๒๐๐ ม. ๕๐. อะไรคอื ลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องทต่ี ัง้ ยิงสาหรับทต่ี ้งั ยิง ค. ๖๐ มม. ก. มีความกาบงั ข. ไมม่ สี ่ิงกีดขวางทางยงิ ค. มีการกระจายกนั ระหวา่ งเครื่องยิงเพียงพอประมาณ ๓๐ ม. ง. ถกู ทกุ ขอ้ .................................................................................. ขอ้ สอบวชิ าเหล่าทหารราบ ชุดที่ ๔ จงเลอื กคาตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสุด เพยี งข้อเดียว ๑. เครอื่ งกีดขวางผสมใช้สกดั กน้ั ได้ทั้งยานเกราะ และทหารราบเป็นเครอื่ งกดี ขวางท่ไี ดผ้ ล ส่วนมากใชใ้ นหน่วยระดบั กองรอ้ ย และกองพนั ไดแ้ ก่ สนามทนุ่ ระเบดิ กระโจมลวดหนาม ไมล้ ้มไม้ขวาง หลมุ ระเบิดอะไรที่กลา่ วมาเปน็ เครอ่ื งกดี ขวางทส่ี รา้ ง ข้นึ ที่ดีที่สุด ก. ทุ่นระเบดิ ข. กระโจมลวดหนาม ค. หลมุ ระเบดิ ง. ไมล้ ม้ ไมข้ วาง ๒. จงั หวะการยิงเรว็ สูงสุดของปนื กล เอม็ .๖๐ มีจังหวะการยิงเรว็ สูงสดุ ประมาณกน่ี ดั ตอ่ นาที และเปลยี่ นลากลอ้ งทกุ กน่ี าที ก. ๑๐๐/นาที เปลีย่ นลากลอ้ งทกุ ๑ นาที ข. ๒๐๐/นาที เปล่ียนลากลอ้ งทกุ ๒ นาที ค. ๖๕๐/นาที เปลี่ยนลากล้องทกุ ๑ นาที ง. ๕๕๐/นาที เปล่ียนลากลอ้ งทุก ๒ นาที ๓. อะไรเป็นรปู ขบวนหลักของหมูป่ ืนเล็ก ก. รูปขบวนแถวหนา้ กระดาน ข. รูปขบวนแถวตอน ค. รูปขบวนหมแู่ ถวตอนเรียงหน่งึ ง. ไมม่ ขี ้อถกู ๔. แผนท่ี คือ ก. รูปลายเสน้ ท่ีเขยี นแสดงบนผิวภพหรอื บางสว่ นของผิวภพ ข. รปู ลายเสน้ ที่เขยี นแสดงบนพ้ืนราบตามมาคราส่วนของผิวภพ ค. รูปลายเส้นที่เขียนแสดงผิวภพหรือบางสว่ นตามมาตราส่วน ง. ไมม่ ีขอ้ ถูก ๕. การกาหนดจดุ ที่อยูต่ ัวเองลงบนแผนทโ่ี ดยใชเ้ ขม็ ทศิ และเครื่องวัดมมุ อยากทราบวา่ ทา่ นปฏิบตั ิอยา่ งไรเปน็ อนั ดับแรก ก. เลือกตาบลเดน่ ๒ ตาบล ข. วัดมมุ ภาคทิศเหนอื จากจดุ ท่ียืน ไปยงั ตาบลท้งั ๒ ค. วางแผนที่ให้ถกู ทิศ ง. ถกู ทกุ ขอ้ ๖. การใช้อาวุธสนับสนนุ ในขัน้ ต้นมีวิธใี ช้ ๓ วธิ ี คจตถ. เปน็ อาวุธท่ียงิ ระยะใกล้ปกติจะใชอ้ ยา่ งไร ก. เขา้ ตงั้ ยงิ ใกล้แนวออกตตี ลอดเวลา ข. เคลอื่ นไปกบั หมูป่ นื เลก็ ค. ปฏบิ ตั ิเชน่ เดียวกับหมปู่ นื กล ง. เคลอ่ื นที่ไปกบั ส่วนดาเนินกลยุทธจนกวา่ จะพบท่ตี ั้งยงิ ท่เี หมาะสม ๗. หลงั จากท่ี ผบ.มว. ไดส้ งั่ การแลว้ ผบ.หมู่ ต่าง ๆ ได้ตรวจภูมิประเทศและสง่ั การกบั กาลังพลภายในหมขู่ องตนจนเข้าใจ เรียบร้อย ถา้ สามารถทาได้มีเวลาเพียงพอก่อนท่ี มว.ปล. จะทาการเข้าตี ควรปฏิบัติอะไรก่อน ก. ให้ทหารพกั ผอ่ นใหม้ ากทส่ี ุด ข. เตรยี มแผนเผชญิ เหตุ ค. ทาการซักซ้อมการเข้าตีตามแผนทวี่ างไว้ในภูมิประทศท่ีมลี ักษณะคลา้ ยคลงึ กับท่ีหมาย ง. ทาแผนการดาเนินกลยุทธและการยงิ สนบั สนุน
๘. การดาเนินการเขา้ ตี มว.ปล. เคลือ่ นทีจ่ ากทีร่ วมพลไปยงั แนวออกตีภายใต้การควบคุมของกองรอ้ ย ภายใน มว.ปล. จะอยู่ ในความควบคมุ ของใคร ก. รอง ผบ. มว. หรอื ผบ.หมอู่ าวุโส ข. นายสบิ ประจาหมวด หรือ ผบ.หมู่ ปก. ค. รอง ผบ.มว. หรอื นายสิบประจาหมวด ง. นายสิบประจาหมวด หรือ ผบ.หมอู่ าวุโส ๙. เมือ่ ผบ.พนั . ขาดการติดตอ่ สื่อสารกบั กองร้อย ผบ.ร้อย. จะต้องตกลงใจท่ีจะถอนตวั โดยพิจารณาในหัวข้อใดดงั ต่อไปน้ี ก. ภารกิจท่ไี ด้รบั มอบ ข. แนวความคิดในการปฏบิ ัติ ค. สถานการณข์ องข้าศกึ ง. ทก่ี ล่าวมาถูกทุกขอ้ ๑๐. ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งการลาดตระเวนหาขา่ วและการลาดตระเวนรบ คอื ขอ้ ใด ก. เวลา ข. ระยะทาง ค. อาวธุ ยทุ โธปกรณ์ ง. เครอื่ งมอื สอ่ื สาร ๑๑. ขอ้ ใดคือความม่งุ หมายโดยเฉพาะของการซุ่มโจมตี ก. แยกกองโจรออกจากกลมุ่ ประชาชนในพน้ื ที่ ข. ทาลายและรบกวนข้าศกึ ค. ไม่ตอ้ งยึดภมู ปิ ระเทศ ง. ลดความสามารถในการรบของฝ่ายกองโจร ๑๒. หมายเลขระวางอยดู่ า้ นใดของขอบระวาง ก. มมุ ขวาดา้ นบน และมุมขวาด้านลา่ ง ข. มมุ ซา้ ยด้านบน และมมุ ซา้ ยดา่ นลา่ ง ค. มมุ ขวาด้านบน และมมุ ซา้ ยดา้ นล่าง ง. ไม่มีขอ้ ถกู ๑๓. รูปสัญลักษณ์ทางทหาร ๑๙ มีความหมายว่าอยา่ งไร ก. กรมทหารราบที่ ๑๙ กองพลทหารราบท่ี ๑๙ ข. กรมทหารราบท่ี ๑๙ กองพลทหารราบท่ี ๙ ค. กองพันทหารราบที่ ๑๙ กรมทหารราบที่ ๙ ง. ไม่มขี อ้ ถกู ๑๔. รปู สัญลกั ษณ์ทางทหาร มีความหมายวา่ อย่างไร ก. ตาบลจ่าย สป. ๓ ข. ตาบลส่งกาลัง สป.๓ ค. ทุ่นระเบดิ ดกั รถถงั ง. กบั ระเบดิ ๑๕. กระสุนทใี่ ช้ยิงกับ ปลย.เอม็ .๑๖ เอ. ๒ คือขนาดเท่าไร ก. ๕.๕๖ มม. ข. ๕.๕๖ x ๔๕ มม. ( นาโต้ ) ค. ๕.๕๖ x ๔๕ มม. ง. ไม่มขี ้อถกู ๑. ความม่งุ หมายหลกั ของการรบด้วยวธิ ีรุก คือข้อใด ? ก. เพอื่ ยดึ รกั ษาภมู ปิ ระเทศสาคัญ ข. เข้าประชดิ และตรงึ กาลงั ข้าศึกไว้ ค. ทาลายกาลังรบของขา้ ศึก ง. เพ่อื ลวงและหันเหการปฏิบัตขิ องขา้ ศึก ๒. ขอ้ ความท่ีกลา่ วสั้น ๆ ว่า “ ค้น–ตรงึ –สูร้ บ–ติดตาม และ ทาลาย ” เป็นหลกั การทางยุทธวธิ ขี อ้ ใด ? ก. ความมุ่งหมายของการรบด้วยวธิ ีรุก ข. หลักนิยมในการรบด้วยวธิ ีรกุ ค. หลักพืน้ ฐานของการรบด้วยวิธรี กุ ง. แบบของการดาเนนิ กลยทุ ธ์ ๓. ผลสาเร็จของการรบด้วยวิธรี ุก คือข้อใด ? ก. เปน็ การรบผสมเหลา่ ข. มีการจูโ่ จม และอ่อนตัว ค. มีความออ่ นตวั ง. สามารถยึดท่หี มาย และทาการรบแตกหัก
