30. ส่วนระวงั ป้องกนั ของกองพันท่ีจัดออกไปข้างหนา้ เพ่อื ทำหนา้ ทเี่ ปน็ ฉากกำบงั ใหก้ ับหน่วย โดยปกติ จะจัดกำลงั มขี นาดหนว่ ย ตามขอ้ ใด. ก. ๑ หมู่ ปล.(เพิ่มเติม) ถึง ๑ มว.ปล. ข. ๑ มว.ปล.(เพ่มิ เตมิ ) ถงึ ๑ กองรอ้ ย. ค. ๑ หมู่ ปล.(เพิม่ เติม) ถึง ๑ มว.ปล.(เพิ่มเติม) ง. ๑ มว.ปล.(เพ่ิมเตมิ ) ถึง ๑ กองรอ้ ย ( เพิม่ เติม ) 31. ภารกิจของ หมู่ ปล. / ปก.ในการต้ังรบั คือข้อใด. ก. ยบั ย้ัง และผลักดนั ข้าศึก ข. ยบั ยั้ง และขบั ไล่ ข้าศึก ค. ผลักดนั และไล่ตดิ ตาม ข้าศึก ง. ยับยั้ง และไลต่ ดิ ตาม ขา้ ศึก 32. ในการตงั้ รบั ของหมู่ ปล. ส่วนระวังป้องกนั ท่ตี อ้ งจดั ออกไปข้างหน้า ขนพร.ในระยะยิงหวังผลของปล. คอื สว่ นระวงั ปอ้ งกนั ท่ีมชี อื่ ในขอ้ ใด. ก. ยามคอยเหตุ ข. ฉากกำบงั ค. สว่ นกำบงั ง. จุดเฝ้าตรวจ 33. การติดตอ่ สื่อสารในการตั้งรับระหวา่ งหมู่ ปล.ต่อ หมู่ ปล.โดยปกติ จะใช้การตดิ ต่อสอื่ สารชนดิ ใด. ก. ใช้วิทยุ ข. ใช้พลนำสาร ค. ใช้โทรศพั ท์ ง. ใช้ทศั นสัญญาณ 34. ในระหว่างการต้ังรับ โดยปกติ ผบ.หมู่ จะไม่ทำการยิง แต่จะทำการยงิ ได้ ในกรณีใด. ก. ข้าศกึ เข้ามาในระยะประชิด ข. ทำการยงิ เพอ่ื ช้เี ป้าหมาย ค. เป็นสญั ญาณเปิดฉากการยิง ง. ท่ีกล่าวมาถูกทุกข้อ 35. ขอ้ ใดกล่าวถึง ภารกิจของ หมู่ ปก.ในการตัง้ รับ ได้ถูกต้อง. ก. ยงิ สนบั สนนุ ให้กับ ชุดยิง ข. ยิงสนบั สนนุ ให้กบั หมู่ ปล. ค. ยิงสนบั สนุนให้กบั มว.ปล. ง. ยงิ ทำลายตอ่ สรู้ ถถังในระยะประชิด 36. ในการเลอื กทต่ี ง้ั ยิงของ ปก.โดยปกติ ผู้ทเ่ี ลอื กและกำหนดท่ีต้งั ยงิ ท่ีแน่นอน คือใคร. ก. ผบ.หมู่ ปล. ข. ผบ.หมู่ ปก. ค. ผบ.มว.ปล. ง. ผบ.มว.ค. 37. ในการวางแผนการใช้หมู่ปนื กลในการตั้งรับ โดยปกติจะใชต้ ้งั ยิงเป็นคู่ เพ่ือไม่ให้เปน็ อันตรายรว่ มกนั ทต่ี ั้งยิงของปนื กลควรตั้งห่างกันประมาณเทา่ ใด. ก. ห่างกันประมาณ ๒๐ เมตร ข. หา่ งกันประมาณ ๓๐ เมตร ค. หา่ งกนั ประมาณ ๔๐ เมตร ง. หา่ งกันประมาณ ๔๐ เมตร 38. ในการต้ังยิงของ ปก.โดยปกติ หมู่ ปก.จะต้องมกี ารจดั การระวังป้องกัน ปก.ตามข้อใด. ก. ปก.แตล่ ะกระบอก จะตอ้ งมีทหารประจำตลอดเวลา อย่างนอ้ ย ๑ นาย ข. ปก.ท้ังหมู่ จะตอ้ งมีทหารประจำตลอดเวลา อย่างน้อย หมลู่ ะ ๑ นาย ค. ปก.ท้ังหมู่ จะตอ้ งมีกำลงั ของหมู่ ปล.ประจำตลอดเวลา อยา่ งนอ้ ย ๑ ชุดยิง ง. ปก.แตล่ ะกระบอก จะต้องมกี ำลงั ของหมู่ ปล.ประจำตลอดเวลา อย่างนอ้ ย ๒ นาย
39. ในการวางแผนการต้ังรับ โดยปกติ หลักการกำหนดการใช้หลุมบคุ คล แตล่ ะหลุมจะอยู่ห่างกันโดย ประมาณ ระยะเท่าใด ถงึ ระยะเท่าใด. ก. ประมาณ ๕ - ๑๐ เมตร ข. ประมาณ ๕ - ๒๐ เมตร ค. ประมาณ ๑๐ - ๒๐ เมตร ง. ประมาณ ๑๐ - ๓๐ เมตร 40. เมือ่ ผบ.หมู่ ไดร้ ับคำส่ังจาก ผบ.มว. และนำกำลงั เข้าพื้นที่รบั ผดิ ชอบ เรียบรอ้ ยแล้วงานลำดับแรกที่ ผบ. หมู่ ตอ้ งปฏบิ ัติ คอื งานในข้อใด. ก. จัดการระวังปอ้ งกัน ข. มอบเขตการยิง ค. ถากถางพ้นื ยิง ง. จัดทำแผ่นจดระยะ/ แผนการยงิ ของหมู่ 41. ในการเลือกใช้หลมุ บคุ คลในการต้งั รบั ของ มว.ปล.โดยปกตมิ ักจะพิจารณาจากปจั จยั พืน้ ฐานใด. ก. กำลงั ของหมู่ ข. พื้นการยงิ ค. ขวญั ของกำลงั พล ง. ทกี่ ลา่ วมาถูกทุกข้อ 42. แนวที่เกดิ จากทีม่ ัน่ ของ มว.ปล.ในแนวหนา้ ตัดกบั เสน้ แบ่งเขตทจี่ ุดประสานงาน คือแนวในขอ้ ใด. ก. แนวประสานงาน ข. แนวฉากกำบัง ค. แนวกองหนุน ง. แนวขอบหน้าพืน้ ท่ีการรบ (ขนพร.) 43. ระยะระหวา่ งทตี่ ง้ั จรงิ ของหมู่ ปล.กับทต่ี ง้ั เพ่ิมเติมของหมู่ ปล. เปน็ คำจำกัดความของระยะในข้อใด. ก. ความลึก ข. กวา้ งดา้ นหน้า ค. ระยะเคียง ง. ช่องวา่ ง 44. ภารกิจของ มว.ปล.ในการต้ังรบั คือข้อใด. ก. ยับยงั้ ขา้ ศึกด้วยการยิงหน้าท่ีมน่ั ,ผลกั ดนั ขา้ ศกึ ด้วยการรบประชิด ข. ยบั ยง้ั ขา้ ศึกดว้ ยการรบประชิด, ผลักดนั ขา้ ศึกด้วยการยิงหนา้ ท่มี ่ัน ค. ยับย้งั ขา้ ศกึ ด้วยการยิงหนา้ ท่มี นั่ , ผลักดนั ข้าศึกด้วยการยงิ สนบั สนุน ง. ผลกั ดนั ข้าศกึ ด้วยการรบประชิด, ไล่ติดตามเพอ่ื การขยายผล 45. ในการจัดต้ังยามระวงั ป้องกัน เป็นมาตรการระวงั ป้องกันในการต้ังรบั ประเภทใด. ก. มาตรการเชิงรกุ ข. มาตรการเชงิ รับ ค. มาตรการปอ้ งกนั ภัยทางพนื้ ดิน ง. มาตรการป้องกันเฉพาะบรเิ วณ 46. โดยปกติ ในการวางกำลงั ตงั้ รับของ มว.ปล.ในแนวหนา้ จะพิจารณาการวางกำลังตามข้อใด. ก. ๒ หมู่ ปล.ในแนวหนา้ , ๑ หมู่ ปล.หนนุ ข. ๓ หมู่ ปล.เคียงกัน, หมู่ ปก.ตงั้ ยิงนอกพื้นที่ของ หมู่ ปล. ค. ๓ หมู่ ปล.เคยี งกัน, หมู่ ปก.ตง้ั ยิงในพน้ื ที่ของ หมู่ ปล. ง. ๔ หมู่ ปล.เคยี งกัน, หมู่ ปก.ตัง้ ยิงในพืน้ ท่ีของ บก.มว. 47. ผู้ทีเ่ ลอื กทต่ี ั้งยงิ และกำหนดเขตการยิงใหก้ บั อาวธุ กลภายในหมู่ คอื ใคร. ก. ผบ.มว. ข. ผบ.หมู่ ค. หน.ชดุ ยงิ ง. พลยิงอาวธุ กล
48. ผกู้ ำหนดท่ีตัง้ ยงิ ท่วั ไปให้กบั ปนื กล เอ็ม.๖๐ คอื ใคร. ก. ผบ.ร้อย. ข. ผบ.มว. ค. ผบ.หมู่ ปก. ง. พลยิง ปก. 49. การควบคุมของ หมู่ ปล.ในการตงั้ รับ โดยปกติ ผบ.หมู่ มกั จะใช้วธิ ีการสอื่ สารเพื่อควบคมุ หม่ตู ามข้อใด. ก. ใช้วิทยุ ข. ใช้โทรศัพท์ ค. ใช้พลนำสาร ง. ใชท้ ศั นะ / เสียงสัญญาณ 50. การปฏบิ ัตกิ ารตงั้ รบั ของ มว.ปล.ในแนวหนา้ จะเริ่มต้นข้ึนเมือ่ ใด. ก. เม่ือตรวจการณพ์ บข้าศกึ และทำการยิงหวังผลด้วยอาวธุ ยิงในอัตรา ข. เมอื่ ข้าศึกเขา้ มาในระยะยิงหวงั ผลของอาวธุ ปนื เล็ก ค. เมื่อขา้ ศกึ เขา้ มาในเขตการยงิ ป้องกันข้นั สุดทา้ ย ง. เม่อื ข้าศกึ เข้ามาในพื้นที่การรบหลกั 51. โดยปกติ ผบ.หนว่ ย จะอาศยั ขา่ วกรองจากทใี่ ดเปน็ หลักในการปฏบิ ัตภิ ารกจิ ทกุ คร้งั ? ก. หนว่ ยของตนเอง ข. หนว่ ยเหนอื ค. หนว่ ยขา้ งเคียง ง. หนว่ ยสมทบ 52. ขา่ วสารตา่ ง ๆ ที่ได้มา จะสมบรู ณจ์ นกลายเป็นขา่ วกรอง หลังจาก ? ก. ตคี วามแลว้ ข. รายงานให้ ผบช.ทราบแล้ว ค. รวบรวมและรายงานแล้ว ง. ทกุ ขอ้ ที่กลา่ วมา 53. การรวบรวม (COLLECT) และการรายงาน (REPORT) เกย่ี วกับข่าวสารข้าศึก เปน็ หนา้ ที่ของใคร ? ก. พลทหารทุกนาย ข. ตัวทหารทุกคนภายในหน่วย ค. นายสบิ และนายทหารทกุ นาย ง. ใครกไ็ ด้ท่ี ผบช.กำหนดให้ 54. “ ทหารตอ้ งกระทำการใด ๆ ไม่ใหข้ า้ ศึกไดร้ บั ขา่ วสารเพม่ิ เติมเก่ยี วกบั การปฏิบตั กิ ารของฝา่ ยเรา ” การกระทำเชน่ นเี้ รียกว่า ? ก. การรวบรวมข่าวสาร ข. การแจกจา่ ยข่าวกรอง ค. การต่อต้านข่าวกรอง ง. มาตรการควบคมุ 55. การต่อต้านขา่ วกรอง จะต้องประกอบด้วยการปฏิบัติอยา่ งไร ? ก. ไมบ่ อกข่าวสารใหข้ ้าศกึ ทราบเกีย่ วกับแผนปฏิบตั ิการของฝา่ ยเรา ข. การสบื หาความพยายามของขา้ ศึก เพื่อใหไ้ ด้ข่าวสาร ค. การลวงข้าศกึ ถึงแผนและความมงุ่ มนั่ ต่าง ๆ ง. ที่กล่าวมาถกู ทุกข้อ
56. ตัวทหาร คอื แหลง่ ขา่ วทด่ี ีทส่ี ุด โดยทหารแตล่ ะคนสามารถรวบรวมข่าวสารได้จากแหล่งใดบ้าง ? ก. เชลยศกึ , เอกสารท่ยี ึดได้ ข. เชลยศึก , เอกสารทีย่ ึดได้ , ทหารฝา่ ยเรา ค. เชลยศกึ , เอกสารท่ียึดได้ , พฤติกรรมของขา้ ศึก , ทหารหน่วยอ่ืน ๆ ในพ้นื ท่ี ง. เชลยศกึ , เอกสารท่ียึดได้ , พฤติกรรมของข้าศึก , บคุ คลพลเรือนในท้องถ่ิน 57. การรายงานขา่ วสารเกย่ี วกบั ขา้ ศึก เพื่อให้ ผบ.หน่วยทราบนนั้ ขา่ วนัน้ จะต้อง ? ก. ส้ัน – กะทดั รดั – สมบรู ณ์ ข. รวดเร็ว – ถูกต้อง – สมบรู ณ์ ค. รวดเรว็ – ส้นั – ได้ใจความ ง. รวดเรว็ – เขา้ ใจ – สมบูรณ์ 58. หวั ขอ้ การรายงานขา่ วสารเกี่ยวกับข้าศึก ประกอบด้วย ? ก. SALUTE ข. ขนาด พฤติกรรม ทตี่ ้งั หน่วย เวลา ยุทโธปกรณ์ ค. ด้วยระบบเอส (S) ง. ถกู ท้ังข้อ ก.และ ข. 59. การควบคุมเชลยศึก มีวิธปี ฏบิ ตั ิอย่างไร ? ก. ด้วยระบบ SALUTE ข. ค้นหา – ตรงึ – ยดึ – ลวง ค. ดว้ ยระบบเอส (S) (คน้ – แยก – เงยี บ – เร็ว – พิทักษ์ ) ง. ระบบใดกไ็ ด้ท่ีสามารถทำได้ 60. ขอ้ ใด คือมาตรการต่อต้านข่าวกรอง ทต่ี วั ทหารพึงกระทำและระลกึ อยเู่ สมอว่าเป็นส่ิงสำคญั ? ก. ฝกึ ฝนเร่ืองการพราง ข. รกั ษาวินัยการใชเ้ สียง และ แสง ค. ไมค่ ุยเรอื่ งการปฏบิ ัติทางทหารใหท้ ราบ ยกเวน้ เฉพาะผทู้ ีเ่ กย่ี วขอ้ งท่ตี ้องการให้ทราบเทา่ น้ัน ง. การเตอื นเพื่อนทหารให้ตระหนกั ถึงความรับผิดชอบต่อการต่อต้านขา่ วกรองอยเู่ สมอ
ขอ้ สอบวิชา การสอ่ื สาร ๑. เม่ือ มว.ปล.ท่ี ๒ เขา้ ทำการรบ ในระหวา่ ง “ตง้ั รบั ” พลฯ ศรราม กรามใหญ่ ซึ่งเป็นพลวทิ ยโุ ทรศัพทข์ อง หนว่ ย ได้ ทำการวางสายจาก บก.มว. ไปยงั สว่ นต้งั รับหน้า (หมู่.ปล.ที่ ๑, ๒, ๓ และสว่ นยงิ สนับสนุน) พรอ้ ม มอบหมายให้ พลฯ ฉลาด เหลือเกนิ ตรวจสอบความเรยี บร้อย ส่งิ ดังกล่าวตรงกบั หลักความรับผิดชอบทางการสื่อสาร อยา่ งไร ? ก. จากหนว่ ยเหนือไปยังหน่วยรองและหนว่ ยข้ึนสมทบ ข. จากหนว่ ยสนับสนนุ ไปยังหน่วยรับการ สนบั สนุน ค. จากหนว่ ยเพม่ิ เติมกำลงั ไปยงั หนว่ ยรบั การเพ่ิมเตมิ กำลัง ง. จากหนว่ ยข้างเคียงซ้ายไปขวา ๒. ชดุ โทรศัพท์กำลังงานเสยี งหรือ TA-1/PT มรี ะยะการส่ือสารซ่ึงระบุชัดเจนใน TM 11-5805-243-12 คือ ๖.๔ กม. ถึง ๑๖ กม. (๔ – ๑๐ ไมล์) อยากทราบวา่ ข้อใดกลา่ วถูก ? ก. สญั ญาณเรียกเข้ามีเพยี งเสียงสัญญาณอย่างเดยี ว ข. โทรศพั ท์ ๑ เคร่ือง มนี ำ้ หนกั ๕.๙ ปอนด์ ค. ปกตนิ ิยมใช้ในแนวหน้าระหว่างหน่วยดำเนนิ กลยุทธ์ของ มว. ง. มีจำนวน ๒ เคร่อื ง ตอ่ ๑ หม.ู่ ปล. ๓. การวางแผนและใช้ระบบการสอ่ื สารท้ังมวล เพื่อควบคุมบงั คบั บญั ชาหนว่ ยในการปฏิบตั ิการยทุ ธ์ ความ ต้องการเบอ้ื งต้นของระบบการสือ่ สารทางยุทธวธิ ี คอื รวดเรว็ เช่ือถือได้ และปลอดภัย ข้อใดกลา่ ว ถกู ต้อง ทส่ี ดุ ? ก. ระเบียบ วา่ ด้วย การ รปภ.แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๒๕ (รกจ.ฉบับพิเศษ หนา้ ๘-๙) แบ่งประเภทความ รบั ผดิ ชอบ ในการ รปภ.เก่ียวกับการสือ่ สาร คือ รปภ.ในการสง่ ข่าว, รปภ.ทางการรหัส และ รปภ.เกย่ี วกับ สถานที่ ข. การส่อื สารทั้งมวล ทงั้ ภายในพ้ืนทีร่ วมพล ภารกิจการต้ังรบั แบบยดึ ตรึงพนื้ ที่ หรอื การถอนตวั โดย สมคั รใจ และ การผลัดเปล่ียนหน่วย มกั ใชก้ ารสือ่ สารทางสาย และพลนำสาร เป็นหลกั ในการปฏบิ ัติทางการสื่อสาร ค. การเคล่ือนท่ที างยุทธวิธี หน่วยมกั ใช้การสอ่ื สารทางสายและทัศนะสัญญาณ เปน็ การสอื่ สารหลักเสมอ ง. ที่ผมอา่ นมาต้ังนาน มถี ูกอยู่สองข้อ คอื ขอ้ ก และ ข้อ ข