๔. หลกั พืน้ ฐานการรบด้วยวธิ ีรกุ มกี ีป่ ระการ ? ก. ๘ ประการ ข. ๙ ประการ ค. ๑๐ ประการ ง. ๑๑ ประการ ๕. หลักพน้ื ฐานทางยทุ ธวธิ ีของการรบด้วยวธิ รี ุก ผบ.หน่วย ได้คดิ และดดั แปลงมาจาก ? ก. หลกั การสงคราม ข. หลักนยิ มการรบทางยทุ ธวิธี ค. หลกั การรบดว้ ยวธิ รี กุ ง. ถกู ทุกขอ้ ที่กลา่ วมา ๖. หลักพนื้ ฐานทางยทุ ธวิธขี องการรบดว้ ยวิธรี กุ ข้อใด ? จะใชใ้ นโอกาสที่ยงั มิได้ปะทะกบั ขา้ ศกึ หรอื เม่ือข้าศึกผละออกจากการรบ ก. ใหไ้ ดเ้ ปรยี บและดารงการเกาะ ข. คล่คี ลายสถานการณ์ ค. ขยายผลเมอ่ื ทราบจุดอ่อนของข้าศกึ ง. ครองความเป็นฝา่ ยริเริ่ม ๗. อานาจกาลงั รบสงู สุด และการเขา้ โจมตตี อ่ ทหี่ มายได้อยา่ งรุนแรง จะได้ผลจะตอ้ งประกอบด้วย ? ก. กาลงั ทต่ี งั้ การประกอบกาลงั และการวางกาลัง ข. การเข้าตีด้วยการยิง ผสมผสานกบั การดาเนินกลยทุ ธ์ ค. การเตรยี ม และ การวางแผนที่ดี ง. มกี ารลาดตระเวนทด่ี ี และใหเ้ สรกี ารปฏบิ ตั แิ ก่ ผบ.หนว่ ยรอง ๘. การจัดการระวังป้องกนั และความมน่ั คงแกห่ น่วย เปน็ หลกั พืน้ ฐานทางยุทธวธิ ีของการรบด้วยวธิ ีรุก ขอ้ หนง่ึ อยากทราบวา่ การจัดการระวงั ปอ้ งกนั มีลักษณะอย่างไร ? ก. เป็นการจัดระเบยี บใหม่ ข. การเสรมิ ความมน่ั คง ค. การรายงานผลการปฏิบัติ ง. การจัดยามคอยเหตุ ๙. หลกั พน้ื ฐานทางยทุ ธวิธขี องการรบดว้ ยวิธีรกุ เปน็ การปฏบิ ตั ิการที่จาเป็น เพ่ือทราบเกย่ี วกับ กาลงั ทต่ี ้ัง การประกอบกาลัง และ การวางกาลังของขา้ ศกึ คือข้อใด ? ก. คลคี่ ลายสถานการณ์ ข. ใหไ้ ดเ้ ปรยี บและดารงการเกาะ ค. ยึดและควบคมุ ภมู ปิ ระเทศสาคญั ง. ครองความเปน็ ฝา่ ยรเิ ริ่ม ๑๐. ลกั ษณะของการเข้าตี แบง่ ออกไดก้ ี่ลกั ษณะอะไรบ้าง ? ก. ๒ ลกั ษณะ คือ เข้าตเี รง่ รีบ และ เข้าตีเร่งด่วน ข. ๒ ลกั ษณะ คือ เขา้ ตีเรง่ รบี และ เข้าตีประณีต ค. ๓ ลักษณะ คอื เขา้ ตีประสาน , เคลอ่ื นทีเ่ ข้าปะทะ และ เข้าตปี ระณตี ง. ๓ ลักษณะ คอื เข้าตีเร่งรบี , เคลอ่ื นที่เขา้ ปะทะ และ ไล่ตดิ ตาม ๑๑. แบบของการดาเนินกลยทุ ธ์ ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง ? ก. เคล่ือนทเ่ี ข้าปะทะ , การเขา้ ตี , การขยายผล และ การไล่ติดตาม ข. ตีตรงหน้า , เจาะ , โอบ , ตลบ และ แทรกซมึ ค. ตตี รงหนา้ , เจาะ , โอบลอ้ ม , โอบ ๒ ปกี และ แทรกซึม ง. ถูกทกุ ข้อ ๑๒. แบบของการดาเนินกลยุทธ์ แบบใดท่มี ีความเหมาะสมนอ้ ยทีส่ ุด ? ก. ตีโอบ ข. ตีตรงหนา้ ค. ตเี จาะ ง. ตีตลบ ๑๓. ความมงุ่ หมายของการตีโอบ เพอื่ อะไร ? ก. เขา้ ตที างปีกท่ีคน้ พบ ข. หลกี เล่ยี งการรบแตกหกั ค. เข้ายึดท่ีหมาย ง. ถกู ทุกขอ้ ท่กี ลา่ วมา
๑๔. ขอ้ พิจารณาของ ผบ.หนว่ ย ในการเลอื กใช้แบบของการดาเนินกลยุทธ์ แบบใดน้นั ข้ึนอย่กู ับ ? ก. การวิเคราะห์ภารกิจ และ ลักษณะของพน้ื ท่ปี ฏบิ ัติการ ข. การวางกาลังของทั้ง ๒ ฝ่าย (ฝ่ายเรา,ฝ่ายขา้ ศึก) ค. กาลงั รบเปรยี บเทียบของท้งั ๒ ฝ่าย ง. ทกุ ขอ้ ทก่ี ลา่ วมาไมน่ ่าจะผดิ ๑๕. ชนิดของการรบด้วยวิธีรกุ มกี ่ีชนิด อะไรบา้ ง ? ก. ๔ ชนิด คือ การเคล่อื นท่ีเข้าปะทะ ,การเขา้ ตี ,การขยายผล และ การไลต่ ิดตาม ข. ๔ ชนดิ คือ การเคล่ือนที่เข้าปะทะ , การเข้าตเี รง่ ดว่ น ,การเขา้ ตปี ระณีต และการไล่ตดิ ตาม ค. ๓ ชนดิ คอื การเคล่อื นท่เี ขา้ ปะทะ , การเข้าตีประสาน และการขยายผล ง. ๓ ชนิด คอื การเคลือ่ นทีเ่ ข้าปะทะ , การเขา้ ตี และ การเสรมิ ความม่ันคง ณ ที่หมาย ๑๖. ความม่งุ หมายของการเคล่ือนท่เี ข้าปะทะ คือขอ้ ใด ? ก. เขา้ ปะทะหรอื ได้ปะทะกับขา้ ศึก ข. คล่คี ลายสถานการณด์ ว้ ยการเข้าตีเร่งด่วน หรือเข้าตีประณีต ค. การที่ทหารเคลื่อนท่ีเขา้ หาขา้ ศกึ แตย่ ังไม่มีการปะทะ ง. ถกู ท้ังขอ้ ก. และ ข. ๑๗. วธิ กี ารเคล่อื นที่ หรือเทคนิคการเคลอื่ นทีแ่ บบใดท่ีเหมาะสมท่ีสุดในโอกาสท่ปี ะทะกับข้าศึก ? ก. การเคลื่อนทท่ี างยทุ ธวธิ ี ข. การเดนิ ทาง ค. การเดนิ ทางเฝ้าตรวจ ง. การเดินทางเฝ้าตรวจสลับ ๑๘. วิธีการเดินทางเฝ้าตรวจสลับ ในระหวา่ งทีช่ ุดยงิ ก.หยดุ การเคลอื่ นที่เฝ้าตรวจชดุ ยิง ข. เคลือ่ นทไี่ ป ข้างหนา้ ปกติจะเคล่อื นที่ล้าไปข้างหน้าระยะประมาณเทา่ ใด ? ก. ไม่เกิน ๑๕๐ เมตร ข. ๒๐๐ เมตร ค. ๒๕๐ เมตร ง. ๓๐๐ เมตร ๑๙. ในการเคลอื่ นที่เขา้ ปะทะของหมวดปืนเลก็ ซึ่งทาหนา้ ที่เปน็ หมวดนา ปกติ ผบ.มว.จะได้รบั มอบอะไร จาก ผบ.ร้อย. ? ก. ทหี่ มาย , เส้นแบง่ เขต ข. ท่ีหมาย , เขตจากัดการรกุ ค. ที่หมาย , เสน้ หลกั การรกุ ง. ที่หมาย , ข่าวสารข้าศึก ๒๐. ขอ้ ใดไมใ่ ชภ่ ารกจิ ของหมวด เมื่อเป็นหมวดนา ? ก. ป้องกันการจูโ่ จม แจง้ ที่ตั้งข้าศึก และเครอื่ งกีดขวาง ข. ชว่ ยเหลอื การเคลื่อนทข่ี องกองร้อยไปข้างหนา้ ค. ทาลายข้าศกึ ตามความสามารถของหมวด และคล่คี ลายสถานการณอ์ ย่างรวดเร็ว ง. เข้าประชดิ และทาลายข้าศกึ ๒๑. ภารกิจของ มว.ปล.ในการเข้าตี คือขอ้ ใด ? ก. เขา้ ประชดิ ข้าศึก ทาลายข้าศึก หรอื จับข้าศกึ เปน็ เชลย ข. ยับยงั้ ข้าศึกดว้ ยการยงิ ค. ผลกั ดนั ขา้ ศึกดว้ ยการรบประชดิ ง. ไมม่ ขี อ้ ใดถูกก
๒๒. การจัดกาลงั ในการเข้าตีประกอบด้วย ๓ ส่วน คือสว่ นอะไรบา้ ง ? ก. ส่วนบังคบั บญั ชา , สว่ นดาเนนิ กลยทุ ธ์ , สว่ นกองหนุน ข. สว่ นบังคับบัญชา , ส่วนดาเนนิ กลยุทธ์ , ส่วนยงิ สนบั สนนุ ค. ส่วนระวงั ป้องกนั , สว่ นดาเนินกลยุทธ์ , สว่ นยงิ สนับสนนุ ง. ส่วนบังคบั บญั ชา , สว่ นเขา้ ตีหลกั , ส่วนเขา้ ตสี นับสนุน ๒๓. หมู่ ปก.เอม็ .๖๐ , คจตถ.ในอตั ราของ มว.ปล.ใครเป็นผู้สง่ั ใช้โดยตรง ? ก. ผบ.หมู่ ปล. ข. ผบ.มว.ค.๖๐ ค. ผบ.มว.ปล. ง. ผบ.รอ้ ย. ๒๔. แผนการเข้าตี ประกอบดว้ ย แผนใดบา้ ง ? ข. แผนการดาเนนิ กลยุทธ์ ก. แผนการบงั คับบญั ชา ง. ถกู เฉพาะข้อ ข. และ ค. ค. แผนการยงิ สนบั สนนุ ๒๕. แผนการดาเนนิ กลยทุ ธ์ คอื แผนการใช้ หมู่ ปล.ต่าง ๆ ซ่ึงเปน็ ส่วนดาเนินกลยุทธ์ แผนนี้จะตอ้ ง ประกอบดว้ ยสง่ิ ใดบา้ ง ? ก. เส้นทาง , รปู ขบวน , การเข้าตะลุมบอน , การเสรมิ ความม่นั คง , การควบคมุ ข. เสน้ ทาง , รปู ขบวน , การเขา้ ตะลุมบอน , การใช้ระหว่างเคลอ่ื นท่ี , การควบคุม ค. การเคลอ่ื นท่ี , การผ่านแนว , การปะทะข้าศึก , การปะทะขา้ ศกึ , การเข้าตะลมุ บอน ง. การใชใ้ นขั้นตน้ , การใชร้ ะหวา่ งเคลอื่ นที่ , การเขา้ ตะลมุ บอน , การควบคมุ ๒๖. แผนการดาเนินกลยุทธ์ คอื แผนการใช้อาวุธในอตั รา และ อาวุธสมทบ เพ่อื สนบั สนุนการเข้าตี การ ใช้ หมู่ ปก. มีการใช้อยกู่ ่ีหนทางปฏิบตั ิ ? ก. ๒ หนทางปฏบิ ตั ิ ข. ๓ หนทางปฏบิ ตั ิ ค. ๔ หนทางปฏิบตั ิ ง. ๕ หนทางปฏิบัติ ๒๗. พื้นทท่ี เ่ี หมาะสมใชเ้ ปน็ ท่รี วมพล ควรมีลักษณะอยา่ งไร ? ก. มีการกาบงั และซอ่ นพราง ข. พน้ื ที่กว้างขวางกระจายกาลงั ได้ ค. พน้ จากระยะยิงของ ป.และ ค. ง. ถูกทุกขอ้ ๒๘. ในที่รวมพล ตอ้ งเตรยี มการปฏิบัตใิ นเรื่องใดบ้าง ? ก. การจัดกาลงั รบ ข. การซอ่ มบารุง ค. การส่งกาลงั ง. ถูกทุกขอ้ ๒๙. “ ทต่ี งั้ ซ่งึ มีการกาบังและซอ่ นพรางแหง่ สดุ ทา้ ยใกล้แนวออกตี ซ่งึ หมวดจะวางกาลังในรูปขบวนเขา้ ตี และประสานการปฏิบัติครงั้ สดุ ทา้ ยกอ่ นผ่านแนวออกตี มว.ปล.จะตดิ ดาบปลายปืน ณ พน้ื ท่ีนี้ ” หมายถึงข้อใด ? ก. ที่รวมพล ข. แนวออกตี ค. ฐานออกตี ง. ทห่ี มาย ๓๐. แนวออกตี คือ แนวซ่ึงประสานการเร่มิ ต้นในการเขา้ ตี ซ่ึงอยหู่ ่างจากท่ีรวมพลระยะประมาณเทา่ ใด ? ก. ๔ กม.หรอื เดินประมาณ ๑ ชม. ข. ๔ – ๖ กม.หรือ เดนิ ประมาณ ๒ ชม. ค. ๓ – ๔ ไมล์ หรือ เดนิ ประมาณ ๓ ชม. ง. ๕ – ๖ ไมล์ หรอื เดนิ ประมาณ ๔ ชม.
๓๑. แนวปะสานการปฏิบตั ิขน้ั สุดท้าย ใช้ในการปรบั รูปขบวน เลอื่ นหรอื ย้ายการยิงสนบั สนนุ แนวนจี้ ะ อยู่ห่างจากท่ีหมายประมาณเท่าใด ? ก. ๕๐ – ๑๐๐ เมตร ข. ๑๐๐ – ๑๕๐ เมตร ค. ๑๐๐ – ๒๐๐ เมตร ง. ๒๐๐ – ๓๐๐ เมตร ๓๒. ลักษณะท่หี มายของ มว.ปล.ซึง่ ผบ.รอ้ ย.กาหนดให้ ควรมีลักษณะใด ? ก. สงั เกตเหน็ งา่ ยในภมู ิประเทศ ข. ต้องบรรลคุ วามสาเรจ็ รว่ มกนั ค. เมอื่ ยึดได้ต้องควบคมุ ได้ ง. ถูกทกุ ข้อ ๓๓. การเสริมความม่ันคง ณ ท่หี มายและจดั ระเบยี บใหม่ ต้องทาทนั ทีท่ยี ดึ ที่หมายได้ การจดั วางกาลงั มอบเขตการยิง ดัดแปลงภมู ปิ ระเทศ ป้องกนั การตโี ตต้ อบจากข้าศึก โดยใช้หลกั การอะไร ? ก. หลกั การเข้าตี ข. หลกั การตงั้ รับ ค. หลกั การร่นถอย ง. หลักการรบหน่วงเวลา ๓๔. ภารกจิ ของหมู่ปืนกลในการเข้าตี คอื อะไร ? ก. สนบั สนุน มว.ปล.อย่างใกล้ชิด ข. ผลักดนั ข้าศึก ค. ยับยงั้ ข้าศกึ ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู ๓๕. ลกั ษณะทตี่ ง้ั ยิงของปืนกล ควรมลี กั ษณะอยา่ งไร ? ก. ตรวจการณ์เหน็ เปา้ หมาย ข. มพี นื้ การยิงดี ค. มีการกาบังและซอ่ นพราง ง. ถกู ทกุ ข้อ ๓๖. การเข้าตีในเวลากลางคนื ของ มว.