๔. ระเบียบการวทิ ยโุ ทรศัพท์กำหนดขนึ้ เพอ่ื อะไร ? ก. เร่งรัดการส่งขา่ วให้เร็วขนึ้ และลดความผดิ พลาดให้น้อยลง ข. ชว่ ยลดการฝา่ ฝืนการรกั ษาความปลอดภัยใหน้ ้อยลง ค. ช่วยให้ใชก้ ารตดิ ต่อสื่อสารทางวทิ ยุมปี ระสทิ ธิภาพดยี ่งิ ขึ้น ง. หลีกเลย่ี งความสับสนระหว่างตัวอกั ษร ๕. ข้อใดกล่าวถูกท่ีสุด ตามท่ีผู้เข้ารบั การศึกษาไดศ้ ึกษาในเรอ่ื งการสื่อสารท่ผี ่านมา ? ก. ชดุ วิทยุระดบั หมู่ตามอัตราการจดั ๑ มว.ปล. มีจำนวนทง้ั ส้นิ ๕ เครอ่ื ง ข. ชุดวทิ ยุ AN/PRC-77 ภายใน มว.ปล. มีในอัตราจำนวนทัง้ ส้นิ ๕ เครอ่ื ง ค. ตำแหนง่ จนท.ส่ือสาร ใน มว.ส่ือสาร ระดับ พัน.ร. มีจำนวนทั้งส้นิ ๑๔อตั รา (ตำแหน่ง) ง. ผมไม่ทราบครับกำลังสนทนาเรอ่ื งสง่ กำลังบำรุงกับ หน. ๖. อัตราการจัด มว.ส. ปี ๒๕๕๒ ของหน่วยระดับ พัน.ร. ซงึ่ มหี น่วยสอ่ื สารในการบงั คับบญั ชา จดั อย่างไร? ก. ผบ.มว.สอ่ื สาร อตั รา ร.อ. ข. พลนำสาร และ พลขบั ถูกจัดอย่ใู น ตอนทาง สาย ค. พลสลับสาย อตั รา ส.อ. ทำหน้าทีพ่ ลขบั ด้วย ง. ช่างวทิ ยุ อตั รา จ. ๗. ขอ้ ใดกลา่ วผิด ? ก. ชดุ วทิ ยุ AN/PRC-77 มยี า่ นความถ่ีใชง้ าน ตัง้ แต่ 30 – 75.95 MHz ข. ชดุ วทิ ยุ PRC-624 ตง้ั ความถีล่ ่วงหนา้ ได้ ๑๐ ช่องความถ่ี ค. ปกติ ผบ.หมู่ ปล. จะใช้ชดุ วิทยุ PRC-624 เปน็ หลัก ติดต่อสอ่ื สารในภารกิจการตั้งรบั แบบยดึ พ้ืนท่ี ง. ระบบการสื่อสารใน ทบ. ซ่งึ ใชง้ านทางยุทธวิธี ปกติ มี ๒ แบบ ๘. ขอ้ ใดกลา่ วผิด ? ก. ปี พ.ศ. ๒๔๕๐ เป็นปีเริม่ แรกของการใช้ “เครอ่ื งสัญญา” สำหรับ “นายทหาร” ในการติดตอ่ สื่อสาร ข. “หนว่ ยสื่อสาร” ใช้ จนท.หรือ ทหารเหลา่ ใดก็ได้ ในการดำเนนิ กิจการทางการส่ือสารท้งั ปวง ค. “หนว่ ยทหารสื่อสาร” ใช้ จนท.หรือ ทหารเหล่าใดก็ได้ ในการดำเนนิ กจิ การทางการสื่อสารทั้งปวง ง. มว.สอ่ื สาร กรม ร. ปกติ จะจดั ตงั้ หรอื เป็นหนว่ ยในอัตราของ บก./ร้อย.บก.กรม ร. ๙. จริงๆแล้ว ในระดับ ร้อย.อวบ. ปกติจะใช้ชุดวิทยุ AN/PRC-77 เป็นเครื่องสถานีบังคับข่ายฯ ซึ่งมีบรรจุใน อตั รา การจัด ทั้งนี้ ในระดับ มว.ปล. ก็มีชุดวิทยุ PRC-624 และชุดวิทยุ AN/PRC-77 ประจำอยู่ในอัตรา เช่นเดียวกนั อยากทราบว่า จนท.สอ่ื สาร ในระดับ รอ้ ย.อวบ. ประกอบดว้ ยใครบา้ ง ? ก. พลวิทยุโทรศัพท์, พลนำสาร ข. นายสิบส่อื สาร, ช่างวทิ ยุ, พลวทิ ยฯุ , พลทางสาย และพลนำสาร ค. นายสิบสื่อสาร, ชา่ งวิทยุ, พลทางสาย ง. พลสลับสาย, หน.ชดุ วางสาย, พลนำสาร และ พลวิทยุโทรศพั ท์
10. ขอ้ ใดกล่าวถูกท่สี ุด ? ก. นปส. เมื่อมกี ารกำหนดใชก้ ารอักษรลบั /การเข้ารหสั /ประมวลลับตา่ งๆ รายการดังกล่าวมีผลบงั คบั ใช้ ในระยะเวลา๒๔ชม. ข. ผู้ทมี่ หี น้าทใี่ นการจดั ทำสว่ นคัดลอกตดั ตอนนปส. ของหนว่ ยระดับ พนั .ร. คือ ผบ.มว.ส. ค. ผู้ทมี่ ีหนา้ ที่ในการจัดทำสว่ นคดั ลอกตดั ตอนนปส. ของหน่วยระดับ พัน.ร. คือ ฝอ.๓ ง. นสป. ทหี่ นว่ ยระดับกองพลตอ้ งทำการคดั ลอกตัดตอน มีคำเตม็ คือ “คำแนะนำการปฏิบตั ิสือ่ สาร” 11. จากคำกล่าวทีว่ ่า “ระบบการตดิ ต่อส่ือสารเปรยี บประดุจศูนยป์ ระสาท ผบช.” การท่ีตอ้ งรอบรใู้ นเรื่องการ สอื่ สาร ท้ังทางเทคนคิ /ทางยทุ ธวิธี ซง่ึ ผู้รับผดิ ชอบ/ รบั มอบนโยบายวางแผนใช้คมส. ท้ังมวลเปน็ หน้าที่ของใคร ? ก. ผบ.ร้อย. ข. ผบ.พัน. ค. ผบ.มว.ส. ง. ผบ.หน่วยทุกระดบั 12. เมือ่ ศึกษาเร่ือง “การสอื่ สาร” นสน./นทน. จำตอ้ งมบี ทสรุป/วเิ คราะห์รายละเอยี ดที่เก่ยี วขอ้ ง เพอื่ ใช้ ประเมินตนเอง หลงั การเรียนรู้ ทา่ นทราบหรอื ไม่วา่ ข้อใดท่สี รปุ ถูกต้องทส่ี ุด ? ก. สว่ นประกอบชุด CE – 11 มีชดุ DR – 8 พรอ้ มสายโทรศัพท์สนาม WD-1/PT เปน็ สว่ นประกอบ ข. หนว่ ยระดบั มว.ปล. มีเครื่องมือสื่อสารทางสายอยู่ในอตั รา คือ โทรศัพท์ TA – 312/PT จำนวน ๒ เครอ่ื ง ค. เม่ือกองร้อยฝกึ เข้าทำการรบ นายสิบส่ือสารฯ ต้องวางวงจรทางสายจาก ทก.ร้อย. ไปยังหน่วยเหนอื ของ ตนเอง ถือเป็นการดำเนนิ งานผิดหลกั การวางสาย ว่าดว้ ยจากหน่วยเหนอื ไปยังหนว่ ยรองและหนว่ ย สมทบ ง. ปกติ ในที่รวมพลจะใชก้ ารส่ือสารผ่านทางคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ซ่ึงจะมีความปลอดภัยและรวดเรว็ ท่สี ุด 13. ชุดสายอากาศ RC – 292 ใชต้ ดิ ต้งั กับชดุ วทิ ยทุ ่ีทำการสื่อสารในยา่ นความถเ่ี ท่าไร ? ก. 2 – 29.99 MHz ข. 20.00 – 75.95 MHz ค. 20 – 29.99 MHz ง. 15.00 – 30.00 MHz 14. ถ้าท่านเปน็ พนกั งานวิทยุ ไดร้ ับคำสง่ั ให้ตดิ ตง้ั ชุดสายอากาศ RC – 292 โดยใช้ความถ่หี ลัก 58.05 MHz ความถ่ีรอง 72.45 MHz จะต้องใชส้ ายอากาศและสายดินอยา่ งละกีท่ ่อน ? ก. ๒ และ ๙ ทอ่ น ข. ๓ และ ๑๒ ท่อน ค. ๔ และ ๑๕ ท่อน ง. ๔ และ ๑๒ ทอ่ น 15. สายเคเบิล MK – 456/GRC ไม่ได้เป็นส่วนประกอบชดุ วิทยุ แต่สามารถใชส้ ำหรบั ต่อกบั ชดุ วิทยุ เพ่ือเป็น สถานถี ่ายทอดแบบส่งตอ่ อัตโนมัตใิ หก้ บั ชดุ วทิ ยุอะไร ? ก. AN/PRC – 77 กบั AN/VRC – 47 ข. AN/VRC – 47 กับ AN/GRC – 106 ค. VRC/PRC – 610 กบั PRC – 730 ง. AN/GRC – 106 กบั AN/VRC – 47
16. ชุดวิทยุทัง้ สองถา้ ใช้เปน็ สถานีสง่ ต่ออัตโนมัติ จะตอ้ งปรับความถี่ทั้งสองสถานใี หต้ ่างกัน อยา่ งนอ้ ยเท่าไร ? ก. 3 MHz หรอื ๕ % ข. 3 MHzหรือ ๑๐ % ค. 4 MHz หรอื ๕ % ง. 10 MHz หรือ ๑๐ % 17. ส่งิ อปุ กรณ์ในข้อใด ? ไมถ่ อื เปน็ สว่ นประกอบชุดของ SB-22/PT ก. แบตเตอร่ี BA – 30 (UM-1) ข. ชุดโทรศพั ทพ์ นกั งาน (TA-221/PT) ค. ชดุ ปากพดู – หฟู ัง (H – 144) ง. ช่องรับสาย (TA-222/PT) 18. เม่อื ผลักสวิทชเ์ ลือกการทำงานของสญั ญาณเรียกเข้าไปอยูท่ ่ตี ำแหนง่ AUD. เมอ่ื มผี ูเ้ รียกเขา้ มา ตู้สลบั สายSB-222/PTจะแสดงสญั ญาณเรียกเขา้ ในลักษณะใด ? ก. ตาสัญญาณเพียงอยา่ งเดยี ว ข. ตาสัญญาณ เสียงสัญญาณ และไฟสัญญาณสี แดง ค. ตาสัญญาณและเสยี งสญั ญาณ ง. ตาสัญญาณและไฟสัญญาณสีแดง 19. ถ้ากองรอ้ ย อวบ.ต้ังรบั เป็นสว่ นหนง่ึ ของกองพนั และใช้ SB – 993/GT จำนวน ๑ ตู้ เป็นตสู้ ลับสาย ของกองรอ้ ย ถามวา่ หากไม่นบั โทรศพั ท์ของพนกั งาน ฯ รวมเขา้ ไปดว้ ย จะมีโทรศัพท์ตอ่ เขา้ ตู้สลบั สาย ของกองร้อยจำนวนกเ่ี คร่อื ง ? ก. ๔ เครอื่ ง ข. ๕ เครือ่ ง ค. ๖ เครื่อง ง. ๗ เครอื่ ง 20. การจัดอตั รายุทโธปกรณ์กองทัพบก ฉบบั ท่ี ๑๖ (พ.ศ.๒๕๕๒) ในสว่ น บก.พนั .ร. เพิ่มเติมให้มี “ฝา่ ย สื่อสาร และสารสนเทศ” อยากทราบวา่ อจย.หมายเลข ๗ – ๑๑ ว่าดว้ ยเรื่องอะไร ? ก. อตั ราการจัดฯ กองรอ้ ยอาวุธเบา ข. อัตราการจดั ฯ ร้อย.ค.หนกั กรม ร. ค. อัตราการจัดฯ กรม ร. ง. อัตราการจัดฯ พัน.ร.
ข้อสอบวิชา อาวธุ ปพ.๘๖ 1. เครื่องนริ ภัยของ ปพ.๘๖ มกี ีอ่ ยา่ ง ก. ๑ ข. ๒ ค. ๓ ง. ๔ 2. ทา่ ยิงปกตขิ อง ปพ.๘๖ คอื ข้อใด ก. ทา่ ยนื ยิง ข. ท่ายืนยิง,น่งั คกุ เข่ายงิ ค. ทา่ ยนื ยิง,นั่งคกุ เขา่ ยิง,ยืนย่อตวั ยงิ ง. ท่ายืนยิง,นั่งราบยิงสองมือ,น่งั คุกเขา่ ยงิ ,ยืนย่อตวั ยิง 3. กระสนุ ของ ปพ.๘๖ มกี ่ชี นิด ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๖ 4 .อตั รากระสนุ มลู ฐานของ ปพ.๘๖ กี่นดั ก. ๒๑ นดั /กระบอก ข. ๒๘ นดั /กระบอก ค. ๒๔ นดั /กระบอก ง. ๓๕ นัด/กระบอก 5. ปพ.๘๖ มเี กลยี วในลำกลอ้ งเพอ่ื แกอ้ ำกำรเยอ้ื งของกำรเหน่ียวไกจงึ ออกแบบใหม้ ี ก. มี ๔ เกลยี วเวยี นซำ้ ย ข. มี ๕ เกลยี วเวยี นขวำ ค. มี ๖ เกลยี วเวยี นซำ้ ย ง. มี ๗ เกลยี วเวยี นขวำ ปลย.๑๑ 6. ระยะยิงไกลสดุ และระยะยิงหวังผล ปลย.๑๑ คือขอ้ ใด ก. ๒,๖๕๓ เมตร และ ๑๐๐ เมตรลงมา ข. ๒,๖๔๐ เมตร และ ๔๐๐ เมตรลงมา ค. ๓,๐๐๐ เมตร และ ๔๐๐ เมตรลงมา ง. ๒,๘๖๐ เมตร และ ๑๐๐ เมตรลงมา 7. ซองกระสุนของ ปลย.๑๑ มกี ีช่ นิด ชนิดละกน่ี ัด ก. ๒ ชนิด ชนิดละ ๓๐ และ ๔๐ นดั ข. ๒ ชนิด ชนิดละ ๒๐ และ ๕๐ นดั ค. ๒ ชนดิ ชนดิ ละ ๒๐ และ ๓๐ นดั ง. ๒ ชนิด ชนิดละ ๒๐ และ ๔๐ นดั 8. เม่ือจะทำการห้ามไก ปลย.๑๑ จะต้องจดั คนั บงั คับการยิงมาอยู่ท่ีใด ก. บนสดุ ข. กง่ึ กลาง ค. ลา่ งสุด ง. หนา้ สดุ ปลย. เอ็ม ๑๖ เอ ๑ 9. ในระยะ ๒๕ เมตร หมุนศูนย์หน้าของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๑ ไป ๑ คลิ๊ก จะเลื่อนตำบลกระสุนไปเท่าใด ก. ๐.๗ ซม. ข. ๗ ซม. ค. ๑ ซม. ง. ๒.๘ ซม. 10. ศูนยห์ ลงั ที่มเี ครื่องหมายตวั L ใช้สำหรับยิงระยะใด ก. ๒๕๐ เมตร ข. ๐ - ๓๐๐ เมตร ค. ๓๐๐ - ๕๐๐ เมตร ง. ๔๖๐ เมตร 11. อัตรากระสนุ มลู ฐานของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๑ คือขอ้ ใด ก. ๑๔๐ นดั ข. ๒๘๐ เมตร ค. ๓๐๐ นดั ง. ๓๘๐ นัด
12. ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๑ จดั เป็นอำวธุ ประเภทใด ก. อำวธุ ประจำกำย ข. อำวุธประจำหมวด ค. อำวุธเสรมิ ง. อำวธุ เพอ่ื ควำมมงุ่ หมำยพเิ ศษ 13. ระยะยงิ หวงั ผลของ ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๑ ขอ้ ใดถูก ก. ๓๐๐ เมตร ข. ๓๖๐ เมตร ค. ๔๐๐ เมตร ง. ๔๖๐ เมตร ลงมำ ค.เอ็ม.๒๐๓ 14. ค.เอม็ .๒๐๓ ขนาด ๔๐ มม. ระยะทปี่ ลอดภยั ในการฝกึ (กระสนุ ระเบดิ และซ้อมยิง)คือระยะใด ก. ๑๕ เมตร ข. ๓๑ เมตร ค. ๕๐ เมตร ง. ๘๐ เมตร 15. ชนวน ค.ขนาด ๔๐ มม.เอม็ .๒๐๓ มี ๖ ชนิด อยากทราบวา่ ชนวนชนดิ ใดพรอ้ มทำงานเมอ่ื พน้ จากปาก ลำกลอ้ งไปประมาณ ๓ เมตร ผยู้ ิงต้องสงั เกต จดจำและระมดั ระวังในการใช้ ได้แกช่ นวนแบบใด ก. ชนวน เอม็ . ๕๓๖ ข. ชนวน เอ็ม.๕๓๗ ค. ชนวน เอ็ม.๕๕๒ ง. ชนวน เอม็ .๕๔๖ 16. ถา้ ทำการยงิ ค.ขนาด ๔๐ มม.เอ็ม.๒๐๓ กระสนุ ไม่ลัน่ หรือลัน่ ชา้ ให้ทำการปฏิบตั ิอยา่ งไร ก. นำกระสุนออก ข. คอย ๑๕ วินาที ค. คอย ๓๐ วินาที ง. ไมม่ ีข้อถกู 17. การปรบั มมุ สูง เม่ือหมุนควงมมุ สงู ที่หลักศูนย์หนา้ ๑ รอบ ในระยะ ๒๐๐ เมตร จะเลื่อนตำบลกระสุนตก ไปกเ่ี มตร ก. ๕ ข. ๑๐ ค. ๑๕ ง. ๒๐ ปก.เอ็ม.๖๐ 18. ปก.เอ็ม.๖๐ ใน ๑ หมู่ ปก. จะมกี ำลงั พลกนี่ าย ก. ๔ นาย ข. ๘ นาย ค. ๙ นาย ง. ๕ นาย 19. กระสุน ปก.เอ็ม.๖๐ ขนาด ๗.๖๒ x ๕๑ มม. นาโต้มกี ช่ี นิด ก. ๔ ชนดิ ข. ๕ ชนิด ค. ๖ ชนดิ ง. ๗ ชนิด 20. ปก. เอม็ .๖๐ จำนวน ๑ กระบอก จะมลี ำกล้อง อะไหลก่ ีล่ ำกล้อง ก. ๑ ลำกล้อง ข. ๒ ลำกลอ้ ง ค. ๓ ลำกลอ้ ง ง. ๔ ลำกล้อง ปลย. เอ็ม. ๑๖ เอ. ๒ 21. ระยะยงิ หวงั ผลเป็นจุดของ ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๒ ข้อใดถูก ก. ๔๕๐ เมตร ข. ๕๐๐ เมตร ค. ๕๕๐ เมตร ง. ๘๐๐ เมตร 22. การปรบั ศนู ย์หลังทางทิศ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒ จำนวน ๑ คล๊ิกในระยะ ๒๕ เมตร หรอื ในสนาม ๑,๐๐๐ นว้ิ จะเปลี่ยนตำบลกระสุนถูกไปเท่าไร ก. ๐.๓๓ ซม. ข. ๐.๓๓ มม. ค. ๐.๘๓ ซม. ง. ๑ ซม. 23. ทีจ่ านปรับทางระยะของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๒ สามารถเลอื่ นระยะได้เท่าไรถึงเท่าไร ก. ๓๐๐ – ๖๐๐ เมตร ข. ๓๐๐ – ๘๐๐ เมตร ค. ๒๐๐ – ๖๐๐ เมตร ง. ๒๐๐ – ๘๐๐ เมตร
ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๔ 24. ท่จี านปรับทางระยะของ ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๔ สามารถเลอ่ื นระยะไดเ้ ทา่ ไรถงึ เทา่ ไร ก. ๓๐๐ – ๖๐๐ เมตร ข. ๓๐๐ – ๘๐๐ เมตร ค. ๒๐๐ – ๖๐๐ เมตร ง. ๒๐๐ – ๘๐๐ เมตร 25. ก่อนทำการยงิ ปรับศนู ยร์ บของ ปลย. เอม็ ๑๖ เอ ๔ ในสนาม ๑,๐๐๐ นิ้ว จะต้องตั้งจานปรบั ทางระยะ เท่าใด ก. ๖/๓ + ๑ คลิก๊ ข. ๖/๓ +๒ คลก๊ิ ค. ๘/๓ + ๑ คลก๊ิ ง. ๘/๓ + ๒ คลิ๊ก ปลย.ทาโว 26. ระยะยงิ หวงั ผลของ ปลย.ทาโว ข้อใดถกู ก. ๔๕๐ เมตร ข. ๕๐๐ เมตร ค. ๕๕๐ เมตร ง. ๘๐๐ เมตร 27. อะไรคือข้อได้เปรยี บของปืนเล็กยาวแบบ bull pup ก. ลำกล้องยาว, ปืนยาว ข. ลำกล้องส้นั , ปนื ยาว ค. ลำกลอ้ งยาว, ปืนสน้ั ง. ลำกลอ้ งส้นั , ปืนสนั้ ปลก. เอ็ม. ๒๔๙ (มนิ ิมิ) 28. การแก้ไขเหตุติดขัด ทันทีทันใด ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. ด,ู ดัน, ดึง, เหน่ยี ว ข. เหน่ียว, ด,ู ดนั , ดงึ ค. ดงึ , ดู, ดนั , เหน่ยี ว ง. ดนั , ดึง, ด,ู เหนยี่ ว 29. การยิงปรับศนู ยร์ บ ในระยะ ๑๐๐ เมตร ตงั้ ศนู ย์ระยะ ๓๐๐ เมตร มุมทศิ ๐ (ศูนย์) ต้องการใหก้ ลุ่ม กระสุนอยบู่ ริเวณใดของตำบลเลง็ ก. ตำ่ จากตำบลเลง็ ๕ ซม. ข. สูงจากตำบลเลง็ ๕ ซม. ข. ต่ำจากตำบลเล็ง ๑๒.๕ ซม. ง. สูงจากตำบลเล็ง ๑๒.๕ ซม. 30. ปลก.เอม็ .๒๔๙ ผลติ จำกประเทศอะไร ก. อเมรกิ ำ ข. อนิ เดยี ค. จนี ง. เบลเยย่ี ม ปลก.เนเกฟ 31. ระยะยงิ หวังผลของ ปลก.เนเกฟ ข้อใดถูก ก. ๗๐๐ เมตร ข. ๘๐๐เมตร ค. ๙๐๐เมตร ง. ๑,๐๐๐ เมตร 32. ในการปรับศนู ย์ของ ปลก.เนเกฟ ในระยะ ๒๕ เมตร ในทางทศิ และทางระยะท่ีศูนย์หน้ามคี า่ เท่ากัน อยากทราบวา่ หมุน ๒ คล๊ิก จะเปล่ียนตำบลกระสุนถูกเทา่ ไร ก. ๐.๗ ซม. ข. ๑ ซม. ค. ๑.๔ ซม. ง. ๒ ซม.