ปล. กระทาเพื่อส่งิ ใด ? ก. ชงิ ความได้เปรียบ ข. ขยายผลแห่งความสาเรจ็ ค. หลกี เล่ียงการสญู เสีย ง. ถูกทกุ ข้อ ๓๗. จุดแยกหมวด ในการเข้าตีเวลากลางคนื ใครเป็นผู้กาหนด ? ก. ผบ.พนั . ข. ผบ.ร้อย. ค. ผบ.มว. ง. ผบ.หมู่ ๓๘. แนวปรบั รปู ขบวน ผบ.รอ้ ย.เป็นผกู้ าหนด อยู่ห่างจากทห่ี มายประมาณเท่าใด ? ก. ๑๐๐ – ๒๐๐ เมตร ข. ๑๕๐ – ๒๐๐ เมตร ค. ๑๐๐ – ๑๕๐ เมตร ง. ๒๐๐ – ๓๐๐ เมตร ๓๙. การติดตอ่ สือ่ สารในการเข้าตีเวลากลางคนื จะใชก้ ารตดิ ต่อสือ่ สารทางใดเปน็ หลกั จนกว่าขา้ ศึก จะตรวจพบ ? ก. วิทยุ ข. ท่าสัญญาณ ค. โทรศพั ทส์ นาม ง. เสยี งสญั ญาณ ๔๐. ชุดลาดตระเวนของ มว.ประกอบด้วยกาลัง ๔ – ๖ นาย มีใครบ้าง ? ก. ตัวแทน บก.มว. ๒ นาย , ตวั แทน หมู่ ปล.หมูล่ ะ ๑ นาย ข. ตัวแทน บก.มว. ๑ นาย , ตวั แทน หมู่ ปล.หมู่ละ ๑ นาย ค. ตวั แทน บก.มว. ๒ นาย , ตวั แทนหมู่ ปล.,หมู่ ปก. หมู่ละ ๑ นาย ง. ตัวแทน บก.มว. ๑ นาย , ตัวแทนหมู่ ปล.,หมู่ ปก.หมลู่ ะ ๑ นาย
๑. ลาดับขนั้ ตอนมาตรฐานของ มว.ปล.ในการต้งั รับ ประกอบดว้ ย ข้นั ตอนใดบา้ ง ก. การวางแผน , การตกลงใจ , การปฏบิ ัติ ข. การเตรยี มการ , การวางแผน , การปฏิบัติ ค. การเตรยี มการ , การตกลงใจ , การปฏิบัติ ง. การเตรียมการ , การปฏบิ ัติ , การเสรมิ ความม่ันคงฯ ๒. ขอ้ ใดกลา่ วถึง การปฏบิ ัติ ในข้นั ตอนของการเตรียมกาลงั เข้าทาการรบ ไดถ้ กู ต้อง ก. เลอื กใชเ้ ส้นทางท่ีมีการกาบงั และซอ่ นพราง ข. การตรวจสอบ และการเบิกรบั สป.ต่างๆ ค. การเลือกพื้นทรี่ ะดมยิงของหมวด ง. การปรบั ปรงุ ทีม่ ัน่ ต้งั รบั ๓. ขอ้ ใดกล่าวถงึ การปฏิบตั ิ ในข้นั ตอนของการคน้ หาข้าศึก ไดถ้ กู ตอ้ ง ก. เลอื กใชเ้ ส้นทางที่มีการกาบังและซ่อนพราง ข. การตรวจสอบ และการเบกิ รับ สป.ต่างๆ ค. การเลอื กพื้นทร่ี ะดมยิงของหมวด ง. การใช้เครื่องมอื เฝา้ ตรวจเวลากลางคืน ๔. ข้อใดกล่าวถึง การปฏบิ ตั ิ ในข้นั ตอนของการตา้ นทานในการต้งั รับ ได้ถกู ต้อง ก. การเลือกพื้นท่รี ะดมยิงของหมวด และการสร้างลวดหนามและสนามทนุ่ ระเบดิ ข. ปก.และ อว.อัตโนมตั ทิ าการยงิ ในแนวทศิ ทางยงิ หลกั หรือ ในแนวยิงฉากป้องกันขน้ั สุดท้าย ค. การรอ้ งขอและปรบั การยงิ อว.เลง็ จาลอง เมอ่ื ข้าศกึ เข้ามาในระยะยิงทาลายไดส้ งู สดุ ง. การจัดการระวงั ป้องกนั และการจัดตัง้ ข่ายการติดตอ่ สอ่ื สารข้ึนใหม่ ๕. ข้อใดกล่าวถงึ การปฏบิ ตั ิ ในขัน้ ตอนของการเสรมิ ความมน่ั คงและการจัดระเบียบใหม่ ได้ถูกตอ้ ง ก. การเลือกพ้นื ท่ีระดมยิงของหมวด และการสร้างลวดหนามและสนามทุ่นระเบิด ข. ปก.และ อว.อตั โนมตั ทิ าการยงิ ในแนวทศิ ทางยงิ หลกั หรอื ในแนวยงิ ฉากป้องกนั ขั้นสดุ ทา้ ย ค. การรอ้ งขอและปรบั การยิง อว.เล็งจาลอง เม่อื ขา้ ศกึ เข้ามาในระยะยิงทาลายไดส้ งู สุด ง. การจัดการระวังป้องกัน และการจดั ต้ังขา่ ยการตดิ ตอ่ สือ่ สารขึน้ ใหม่ ๖. การตรวจการสรา้ งลวดหนามและสนามทนุ่ ระเบดิ เพื่อให้แน่ใจวา่ ลวดหนามปอ้ งกนั ตนอยู่หา่ งจากแนว ทม่ี นั่ พน้ ระยะขว้างลูกระเบิด และแนวลวดหนามยทุ ธวธิ ีวางถัดจากแนวยงิ ฉากปอ้ งกันฯเขา้ มาทางแนว ที่มัน่ ฝ่ายเรา จัดอยู่ในข้ันตอนใดของการตง้ั รับ ก. ขั้นการเตรียมกาลงั เข้าทาการรบ ข. ข้ันการเคล่ือนทีไ่ ปยังที่มั่นตัง้ รับ ค. ขน้ั การจัดเตรยี มทม่ี ั่นตัง้ รบั ง. ขนั้ ปฏิบัติเมอ่ื เกิดการปะทะขา้ ศึก ๗. เม่อื ผบ.มว.ค้นพบขา้ ศกึ และทาการรอ้ งขอและปรับการยิง อว.เล็งจาลอง รวมทั้งการยิงของ อว.เลง็ ตรง ต้งั แต่ระยะไกล จดั อยใู่ นขน้ั ตอนใดของการต้ังรบั ก. ขัน้ การเตรียมทีม่ น่ั ต้งั รับ ข. ข้นั การคน้ หาท่ีต้งั ขา้ ศึก ค. ขั้นปฏิบตั เิ ม่อื เกิดการปะทะข้าศึก ง. ข้นั การตา้ นทานข้าศกึ ๘. การตดิ ต่อส่อื สารจาก ทก.หลกั ของ มว.ไปยงั ทก.ร้อย. โดยปกติ จะใชเ้ ครื่องมอื สื่อสาร ชนดิ ใด ก. ใช้โทรศัพท์ ข. ใชว้ ทิ ยุ ค. ใช้โทรศพั ท์ และวิทยุ ง. ใชโ้ ทรศพั ท์ และพลนาสาร
๙. การติดต่อสอื่ สารจาก ทก.หลัก ของ มว.ไปยัง ทก.สารอง ของ มว. โดยปกติ จะใช้เครือ่ งมือส่อื สาร ชนิดใด ก. ใช้โทรศพั ท์ ข. ใชว้ ิทยุ ค. ใช้โทรศพั ท์ และวทิ ยุ ง. ใช้โทรศัพท์ และพลนาสาร ๑๐. อาวุธหลกั ของหมวดในการตงั้ รับ ท่ีใช้ยงิ ตอ่ ทหารราบเดินเท้าของข้าศึก ได้แก่ อาวุธชนดิ ใด ก. ปืนกล ข. ปืนเลก็ ค. เคร่ืองยิงจรวดตอ่ สู้รถถัง ง. ปืนยงิ เครอ่ื งยงิ ลูกระเบดิ ๑๑. แนวยิงท่ีกาหนดไวล้ ่วงหน้า เพอ่ื การยงิ กวาดสกดั การเขา้ ตะลมุ บอนของข้าศึก คือแนวยิงในข้อใด ก. แนวยงิ ในทศิ ทางยงิ หลัก ข. แนวยงิ ในทศิ ทางยิงสารอง ค. แนวยิงปอ้ งกันระยะใกล้ ง. แนวยงิ ฉากปอ้ งกนั ขั้นสุดท้าย ๑๒. ในการวางการยิงของปืนกล โดยปกติจะวางไปในทิศทางใด ก. วางตามแนวยงิ ฉากป้องกนั ขัน้ สดุ ท้าย ข. วางตามทศิ ทางยงิ หลกั ค. วางได้ทั้ง ข้อ ก และข้อ ข พร้อมกัน ง. วางไดต้ ามขอ้ ก หรือ ขอ้ ข อย่างใดอย่างหนึง่ ๑๓. ผู้ท่ีเลอื กท่ตี ั้งยิงขนั้ ตน้ และเขตการยงิ ให้กบั อาวธุ ต่อสูร้ ถถงั ท่ีมอี ยู่ใน หมวดหรือมาสมทบ คอื ใคร ก. ผบ.มว. ข. รอง ผบ.มว. ค. ผบ.หมู่ ปล.ท่ี อว.ตถ.ตั้งยิงในพนื้ ที่ ง. พลยิงอาวุธต่อสู้รถถัง ๑๔. ทมี่ น่ั ทีท่ หาร หรอื พลประจาปนื หรอื หนว่ ยใชท้ าการตง้ั รบั จนบรรลภุ ารกิจของตนเองได้ คอื ท่มี ่นั ชนดิ ใด ก. ที่มน่ั รบ ข. ท่ีมนั่ หลกั ค. ทม่ี น่ั สารอง ง. ทมี่ ัน่ เพ่ิมเติม ๑๕. ที่มน่ั ซึ่งทหารแต่ละคน พลประจาปืน หรอื ท้ังหนว่ ยสามารถทาการตั้งรับได้ครอบคลุมเขตรบั ผิดชอบ เหมือนท่มี น่ั ตัง้ รบั หลัก คอื ทม่ี ่นั ชนดิ ใด ก. ที่มั่นรบ ข. ท่ีมั่นหลกั ค. ท่มี ่ันสารอง ง. ที่ม่นั เพิ่มเติม ๑๖. ทม่ี ่ันต้งั รับของหมู่ปนื เล็ก โดยทว่ั ไปหมปู่ ืนเล็กสามารถวางกาลังตง้ั รบั และรบั ผิดชอบกว้างด้านหน้า ได้ประมาณเท่าใด ก. ประมาณ ๓๐ - ๑๐๐ เมตร ข. ประมาณ ๑๕๐ - ๒๐๐ เมตร ค. ประมาณ ๒๐๐ - ๒๕๐ เมตร ง. ประมาณ ๒๕๐ - ๓๐๐ เมตร ๑๗. ขอ้ พิจารณาในการกาหนดระยะห่างระหว่างท่ีม่นั ภายในหมู่ ขน้ึ อยกู่ บั ปัจจัยในขอ้ ใด ก. ความกว้างเขตการตง้ั รบั ของหมู่ ข. การระวงั ป้องกันการแทรกซึมของขา้ ศึก ค. การป้องกนั อนั ตรายจากลกู ระเบดิ ขวา้ งของขา้ ศกึ ง. ท่ีกลา่ วมาคือปัจจัยทต่ี อ้ งพจิ ารณาท้งั สิ้น
๑๘. การกาหนดมาตรการควบคุมการยงิ ในการต้ังรับตอ่ อาวธุ ทกุ ชนดิ จะมีผรู้ ับผิดชอบในการควบคุมแต่ละ ชนิดของอาวธุ อยากทราบวา่ ปืนเล็กกล ,ปืนเลก็ ยาว และ เอ็ม.๒๐๓ ใครเป็นผ้คู วบคมุ การยงิ ก. ผบ.มว.ปล. ข. รอง ผบ.มว.ปล. ค. ผบ.หมู่ ปล. ง. ผบ.หมู่ ปล.และ หน.ชุดยิง ๑๙. มาตรการควบคมุ การยงิ ที่ใชเ้ พื่อมอบความรับผดิ ชอบ และให้อาวธุ ตา่ งๆวางการยงิ ใหค้ รอบคลุมกว้างด้านหนา้ และทาบ ทบั กนั กบั หนว่ ยข้างเคยี งดว้ ย คอื มาตรการควบคุม ในข้อใด ก. เขตการยงิ ข. พนื้ ที่ระดมยงิ ค. จุดระดมยิง ง. พ้นื ทส่ี ังหาร ๒๐. มาตรการควบคุมการยงิ ท่ีใชเ้ พอ่ื รวมอานาจการยิงของอาวุธชนดิ ตา่ งๆไปยงั พ้ืนทีน่ นั้ ๆ คอื มาตรการ ควบคมุ ในขอ้ ใด ก. เขตการยงิ ข. พนื้ ที่ระดมยิง ค. จุดระดมยิง ง. พื้นทสี่ ังหาร ๒๑. ในการประสานงานของหน่วยระหว่าง หมู่ หมวดข้างเคยี ง ในพืน้ ที่ตัง้ รบั โดยปกตแิ ล้วมกั จะกระทาใน ลักษณะใด ก. จากหนว่ ยทางขวาไปยังหน่วยทางซา้ ย ข. จากหนว่ ยทางซ้ายไปยงั หนว่ ยทางขวา ค. จากดา้ นหนา้ ไปทางด้านหลัง ง. กระทาตามขอ้ ข และขอ้ ค รวมกนั ๒๒. ขอ้ ใด คือ ความมุ่งหมายหลักของการยงิ ฉากป้องกนั ขั้นสุดท้าย ในการตงั้ รบั ก. เพ่ือทาลายการเข้าตะลมุ บอนในระยะใกล้ของข้าศกึ ต่อทมี่ นั่ ฝา่ ยตัง้ รับ ข. เพอ่ื ทาลายการเข้าตะลุมบอนในระยะไกลของขา้ ศกึ ตอ่ ท่มี ั่นฝ่ายตัง้ รับ ค. เพ่ือทาลายข้าศึก กอ่ นการเข้าโจมตีในระยะใกลข้ องขา้ ศึกตอ่ ที่ม่นั ฝา่ ยต้ังรบั ง. เพอ่ื ทาลายข้าศกึ ก่อนการเข้าโจมตีในระยะไกลของขา้ ศึกตอ่ ท่ีมั่นฝา่ ยตั้งรบั ๒๓. การสง่ กาลังเพ่ิมเติมในการต้ังรบั ของหมวดปืนเลก็ จะใช้ระบบ “ตามแผนงาน” ซ่ึงมีอยู่ ๓ วธิ ี อยากทราบ วา่ เมอื่ กองร้อยสง่ สป.และยทุ โธปกรณไ์ ปยงั หลุมบุคคลแตล่ ะหลมุ เป็นการสง่ สป.วิธใี ด ก. วิธกี ารสง่ กาลังเพม่ิ เติมแบบสง่ ถงึ ทต่ี ้งั หลมุ บุคคล ข. วธิ กี ารสง่ กาลังเพิ่มเตมิ แบบแจกจ่าย ณ ตาบลจ่าย ค. วธิ กี ารสง่ กาลังเพม่ิ เติมแบบวางสิ่งอุปกรณไ์ ว้ล่วงหน้า ง. ใช้ไดท้ ุกวธิ ที กี่ ลา่ วมา ๒๔. การส่งกาลังเพ่มิ เติม โดยทหารต้องออกจากหลมุ บคุ คลของตนมารบั สป.ยงั ตาบลจ่ายของกองรอ้ ย เป็นการส่ง สป.วิธใี ด ก. วธิ ีการสง่ กาลงั เพมิ่ เตมิ แบบส่งถึงทต่ี ้ังหลมุ บุคคล ข. วิธกี ารส่งกาลงั เพิ่มเติมแบบแจกจ่าย ณ ตาบลจ่าย ค. วธิ กี ารสง่ กาลังเพ่มิ เติมแบบวางส่ิงอุปกรณไ์ ว้ล่วงหนา้ ง. ใชไ้ ดท้ ุกวธิ ที ่กี ล่าวมา ๒๕. การส่งกาลงั เพิม่ เตมิ โดยกองร้อยวาง สป.และยทุ โธปกรณ์ไว้ลว่ งหน้าตามเสน้ ทางทห่ี มวดจะไปวางกาลงั ตามแผนของกองรอ้ ย และจัดเปน็ วิธีท่ีใช้กันมากในการรบดว้ ยวิธีรบั คอื การสง่ สป.วิธใี ด ก. วิธีการส่งกาลงั เพ่ิมเตมิ แบบส่งถึงทตี่ ั้งหลมุ บุคคล ข. วิธีการสง่ กาลงั เพมิ่ เติมแบบแจกจ่าย ณ ตาบลจา่ ย ค. วิธกี ารสง่ กาลงั เพ่ิมเตมิ แบบวางสิง่ อปุ กรณ์ไวล้ ่วงหน้า ง. ใช้ได้ทุกวธิ ที ก่ี ลา่ วมา ๑. การปฏิบัตทิ างทหารทก่ี ระทาเพื่อก่อใหเ้ กิดการสญู เสียแกก่ าลังขา้ ศกึ ใหม้ ากทส่ี ุดเท่าทีส่ ถานการณ์จะอานวยให้ และปฏบิ ัติ ตามลาดับคอื การตงั้ รับ, การรบดว้ ยวิธีรกุ การถอนตวั จากการบ และการรบหนว่ งเวลา ในทุกโอกาสทีจ่ ะก่อให้เกิดการสูญเสีย