ปก.๓๘ 33. ปก.๓๘ ท่ีกรวยจดั แกส๊ สามารถปรบั จงั หวะการยิงไดแ้ ต่ตามปกติในขัน้ แรกจะต้องปรับปลอกเกลยี วกรวย จัดแก๊สอยู่ทต่ี ำแหนง่ หมายเลขใด ก. หมายเลข ๑ ข. หมายเลข ๒ ค. หมายเลข ๓ ง. หมายเลข ๔ 34. ระยะยิงหวงั ผลของ ปก.๓๘ เท่าไร ก. ๑,๘๐๐ ม. ข. ๒,๐๐๐ ม. ค. ๓,๐๐๐ ม. ง. ๓,๕๐๐ ม. 35. อตั รากระสุนมลู ฐาน ของ ปก.๓๘ ใน ๑ กระบอกจะมีกระสนุ จำนวนกีน่ ดั ก. ๑,๘๐๐ นัด ข. ๒,๖๐๐ นดั ค. ๓,๑๐๐ นดั ง. ๓,๖๐๐ นดั ค.อัตโนมตั ิ ๔๐ มม. 36. อัตรามลู ฐานกระสุน ค.อัตโนมัติ ๔๐ มม. มจี ำนวน เทา่ ไร (ตามคำสงั่ ทบ.) ก. ๓๐๐ นดั ข. ๓๕๐ นดั ค. ๓๒๐ นดั ง. ๔๐๐ นัด 37. ค.อัตโนมตั ิ ๔๐ มม. ระยะยิงท่ีปลอดภยั ในการยงิ กระสนุ ระเบิดแรงสงู และกระสนุ ระเบดิ แรงสงู สอง ความม่งุ หมายในการฝึกกี่เมตร ก. ไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร ข. ไม่น้อยกว่า ๗๕ เมตร ค. ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖๐ เมตร ง. ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๐๐ เมตร ปรส.ขนาด ๘๔ มม. CARL-GUSTAF M 3 38. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้อง ก. ความกว้างของลำกล้อง ๘๔ มม. ภายในลำกลอ้ งมเี กลยี ว ๒๔ เกลียว เวยี นขวา ข. นำไปใช้ได้ท้ังบทบาท ของ ตอ่ สู้รถถงั สงั หารบุคคล และสนบั สนนุ ภารกิจอน่ื ๆ ค. ผลิตโดย บริษัท โบฟอร์ส ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ง. ทำการยิงได้จากทา่ ยนื ยงิ ท่าน่งั คกุ เขา่ ยิง ทา่ นัง่ ราบยิง และท่านอนยิง 39. พื้นที่อนั ตรายทา้ ยเคร่ืองยิงของ ปรส.๘๔ มม.เอม็ .๓ มีระยะเท่าไร ก. ๓๕ เมตร ข. ๕๕ เมตร ค. ๖๕ เมตร ง. ๗๕ เมตร 40. กระสุน ปรส.ขนาด ๘๔ มม. แบบ เอม็ .๓ (CARL-GUSTAF M 3) ทีใ่ ช้ทางยุทธวิธมี ี ๕ ชนดิ สำหรับ กระสุนที่ใช้ไดอ้ เนกประสงค์ คอื ทั้งทำลายยานเกราะ,ท่ตี ั้งยิงและเป้าหมายอืน่ ๆ คอื กระสุนชนิดใด ก. HEAT 551 ข. HEDP 502 ค. HE 441 B ง. ILLUM 545 เครื่องยิงลกู ระเบิด ขนาด ๖๐ มม. 41. การตั้ง ค.ปกติควรต้งั กล้องเล็งอย่างไร ก. ตั้งมมุ ทิศ ๖๒ ข. ตง้ั มมุ สงู ๖๐ ค. ตงั้ มมุ ทิศ ๐ ง. ตง้ั มุมสูง ๐
42. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้องในการตัง้ ค. ปกติ ก. ปกั หลกั เลง็ ห่างจากปืน ๒๕ ม. ข. หลักท่ีอนั ไกลจากเครื่องยิงเรยี ก หลกั กำหนดทศิ ทางยิง ค. หลักที่อยูใ่ กล้เครื่องยงิ เรียก หลักกำหนดทิศทางยงิ ง. หลอดระดับมุมสูงอยทู่ างซ้ายของกล้องเลง็ 43. ขอ้ ใดคือส่วนประกอบของกล้องเล็ง เอ็ม.๔ ก. หลอดระดับมุมสูง ข. ศนู ย์เปดิ ค. ควงมมุ สูง ง.ถกู ทกุ ขอ้ 44. ข้อใดไมใ่ ช่คุณลกั ษณะของ ค. ขนาด ๖๐ มม. ก. แบบ เอม็ .๒ แผน่ ฐานมลี กั ษณะเป็นรูปสีเ่ หล่ยี ม ข. แบบ เอ็ม.๑๙ มีเคร่อื งล่ันไกท่ีเคร่ืองปดิ ท้ายลำกลอ้ ง ค. ใชก้ ลอ้ งเลง็ เอม็ .๕๓ เท่านัน้ เป็นเคร่อื งชว่ ยเลง็ ง. แบบ ศอว.ทบ. แผ่นฐานลักษณะกลม อาวธุ กลุ่มสังคมนยิ ม 45. กระสนุ ท่ีใชก้ ับอาวุธของกลุ่มประเทศสังคมนิยมสว่ นใหญ่มขี นาดเท่าใด ก. ๕.๕๖ มม. ข. ๗.๖๒ มม. ค. ๗.๕๐ มม. ง. ๑๒.๗ มม. 46. ปลย.SKS.(เซกาเซ) ซองกระสุนซึ่งตดิ กบั ตัวปนื สามารถบรรจกุ ระสนุ ไดก้ ีน่ ัด ก. ๑๐ นดั ข. ๒๐ นัด ค. ๑๕ นดั ง. ๒๕ นดั 47. ปลย.AK.๔๗ ใช้กระสนุ ขนาดกี่มม. ก. ๕.๕๖ x ๔๕ มม. ข. ๗.๖๒ x ๓๙ มม. ค. ๙ x ๑๘ มม. ง. ๗.๖๒ x ๕๔ มม. 48. ปพ.TT ๓๓ มลี ักษณะการทำงานแบบใด ก. การทำงานดว้ ยแก๊ส ข. การทำงานดว้ ยการถอยของลูกเล่ือน ค. การทำงานดว้ ยการสะท้อนถอยหลังของลำกลอ้ ง ง. การทำงานด้วยมือ วัตถรุ ะเบิดและการทำลาย 49. ดนิ ระเบิดชนดิ ใดที่เหมาะในการใชต้ ัดเหล็ก ก. ไดนาไมท์ ข. ท.ี เอ็น.ที ค. อาร์.ด.ี เอก๊ ซ์ ง. คอมโปซิชั่น C ๔ 50. ดนิ ระเบดิ ชนิดใด ท่ีไวตอ่ การระเบดิ มากทีส่ ดุ ก. พ.ี อ.ี ที.เอน็ ข. อาร์.ดี.เอก๊ ซ์ ค. ที.เอน็ .ที ง. คอมโปซชิ น่ั ซี 51. ในการระเบดิ แหลง่ หินแหล่งกรวดควรใช้ดินระเบดิ ชนิดใด ก. แอมโมเนียมไนเตรท ข. ไนตรามอน ค. ไดนาไมท์ ง. บงั กะโลตอร์ปิโด
52. ดินระเบิดหลกั ทบี่ รรจุอยู่ในเชื้อปะทชุ นวนและไฟฟ้า คือดินระเบิดชนดิ ใด ก. อาร์.ด.ี เอ๊กซ์ ข. เพน็ โทไลท์ ค. ดนิ ดำ ง. พ.ี อ.ี ที.เอ็น ทนุ่ ระเบิด 53. ทนุ่ ระเบิดสงั หารบุคคลแบบ M ๑๔ ทำงานด้วยน้ำหนักกดเท่าไร ก. ๒๐-๓๕ ปอนด์ ข. ๑๕-๒๐ ปอนด์ ค. ๕-๑๐ ปอนด์ ง. เทา่ ไรก็ได้ 54. ทนุ่ ระเบิดสังหารบุคคลแบบ M ๑๔ มีการทำงานอย่างไร ก. การระเบดิ อยูก่ บั ท่ี ข. กระโดดระเบิด ค. บงั คบั ทิศทาง ง. แบบบังคับจุด 55. ทุ่นระเบดิ สังหารบุคคลแบบ M ๑๘ A ๑ มรี ะยะหวังผลเท่าไร ก. ๕๐ เมตร ข. ๑๐๐ เมตร ค. ๑๕๐ เมตร ง. ไม่มขี อ้ ถกู 56. ทนุ่ ระเบดิ สังหารบคุ คล แบบ M ๑๘ A ๑ ภายในบรรจดุ ว้ ยดนิ ระเบดิ COMPOSITION C ๔ ก่ีปอนด์ ก. ๑ ปอนด์ ข. ๑.๕ ปอนด์ ค. ๒ ปอนด์ ง. ๒.๕ ปอนด์ กับระเบดิ 57. ขอ้ ใดเป็นองค์ประกอบของการจุดระเบิด กับระเบดิ แสวงเครอ่ื งพวกใช้เชือ้ ปะทชุ นวน ก. ดนิ ระเบดิ , เช้อื ปะทุไฟฟา้ และเครอ่ื งจดุ ระเบิดมาตรฐาน ข. ดนิ ระเบดิ , เชื้อปะทุชนวน และเครื่องจุดระเบิดมาตรฐาน ค. ดนิ ระเบดิ , เช้ือปะทุไฟฟ้า และแบตเตอร่ี ง. ดินระเบดิ , เชือ้ ปะทชุ นวน และแบตเตอร่ี 58. ขอ้ ใดเปน็ องค์ประกอบของการจดุ ระเบิด กับระเบิดแสวงเครื่องพวกใชเ้ ชอ้ื ปะทุไฟฟ้า ก. ดินระเบิด , เชือ้ ปะทุไฟฟ้า , เครือ่ งจดุ ระเบดิ มาตรฐาน และแบตเตอรี่ ข. ดนิ ระเบดิ , เช้ือปะทชุ นวน , สวิทช์จดุ ระเบดิ และแบตเตอร่ี ค. ดินระเบดิ , เชื้อปะทชุ นวน , เคร่อื งจดุ ระเบิดมาตรฐาน และสวทิ ชจ์ ุดระเบดิ ง. ดนิ ระเบดิ , เชื้อปะทุไฟฟา้ , สวิทช์จุดระเบดิ และแบตเตอร่ี 59. ข้อใดไมใ่ ช่ขอ้ พจิ ารณาในการวางกบั ระเบดิ ก.ความอยากรอู้ ยากเห็น ข.นิสยั ค.ความไม่สะดวก ง.ความไม่อยากรู้อยากเหน็ 60. “ลวดหยอ่ นอยา่ ดึง ลวดตงึ อย่าตดั ” ไมเ่ ก่ยี วข้องกบั ข้อใด ก.เอ็ม ๓ ข.เอม็ ๑ ดงึ ค. เอ็ม ๑๔๒ ง.เอ็ม ๕
ระเบิดแสวงเครอื่ ง 61. ระบบจุดระเบิดแบบใดเหมาะสำหรบั เปา้ หมายเคลื่อนท่ี ก. โทรศพั ทม์ ือถือ ข. ถว่ งเวลา ค. นับถอยหลังด้วยวงจรอเิ ลคทรอนิคส์ ง. บงั คับจดุ ด้วยสายไฟฟา้ คู่ 62. ข้อใดจดุ เดน่ ของระบบการจดุ ระเบดิ แบบถว่ งเวลาดว้ ยนาฬิกา ก. ตัดสญั ญาไม่ได้ ข. จุดระเบดิ ได้หลายตำบล ค. เจาะจงเปา้ หมายได้ ง. เหมาะกับเปา้ หมายเคลื่อนที่ 63. ขอ้ ใดคอื รปู แบบของระเบิดแสวงเครือ่ งทใ่ี ชใ้ นพ้ืนที่ ๓ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ ก. บงั คับจุด ข. กระทำโดยเหย่ือ ค. ถ่วงเวลา ง. ถกู ทุกข้อที่กล่าวมา 64. สว่ นประกอบใดของระเบิดแสวงเคร่ืองที่ก่อให้เกิดการสังหารหรอื บาดเจ็บแกบ่ ุคคล ก. แหลง่ จ่ายพลังงาน ข. เชือ้ ปะทุ ค. สะเก็ดระเบิด ง. วงจรอิเลคโทรนกิ ส์ ปอ้ มสนาม 65. ข้อใดเป็นขนาดของหลมุ บคุ คลเดยี่ วท่ถี ูกต้อง ก. กวา้ ง ๒ ฟตุ ยาว ๓ ๑/๒ ฟตุ ลึก ๒ ๑/๒ ฟุต ข. กวา้ ง ๒ ฟตุ ยาว ๓ ๑/๒ ฟุต ลกึ ๓ ฟตุ ค. กว้าง ๒ ฟตุ ยาว ๓ ๑/๒ ฟุต ลึก ๓ ๑/๒ ฟตุ ง. กวา้ ง ๒ ฟุต ยาว ๓ ๑/๒ ฟตุ ลึกระดบั อกผูใ้ ช้ 66. มลู ดินของหลุมบคุ คลแบบมาตรฐาน ปกตจิ ะมโี ดยรอบหลุม ๔ ด้าน ขนาดของมูนดนิ ทีถ่ กู ต้องคือขอ้ ใด ก. กวา้ ง ๒ ฟตุ สูง ๖ นิว้ ข. กวา้ ง ๓ ฟุต สูง ๖ นวิ้ ค. กว้าง ๒ ฟุต สงู ๘ นวิ้ ง. กวา้ ง ๓ ฟุต สงู ๘ นวิ้ 67. บ่อดกั ลูกระเบิดของหลมุ บคุ คลเด่ียว ทถี่ ูกตอ้ งทส่ี ดุ คือขอ้ ใด ก. กว้างเส้นผ่าศูนยก์ ลางปากบ่อ ๘ นิ้ว ลกึ ๑๘ นิ้ว ลาด ๓๐ องศา ข. กว้างเสน้ ผ่าศูนยก์ ลางปากบ่อ ๘ นวิ้ ลึก ๑ ๑/๒ ฟตุ ลาด ๓๐ องศา ค. กว้างเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางปากบอ่ ๒/๓ ฟุต ลกึ ๑ ๑/๒ ฟุต ลาด ๓๐ องศา ง. ถกู ทกุ ขอ้ 68. ทีต่ ง้ั ยิง ปก. เอ็ม.๖๐ ทจี่ ัดเป็นทีต่ งั้ ยงิ ขัน้ ต้นแบบเร่งด่วนเปน็ ทีต่ งั้ ยิงแบบใด ก. แบบบ่อ ข. แบบเกือกมา้ ค. แบบหลมุ บคุ คลสองคน ง. แบบหลุมบุคคลสามหลมุ เคร่ืองกดี ขวาง 69. เครือ่ งกดี ขวางลวดหนามปอ้ งกันตนจะจดั สรา้ งอย่หู น้าแนวต้งั รบั ให้อยู่หา่ งพอพ้นระยะขวา้ งระเบิดโดยปกติ ก. ระยะ ๓๐ – ๑๕๐ เมตร ข. ระยะ ๓๐ – ๑๐๐ เมตร ค. ระยะ ๕๐ – ๑๐๐ เมตร ง. ระยะ ๗๕ – ๑๐๐ เมตร
70. ร้ัวลวดหนามทางยุทธวธิ ีอยา่ งน้อยท่ีสดุ ควรสร้างให้มคี วามหนาแน่นเทา่ กับร้วั ลวดหนามชนิดใด ก. รัว้ ลวดกระโจมตำ่ ๑ แนว ข. รั้วลวดกระโจมสงู ๑ แนวขนึ้ ไป ค. รั้วลวด ๔ เสน้ ง. รั้วลวดหีบเพลง ๑ วง 71. ลวดหีบเพลงมาตรฐานเมื่อกลี่ใชง้ านจะไดย้ าวเทา่ ไร ก. ยาว ๑๑ เมตร ข. ยาว ๑๕ เมตร ค. ยาว ๒๑ เมตร ง. ยาว ๒๐ เมตร 72. การพันลวดเขา้ กบั เสาเหลก็ เกลยี วมอี ยู่ ๒ แบบดังน้ี ก. การพนั ลวดกบั ตาบนและตากลาง ข. การพนั ลวดกบั ตาบนและตาล่าง ค. การพนั ลวดกบั ตาบนและตาท่ี ๓ ง. การพนั ลวดกับตากลางและตาล่าง 73. การพันลวดกับลวดหมายถึงการพันลวดตามข้อใด ก. การพนั ลวดขนานกระโจมกบั ลวดทแยง ข. การพันลวดกระโจมกบั ลวดร้วั ลวดแนวกลาง ค. การพันลวดทแยงกบั ลวดรว้ั ลวดแนวกลาง ง. การพันลวดขนานกับลวดแนวกลาง