ตอ่ ขา้ ศึก โดยใชก้ ารยงิ และการดาเนนิ กลยุทธใ์ ห้ได้ผลสูงสดุ เมื่อกาลังรบของฝ่ายเข้าตมี ขี ีดความสามารถเทา่ เทียมกับฝ่ายตั้งรบั จะต้องเร่ิมปฏิบัตกิ ารรบด้วยวิธีรุกโดยการใช้หน่วยกองหนุนของตน สาหรับการปฏบิ ัติการรบดว้ ยวิธีร่นถอย หน่วยปฏบิ ัติมักมี ขวัญและกาลังใจต่า ดังนนั้ เพอื่ ให้หนว่ ยสามารถปฏิบตั ิภารกิจไดเ้ ป็นผลสาเรจ็ ผู้บงั คบั หนว่ ยจะต้องมวี ิธกี ารฟน้ื ฟู ดารงรกั ษา ขวัญ กาลงั ใจ ใหท้ หารภายใต้การบงั คับบัญชาของตนมีขวญั และจติ ใจรกุ รบอยู่เสมอ การปฏบิ ัตใิ นข้อใดไม่ถกู ต้อง ? ก. ขจดั ขา่ วลอื ข. การกวดขันระเบียบวินยั ค. ใชล้ กั ษณะผนู้ าอย่างสงู ง. การโฆษณาชวนเชอ่ื ๒. ความม่งุ หมายของการปฏิบัตกิ ารรน่ ถอย กเ็ พื่อจะรักษาความเป็นกลุ่มกอ้ นของกาลังรบเอาไว้ จนกวา่ จะมีโอกาสท่จี ะทาการบ ดว้ ยวิธรี ุก การปฏิบัติการร่นถอยจะกระทา เพือ่ เหตุผลประการใดประการหนงึ่ หรือหลายประการกไ็ ด้ อยากทราบว่าแบบ/ ประเภทของการรบด้วยวธิ กี าร่นถอยมีก่ีแบบ? ก. ๒ แบบ นอกความกดดนั , ภายใต้ความกดดัน ข. ๒ แบบ ไม่สมคั รใจ, สมัครใจ ค. ๓ แบบ การถอนตวั , การรบหน่วงเวลา, การถอย ง. ๔ แบบ การรบหนว่ งเวลาหนา้ , การถอนตัว, การตงั้ รบั , การถอย ๓. “การจดั กาลังเคล่อื นทห่ี า่ งออกจากขา้ ศึก โดยอาจเกิดจากการบงั คบั หรือความสมัครใจกไ็ ดแ้ ตไ่ ม่ว่ากรณีใดกต็ าม ในการ เคล่ือนย้ายมาขา้ งหลังจะต้องได้รับการอนมุ ัตจิ ากผูบ้ งั คบั บัญชาช้นั สงู กอ่ นเสมอ การปฏิบตั ิการนจ้ี ะปฏบิ ัติเพ่ือรบกวน สรา้ ง ความยุ่งยาก ทาให้ขา้ ศกึ กระจัดกระจาย เสยี เวลา และทาลายขา้ ศึก การปฏิบัตกิ ารนเี้ พือ่ ใหไ้ ดเ้ วลา หลีกเลยี่ งการรบภายใต้ เงือ่ นไขทีเ่ สยี เปรยี บหรอื ดึงข้าศึกให้เขา้ มาอยู่ในพื้นทีท่ ่ีไมเ่ ออื้ อานวย” กล่าวถึงการรบชนดิ ใด ? ก. การรบดว้ ยวธิ ีรกุ ข. การรบด้วยวิธีรบั ค. การรบด้วยวธิ ีร่นถอย ง. การรบหน่วงเวลา ๔.วัตถปุ ระสงค์ในการรบด้วยวิธรี น่ ถอย ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ ง ก. หลกี เล่ียงการรบภายใตส้ ภาพการณท์ ไ่ี มพ่ ึงประสงคข์ องฝ่ายเรา ข. ดงึ ข้าศกึ เข้าสพู่ ืน้ ท่ีทเี่ ก้ือกูลตอ่ การปฏิบัตขิ องฝ่ายเรา ค. รบกวนขา้ ศึกทาใหข้ ้าศึกออ่ นกาลงั ลง ง. ทีก่ ล่าวมาถกู ทุกข้อ ๕. ปกติผู้บงั คบั บัญชามักจะเลอื กใช้การร่นถอยในลกั ษณะใด เปน็ วธิ ที ี่พึงประสงค์ในการถอนตวั ของหนว่ ย เป็นวธิ ที ีด่ ที ่ีสุด ? ก. ข้าศึกไมก่ ดดนั ข. ข้าศึกกดดนั ค. ไม่สมคั รใจ ง. ถอนตวั กลางวนั ๖. การถอนตวั ภายใต้ความกดดัน ปกติ ผบ.ร้อย มักจัดสว่ นกาบังของกองร้อย เอง โดยพจิ ารณาจัดจากหนว่ ยในขอ้ ใด ? ก. สว่ นระวังปอ้ งกนั ข. ส่วนตั้งรับหนา้ ค. กองหนนุ ง. หนว่ ยขา้ งเคียง ๗. การถอนตวั เมอื่ ข้าศกึ กดดัน หน่วยปฏิบัตจิ ะจดั กาลังอยา่ งไร ก. สว่ นใหญ่ และ ส่วนกาบงั ข. ส่วนใหญ่ และ สว่ นเหลอื ไวป้ ะทะ ค. สว่ นรบปะทะ, ส่วนหนุน และส่วนเพิม่ เติม ง. สว่ นใหญ่, ส่วนนอ้ ย และ ส่วนตา้ นทาน ๘. การปฏิบัติตามระเบียบการนาหน่วยของ ผบ.หนว่ ย ในขน้ั การ ลว. ถ้า ผบ.หน่วยไม่สามารถทาการ ลว.ไดจ้ ะต้องกาหนด ตวั แทนในการ ลว. ในการปฏบิ ัตกิ ารถอนตัวน้ันโดยปกติ ผบ.ร้อย.กาหนดให้ใคร เปน็ ผู้ทไ่ี ป ลว. ทมี่ ่ันใหม่แทน ผบ.รอ้ ย.? ก. รอง ผบ.รอ้ ย. ข. รอง ผบ.มว.ปล. ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. จา่ กองรอ้ ย
๙. การปฏบิ ัติตามระเบียบการนาหนว่ ยของ ผบ.หนว่ ย ในขัน้ การ ลว. ถา้ ผบ.หนว่ ยไมส่ ามารถทาการ ลว.ได้จะตอ้ งกาหนด ตัวแทนในการ ลว. สว่ นตัวแทนของ ผบ.มว.ปล.ได้แก่ข้อใด.? ก. รอง ผบ.ร้อย. ข. รอง ผบ.มว.ปล. ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. จ่ากองร้อย ๑๐. รอ้ ย.อวบ.ในการถอนตัว มอบภารกจิ ให้กับส่วนท่เี หลอื ไวป้ ะทะ ทาการลวงและตา้ นทานข้าศกึ หากท่านปฏบิ ัตหิ น้าที่ ผบ. รอ้ ย.จะแนะนาให้ส่วนที่เหลอื ไว้ปะทะปฏิบตั ิอย่างไรจึงจะมีประสทิ ธภิ าพสงู สุดในการลวง ? ก. เพ่ิมเจ้าหน้าที่ ลว.ด้านหลงั ใหม้ ากขึน้ ข. แสร้งทาใหเ้ หมอื นกบั สว่ นใหญ่มากท่ีสดุ ค. แสดงการเคล่ือนย้ายกาลงั โดยเปดิ เผย ง. ใช้แสงไฟ เสยี งแตรของยานยนต์ บอกท่ตี ้ังการบรรทกุ เม่อื ส่วนใหญถ่ อนตัวแลว้ ๑๑. ในการกาหนดมาตรการควบคุมการถอนตัวผทู้ ีก่ าหนดทรี่ วมพลของ มว.คือขอ้ ใด ? ก. ผบ.พนั . ข. ผบ.ร้อย. ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. ผบ.มว.ปล.