ยาก การดำรงชพี ในป่า 1. รา่ งกายของคนเรามีต้องการน้ำ 1 คน/วันน้นั 2 - 5 ลติ รการทำนำ้ แสวงหาไดจ้ ากในป่าให้สามารถ ทำให้ สามารถดมื่ ได้ด้วยวธิ ีการใส่ยาฆา่ เช้อื ฮาราโฮน 2 เม็ดต่อน้ำ 1 กระติก ควรใสย่ าแลว้ ทงิ้ ไว้กี่นาที ? ก. 3 นาที ข. 10 นาที ค. 30 นาที ง. 40 นาที 2. ผลไม้และพืชตา่ งๆทเ่ี ราพบในป่าซึ่งจะนำมาประกอบอาหารหรอื กินน้นั มวี ิธีปฏบิ ัติด้วยกัน 4 วิธีวิธีใดทีไ่ ม่ ปลอดภยั 100 % การปฏิบตั ิ 4 วธิ ี ? ก. สอบถามชาวบา้ น ข. ดจู ากสตั ว์ ค. ความคนุ้ เคย ง. ชมิ แล้วคอย 3. เร่ืองทส่ี ำคัญท่สี ดุ ในการดำรงชีพอยใู่ นป่า ซึ่งเปน็ กุญแจทจี่ ะนำไปสู่ความสำเรจ็ 8 ประการ คือข้อใด ? ก. SERVIVAL ข. SURVIVEL ค. SURVIVAL ง. SEVRIVAL 4. พืชในประเทศไทยมปี ระมานกีช่ นดิ ก. สองแสนห้าหมื่นชนดิ ข. สามแสนกวา่ ชนดิ ค. นับไมถ่ ว้ น ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูกตอ้ งที่สดุ เรื่อง การปรนนิบัติบำรงุ ยานยนต์ 1. เมื่อจบภารกิจตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย พลขับจะต้องนำบัตรการใช้รถประจำวัน (สพ.๑๑๐) ไปใหก้ ับผู้ใด ? ก. หวั หน้ารถ ข. นายทหารยานยนต์ ค. ช่างยานยนต์ ง. นายสิบปลอ่ ยรถ 2. ในการตรวจสภาพพบน้ำในหม้อไมม่ เี นื่องจากท่อทางนำ้ หลวมและไดข้ ันแน่นแล้วเติมนำ้ จงึ นำรถออกไปใช้ งาน พลขับจะเอาขอ้ มลู ไปลงในแบบพมิ พ์ทบ.ทีท่ ่อนใด ? ก. ท่อนบัตรการใช้รถ ข. ท่อนระเบียบหน่วย ค. ท่อนการปรนนบิ ตั บิ ำรุง ง. ท่อนหมายเหตุ 3. อยากทราบวา่ พลขับจะใช้แบบพิมพ์ ทบ.๔๖๘-๗๐๒ (สพ.๙๑) เมอื่ ใด ? ก. นำรถออกใชง้ าน ข. เกิดอบุ ตั เิ หตุ ค. ปรนนบิ ัตบิ ำรุงประจำวัน ง. รายงานการชำรดุ
4. อยากทราบว่า ใบอนุญาตพิเศษสำหรับขับรถยนต์ทหาร มีอยู่ก่ปี ระเภท ? ก. ๕ ประเภท ข. ๖ ประเภท ค. ๗ ประเภท ง. ๘ ประเภท 5. พลขบั ทใ่ี ช้ รยบ.๒ ๑/๒ ตัน เอม็ .๓๕ เอ.๒ จะตอ้ งมใี บอนุญาตพิเศษสำหรบั ขับรถยนตท์ หารประเภทใด ? ก. ประเภทที่หน่ึง ข. ประเภทท่ีสอง ค. ประเภทท่ีสาม ง. ประเภททีส่ ี่ 6. พลขบั ทม่ี ใี บอนุญาตพิเศษสำหรบั ขับรถยนต์ทหารประเภททีส่ าม จะสามารถขบั รถชนดิ ใดได้ ? ก. รยบ.๑/๔ ตนั เอ็ม ๑๕๑ เอ.๑ ข. รยบ.๒ ๑/๒ ตัน FTS ค. รถบรรทุกนำ้ ๕,๐๐๐ ลิตร ง. รสพ.บ.๑๑๓ เอ.๒ 7. การปรนนบิ ตั ิบำรงุ มีความสำคญั ตอ่ รถยนตอ์ ย่างไร ? ก. เพ่อื ยืดอายกุ ารใชง้ าน ข. เพื่อประหยดั นำ้ มนั เช้ือเพลิง ค. เพื่อจะได้ไมต่ ้องสง่ ซ่อมหน่วยเหนือ ง. เพื่อช่วยทำใหร้ ถท่ีชำรดุ มากกลบั มาใช้งานได้ วชิ าการร้องขอการปรับการยงิ ค.- ป. 24. เข็มทิศ เอ็ม.2 สามารถวดั มมุ ภาคไดส้ งู สดุ กี่มิลเลียม? ก. 1600 มลิ เลียม ข. 3200 มลิ เลยี ม ค. 4800 มลิ เลียม ง. 6400 มลิ เลยี ม 25. เจ้าหนา้ ที่ ทสี่ ำคญั ทที่ ำให้เคร่ืองยงิ ลกู ระเบดิ ยิงถกู เป้าหมาย มอี ยู่ 3 ส่วน เราเรยี กวา่ อะไร ? ก. ชุดผูต้ รวจการณห์ น้า ข. ชุดการยงิ หลัก ค.ชดุ หลกั ยิง ง. ชดุ ศูนย์อำนวยการยิง 26. การยิงตอ่ เปา้ หมายท่ีมีวญิ ญาณ ซึง่ เคลื่อนทีไ่ ด้ เชน่ คน, สัตว์ รวมถึงยานพาหนะดว้ ย เป็นการยิงประเภท ใด ? ก. การยงิ หาผล ข. การปรบั การยงิ ค.การยิงเปน็ พ้ืนท่ี ง. การยิงเป็นจุด 27. เปา้ หมาย ทที่ ำการยงิ ดว้ ยเคร่ืองยงิ ลกู ระเบิดแลว้ ไม่คุม้ คา่ และเหมาะสม คือเป้าหมายชนิดใด ? ก. ปืนกล ข. ทีร่ วมพล ค.ทหารราบข้าศึก 2–3 คน ง. ท่ตี รวจการณ์ 28. มาตรามุมทิศของ เข็มทิศ เอม็ .2 หนึง่ ขีด มคี ่ากี่เทา่ ไร ? ก. 10 เมตร ข. 10 มลิ เลียม ค. 20 มลิ เลยี ม ง. 5 เมตร 29. อยากทราบวา่ กล้องส่องสองตา เอ็ม.16 มีกำลงั ขยายก่ีเท่า ? ก. 1 เท่า ข. 3 เทา่ ค.4 เทา่ ง. 7 เท่า
30. กลอ้ งส่องสองตา เอม็ .16 สามารถวัดมมุ ทางระดับได้มากที่สดุ คร้งั ละก่ีมลิ เลยี ม? ก. 50 เมตร ข. 100 มลิ เลยี ม ค.50 มลิ เลียม ง. 100 เมตร การเล็ดลอดหลบหนี 1.. การเลด็ ลอดระยะไกลวธิ ีใดเป็นวธิ ีที่ดีที่สุด ? ก. การแทรกซมึ ข. การลวง ค. กองโจร ง. แบบผสม 2. การส่งกลับข้าศกึ ไปยังพื้นทส่ี ว่ นหลักต้องทำการสง่ กลับไปจนถงึ หนว่ ยระดับใด ? ก. กองทัพภาค ข. กองพล ค. กรม ง. กองพัน 3. การปฏิบัตติ อ่ เชลยศึกข้อใดถูกต้องท่สี ดุ ? ก. จบั กมุ ,ค้น,แยก,รวดเรว็ ,พิทักษ์ ข. คน้ ,จบั กุม,แยก,เงียบ,รวดเรว็ ค. จบั กุม,คน้ ,แยก,เงยี บ,รวดเรว็ , ง. ค้น,แยก,เงยี บ,เรว็ .พทิ ักษ์ การสนบั สนุนทางอากาศโดยใกลช้ ิด 1. ผู้นำอากาศยานหนา้ (FAG) มหี น้าท่ีอย่างไร ก. นำอากาศยานเข้าโจมตเี ปา้ หมายได้ ข. รายงานสภาพอากาศ ค. แนะนำ บ.โจมตี เกี่ยวกบั ทิศทางทปี่ ลอดภยั ง. ถกู ทุกขอ้ 2. จุดทไ่ี ด้กำหนดอ้างทางภูมิศาสตรบ์ นพน้ื ดนิ หรือบนผิวน้ำใช้เพอื่ เป็นตำบลให้เคร่ืองบนิ หรอื การส่งทางอากาศ มาปรากฏท่ีนัน้ คือความหมายอยา่ งไร ก. ท่ตี ั้งข้าศึก ข. จุดบนิ วน ค. ท่ีตง้ั ฝา่ ยเดียวกนั ง. ทิศทางการโจมตี 3. ในการปูอักษรรหสั บอกฝ่ายเม่ือ บ. ใกล้ถงึ ทีต่ ั้งหน่วย ใครตอ้ งเปน็ ผสู้ ัง่ ใหป้ สู ัญญาณ ก. นักบนิ ข. ผบ.หน่วย ค. ผนอ. ง. หน.ชดุ ปูแผน่ ผา้ สะกดรอย 1. ข้อไมใ่ ชก่ ารลวง ? ก. เดินถอยหลัง ข. ค่อยๆ วิง่ ทลี ะคน ค. กวาดรอยบนพน้ื ทางเดนิ ง. เดนิ ในร่องน้ำ
2. ปัจจยั ท่ชี ่วยในการสงั เกตการณ์เกยี่ วกบั เงามี ๒ ลักษณะคอื ? ก. เงาตามธรรมชาตแิ ละเงาทีม่ นษุ ย์สรา้ งขน้ึ ข. เงาจากแสงอาทิตย์และเงาจากแสงไฟ ค. เงาภายในและเงาภายนอก ง. เงาบนพ้ืนดนิ และเงาเหนือพืน้ ดิน 3. ประเภทของรอยมีอยู่ 2 ประเภทได้แก่อะไร ? ก. รอยระดับสูง,รอยบนพ้ืนดนิ ข.รอยระดบั ต่ำ,รอยระดบั สงู ค. รอยระดับสงู ,รอยระดบั กลาง ง. รอยระดบั สูง,รอยระดับเดยี วกนั 4. ขอ้ ใดคือคุณลกั ษณะของรอย ? ก. ลักษณะเฉพาะตวั ,การแบนราบ ข. การเคลือ่ นยา้ ย,การเปลี่ยนสี ข. สิง่ ทถี่ ูกทิ้งไว้หรอื ขยะ,การรบกวน ง. ถูกทุกข้อ วิชาครูทหาร 1. ประโยชนข์ องวัตถปุ ระสงค์ของการฝกึ ซึง่ เป็นแนวทางวางแผนของ ผบช. ซึง่ มีอยู่ ๓ ประการ ประกอบด้วย ? ก. การเตรยี มการฝึก , การดำเนนิ การฝึก , การประเมนิ ผลการฝกึ ข. การดำเนินการฝึก , การตรวจสอบการฝึก , การประเมนิ ผลการฝกึ ค. การวางแผนการฝึก , การเตรียมการฝึก , การดำเนนิ การฝึก ง. การวางแผนการฝึก , การดำเนนิ การฝกึ , การตรวจสอบการฝึก 2. ในการท่คี รฝู กึ จะกำหนดเรื่องเพื่อทำการฝึก หรือกำหนดปรมิ าณของการฝึกทีจ่ ะนำมาทำการฝกึ ครูฝึก อาจกระทำได้ ๒ วธิ ี คอื ? ก. การทดสอบ , การดำเนินการฝึก ข. การทดสอบ , การประเมนิ ผลการฝึกจากครั้งทแี่ ลว้ ค. การทดสอบ , การตรวจสอบการฝึก ง. การตรวจสอบการฝกึ , การประเมินผลการฝึก 3. จากแนวความคดิ เกย่ี วกบั การฝึกทีเ่ น้นผลการปฏิบัติ โดยมวิ ัตถปุ ระสงค์ของการฝึกเปน็ กญุ แจสำคญั สรปุ เป็นสมการได้ก็คอื วัตถุประสงค์ = การฝึก = การตรวจสอบการฝึก และ = ? ก. การดำเนนิ การฝึก ค. การตรวจสอบการฝึก ข. การประเมินผลการฝกึ ง. การวางแผนการฝกึ 4. แผนทบเรยี นใน ๑ ช่วั โมง ตามหลกั การไดแ้ บ่งอตั ราส่วนที่เหมาะสมไว้อย่างไร ? ก. ๕ – ๖๐ – ๕ ข. ๕ – ๕๐ – ๕ ค. ๕ – ๔๐ – ๕ ง. ๕ – ๓๐ – ๕
5. แผนบทเรยี นอยา่ งน้อยต้องประกอบด้วยกส่ี ว่ น ? ก. ๓ สว่ น ข. ๒ ส่วน ค. ๔ ส่วน ง. ๑ ส่วน 6. ลกั ษณะทา่ ทางของครูที่ดเี สมอ คือข้อใด ? ก. อย่ายืน ณ จุดเดยี วตลอดเวลา ข. ยนื มอื กุมใตเ้ ข็มขดั ค. เดนิ ไปมาไม่หยุด ง. ยืนถอื ไมช้ ี้อยู่เสมอ 7. แบบของการแสดงมี ๕ แบบ อยากทราบวา่ “การปฏบิ ัติงานของฝา่ ยอำนวยการ,การดำเนินกรรมวิธีตอ่ เชลย ศึก” เปน็ แบบของการแสดงอะไร ? ก. แสดงบนเวที ข. แสดงในสนาม ค. แสดงวธิ ปี ฏบิ ตั ิ ง. แสดงด้วยภาพยนตร์ 8. การสรุป ข้อใดถือวา่ ถูกต้องที่สดุ ? ก. สรปุ เมือ่ จบหวั ขอ้ ใหญ่ ข. สรุปบอ่ ยๆ ตลอดบทเรยี น ค. สรุปทุกหวั ขอ้ ง. สรปุ เมอ่ื จบการสอน คณุ ลักษณะยานยนตท์ หาร 1. รยบ. ขนาดเบา ๔X๔ แบบ ๕๐ มถี ังจนุ ำ้ มนั เชอื้ เพลงิ ก่ีลติ ร ? ก. ๖๖ ลติ ร ข. ๗๖ ลิตร ค. ๘๖ ลติ ร ง.๙๖ลติ ร 2. รยบ. ขนาดเบา ๔X๔ แบบ ๕๐ ใช้ระบบไฟฟา้ ก่ีโวลท์? ก. ใช้ระบบไฟฟ้า ๑๒ โวลท์ ข. ใช้ระบบไฟฟา้ ๒๔ โวลท์ ค. ใช้ระบบไฟฟา้ ๓๖ โวลท์ ง. ใช้ระบบไฟฟ้า ๑๒ โวลท์ และ ๒๔ โวลท์ 3. ความจุถงั น้ำมนั เชื่อเพลิง รยบ. ๑ ๑/๔ ตนั ยูนิมอ็ ก มีความจุเท่าไหร่? ก. ๑๐๐ ลิตร ข. ๑๒๐ ลิตร ค. ๑๔๐ ลิตร ง.๑๖๐ ลิตร 4. รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน เอม็ .๓๕ บรรทุกกำลงั พลทั้งพลประจำรวมกีค่ น ? ก. ๒๐ คน ข. ๒๒ คน ค. ๒๕ คน ง. ๒๖ คน 5. ความจุถังนำ้ มนั เชื้อเพลิง รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน เอ็ม.๓๕ จุไดก้ ี่ลิตร ? ก. ๑๖๐ ลิตร ข. ๑๘๐ ลติ ร ค. ๑๙๐ ลิตร ง. ๒๐๐ ลติ ร 6. ข้อใดคือชอ่ื ของบรษิ ทั ผ้สู ร้าง รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน FTS? ก. ฮโี น่ ข. โตโยตา้ มอเตอร์ ค. อีซซู ุ มอเตอร์ ง.ยี.เอม็ .ซี
วิชาผู้นำทางทหาร 1. บุคลกิ ลกั ษณะของบุคคลย่อมจะไม่เหมือนกันจะเปลี่ยนแปลงไปไดท้ ุกเวลา ปจั จยั ต่างๆท่จี ะกอ่ ใหเ้ กดิ บุคลกิ ลักษณะมอี ะไรบ้าง? ก. ประสบการณ์ กรรมพันธุ์ สถานการณ์ ข. สงิ่ แวดลอ้ ม ประสบการณ์ สถานการณ์ ค. กรรมพนั ธุ์ สิง่ แวดล้อม ประสบการณ์ ง. กรรมพันธ์ุ ส่ิงแวดล้อม สถานการณ์ 2. ขอ้ ใด คือ ตัวกำหนดทีจ่ ะเปน็ ผนู้ ำทดี่ แี ละไมด่ ี ? ก. มนุษยสมั พนั ธ์ ข. ต้นทนุ ชวี ติ ค. จติ สำนกึ ของบคุ คล ง. ความต้องการทางรา่ งกาย 3. บคุ คลท่ีไมช่ อบอยนู่ ง่ิ เฉยพยายามคิดค้นหาวิธกี ารทำงานแบบใหม่หรือหางานใหม่ๆมาทำอยู่เสมอ ถึงแม้ว่ายังไม่ไดร้ ับคำสงั่ ให้ทำ บุคคลเชน่ นี้มีคุณลักษณะผนู้ ำเรือ่ งใด ? ก. มคี วามร้แู ละวิจารณญาณ ข. ความซอ่ื สัตย์ และวจิ ารณญาณ ค. ความรเิ ร่มิ และกระตือรือรน้ ง. มีความอดทนและเป็นผู้ท่เี ชื่อถอื ได้ 4. ข้อใด ไมใ่ ช่ กรรมวธิ ใี นการแก้ไขปัญหาของความเป็นผนู้ ำทางทหาร ? ก. การรบั รูป้ ญั หา ข. การประมาณสถานการณ์ ค. การวางแผน ง. การปฏบิ ัติ 5. “ประเมินคา่ ตนเองเก่ียวกบั จดุ เด่น และ จุดอ่อน” ตรงกบั หวั ขอ้ ใดในเรื่องหลกั การของผูน้ ำ ? ก. กรรมวิธีในการแก้ไขปญั หา ข. ความต้องการอนั เกิดจากการเรยี นรู้ ค. ร้จู ักตนและพยายามปรบั ปรุงตน ง. ฝกึ ผ้ใู ต้บงั คับบัญชาให้ทำงานเป็นชุด 6. ความตอ้ งการขัน้ แรก ความตอ้ งการอันเกดิ จากการเรียนรู้ คอื ข้อใด ก. ความตอ้ งการทางร่างกาย ข. ความยินยอมของสังคม ค. ความสขุ จากครอบครัว ง. ความปลอดภยั
7. “ทัศนคติของบคุ คลหรือกลุ่มของบุคคลท่ีพร้อมที่จะเช่ือฟงั คำสั่งในทนั ทแี ละมคี วามรเิ ร่ิมทจ่ี ะ ปฏบิ ัตกิ ารอย่างเหมาะสมในกรณีท่ีไม่ไดร้ บั คำสง่ั ” ตรงกบั หวั ข้อเร่ืองใด ? ก. จงรกั ภกั ดี ข. วนิ ยั ค. กล้าหาญ ง. ซอ่ื สัตย์ 8. การเลือกผูบ้ ังคับบญั ชาหน่วยรอง มดี ้วยกนั หลายวิธีข้อใดไม่ใช่ ? ก. การสมั ภาษณ์ ข. การสงั เกต ค . การวเิ คราะห์ ง. บันทึกประวัติ 9. การแสดงความสนใจและเอาใจใสอ่ ย่างแทจ้ รงิ ต่อหน้าท่ีหรอื กิจการที่ตนปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความร่าเรงิ แจม่ ใส มองโลกในแง่ดี ตรงกบั หวั ขอ้ ใดของคณุ ลักษณะ ? ก. วินยั ข. กระตอื รือร้น ค. กลา้ หาญ ง. กาลเทศะ วิชาแผนที่ 1. หากเราต้องการอ่านค่ามุมภาคทิศเหนือบนเข็มทิศเลนเซติกให้มีค่าเป็นองศา ต้องอ่านค่าที่เป็นตัวเลขบน กระจกหน้าปดั เขม็ ทิศดว้ ยตัวเลขสอี ะไร ก. สีดำ ข.สีน้ำเงิน ค.สเี หลอื ง ง. สแี ดง 2. ภูมิประเทศทเี่ ปน็ ท่ีต่ำบนแผนท่ี จะเขยี นดว้ ยเสน้ ชนั้ ควำมสงู ใด ก. เสน้ ชนั้ ควำมสงู แทรก ข. เสน้ ชนั้ ควำมสงู โดยประมำณ ค. เสน้ ชนั้ ควำมสงู ดเี พรสชนั่ ง.เสน้ ชนั้ ควำมสงู รอง 3. เครอ่ื งหมำยหลกั หมำยถงึ ก.ทต่ี รวจกำรณ์ ข. หน่วยทหำร ค. ตำบลสง่ กำลงั ง. ทบ่ี งั คบั กำร 4. มลี กั ษณะเป็นเสน้ โคง้ เรยี บและบรรจบตวั เองเสมอ คอื ลกั ษณะของ ? ก. เสน้ ชนั้ ควำมสงู ข. ยอดเขำ ค. หุบเขำหรอื คอเขำ ง. ลำด 5. บรเิ วณทเ่ี สน้ ชนั้ ควำมสงู เขยี นในลกั ษณะ “หำ่ งกนั ตอนบนและคอ่ ย ๆ ชดิ กนั ในตอนล่ำง” (หำ่ งกนั ทส่ี งู ชดิ กนั ทต่ี ่ำ) ภมู ปิ ระเทศน้ี เป็นอะไร ? ก. สนั เขำ ข. หบุ เขำ ค. ลำดแอ่น (เวำ้ ) ง. ลำดโคง้ (นูน)
6. ปัจจยั ทม่ี ผี ลกระทบกระเทอื นต่อระยะกำ้ วโดยทวั่ ไป ขอ้ ใดกลำ่ วถูกตอ้ ง ? ก. เดนิ ลงลำดกำ้ วจะสนั้ ข. เดนิ ทวนลมกำ้ วจะสนั้ ค. เดนิ ขณะฝนตกกำ้ วจะยำว ง. ควำมเหนด็ เหน่อื ยไมม่ ผี ลกระทบกระเทอื นตอ่ ระยะกำ้ ว 7. ระบบอา้ งกรดิ ทางทหาร (MGRS) ได้แบ่งโลกออกเปน็ พื้นท่รี องลงมาเป็นกริดโซน อยากทราบวา่ ประเทศ ไทยเราอยู่ในโซนที่เท่าไรของโลก ? ก. โซนที่ 46 ข. โซนท่ี 47 ค. โซนท่ี 48 ง. ข้อ ข. และ ค. ถกู ต้อง 8. เส้นช้นั ความสูงที่แสดงบนแผนท่มี ี 5 ประเภท ข้อใดไม่ใช่ ? ก. เสน้ ชั้นความสูงรอง ข. เสน้ ช้ันความสูงหลกั ค. เสน้ ชัน้ ความสูงพอประมาณ ง. เส้นชนั้ ความสูงดเี พรสช่ัน ข้อสอบวิชา ฝา่ ยอำนวยการ 1. เม่อื ผบ.มว. รบั ภารกจิ มาแลว้ การคิดเจตนารมณ์ของ ผบ.หนว่ ยเหนือ ผบ.มว.ควรวิเคราะห์เจตนารมณ์ของ ใครบ้าง ก. วิเคราะห์เจตนารมณ์ของ ผบ.รอ้ ย. เท่าน้นั ข. วิเคราะหเ์ จตนารมณ์ของ ผบ.พนั . เทา่ นั้น ค. วิเคราะหเ์ จตนารมณ์ของ ผบ.รอ้ ย. และ ผบ.พนั . ง. วิเคราะหเ์ จตนารมณ์ของ ผบ.รอ้ ย., ผบ.พนั . และ ผบ.กรม 2. การพิจารณาภมู ปิ ระเทศใช้ OCOKA จะใชเ้ น้นกบั การรบแบบใด ก. ใช้ในการรบดว้ ยวิธีรุก ข. ใช้ทง้ั การรบในแบบและนอกแบบ ค. ใชใ้ นการรบด้วยวธิ ีรบั ง. ใชใ้ นการรบด้วยวิธีร่นถอย 3. เคร่อื งกดี ขวางข้อใดมีประสิทธิภาพทส่ี ุด ก. ท่นุ ระเบดิ ข. กับระเบดิ ค. เคร่ืองกีดขวางท่ีมกี ารค้มุ ครองและเฝา้ ตรวจ ง. เคร่อื งกดี ขวางท่เี ปน็ แมน่ ้ำ 4. วิธีการออกคำสงั่ ยทุ ธการมี ๓ วธิ ี ขอ้ ใดไม่ถูกตอ้ ง ก. สงั่ การโดยบอกให้จด ข. สัง่ การแบบผนู้ ำ ค. ส่งั การเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร ง. ส่งั การดว้ ยวาจา 5. เจตนารมณ์ – ความมุง่ หมาย – วธิ กี าร – ผลลพั ธ์ท่ตี ้องการ จะปรากฏในขอ้ ใดของคำส่งั ยทุ ธการ ก. ข้อ ๑ สถานการณ์ ข. ข้อ ๒ ภารกิจ ค. ข้อ ๓ การปฏบิ ัติ ง. ขอ้ ๕ การบงั คบั บัญชาและการตดิ ต่อสอ่ื สาร
6. คำส่ังยุทธการ ข้อ ๒ ภารกิจ คอื งานท่ีหน่วยจะต้องทำให้สำเรจ็ ส่งิ ที่จะกล่าวถงึ ขอ้ ใดไม่ใช่ ก. ใคร ข. อะไร ค. เมอ่ื ไร ง. อยา่ งไร 7. หลกั นิยมอตั ราส่วนฝา่ ยเราและฝ่ายข้าศกึ เมื่อฝ่ายเราได้รบั ภารกจิ เขา้ ตีท่ีมน่ั ดดั แปลงของฝ่ายข้าศึกต้องมี อัตราสว่ นของกำลังรบเท่าใด ก. ๑ ต่อ ๑ ข. ๒ ต่อ ๑ ค. ๑ ต่อ ๓ ง. ๓ ตอ่ ๑ วชิ า พลแมน่ ปืน 1. ขอ้ ใดกล่าวถงึ หลกั พนื้ ฐานการยงิ ปนื 4 ประการ ได้ถกู ต้องทีส่ ุด จ. ท่ายงิ ท่ีม่ันคง, การเลง็ , การควบคุมลมหายใจ, การลน่ั ไก ฉ. ทา่ ยิงทม่ี น่ั คง, การจัดภาพศนู ยพ์ อด,ี การจดั ศนู ยน์ ัง่ แท่น, การลัน่ ไก ช. ทา่ ยิงที่มัน่ คง, การเลง็ , การล่ันไก, การเล็งตาม ซ. ท่ายงิ ที่ม่นั คง, การเลง็ , การผ่อนคลาย, การลนั่ ไก 2. ข้อใดกล่าวถงึ ความมุ่งหมายของการยงิ จัดกลมุ่ ไดต้ ้องทส่ี ุด? จ. การยงิ ให้กระสุนถูกเปา้ เปน็ กลุ่มเล็ก และกลุ่มกระสนุ คงท่ี ฉ. การยิงให้กระสุนถูกก่ึงกลางเป้า ช. การย้ายตำบลกระสุนใหถ้ ูกเป้า ซ. ไมม่ ีขอ้ ถูก 3. ขอ้ ไดกลา่ วถึงการลนั่ ไกได้ถกู ต้องทส่ี ุด จ. ลั่นไกอย่างเร็ว ฉ. ลนั่ ไกโดยการค่อยๆสรา้ งแรงบีบ ช. ลน่ั ไกทล่ี ะคลิก ซ. ลน่ั ไกโดยใชป้ ลายนวิ้ โดยคอ่ ยๆสร้างแรงบบี 4. ทา่ ยิงท่มี ัน่ คงที่สุดคือท่าใด ? ก. ท่านอนยงิ ข. ท่ายืนยงิ ค. ทา่ น่ังสูงยิง ง. ได้ทกุ ทา่ 5. ศนู ย์ “ L ” ใชย้ งิ ระยะเทา่ ใด ? ก. เกนิ กว่า 300 เมตร ข. ต่ำกวา่ 300 เมตร ค. 0 – 200 เมตร ง. 0 – 100 เมตร 6. การหมุนศูนยห์ น้าทวนเข็มนาฬิกา จะทำให้รอยกระสนุ ถูกสงู ขึน้ หรือต่ำลง ? ก. สูงข้นึ ข. ไมม่ ผี ล ค. ออกขวา ง. ตำ่ ลง
7. วิธแี กอ้ าการสา่ ยของปืนขณะท่ีทำทา่ ยงิ และเลง็ อยู่นนั้ จะตอ้ งแก้อยา่ งใด ? ก. การเลง็ ข. การกะระยะ ค. การมอง ง. ทา่ ยิงและการควบคุมไก 8. หน่ึงคลกิ ของควงมุมสูงและควงมุมทศิ ของปนื เลก็ ยาว เอ็ม.16 ในระยะ 25 เมตร จะเลื่อนรอยกระสุนถูกก่ี ซม.? ก. 0.7 ซม. ข. 2.4 ซม. ค. 2.8 ซม. ง. 3 ซม. แผนกวิชายุทธวิธี 1. การจัด มว.ปล.ของหนว่ ย ร.มาตรฐาน (๔๙ นาย) ประกอบไปดว้ ยส่วนใดบ้าง ? ก. บก.มว. , ๑ หมู่ ปก. , ๓ หมู่ ปล. ข. บก.มว. , ปืนกล ๑ กระบอก , ๓ หมู่ ปล. ค. บก.มว. , หมู่ ค.๖๐ มม. , ๓ หมู่ ปล. ง. บก.มว. , หมู่ ปก. , หมู่ ค.๖๐ มม. , ๓ หมู่ ปล. 2. เครือ่ งมือหลักในการดำเนินกลยทุ ธ์ของ ผบ.มว. คือ ? ก. ๓ หมู่ ปล. และ ๑ หมู่ ปก. ข. ๑ หมู่ ปล. , ๑ หมู่ ปก. และ อาวุธสมทบ (คจตถ.) ค. ๓ หมู่ ปล.ในอัตรา ง. ๓ มว.ปล. และ ๑ มว.ค.๖๐ มม. 3. ระบบการยงิ สนับสนุนตามอัตราของ มว.ปล. คอื ? ก. หมู่ ปก. และ อาวธุ คจตถ. ข. ๓ หมู่ ปล. และ ๑ หมู่ ปก. ค. ๓ มว.ปล.ในอตั รา ง. คจตถ.และ มว.ค.๖๐ มม.ของกองร้อย 4. โดยปกติ มว.ปล.มักจะได้ใชก้ ารยิงสนับสนุน จากอาวธุ ชนิดใด จากกองร้อยอาวุธเบา ? ก. ๑ หมู่ ปก.ในอัตรา ข. มว.ค.๖๐ มม.ของกองร้อย ค. ตอน ค.๘๑ ของกองพัน ง. ถูกทกุ ข้อที่กลา่ วมา 5. ระบบความคล่องแคลว่ ในการเคลือ่ นที่ การต่อต้านความคล่องแคลว่ ในการเคลื่อนที่ และการดำรง ความอยู่รอด งานตา่ ง ๆ สว่ นมากจะไดร้ ับการสนบั สนนุ จากทหารช่าง ไม่วา่ จะเป็น การดัดแปลง ที่มั่นรบ , การสรา้ งเคร่อื งกดี ขวาง , การเตรยี มสนามทุ่นระเบดิ เป็นตน้ นอกจากงานพวกนแ้ี ลว้ สำหรบั ความอย่รู อดในสนามรบยงั รวมถึงเร่ืองใด ? ก. การกอ่ สรา้ งเครอ่ื งกดี ขวาง ข. การกวาดล้างสนามท่นุ ระเบิด ค. การปรับปรงุ ถนน ง. การป้องกันอนั ตรายจากอาวุธ นชค.