๑๒. ในการกาหนดมาตรการควบคุมการถอนตวั ผ้ทู ่ีกาหนดท่ีรวมพลของ หมู่ ปก.คือข้อใด ? ก. ผบ.พัน. ข. ผบ.รอ้ ย. ค. รอง ผบ.มว.ปล. ง. ผบ.มว.ปล. ๑๓. ในการการถอนตัวนอกความกัดดนั ท่รี วมพลของ มว.อยู่บริเวณใดของพืน้ ทก่ี องรอ้ ย ? ก. หนา้ มว.ปล.ในแนวหนา้ ข. ด้านข้างเคียงกันกบั มว.ปล.ในแนวหน้า ค. หนา้ มว.หนนุ ของกองรอ้ ย ง. หลงั มว.หนนุ ของกองร้อย ๑๔. ในระหว่างการถอนตวั นอกความกดดัน ผบ.ส่วนทเี่ หลือไว้ปะทะของกองรอ้ ยคือข้อใด ? ก. รอง ผบ.ร้อย. ข. จา่ กองร้อย ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. ผบ.มว.ปล. ๑๕. การปฏิบตั ขิ องกองร้อยในการถอนตวั เมอ่ื จดั ผแู้ ทนหนว่ ยไปตรวจที่ม่ันใหม่ ตวั แทนกองรอ้ ยจะแนะนาให้ปฏิบัตใิ นเรื่องต่าง ๆ เพอ่ื ลดความสับสนของหน่วย ในขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ตอ้ ง ? ก. แบง่ เขตการวางกาลังใหก้ บั มว.ต่าง ๆ ข. การวางกาลงั ใหด้ ารงไวเ้ หมอื นทม่ี ั่นเดิม ค. ใกล้เวลาใหร้ อรบั กาลงั สว่ นใหญ/่ ส่วนทเี่ หลอื ไวป้ ะทะ ณ จุดแยกกองร้อย จดุ แยก มว. ง. ท่ีหมายและแนววางกาลงั หนว่ ยขา้ งเคียง ๑๖. ส่วนท่ีเหลอื ไวป้ ะทะของกองรอ้ ย จะถอนตัวเม่อื ใด ? ก. ตามกาหนดเวลาในแผน/คาส่ัง ข. ตามคาสง่ั ของ ผบ.ส่วนท่เี หลือไว้ปะทะของกองรอ้ ย ค. ตามแผนของกองรอ้ ย ง. ถกู ทกุ ขอ้ ๑๗. การถอนตวั เม่ือข้าศกึ กดดัน ผบ.ร้อย. ควรจะถอนอาวุธชนิดใดทา้ ยสดุ ในการถอนตัว ก. ปก.เอม็ .๖๐ ในหมู่ ปก. ข. เครอ่ื งยิงลกู ระเบดิ เอ็ม.๒๐๓ ค. ปลย.เอ็ม ๑๖ ง. เคร่ืองยงิ ลกู ระเบิด ๖๐ มม. ๑๘. ในภารกิจท่กี องรอ้ ยทาหน้าทเ่ี ปน็ สว่ นกาบงั ของกองพนั ในการถอนตัวเมอ่ื ข้าศึกกดดนั ผทู้ ่กี าหนดที่ตงั้ ขนั้ ตน้ ของส่วนกาบัง คือขอ้ ใด ? ก. ผบ.พัน. ข. ผบ.รอ้ ย. ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. ผบ.มว.ปล. ๑๙.แนวความคิดพน้ื ฐานสาหรบั การรบหนว่ งเวลาข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ต้อง ก. การรักษาเสรีของการดาเนนิ กลยทุ ธ์ ข. บบี บงั คับให้ฝา่ ยข้าศกึ ทาการวางกาลังอยา่ งต่อเน่อื ง ค. ทาการแลกเวลาท่ีเพื่อใหไ้ ดพ้ น้ื ท่ี ง. หนว่ ยทาการเคลื่อนย้ายไปยังทมี่ ่นั รบข้ันต่อไป
๒๐. วธิ ีการปฏิบตั กิ ารรบหนว่ งเวลามีวธิ ีอะไรบ้าง ก. รงั้ หนว่ งและตั้งรับ ข. แถวตอนและหนา้ กระดาน ค. ลาดับขนั้ และสลบั ขัน้ ง. แนวขั้นและเขตปฏบิ ัตกิ าร ๒๑. หลกั นยิ มการหนว่ งเวลาในลักษณะพ้ืนท่ีปฏบิ ัตกิ ารกว้างดา้ นหน้ามาก มกั ใช้การรบหน่วงเวลาประเภทใด? ก. การรบหนว่ งเวลาทีม่ ่นั ตามลาดับขน้ั ข. การรบหน่วงเวลาทม่ี น่ั สลับขั้น ค. การรบหนว่ งเวลาทมี่ นั่ แขง็ แรง ง. การรบหนว่ งเวลาที่ม่นั คล่องตัว ๒๒. แนวทีม่ ่นั รบหนว่ งเวลาแต่ละแนว ควรจะห่างกันประมาณเท่าใด ในแงค่ ิดทางยทุ ธวิธจี ึงจะเปน็ ระยะทเี่ หมาะสม ? ก. พ้นระยะยงิ ของ ค. และ ป.ข้าศึก ข. เดินภายใน ๑ ชัว่ โมง ค. สุดระยะของ พนั .ป.ชต.ของกรม ง. ความลึกของกองพนั รบหนว่ งเวลา ๒๓. ปจั จัยในการเลือกแบบการรบหน่วงเวลาขนึ้ อย่กู ับอะไร ก. ความกวา้ งของเขตปฏิบัตกิ าร ข. ความสัมพนั ธข์ องอานาจกาลังรบฝา่ ยตรงขา้ ม ค. ความคล่องแคลว่ ของฝ่ายตรงข้ามและจานวนทต่ี ั้งของท่มี ั่นรบหนว่ งเวลาในทางลกึ ง. ถูกทกุ ขอ้ ๒๔. ปัจจัยในการเลือกแบบการรบหน่วงเวลา กรณที ี่ใช้อานาจกาลงั รบเปรียบเทียบฝา่ ยเราตอ่ ฝ่ายขา้ ศึก ในอตั ราส่วนเท่าใด ? ก. ๓ : ๑ ข. ๔ : ๑ ค. ๕ : ๑ ง. ๖ : ๑ ๒๕. แนวที่มั่นรบหน่วงเวลา ไมค่ วรมีลักษณะอย่างไร ก. เป็นสนั เขาตัดกบั แนวทางการรุกของข้าศกึ มเี คร่ืองกีดขวางตรงหนา้ ข. มกี ารตรวจการณ์ และทาการยงิ ได้ระยะไกล ค. มีการกาบังซอ่ นพราง มขี ่ายถนนและเส้นทางถอนตัวกาบังและซ่อนพราง ง. มีภูมิประเทศสาคัญหนา้ แนวท่มี ัน่ ๒๖. การถอยเป็นการเคลอื่ นยา้ ยหน่วย เพื่อเพ่ิมระยะหา่ งระหวา่ งหนว่ ยถอยกับขา้ ศึก ให้ออกหา่ งจากกนั จะปฏบิ ัตไิ ดเ้ มื่อ ? ก. หน่วยไมไ่ ดป้ ะทะกบั ข้าศกึ ,หนว่ ยได้จัดรปู ขบวนการเดินทางเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ ข. หนว่ ยพยายามผละออกจากการปะทะ ค. หน่วยถูกกดดนั ด้วยกาลงั ง. หน่วยถูกกดดนั ด้วยการยงิ ของ ค.และ ป.ข้าศึก ๒๗. โดยปกติแลว้ การถอยจะไม่ปฏิบัติเมอ่ื ใด ? ก. ไม่ไดป้ ะทะกบั ข้าศึก ข. ข้าศึกเข้าตี ค. หนว่ ยไดจ้ ัดรปู ขบวนเดินทางเสร็จเรียบร้อย ง. ข้าศึกไม่กดดนั ๒๘. วิธกี ารปฏบิ ตั ิการในลกั ษณะท่เี ป็นการปฏิบัติของหนว่ ยทไ่ี มไ่ ด้ปะทะกบั ขศ. ฝา่ ยเราจัดกาลงั เคลื่อนท่ีไปขา้ งหลงั ออกห่าง จากข้าศกึ อย่างมรี ะเบียบ หมายถึงการปฏิบตั ิการร่นถอยแบบใด ? ก. การถอนตัวนอกความกดดัน ข. การถอนตัวภายใต้ความกดดนั ค. การรบหนว่ งเวลา ง. การถอย ๒๙. การถอยน้นั เป็นการปฏบิ ัตใิ นลักษณะทีห่ ันหลงั ให้กับข้าศกึ ฉะน้ันในสว่ นที่ ผบ.หนว่ ยจะต้องจดั กาลัง ใหม้ ีความพรอ้ มรบท่เี ข้มแขง็ คือส่วนใด ? ก. กองกระหนาบ ข. กองระวังหน้า ค. ส่วนลาดตระเวน ง. กองระวังหลงั ๓๐. การปฏบิ ตั กิ ารรน่ ถอย เป็นการปฏบิ ัตกิ ารเคล่ือนยา้ ยหน่วยลงมาทางขา้ งหรอื ข้างหลงั อย่างเป็นระเบียบ ถ้าเป็นการ เคล่ือนยา้ ยดว้ ยเทา้ ระยะที่เหมาะสม คือ ขอ้ ใด ? ก. ประมาณ ๒๕ กม.ลงมา ข. ประมาณ ๓๐ – ๔๐ กม. ค. ประมาณ ๓๕ – ๔๕ กม. ง. ประมาณ ๔๕ – ๕๐ กม.