6. การปฏิบตั ิเพ่อื ปอ้ งกนั การตรวจจับ และการโจมตีจากข้าศกึ ที่ถอื วา่ เป็นมาตรการเชงิ รบั หลัก ใน ระบบการป้องกนั ภยั ทางอากาศ คือข้อใด ? ก. การเคลื่อนท่ภี ายใต้ทศั นวิสยั จำกัด ข. การพรางท่ดี ี ค. การกำบงั ท่ีดี และ การซ่อนพรางที่มปี ระสิทธิภาพ ง. การใช้ระบบอาวุธยิงเล็งตรง 7. โดยปกตกิ ารปฏบิ ัตงิ านหลกั ด้านการชว่ ยรบ ภายใน มว.ปล. จะมใี ครบ้างเปน็ ผชู้ ่วยเหลอื ผบ.มว. ? ก. ผบ.หมู่ อาวุโส , ส.ประจำหมวด ข. รอง ผบ.มว. , ผบ.หมู่ ค. จ่ากองรอ้ ย , ส.ประจำหมวด ง. รอง ผบ.มว., ส.ส่งกำลงั 8. งาน กจิ กรรม หรอื หนา้ ที่ ของ ผบ.หน่วย เพ่ือวางแผน สั่งการ ประสานงาน ควบคุมหนว่ ยของตน คือขอ้ ใด ? ก. ระบบการบงั คับบญั ชาและการควบคุม ข. ระบบการดำเนินกลยุทธ์ ค. ระบบการวางแผน และส่ังการ ง. ระบบการช่วยรบ 9. ข้อใดไม่จัดวา่ เป็นงานหรือกจิ กรรม หรอื หน้าที่ของ ผบ.หนว่ ย ? ก. การวางแผน สงั่ การ ข. การประสานงาน การควบคุม ค. กำลงั พล สง่ิ อุปกรณ์ ง. ไมม่ ีข้อใดถูก 10. ขอ้ ใดไมจ่ ดั วา่ เปน็ การปฏิบัตขิ อง ผบ.หนว่ ย ในระบบการบงั คบั บัญชาและการควบคุม ก. กระจายอำนาจให้กับ ผบ.หน่วยรอง ข. ตอ้ งจำกัดเสรีการปฏิบตั ิของหน่วยรอง ด้วยการกำหนดมาตรการควบคุมท่ีไม่จำเป็น ค. กำหนดเจตนารมณข์ องตน (ผบ.หนว่ ย) ใหช้ ัดเจน เพ่อื กำลังพลในหน่วยสามารถปฏบิ ตั ิได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ง. ใชห้ น่วยของตนใหเ้ หมาะสม สอดคล้อง กบั แนวทางและคำสง่ั ท่ีไดร้ ับจาก ผบ.หน่วยเหนือ รวมท้ังตอ้ งแบ่งมอบหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบอย่างชดั เจน 11. ระเบียบการนำหนว่ ย กำหนดข้ึนเพื่อช่วย ผบ.หนว่ ย ในเรอื่ งใด ? ก. ให้เกิดความมัน่ ใจในการปฏบิ ัตภิ ารกิจ ข. สามารถปฏิบตั กิ ารรบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ค. จะช่วยใหใ้ ชเ้ วลาได้อยา่ งเหมาะสม ง. ทก่ี ล่าวมาถกู ทุกข้อ 12. หัวข้อปฏิบัติในขนั้ ตา่ ง ๆ ทจี่ ะกระทำสามารถเปล่ียนแปลงไดต้ ามขอ้ ใด ? ก. ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ข. ใหเ้ หมาะสมกบั ภารกิจ ค. ให้เหมาะสมกับกำลงั ที่มีอยู่ ง. ให้เหมาะสมกับแนวทางเคลื่อนท่ี
13. ในขั้นที่ ๑ รบั ภารกิจ ผบ.หน่วย สามารถรบั ภารกิจได้จากสิ่งใด ? ก. คำสั่งเตอื น ข. คำสั่งยุทธการ ค. คำสง่ั เป็นสว่ น ๆ ง. ทีก่ ลา่ วมาถกู ทุกข้อ 14. การวางแผนการใช้เวลาของ ผบ.หนว่ ย จะกำหนดไว้อย่างไร ? ก. ใช้เวลาไมเ่ กนิ ๑/๒ ข. ใช้เวลาไม่เกนิ ๑/๓ ค. นบั เวลาเฉพาะกลางวัน ง. นับเวลาเฉพาะกลางคืน 15. ในการออกคำสั่งเตือน ปกติ ผบ.มว.จะออกคำสง่ั เตือนให้กับใคร ? ก. รอง ผบ.มว. ข. ผบ.หมู่ ค. ส.ประจำหมวด ง. ทก่ี ล่าวมาถูกทุกข้อ 16. ในคำสั่งเตือน โดยปกตจิ ะกลา่ วถึงเรื่องใด ? ก. ภารกิจ ,เวลาปฏิบตั ิ ข. ภารกจิ ,เวลาปฏบิ ตั ิ ,สถานทป่ี ฏบิ ัติ ค. ภารกิจ ,เวลาปฏิบัติ ,คำแนะนำโดยเฉพาะ ง. ภารกจิ ,เวลาปฏบิ ัติ ,คำแนะนำโดยเฉพาะ ,เวลาและสถานท่ีออกคำส่งั ยุทธการ 17. ในการวางแผนข้ันตน้ ของ ผบ.หน่วย โดยปกตจิ ะกลา่ วถึงในเร่อื งใด ? ก. การประสานงาน ข. การลาดตระเวน ค. การจดั กำลัง ง. ทก่ี ล่าวมาถูกทุกขอ้ 18. การปฏบิ ัตใิ นข้ันการเคล่ือนย้ายหนว่ ยกระทำเพื่อสิง่ ใด ? ก. เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว ข. เพือ่ ประหยดั เวลา ค. เพ่อื ให้ ผบ.หน่วย มเี วลาสงั่ การ ง. เพือ่ ให้กำลงั ทั้งหมดไดเ้ ห็นสนามรบ 19. ในการออกคำส่งั ยุทธการของ ผบ.มว.โดยปกตมิ กั นิยมการส่ังการในลักษณะใด ? ก. เป็นลายลักษณ์อักษรตามคำสั่งยทุ ธการ ๕ ข้อ ข. ดว้ ยวาจาตามคำสง่ั ยทุ ธการ ๕ ข้อ ค. ออกคำส่งั เป็นส่วน ๆ ง. ใช้เครื่องมอื ส่ือสาร 20. ในการออกคำส่ังยุทธการต้ังรับ ผบ.มว.ควรส่ังการในพนื้ ท่ีใด ? ก. ท่ีรวมพล ข. ในที่ทีส่ ามารถมองเห็นที่หมาย ค. ในแนวตง้ั รบั ง. ทใี่ ดก็ได้ขนึ้ อยู่กับเวลา
21. ข้อใดกล่าวถึงภารกิจได้ถูกตอ้ ง ? ก. อะไร – เมื่อใด – ท่ีไหน – ทำไม ข. ใคร – อะไร – เม่ือใด – ทไ่ี หน – ทำไม ค. อะไร – เมื่อใด – ที่ไหน – ทำไม – อยา่ งไร ง. ใคร – อะไร – เมื่อใด – ทีไ่ หน – ทำไม – อย่างไร 22. หัวข้อใดที่ ผบ.หนว่ ย ตอ้ งนำมาพจิ ารณาเก่ียวกบั ขา้ ศกึ ? ก. การประกอบกำลัง ข. การวางกำลงั ค. ขีดความสามารถ ง. ทก่ี ลา่ วมาถูกทุกขอ้ 23. ในการพจิ ารณาผลกระทบของลมฟา้ อากาศ ผบ.หนว่ ย จะเพ่งเลง็ ในเรื่องใด ? ก. แนวทางเคลื่อนท่ีของข้าศึก ข. พน้ื ท่ีปฏิบัตกิ าร ค. ทัศนวิสัย และการจราจร ง. ภูมปิ ระเทศสำคัญ 24. การพิจารณาถึงเวลาในการปฏิบัติ ผบ.หน่วย นำมาใชใ้ นการวางแผน มหี ลักการนับเวลาตามขอ้ ใด ? ก. นับต้ังแตเ่ ริ่มรับภารกจิ จนถงึ เวลาออกคำสั่งยุทธการ ข. นับต้งั แตร่ ับภารกจิ แล้วเสร็จ จนถงึ เวลาออกคำส่ังยทุ ธการ ค. นบั ต้งั แต่รับภารกจิ แล้วเสร็จ จนถงึ เวลาปฏิบัติ ง. นบั ตงั้ แต่เรมิ่ รบั ภารกจิ จนถงึ เวลาปฏบิ ตั ิ 25. ผบ.หน่วย จะทราบกำลังของตนที่มีอยู่ จากคำสง่ั ของหน่วยเหนือ ซ่ึงจะระบุไว้ในข้อใด ? ก. ระบุในการจัดเฉพาะกิจ หรอื ในคำสงั่ ยุทธการ ข้อที่ ๑ สถานการณ์ ข. ระบุในการจัดเฉพาะกิจ หรอื ในคำส่ังยุทธการ ข้อท่ี ๒ ภารกจิ ค. ระบใุ นการจดั เฉพาะกิจ หรอื ในคำส่ังยุทธการ ข้อที่ ๓ การปฏิบัติ ง. ระบุในการจดั เฉพาะกิจ หรือในคำส่งั ยุทธการ ข้อท่ี ๔ การช่วยรบ 26. พน้ื ที่สนามรบ ประกอบด้วยพื้นทใ่ี นข้อใด ? ก. พ้นื ท่ีระวังป้องกัน และ พืน้ ท่ีการรบ ข. พืน้ ท่ีปฏบิ ตั กิ าร และ พ้นื ทส่ี นใจ ค. พนื้ ทีร่ ะวงั ปอ้ งกัน และ พน้ื ที่ปฏบิ ัตกิ าร ง. พืน้ ท่ีการรบ และ พน้ื ท่สี นใจ
27. ข้อใดกลา่ วถงึ การตรวจการณไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง ? ก. การป้องกันจากการตรวจการณ์ และการยงิ ของขา้ ศึก ข. การป้องกันจากการตรวจการณ์ของขา้ ศึก ค. ความสมั พันธข์ องอิทธพิ ลของภมู ิประเทศที่มตี ่อการลาดตระเวน ละค้นหาเป้าหมาย ง. ความสมั พนั ธ์ของอทิ ธิพลของภมู ปิ ระเทศทีม่ ีต่อการตรวจการณ์ 28. ข้อใดกลา่ วถึงการกำบังได้อย่างถูกต้อง ? ก. การป้องกนั จากการตรวจการณ์ และการยงิ ของข้าศึก ข. การปอ้ งกนั จากการตรวจการณข์ องข้าศึก ค. ความสมั พนั ธ์ของอิทธพิ ลของภมู ิประเทศที่มีต่อการลาดตระเวน ละค้นหาเป้าหมาย ง. ความสมั พันธข์ องอิทธิพลของภมู ิประเทศทมี่ ีต่อการตรวจการณ์ 29. ภมู ิประเทศสำคัญ หมายถึง พน้ื ท่ีท่ยี ึดครองไดจ้ ะไดเ้ ปรียบฝ่ายตรงขา้ ม ความไดเ้ ปรียบข้ึนอยู่กับ สง่ิ ใด ? ก. ภารกิจ ข. การวางกำลัง ค. สถานการณ์ฝ่ายตรงขา้ ม ง. ทกี่ ล่าวมาถกู ทุกข้อ 30. ปจั จัยทน่ี ำมาพิจารณาในการกำหนดแนวทางเคลื่อนท่ี ได้แก่ขอ้ ใด ? ก. มคี วามสะดวกในการดำเนนิ กลยุทธ์ ข. สามารถกำหนดความเรว็ ในการเคล่ือนที่ ค. มีการกำบงั และการซอ่ นพราง ง. ทกี่ ลา่ วมาถกู ทุกข้อ
ขอ้ สอบวิชา การสอ่ื สาร ๑. หน่วยทหารระดบั พัน.ร. เชน่ พัน.ร.ที่ ๑ จะมหี นว่ ยสื่อสารทีม่ ี จนท.ประจำอยู่ใน อจย. น้ันๆของหนว่ ย ซ่ึง มีการกำหนดขนาดเรียกหนว่ ยสอ่ื สารนัน้ อยา่ งไร ? ก. หมู่ ข. ตอน ค. หมวด ง. กองร้อย ๒. กล่องควบคมุ ระยะไกล C – 2328/GRA – 39 (Remote unit) ใชแ้ บตเตอรี่ UM - 1 จำนวนกีก่ ้อน ? ก. ๔ กอ้ น ข. ๖ กอ้ น ค. ๑๒ ก้อน ง. ๒๔ กอ้ น ๓. ผทู้ ดสอบทกุ ทา่ นลว้ นทราบดแี ลว้ ว่า อัตราการจัดเครื่องมอื สอ่ื สารทางวทิ ยุในระดับ มว.ปล. มอี ย่างไร แต่ ทา่ นสบั สนในการนำเสนอของ อจ./ครู บนพน้ื ฐานความถกู ต้องทา่ นต้องตอบคำถามทถี่ ูกท่ีสุด อยากทราบ วา่ ในระดับ มว.ปล.มเี ครื่องมือสื่อสารทางวิทยุชนิดใดบ้างในการใช้งานตามอตั ราการจดั ? ก. AN/PRC – 77 และ PRC - 624 ข. AN/PRC – 77 และ AN/GRC – 160 ค. PRC – 624 และ AN/GRC – 106 ง. AN/PRC – 77 และ AN/GRC – 125 ๔. ข้อใดกลา่ วถงึ “หลักนิยมการสอื่ สาร” ได้ถูกต้องท่ีสุด ? ก. การควบคมุ /สัง่ การ ตามสายการบังคับบัญชา หน่วยระดบั มว.ปล. ไดแ้ ก่ จาก หมู่ ปก. ไปยงั บก.มว.ปล. ข. นปส. ทรี่ ะบุใชใ้ นคำส่ังยุทธการ ขอ้ .๕ มคี ำเต็มคือ “คำแนะนำปฏบิ ัตกิ ารส่อื สาร” ค. นสป. ท่ี น.สอื่ สาร หนว่ ยระดบั กองพลทำการคัดลอกตัดตอน มีคำเต็มคือ “คำแนะนำการปฏบิ ตั ิ สอ่ื สาร” ง. สาย WD-1/TT ท่ีใช้วางในการตรวจสอบ ร้อย.ค.หนกั หน่วยที่วางสายไปให้ตอ้ งตรวจซอ่ มบำรุงเอง เมอื่ ชำรุด ๕. คำจำกัดความท่วี า่ “ระบบการสือ่ สารทางยุทธวธิ ีแบบเสน้ หลัก (สายการบงั คับบัญชา)” เม่ืออ้างอิงถงึ หลักการทีถ่ ูกต้อง ท่านเข้าใจอยา่ งไร ? ก. ในสภาวะปกติ จนท.วางการสือ่ สารทางสายจาก ร้อย.อวบ.ที่ ๑ ไปยัง บก.พัน.ร.ที่ ๒ ข. มว.ค.หนกั เมอื่ สนบั สนุนโดยตรงให้กบั กดร.ท่ี ๑ ต้องขึ้นสายการบงั คบั บัญชาตอ่ หน.สว่ น หรอื ผบ.กดร. นั้น ค. เป็นไปตามสายการบังคบั บัญชา คือ จนท.ส. จาก พัน.ร.ที่ ๒ วางการสื่อสารไปยงั ร้อย.อวบ.ท่ี ๑ ง. จนท.ส. ขอ้ .ก ปฏบิ ัติได้ถูกตอ้ งที่สดุ
๖. จรงิ ๆแลว้ ในระดับ ร้อย.อวบ. ปกตจิ ะใชช้ ุดวิทยุ AN/PRC-77 เป็นเครื่องสถานีบงั คับขา่ ยฯ ซึ่งหน่วยมี อัตราการจัดทั้งสิ้น จำนวน ๒ ชุด ทั้งนี้ ในระดับ มว.ปล. มีชุดวิทยุ PRC-624 จำนวน ๖ ชุด และชุด วทิ ยุ AN/PRC-77 จำนวน ๑ ชุด อยากทราบวา่ จนท.สอื่ สาร ในระดบั รอ้ ย.อวบ. ประกอบดว้ ยใครบ้าง ? ก. พลวิทยุโทรศัพท์, พลนำสาร ข. นายสิบสื่อสาร, ชา่ งวิทยุ, พลวิทยฯุ , พลทางสาย และพลนำสาร ค. นายสิบส่อื สาร, ช่างวิทยุ, พลทางสาย ง. พลสลบั สาย, หน.ชดุ วางสาย, พลนำสาร และ พลวทิ ยโุ ทรศพั ท์ ๗. วตั ถุประสงค์ในการฝึกศกึ ษา เรื่อง การสื่อสารทางวิทยุ ในหลักสตู ร ส.อาวุโส ได้แก่อะไร ? ก. ให้ ผบ. หน่วยสามารถวางแผนการสอื่ สารทางวทิ ยุได้ ข. ป้องกนั อุปกรณ์ชำรดุ เนอ่ื งจากขาดการปรนนบิ ัตบิ ำรุง ค. ลดอนั ตรายจากการเกิดอบุ ัตเิ หตุจากกระแสไฟฟ้าแรงสูง ง. เพ่อื ใหก้ ารสอ่ื สารของหน่วยยังดำรงอยูไ่ ดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง และเปน็ การบำรงุ รกั ษาเครื่องมือสอื่ สาร ทม่ี อี ยูใ่ นอตั รา พัน.ร. ๘. ทุกทา่ นทราบดวี า่ ชดุ วิทยุ AN/PRC-77 น้นั ปกติ จะมยี ่านความถี่แบ่งตามการใช้งาน ๒ แบนด์ ขอ้ ใดกล่าว ถกู ? ก. แบนดแ์ รกแบนละ ๒๘๕.- บาท ข. ความถตี่ ่ำเร่ิมท่ี 30.00 – 53.95 MHz ค. ทั้งสองแบนดไ์ มส่ ามารถต้งั ความถีล่ ่วงหนา้ ได้ ง. กำหนดความถี่ ๒ ช่วง คือ 30.00 และ 75.95 MHz ๙. จ.ต้น ชอบหลบั ในเวลาเรยี น แตร่ แู้ ละเขา้ ใจว่าสิ่งที่ถูกต้องที่สุดเรื่องการย้าย ทก./เครื่องมือส่ือสารคืออะไร ? ก. ฝอ.พนั .ร. ผ้ซู ง่ึ เสนอแนะทีต่ ้ัง ทก.ท่ีแน่นอนหรอื เลอื กทีต่ ้ังจริงของ ทก. คอื ฝอ.๑ ข. ทก.หลงั ของ พนั .ร. ปกตจิ ะอยูใ่ นพืน้ ที่ กรม ร. (ขบวนสัมภาระของ กรม ร.) ค. จ.บิว บอกว่า “โม้” จริงๆแล้วการจะเชื่อมต่อวงจรทางสาย ณ ทก.ใหม่ โดยเฉพาะหน่วยรอง ต้องต่อ สายแบบ ที-สไปรท์ ง. หมตู่ ้นตอบวา่ ผมไปถาม อจ.แล้ว ทา่ นบอกว่าท่ี “โม้” ไปท้ังหมดนั้นถกู หมดเลย
10. ขอ้ ใด ? ไมใ่ ช่ ปจั จัยท่สี ่งผลกระทบกบั ระยะการติดตอ่ ของการส่อื สารทางสาย ก. สายโทรศัพท์สนามทีว่ างจากห้องเรยี นส่อื สารในปจั จุบนั ถงึ หนว่ ย สห.ตลาดลา่ ง มรี อยต่อมากกว่า ๔๕ รอยต่อ ข. แบตเตอรี่ประจำเครื่องของโทรศัพท์สนาม TA-312/PT ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ใส่ไว้ตั้งแต่ ๑๕ ธ.ค. ๖๑ จนถึงวนั นยี้ งั ไมเ่ คยเปลยี่ นเลย ค. ผบ.กรม ร. ตอ้ งการให้ทางสายของ พนั .๒ ใช้การได้ภายในเวลา ๓๐ นาที แต่ ผบ.มว.ส.กรม ร. ชแ้ี จงว่าเสน้ ทางวางสายเปน็ ภูมิประเทศที่ยากลำบาก อกี ประมาณ ๑ ชม. ทางสาย จึงจะใชก้ ารได้ ในชว่ งเวลานี้ ขอให้ ผบ.กรม ร.ใช้การสอ่ื สารทางวิทยหุ รือพลนำสารไปกอ่ น ง. ในห้วงเวลานี้ฝนตกหนกั ติดต่อกนั มา ๕ วนั แล้ว พืน้ ท่ีทั่วไปมนี ำ้ ท่วมขงั หลายแห่ง กำลงั ตง้ั รับ ในแนวหนา้ หลายนายปว่ ยเปน็ ไขห้ วัด เพราะเสื้อผ้าเปยี กชืน้ อยตู่ ลอดเวลา ขอ้ สอบหลักยิงปืนเล็ก 1. หวั ข้อคำสง่ั ยงิ ข้อที่ 6 คอื ข้อใด ? ก. ทิศทาง ข. ลกั ษณะเป้าหมาย ค. การมอบทีห่ มายยิง ง. การควบคุมการยงิ 2. ขอ้ ใดเปน็ วิธีทใี่ ชใ้ นการควบคมุ การยิง ก. คำส่งั ด้วยวาจา ข. สญั ญาณแขนและมือ ค. การสอ่ื คำส่ัง ง. ถูกทกุ ข้อ 3. ขอ้ ใดไมใ่ ช่วิธีทใ่ี ช้ในการควบคมุ การยิง ก. ระเบียบปฏิบตั ปิ ระจำ ข. ระเบยี บการนำหนว่ ย ค. สญั ญาณทีก่ ำหนดไวล้ ่วงหน้า ง. สัญญาณแขนและมือ 4. การมองเห็นในเวลากลางคืนจะตอ้ งใชเ้ วลากี่นาทีในการปรับสายตาให้คนุ้ กับความมดื ก. 20 นาที ข. 25 นาที ค. 30 นาที ง. 35 นาที 5. การมองเป้าหมายในเวลากลางคนื ต้องใชก้ ารมองทางขา้ งของเป้าหมายโดยใหเ้ สน้ สายตาอยูส่ งู ตำ่ ซ้าย หรือ ขวา ของเปา้ หมายเป็นมุมเท่าใด ? ก. 3 – 5 องศา ข. 5 – 8 องศา ค. 6 – 10 องศา ง. 10 – 15 องศา 6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ปัจจัยท่ีมผี ลต่อการมองเห็นในเวลากลางคืน ก. อยูใ่ นท่ีมืดเป็นเวลานาน ข. ร่างกายขาดวติ ามนิ A ค. ปวดศีรษะ ง. ความเม่อื ยลา้
7. ลกั ษณะของเป้าหมายที่จะปรากฏในเวลากลางคนื มี 2 แบบ คือ ก. เปา้ หมายเป็นบุคคล, เปา้ หมายเป็นชดุ ยิง ข. เป้าหมายเป็นบคุ คล, เปา้ หมายเป็นหมู่ ค. เป้าหมายเคล่ือนที่เขา้ มาเปน็ บคุ คล, เป้าหมายทสี่ นับสนนุ ด้วยการยงิ ง. ไม่มขี ้อใดถกู ข้อสอบวิชา อาวธุ ปพ.๘๖ 1. การถอด ประกอบ ปพ.๘๖ มีก่ีช้นิ ส่วน ก. ๖ ช้นิ ส่วน ข. ๗ ชน้ิ สว่ น ค. ๘ ชน้ิ สว่ น ง. ๙ ชน้ิ สว่ น 2. ซองกระสุนของ ปพ.๘๖ บรรจุไดก้ นี่ ดั ก. ๖ นดั ข. ๗ นดั ค. ๘ นัด ง. ๙ นัด ปลย.๑๑ 3. ใช้ศูนย์หมายเลขใด ทำการปรบั ศนู ยร์ บ ปลย.๑๑ ก. ศูนย์บาก ข. ศนู ย์หมายเลข ๒ ค. ศนู ยห์ มายเลข ๓ ง. ศูนย์หมายเลข ๔ 4. ปลย.๑๑ ใชก้ ระสนุ ขนาดเท่าไร ก.กระสุน เอ็ม.๘๕๕ ขนาด ๗.๖๒ x ๔๕ มม. ข.กระสนุ เอ็ม.๑๙๓ ขนาด ๗.๖๒ x ๔๕ มม. ค.กระสนุ SS.๑๐๙ ขนาด ๕.๕๖ x ๔๕ มม. ง. กระสุน เอ็ม.๑๙๓ ขนาด ๕.๕๖ x ๔๕ มม. ปลย. เอ็ม ๑๖ เอ ๑ 5. ศูนยห์ ลังทไี่ ม่มเี ครื่องหมายรปู ตวั แอล ใชย้ ิงในระยะใด ก. ๒๕๐ เมตร ข. ๐ – ๓๐๐ เมตร ค. ๓๐๐ – ๕๐๐ เมตร ง. ๖๔๐ เมตร 6. ศนู ยร์ บของ ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๑ คอื ระยะใด ก. ๒๕๐ เมตร ข. ๔๐๐ เมตร ค. ๓๕๐ เมตร ง. ๔๐๐ เมตร ค.เอม็ .๒๐๓ 7. กระสุนสังหาร ค.ขนาด ๔๐ มม. เอ็ม.๒๐๓ มีรศั มีการระเบดิ เทา่ ไร ก. ๑๐ เมตร ข. ๑๕ เมตร ค. ๕ เมตร ง. ๖ เมตร ง. ๕๐ – ๑๐๐ เมตร 8. ศนู ย์เรง่ ดว่ น ค.ขนาด ๔๐ มม. เอ็ม.๒๐๓ มีระยะยิงต้ังแตเ่ ท่าใด ก. ๕๐ – ๒๕๐ เมตร ข. ๕๐ – ๒๐๐ เมตร ค. ๕๐ – ๑๕๐ เมตร
9. ท่ายิงของ ค.ขนาด ๔๐ มม. เอม็ .๒๐๓ มีกท่ี า่ ก. มีทา่ ยืนยิงทา่ เดียว ข. มีท่านงั่ คุกเขา่ ท่าเดยี ว ค. มี ๔ ทา่ ง. มี ๕ ท่า ปก.เอม็ .๖๐ 10. การอา่ นมาตราทร่ี าวสา่ ยปนื ปก.เอม็ .๖๐ ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้อง ก. จากจดุ กึ่งกลางไปทางซ้าย ๔๕๐ มิลเลียม ค. จากจุดกง่ึ กลางไปทางขวา ๔๒๕ มิลเลียม ค. อา่ นทางด้านขอบซา้ ยของเลอื นราวส่ายปืน ง. จากจุดกง่ึ กลางไปทางขวา ๔๕๐ มลิ เลียม ปลย. เอ็ม. ๑๖ เอ. ๒ 11. ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๒ มีเกลยี วภายในลำกล้อง ๖ เกลยี ว เวยี นขวา ๑ รอบ ยาวกีน่ ิว้ ก. ๔ ข. ๖ ค. ๗ ง. ๑๒ 12. กระสนุ ท่ใี ชก้ ับ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๒ มกี ่ีชนิด ก. ๔ ชนิด ข. ๕ ชนิด ค. ๖ ชนิด ง. ๗ ชนดิ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๔ 13. ปลอกลดแสงของ ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๔ ด้านล่างจะทบึ และมีกรวยดักแกส๊ มีความมุ่งหมายเพื่ออะไร ก. เพือ่ ลดความแม่นยำ ข. เพือ่ ประหยัดกระสุน ค. เพอ่ื ลดอาการสะบดั และช่วยกดปากลำกล้องขณะทำการยิง ง. เพื่อให้จังหวะการยิงเรว็ ขึ้นมาก ปลย.ทาโว 14. การปรับกลอ้ งเล็งสะท้อนภาพ MEPRO ในทางทศิ และทางระยะ จำนวน ๑ คล๊ิก ในระยะ ๒๕ เมตร หรอื ในสนาม ๑,๐๐๐ นวิ้ จะเปลยี่ นตำบลกระสนุ ถูกไปเทา่ ไร ก. ๐.๘๓ ซม. ข. ๑ ซม. ค. ๒ ซม. ง. ๓ ซม. 15. ข้อใดไมใ่ ช่สาเหตุในการติดขดั ของ ปลย.ทาโว สาเหตทุ ี่ ๑ (ตำแหน่งหนา้ ลกู เลอื่ นปดิ ) ก. กระสุนไมป่ อ้ น ข. กระสุนซอ้ น ค. กระสุนดา้ น ง. เข็มแทงชนวนหกั หรือชำรุด ปลก. เอ็ม. ๒๔๙ (มนิ ิมิ) 16. ใน ๑ หมู่ปนื เลก็ มี ปลก.เอม็ .๒๔๙ ก่กี ระบอก ก. ๑ กระบอก ข. ๒ กระบอก ค. ๓ กระบอก ง. ๔ กระบอก ปลก.เนเกฟ 17. ในการยิงปรบั ศูนยร์ บ ปลก. เนเกฟ ระยะ ๒๕ เมตร กลมุ่ กระสุนจะต้องอยบู่ ริเวณใด ก. สูงจากตำบนเล็ง ๑ ซม. ข. สงู จากตำบนเล็ง ๐.๘ ซม. ค. ต่ำจากตำบนเล็ง ๐.๘ ซม. ง. ต่ำจากตำบนเล็ง ๑ ซม.
ปก.๓๘ 18. ปก.๓๘ เม่ือพับศนู ย์หลังลง (ศูนย์ร)ู สามารถต้ังระยะยิงไดเ้ ท่าไร ก. ๑๐๐ – ๑๕๐ เมตร ข. ๒๐๐ – ๔๐๐ เมตร ค. ๒๐๐ – ๘๐๐ เมตร ง. ๔๐๐ – ๘๐๐ เมตร ค.อัตโนมัติ ๔๐ มม. 19. การบรรจุกระสุน ค.อตั โนมตั ิ ๔๐ มม. ขอ้ ใดต่อไปน้ีกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ใช้ด้านรูปตัวที (T) ของสายกระสุนเขา้ ข. กอ่ นบรรจุกระสุนต้องตรวจใหแ้ นใ่ จว่าลกู เลอื่ นอยูด่ ้านหนา้ สดุ ค. ดนั กระสนุ นดั แรกเขา้ จนถูกยดึ ไวโ้ ดยกระเดอื่ งป้อนกระสนุ ๒ ตวั ง. กอ่ นบรรจกุ ระสนุ ต้องดึงคันรง้ั ลูกเล่อื นมาข้างหลังสุด 20. ช้ินสว่ นประกอบหลกั ค.อตั โนมตั ิ ๔๐ มม. มีก่ีชุดช้ินสว่ น ก. ๕ ชดุ ชน้ิ สว่ น ข. ๖ ชดุ ช้ินสว่ น ค. ๔ ชุดชิ้นส่วน ง. ๓ ชดุ ชนิ้ ส่วน ปรส.ขนาด ๘๔ มม. CARL-GUSTAF M 3 21. เม่อื ตรวจการณ์พบเปา้ หมายยานเกราะตดิ หลม่ ท่ีระยะ 600 เมตร พลยงิ จะปฏิบตั กิ ารยิงอยา่ งไร ก. ใช้ศูนย์เล็งสำหรบั เปา้ หมายเคลอ่ื นที่ ข. ใชศ้ นู ย์เลง็ สำหรับเปา้ หมายอยูก่ ับที่ ค. ใช้กล้องเลง็ สำหรบั เป้าหมายเคลื่อนท่ี ง. ใช้กลอ้ งเล็งสำหรับเปา้ หมายอยู่กบั ท่ี 22. กล้องเลง็ เทเลสโคป มีกำลงั ขยายกเี่ ท่า ก. ๒ เทา่ ข. ๓ เท่า ค. ๔ เท่า ง. ๕ เท่า เคร่อื งยงิ ลูกระเบิด ขนาด ๖๐ มม. 23. เมื่อทำการยงิ ดว้ ย ลย.ส่องแสง จะสอ่ งสว่างได้นานเท่าไร ก. ๒๕ วินาที ข. ๓๐ วินาที ค. ๓๕ วินาที ง. ๔๐ วนิ าที 24. เม่อื ใช้ ลย.สงั หารทำการยงิ จะมรี ัศมีฉกรรจ์เท่าไร ก. กวา้ ง ๕๐ ยาว ๕๐ ม. ข. กว้าง ๙ ม. ยาว ๑๘ ม. ค. กว้าง ๙ ม. ลกึ ๑๘ ม. ง. กว้าง ๑๘ ม. ลกึ ๙ ม. อาวุธกลุ่มสงั คมนิยม 25. ลกั ษณะข้อแตกต่างประการหนึ่งของ ปกม.PPS กบั ปกม.PPSH คือข้อใด ก. ใชก้ ระสุนตา่ งขนาดกัน ข. พานทา้ ยต่างกัน ค. ลกั ษณะการยิงตา่ งกนั ง. มศี ูนย์ต่างกนั 26. อาวุธปืนชนดิ ใดทีม่ ีดาบปลายปนื ติดอยู่ทางด้านขา้ งของตัวปืน ก. ปลย.AK ๔๗ ข. ปลย.คารไ์ บน์ M ๑๔๙๙ ค. ปกม. AKS ง. ปกบ.เซกาเซ่
วัตถุระเบดิ และการทำลาย 27. ระบบการจุดระเบิดดว้ ยเชอื้ ปะทุชนวนมีองคป์ ระกอบการจดุ อยา่ งไร ก. เครอื่ งจดุ ระเบดิ – ชนวนฝักแคเวลา – เชื้อปะทุชนวน – ดินระเบดิ ข. ตูจ้ ดุ ระเบิด – ชนวนฝักแคระเบดิ - เช้อื ปะทชุ นวน – ดินระเบดิ ค. เคร่อื งจุดชนวน - ชนวนฝกั แคเวลา – เชอ้ื ปะทุชนวน – ดนิ ระเบดิ ง. เครอ่ื งจุดระเบดิ - ชนวนฝกั แคระเบิด - เช้อื ปะทชุ นวน – ดินระเบดิ 28. ระบบการจดุ ระเบิดดว้ ยเชอื้ ปะทุไฟฟา้ มีองค์ประกอบการจุดระเบิดอย่างไร ก. เคร่ืองระเบดิ - สายไฟฟ้าคู่ - เชอ้ื ปะทุไฟฟา้ - ดินระเบิด ข. ตู้จดุ ระเบิด - สายไฟฟา้ คู่ - ดินระเบิด - เชอื้ ปะทชุ นวน ค. เครอ่ื งจุดระเบิด- สายไฟฟา้ คู่ - เชอ้ื ปะทชุ นวน - ดินระเบิด ง. ตจู้ ุดระเบดิ - สายไฟฟา้ คู่ – เช้ือปะทุไฟฟา้ - ดนิ ระเบิด ท่นุ ระเบิด 29. พลสุ ่องสว่าง แบบ M ๔๙ A ๑ เมอ่ื เกิดการทำงานขึ้นสามารถสอ่ งสว่างไดน้ านเท่าไร ก. ๑ นาที ข. ๕๕ – ๗๐ วินาที ค. ๓ นาที ง. ๕ นาที 30. พลุส่องสว่าง แบบ M ๔๙A๑ มีรัศมกี ารส่องสวา่ งก่ีเมตร ก. ๑๐๐ ม. ข. ๒๐๐ ม. ค. ๓๐๐ ม. ง. ๔๐๐ ม กับระเบดิ 31. เม่อื ติดตั้งเคร่ืองจุดระเบิด เอ็ม ๑ ดงึ ลวดสะดดุ คุ วรมคี วามยาวเท่าใด ก. เท่ากับรศั มีฉกรรจ์ของวัตถรุ ะเบดิ ข. ๓ – ๕ เมตร ค. เท่าใดก็ได้ ง. ๑๐ – ๑๕ เมตร 32. เมื่อตดิ ต้ังกับระเบดิ แสวงเครือ่ งพวกใชเ้ ชอ้ื ปะทุไฟฟ้าสงิ่ สดุ ทา้ ยทท่ี ำการประกอบตดิ ต้ังคอื อะไร ก. ดินระเบดิ ข. สวทิ ซ์จดุ ระเบิด ค. แบตเตอรี่ ง. เชื้อปะทไุ ฟฟ้า ระเบดิ แสวงเครอ่ื ง 33. ข้อใดคือหลักเกณฑท์ ่ีใช้จำแนกวตั ถตุ ้องสงสยั ออกจากสิ่งของทว่ั ไป ก. ๓ ใช่ ๑ อยู่ ข. ๓ ไม่ ๑ ดู ค. ๓ ไม่ ๑ หมู่ ง. ๓ ไม่ ๑ อยู่ 34. ข้อใดคือหน้าทีข่ องหนว่ ยดำเนนิ กลยุทธเ์ มื่อตรวจพบระเบิดแสวงเครื่อง ก. รีบดำเนินการถอดชนวนระเบดิ แสวงเคร่ืองนน้ั ข. เคลื่อนยา้ ยไปไวใ้ นทีป่ ลอดภัย ค. รายงานหน่วยเหนือฯก้นั เขตปลอดภัยกนั บุคคลท่ีไม่เก่ียวขอ้ ง ง. รายงานหน่วยเหนือฯ แลว้ เคลื่อนย้ายไปไวใ้ นท่ีปลอดภยั และถอดชนวนหากทำได้