๑. เมื่อผบู้ งั คบั หมูร่ ู้สกึ ว่าอยูใ่ กลก้ บั ขา้ ศึก ผบู้ งั คับหมู่จะใช้วิธีการเคลอื่ นที่แบบใด ก. วิธีการเคลอื่ นที่แบบเดนิ ทาง ข. วิธกี ารเคล่ือนท่ีแบบเดนิ ทางเฝ้าตรวจ ค. วธิ กี ารเคลอ่ื นที่แบบเฝ้าตรวจเปน็ หว้ งๆ ง. วิธกี ารเคล่อื นท่ีแบบผสม ๒. ระเบยี บการนาหน่วย ข้นั ท่ี ๔ ในระดบั หมวด ใครเปน็ ผคู้ วบคมุ หนว่ ย ก. ผบ.หมู่ ปืนกล หรือ ผบ.หมู่ ปล. ข. ผบ.หมู่ ปล. หรือ รอง ผบ.มว.ปล. ค. รอง ผบ.มว.ปล. หรอื รอง ผบ.มว.ค.๖๐ ง. หน.ชดุ ยิงอาวุโส หรอื ผบ.หมู่ ปล. ๓. ระเบียบการนาหนว่ ย ขั้นที ๘ กลา่ วถึง กจิ ที่ควรซกั ซอ้ มการปฏบิ ัติ ขอ้ ใดกลา่ วผิด ก. การปฏบิ ัติ ณ ท่หี มาย ข. การปฏบิ ตั ิ ณ พ้ืนที่เตรียมตะลมุ บอน ค. การปฏิบตั ฉิ ับพลนั ง. การปฏิบัติ ณ พ้นื ท่เี ขตหลัง ๔. ระเบียบการนาหน่วย ข้นั การกากบั ดูแล กล่าวถึงการตรวจข้นั สุดทา้ ยของ ผบ.หมวดและ รอง ผบ.หมวด อยากทราบว่าตรวจในเรอื่ งอะไรบา้ ง ก. ข้อบกพรอ่ งของการตรวจคราวก่อน ข. เครือ่ งแต่งกาย ค. การพราง ง. ถกู ทกุ ข้อ ๕. การเคลือ่ นทแ่ี บบเดนิ ทาง ผบ.หมู่ จะเคลอื่ นทอี่ ยู่ในส่วนใดของหมู่ ก. ชุดยงิ นา ข. ชุดยิงตาม ค. ปดิ ท้ายขบวน ง. พลยิง ปลก. ๖. การ ปปส. ที่มีความรนุ แรงท่ีสุดคือพนื้ ทอ่ี ะไร ก. พื้นท่สี แี ดง ข. พน้ื ที่สเี หลอื ง ค. พน้ื ที่สีเขียว ง. พน้ื ทส่ี สี ม้ ๗. พื้นท่ีทีร่ ฐั บาลกาหนดใหเ้ ป็นพ้นื ท่ีช่วงชงิ คือพ้ืนที่ ก. พื้นทส่ี แี ดง ข. สีเหลอื ง ค. เขียว ง. สม้ ๘. พน้ื ที่ท่อี ยู่ในความควบคมุ ของรฐั บาล ไดแ้ กพ่ นื้ ทอี่ ะไร ก. พน้ื ทีส่ ีแดง ข. พนื้ ที่สเี หลอื ง ค. พ้นื ทส่ี เี ขียว ง. พืน้ ที่สีส้ม ๙. ขน้ั ของการกอ่ ความไมส่ งบมกี ่ีขั้น ก. ๒ ขัน้
ข. ๓ ขัน้ ค. ๔ ขั้น ง. ๕ ขนั้ ๑๐.คน้ หา จากัดกลไกลและดาเนนิ งานของขบวนการกอ่ ความไม่สงบเพอื่ ตัดสัมพันธแ์ ละสร้าง ก. การปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มชว่ ยเหลือประชาชน ข. การพิทกั ษท์ รัพยากรและประชาชน ค. การปราบปรามกองกาลงั ง. ถูกทุกข้อ ๑๑.การเคลอ่ื นที่แบบเดินทาง ผบ.หมู่ จะเคลือ่ นท่อี ยู่ในส่วนใดของหมู่การปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มช่วยเหลอื ประชาชน ก. ชดุ ยิงนา ข. ชุดยงิ ตาม ค. ปิดทา้ ยขบวน ง. พลยงิ ปลก. ๑๒.เพ่ือไมใ่ หเ้ กิดความเหนอ่ื ยล้า ควรผลดั เปลย่ี น ลว.นา ทกุ กี่นาที ก. ๑๐ นาที ข. ๒๐ นาที ค. ๓๐ นาที ง. ๔๐ นาที ๑๓.ในการจดั แบ่งหน้าท่ีของชุดลาดตระเวนการเคลื่อนที่แบบเดินทาง อยากทราบว่า หน.ชดุ ยงิ มหี นา้ ที่อะไร ก. ประเมนิ สถานการณ์ตลอดเวลา ข. ทาหนา้ ที่โจมตขี ้ันต้น ค. ทาหนา้ ท่ีคุม้ กันระวงั ปอ้ งกนั ง. วางแผนการเคลื่อนที่ ๑๔.การเคลื่อนที่ในรูปขบวนตวั เอ็กซ์ (X) พลยงิ เอ็ม ๒๐๓ มหี น้าที่อะไรในชุดยิงนา ก. ประเมินสถานการณ์ตลอดเวลา ข. เคลือ่ นทีไ่ ปกบั หน.ชุดยิงนา ค. เคลื่อนทไี่ ปกับ พล.ปล. ง. รวป.ให้กับคู่บดั ดีข้ า้ งหนา้ ๑๕.การเคลื่อนที่ด้วยรูปขบวนตัววาย (Y) เมอ่ื ตรวจพบวตั ถตุ อ้ งสงสยั สง่ิ แรกทีต่ ้องกระทาคือ ก. ลว.สองข้างทาง ข. ตรวจจดุ ท่ีอยขู่ องตนเอง ๕-๑๕-๒๕ ค. กาหนดจุดทอี่ ันตราย ง. วเิ คราะหพ์ น้ื ท่ี ๑๖.เมือ่ มีความเปน็ ไปได้ทจี่ ะเกิดการปะทะกบั ผกร. ควรใชเ้ ทคนิคการเคล่อื นทแ่ี บบใด ก. การเคล่ือนที่แบบเดนิ ทาง ข. การเคลอ่ื นที่แบบเดนิ ทางเฝา้ ตรวจ ค. การเคลื่อนทแ่ี บบชดุ ยงิ นา ง. การเคลอ่ื นทแ่ี บบเดนิ ทางเฝ้าตรวจ-เคลอื่ นที่สลับ ๑๗.เม่ือผ้บู งั คบั หม่รู ู้สกึ ว่าอย่ใู กล้กับข้าศึก ผู้บงั คบั หมู่จะใช้วิธกี ารเคลือ่ นทีแ่ บบใด ก. วิธีการเคลอื่ นทแ่ี บบเดนิ ทาง ข. วธิ ีการเคลื่อนทแี่ บบเดินทางเฝ้าตรวจ ค. วิธีการเคลื่อนท่แี บบเฝา้ ตรวจเป็นห้วงๆ ง. วิธกี ารเคล่อื นทแ่ี บบผสม ๑๘.ระเบยี บการนาหนว่ ย ข้นั ท่ี ๔ ในระดบั หมวด ใครเป็นผู้ควบคุมหน่วย
ก. ผบ.หมู่ ปนื กล หรอื ผบ.หมู่ ปล. ข. ผบ.หมู่ ปล. หรือ รอง ผบ.มว.ปล. ค. รอง ผบ.มว.ปล. หรือ รอง ผบ.มว.ค.๖๐ ง. หน.ชุดยิงอาวโุ ส หรือ ผบ.หมู่ ปล. ๑๙.ระเบียบการนาหนว่ ย ข้ันที ๘ กล่าวถงึ กจิ ท่ีควรซักซอ้ มการปฏิบัติ ขอ้ ใดกล่าวผิด ก. การปฏบิ ตั ิ ณ ทห่ี มาย ข. การปฏบิ ัติ ณ พ้นื ทเ่ี ตรยี มตะลมุ บอน ค. การปฏบิ ัติฉบั พลนั ง. การปฏิบตั ิ ณ พืน้ ทีเ่ ขตหลงั ๒๐.ระเบยี บการนาหน่วย ขัน้ การกากบั ดูแล กล่าวถงึ การตรวจขนั้ สดุ ทา้ ยของ ผบ.หมวดและรอง ผบ.หมวด อยากทราบวา่ ตรวจใน เรอื่ งอะไรบ้าง ก. ข้อบกพรอ่ งของการตรวจคราวก่อน ข. เคร่อื งแตง่ กาย ค. การพราง ง. ถกู ทุกข้อ ๒๑.หลกั การในการปอ้ งกนั การปราบปรามการก่อความไม่สงบท่ีดีควรมลี ักษณะอยา่ งไร ก. มเี อกภาพในการปฏิบัติ,ให้ขา่ วกรองมากทสี่ ุด, ลดความรนุ แรงใหเ้ หลือน้อยท่สี ุด ข. การเตรียมการฝึกกาลงั พลใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและเขา้ ใจพืน้ ท่ปี ฏิบัติการ ค. เขา้ ใจปัญหาที่เกิดขึ้น หนว่ ยมีงบประมาณเพยี งพอ ง. มีการวางแผนทด่ี ี สามารถปฏิบัตติ ามแผนเผชิญเหตุไดต้ ลอด ๒๔ ชม. ๒๒.การพฒั นาประเทศ, การพัฒนาชุมชน, การพฒั นาพเิ ศษ ( เฉพาะพื้นท่ี) และการชว่ ยเหลอื ประชาชน กลา่ วถงึ กาหนดการในการ ปปส. เรอ่ื งอะไร ก. ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาและการเสรมิ ความม่นั คง ข. การใช้มาตรการหลกั ๓ เสริม ๒ ค. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมช่วยเหลอื ประชาชนและทรัพยากร ง. ถูกทุกขอ้ ๒๓.ภมู ิประเทศสาคญั ยง่ิ ในการปฏบิ ตั ทิ างทหารในการ ปปส. คอื ก. ฐานปฏบิ ตั กิ ารกองโจร ข. หัวหนา้ กลมุ่ ขบวนการ ค. ประชาชนในพนื้ ท่ี ง. พ้นื ที่ปฏบิ ัติการรับผดิ ชอบ ๒๔.การแบ่งพื้นท่ีในการ ปปส.”กองร้อย” โดยใชเ้ สน้ แบ่งเขตการปกครองกระทรวงมหาดไทย คอื ก. จังหวดั ข. อาเภอ ค. ตาบล ง. หมูบ่ า้ น ๒๕.การแบง่ มอบพื้นทใ่ี นการ ปปส. “กองพนั ทหารราบ” โดยใช้เสน้ แบง่ เขตการปกครองกระทรวงมหาดไทย คือ ? ก. จงั หวัด ข. อาเภอ ค. ตาบล ง. หม่บู า้ น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241