ปอ้ มสนาม 35. ท่ตี งั้ ยิง ปก.เอ็ม.๖๐ แบบหลมุ บุคคลสองหลมุ อยากทราบวา่ หลุมของพลยงิ และพลบรรจุกระสุนขุดหา่ งกนั เท่าไร ก. ๑ ฟุต ข. ๑ ๑/๒ ฟุต ค. ๒ ฟตุ ง. ๒ ๑/๒ ฟุต 36. ทต่ี ้ังยงิ มลี ักษณะเป็นหลมุ บุคคล ๒ หลุม ประกอบกนั มีระยะระหว่างปากหลุมหา่ งกนั ๒ ฟุต ท่านคิดว่า เปน็ ท่ตี ้งั ยิงชนดิ ใด ก. ปก.เอม็ . ๖๐ แบบหลมุ บุคคลสองหลุม ข. ค. ๖๐ แบบหลมุ บคุ คลสองหลุม ค. คจตถ. แบบหลมุ บุคคลสองหลุม ง. ถกู ท้ังข้อ ข. และขอ้ ค. เคร่อื งกีดขวาง 37. การวางเสาและสมอบกในการสรา้ งรั้วลวดกระโจมจะต้องหนั โคนเสาไปทิศทางใด ก. หันไปทางขวา ข. หนั ไปทางซ้าย ค.หนั ไปทางขา้ ศึก ง. หนั ไปทางด้านหลงั 38. ลวดหนามแบบมาตรฐานใช้ลวดเบอร์ใด ก. เบอร์ ๑๐ ข. เบอร์ ๑๒ ค. เบอร์ ๑๖ ง. เบอร์ ๒๐
การปรนนบิ ัตบิ ารงุ ๑.ผบช.มงุ่ หวังในการปบ. ในหน้าที่พลขบั (ขัน้ ท่ี ๑)น้นั เพ่อื ประสงค์อะไร ก.ต้องการใหม้ งี านทา ข. เพอื่ ต้องการเบกิ สป. ค.เพอื่ เอาไปแก้ไขข้อบกพร่อง ง.เพอ่ื รักษาง.ยุทโธปกรณ์และเพ่อื ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ ๒.การปบ. เมื่อตรวจพบข้อบกพร่องหรอื ทางานไมส่ มบูรณเ์ กนิ ข้ันที่ ๑พลขบั ต้องปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ก.แขวนปูายชะงักใช้งาน ข.รายงาน ผบช.ทราบทนั ที ค.ทาการแก้ซ่อมเองได้เลย ง.ส่งซอ่ มตามสายงานของ ผบช. ๓.จ่าสิบเอกปยิ ะทัศน์ฯ นา รยบ.บรรทุกนา้ ขนาด ๕,๐๐๐ ลิตรไปส่งนา้ ขณะวิง่ อยู่ไดย้ ินเสยี งเครอ่ื งยนต์ดังไม่สม่าเสมอแลว้ จดจา ไป ปบ.เมอ่ื ถงึ หน่วยถอื วา่ เปน็ การ ปบ.หว้ งใด ก.การ ปบ.ขณะใช้งาน ข.การ ปบ.ขณะหยุดพัก ค.การ ปบ. หลังใช้งาน ง.การ ปบ.ก่อนใชง้ าน ๔.ข้อใดกล่าวถูกต้องแล้ว ก.การ ปบ.ขัน้ ๑ เป็นงานในหน้าท่ีพลขบั ทาก็ได้ไม่ทาก็ได้ ข.การ ปบ.ขัน้ ๑ เปน็ การตรวจสภาพทว่ั ไปเพื่อให้ทราบข้อบกพร่องของยทุ โธปกรณ์ ค.การ ปบ.ข้นั ๑ ต้องทาบ่อยๆ เพอื่ จะไดน้ าไปเบิก สป. ง.ทกี่ ล่าวมาแลว้ ถกู ต้องทุกข้อ ๕.การปบ.ในหนา้ ทพ่ี ลขบั (ขั้นท่ี ๑) มีการปบ.หลกั อยู่ ๓ ข้นั คอื ข้อใด ก.ก่อนใช้งาน ขณะใชง้ านและหลังใชง้ าน ข.ก่อนใชง้ าน ขณะหยุดพักและขณะใชง้ าน ค.ขณะหยดุ พัก ขณะใช้งานและในโรงรถ ง.หลงั ใช้งาน ขณะใช้งานและในโรงรถ ๖.การปรนนิบตั บิ ารงุ เปน็ หัวใจสาคญั พลขับจะละเลยเสยี มิได้ คือการ ปบ.ประเภทไหน ก.การ ปบ.รอบ ๓ เดือน ข.การ ปบ. รอบ ๖ เดอื น ค.การ ปบ.ประจาวัน ง.การ ปบ.ประจาสปั ดาห์ ๗.ก่อนนา รยบ.ออกไปใชง้ าน พลขับทาการตรวจสภาพเรียบรอ้ ย เปน็ การตรวจสภาพท่ัวไปด้วยอะไร ก.ตรวจสภาพดว้ ยหู ข.ตรวจสภาพดว้ ยความชานาญ ค.ตรวจสภาพด้วยจมูก ง.ตรวจสภาพด้วยสายตา ๘. พลขับทุกคนที่นารถออกใชง้ านจะต้องมบี ัตรการใชร้ ถประจาวนั เสมอ แต่มีข้อยกเวน้ อะไรบา้ ง ก. ขบั รถเข้าขบวน,ขบั รถพยาบาลฉุกเฉิน ข. ขบั รถพยาบาลฉุกเฉิน,ขับรถปฏบิ ตั งิ านทางยุทธวธิ ี ค. ขบั รถปฏิบตั ิงานทางยทุ ธวิธ,ี ขับรถรับส่งทหารกองเกยี รติยศ ง. ขับรถเขา้ ขบวน,ขับรถปฏบิ ัตงิ านทางยทุ ธวธิ ี ๙. การ ปบ.ประจาวันจะปฏิบัตใิ นกรอบของแบบพมิ พ์ อะไร ก. ทบ. 468 – 360 ข. ทบ. 468 – 310 ค. ทบ. 468 – 201 ง. ทบ. 468 – 378 ๑๐. พลขบั จะกระทาการ ปบ.ขณะใชง้ าน จะกระทาการได้อย่างไร ก. ตรวจดูรอยบริเวณใตร้ ถ ข.ฟงั เสียงและกลิน่ ท่ีผดิ ปกติ ค. ตรวจเคร่อื งช่วยความปลอดภัยขณะขบั รถ ง. สังเกตดูระดบั น้าในเครื่องวัดขณะขบั รถ
วชิ า การปรนนบิ ัตบิ ารงุ ยานยนต์ * ขอ้ ใดกล่าวถูกต้องแลว้ ตอบ : การ ปบ.ข้ัน ๑ เป็นการตรวจสภาพทวั่ ไปเพื่อใหท้ ราบขอ้ บกพร่องของยุทโธปกรณ์ *ผบช.มุ่งหวังในการปบ. ในหน้าทพี่ ลขับ (ขั้นที่๑) นนั้ เพ่ือประสงค์อะไร ตอบ : เพ่อื รักษายุทโธปกรณ์และเพื่อให้มีประสิทธิภาพ *การปรนนบิ ัตบิ ารุงของช่างประจาหน่วยผ้ใู ดเปน็ ผ้ชู ว่ ยชา่ งในการปบ. ตอบ : พลขบั *สาเหตใุ ดจงึ ต้องทาการปรนนบิ ตั บิ ารงุ ขนั้ ๑ก่อน ตอบ : เพือ่ ให้รูส้ าเหตแุ ห่งการชารดุ แล้วดาเนินการแก้ไข *การเติมลมยางเตมิ น้าในหม้อนา้ ทาความสะอาดเป็นการกระทาอะไร ตอบ : การปรนนิบัตบิ ารุง คณุ ลกั ษณะยานยนต์ ๑.คาวา่ “ รถบรรทุก ” ทางทหารหมายความวา่ อะไร ก.รถทีใ่ ช้ล้อสาหรับเคล่ือนย้ายคน ข.รถทใ่ี ชล้ อ้ สาหรบั เคล่ือนย้ายคน,สตั ว์,สิง่ ของ ค.รถทใ่ี ช้ลอ้ สาหรับเคล่ือนยา้ ยคน,อาวุธ,กระสุน,และเคร่ืองมอื เครื่องใช้ ง.รถท่ีใชล้ อ้ หรอื สายพานสาหรับบรรทกุ คน และส่งิ ของทางทหาร ๒.รยบ.๑/๔ ตนั ๔x๔ เอม็ ๑๕๑ เอ.๑ อยากทราบว่า ๔x๔ หมายความว่าอยา่ งไร ก.รถท่ีม๔ี ล้อ เคลื่อนที่ไดท้ ัง้ ๔ ลอ้ ข.รถที่ม๔ี ลอ้ มีกาลังขบั เคลอ่ื น ๔ ลอ้ ค.รถทมี่ ๔ี ลอ้ ลากจงู รถพว่ งทีม่ ีลอ้ ๔ ล้อ ง.รถทม่ี ๔ี ล้อ บรรทกุ กาลงั พลได้ ๔คน ๓.ข้อใดคือความหมายของคาว่า “น้าหนักรถ” ก.น้าหนักสัมภาระหรือผู้โดยสาร รวมท้ังเจ้าหนา้ ทป่ี ระจารถ ข.นา้ หนกั ทั้งหมดของรถท่ีติดต้งั อปุ กรณพ์ ร้อมด้วยเติมน้ามันเช้อื เพลงิ เรยี บร้อย แต่ไม่มีพลประจารถ ค.นา้ หนกั ท้ังหมดของรถท่ีตดิ ตงั้ อปุ กรณพ์ ร้อมเตมิ น้ามันเช้ือเพลิงเรยี บร้อย รวมท้งั พลประจารถ ง.น้าหนกั ของรถทัง้ หมดท่ตี ดิ ตัง้ อุปกรณแ์ ละสามารถปฏิบตั ิการได้ รวมทั้งพลประจารถ และนา้ หนกั สมั ภาระ ๔.ข้อใดต่อไปน้ีคอื “ ระยะสูงพน้ พื้น ” ของรถ ก.ระยะระหวา่ งระดบั พืน้ ดนิ กับความสูงของล้อรถ ข.ระยะระหวา่ งระดบั พน้ื ดินกับพน้ื ใตท้ ้องรถ ค.ระยะระหว่างระดบั พื้นดนิ กับจดุ ทีต่ ่าทีส่ ุดใต้ทอ้ งรถ ง.ระยะระหว่างระดบั พนื้ ดินกับกนั ชนหน้ารถ ๕.ถ้าแบง่ ประเภทยานยนต์ตามลกั ษณะการใชง้ านอยากทราบวา่ รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน เอ็ม ๓๕ จะจดั อยูใ่ นยานยนตช์ นดิ ใด ก.ยานยนต์ธุรการ ข.ยานยนต์ใช้งานทั่วไป ค.ยานยนตย์ ุทธวธิ ี ง.ยานยนต์ตดิ ต้ังอปุ กรณ์พิเศษ ๖.ประเภทของยานยนตแ์ บ่งตามลักษณะการใช้งานไดก้ ช่ี นิด ก.๑ ชนดิ ข.๒ ชนดิ ค.๓ ชนิด ง.๔ ชนิด ๗.รถกู้๕ตนั จดั อยใู่ นยานยนต์แบบใด ก.ยานยนตใ์ ช้งานทวั่ ไป ข.ยานยนตร์ บ ค.ยานยนต์ใช้งานพเิ ศษ ง.ยานยนตต์ ดิ ตัง้ อุปกรณ์พเิ ศษ ๘.การปรนนบิ ตั ิบารุงก่อนใช้งานกระทาเพ่ืออะไร ก.ดูความถูกต้องของยานพาหนะ ข.ตรวจระบบตา่ งๆ ของเครอื่ งยนต์ค.ตรวจสภาพการยึดตรึงของตัวรถ ง.ถกู ทกุ ข้อ
๙.ขอ้ ใดคือความหมายของ “ รถพว่ ง ” ? ก. รถทอี่ อกแบบไว้สาหรับลากจงู โดยมีคาน และห่วงสาหรบั เกาะ ข. รถยนต์ทีอ่ อกแบบไวล้ ากจูงได้โดยมีห่วงสาหรบั เกาะ ค. รถยนต์ทีอ่ อกแบบไวส้ าหรบั ลากจงู ได้ทุกสภาพถนนโดยมหี ่วงสาหรับเกาะ ง. รถยนต์ท่อี อกแบบให้มีกาลงั มากๆเพ่ือจะไดล้ ากจูงได้ ๑๐.รยบ. ๑/๔ ตัน ๔ x ๔ เอ็ม ๑๕๑ เอ.๑ อยากทราบวา่ ๑/๔ ตนั หมายถึงอะไร ? ก. นา้ หนักรถ ข. นา้ หนกั บรรทกุ ค. น้าหนักบรรทกุ ในภูมปิ ระเทศ ง. น้าหนักทัง้ หมดของรถ วชิ า คุณลกั ษณะยานยนตท์ หาร * ขอ้ ใดต่อไปน้ีคือ “ ระยะสูงพ้นพน้ื ” ของรถ ตอบ : ระยะระหว่างระดบั พื้นดนิ กบั จุดทตี่ า่ ทสี่ ุดใตท้ ้องรถ * นา้ หนักทั้งหมดของรถทีต่ ิดตั้งยทุ โธปกรณ์พร้อมด้วยเติมนา้ มันเช้ือเพลิง นา้ นา้ มันหล่อล่ืน แตไ่ ม่มีพลประจารถคอื ความหมาย ของคาว่าอะไร ตอบ : น้าหนกั ทั้งหมด * การแบ่งประเภทของยานยนต์ตามลกั ษณะการใชง้ าน จะแบ่งได้ก่ีประเภท อะไรบ้าง ตอบ : ๒ ประเภท ๑. ยานยนตธ์ ุรการ ๒. ยานยนต์ยทุ ธวิธี * ระยะปฏิบตั ิการ หมายความว่าอย่างไร ตอบ : ระยะทางที่ยานยนต์สามารถทางานได้ภายในน้ามนั เชอื้ เพลงิ เต็มถัง * รถกู้ ๕ ตัน จัดอยูใ่ นยานยนตแ์ บบใด ตอบ : ยานยนตต์ ดิ ต้ังอุปกรณ์พเิ ศษ การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด 1.ข้อใดคือความหมายของการสนับสนนุ ทางอากาศโดยใกลช้ ิด ก. การปฏิบัตทิ ลี่ ึกเข้าไปในดินแดนขา้ ศึก เปูาหมายไมจ่ าเป็นต้องมีการควบคุม ปฏบิ ัตไิ ด้ตามเสรี ตามความริเรม่ิ ของกองทัพอากาศ ข. การปฏบิ ัตทิ างอากาศหรอื การโจมตที างอากาศที่กระทาต่อเปาู หมายของ ขศ. บนผิวพนื้ โดยการรอ้ งขอจากหนว่ ยภาคพน้ื ค. การปฏบิ ตั ไิ ปตามความรเิ ริ่มของกาลังทางอากาศหลงั จากได้วางแผนร่วมกับหนว่ ยกาลังภาคพน้ื ง. การปฏบิ ัติทางอากาศหรือการโจมตที างอากาศที่กระทาต่อเปูาหมายทลี่ ึกเข้าไปในดนิ แดนของ ขศ. หลังจากได้วางแผนรว่ มกับกาลงั ทางอากาศ 2.ขอ้ ใดไมจ่ ัดว่าเปน็ ประเภทของการสนบั สนนุ โดยใกลช้ ดิ ก. การคมุ้ กันขบวนเดินเท้า ข. การบินคุม้ กัน ค. การโจมตีทางอากาศ ง. การขดั ขวางทางอากาศ 3.ผคู้ วบคุมอากาศยานหน้าคือใคร (FAC) ก. ผู้ตรวจการณ์ที่ได้รับการฝึก ข. นายทหารอากาศ (นักบิน) ค. ผบู้ งั คับหน่วยทผ่ี ่านการอบรม ง. ถูกทุกขอ้
4.ในการจัดหน่วยควบคมุ ทางอากาศยทุ ธวธิ ี จะมชี ดุ ผูค้ วบคุมอากาศยานหน้า (ชผคน)ที่จัดสง่ ออกไปปฏบิ ัติการรว่ มกับหน่วย กาลงั ภาคพ้ืน มีหน้าที่ให้คาแนะนาตอ่ ผบ.หน่วยนนั้ เก่ียวกับการขอใช้กาลงั ทางอากาศและทาหนา้ ที่ส่งคาขอไปยังหน่วยเหนือท่มี ี อานาจในการสงั่ ใช้กาลังทางอากาศ อยากทราบวา่ ชผคน.จะจดั สง่ ไปหนว่ ยถึงหนว่ ยภาคพืน้ ระดบั ใด ก. กองทัพภาค ข. กองพล ค. กองกาลงั ผสม ง. กรมและกองพัน 5.ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้นาอากาศยานหนา้ FORWARD AIR GUIDE (FAG) ก. มีความรยู้ ุทธวธิ ภี าคพ้นื และยทุ ธวิธีอากาศยาน ข. มคี วามรูภ้ าษาองั กฤษและการอา่ นแผนท่ี ค. ผ่านการอบรมหน้าท่ี ผนอ. (FAG) ง. มีควมารู้การติดต่อสอ่ื สาร,ยทุ ธวธิ ภี าคพนื้ และยุทธวธิ ีอากาศยาน 6.พ้นื ทใ่ี นการสนับสนนุ ทางอากาศโดยใกล้ชิด ข้อใดกลา่ วถูกต้อง ก. จากหนา้ สดุ ของการวางกาลงั ฝุายเราไปจนถงึ ขอบหน้าของเขตภายในข้าศึก ข. จากแนวประสานการยิงสนบั สนุนและเขา้ ไปในเขตภายในข้าศึก ค. จากขอบหน้าพน้ื ท่ีการรบไปจนถงึ แนวประสานการยงิ สนับสนนุ ง. จากขอบหนา้ พื้นท่ีการรบไปจนถงึ เขตภายในขา้ ศึก 7.การสง่ คาขอทันที(เรง่ ดว่ น) จะต้องใหค้ าขอถงึ ผูม้ ีอานาจอนุมัติการใช้ บ. ของ ทอ. และจะไดร้ บั การตอบสนองในเวลาอย่างชา้ เทา่ ไร ? ก. 2 ช่ัวโมงเข้ารหัส ข. 6 ช่วั โมงเขา้ รหัส ค. 2 ชั่วโมงไมเ่ ขา้ รหัส ง. 6 ชวั่ โมงไม่เข้ารหัส 8.คาขอทนั ทที ันใดมหี ัวข้ออะไรบา้ ง ? ก. ใคร อะไร ที่ไหน เมอ่ื ไร อยา่ งไร เทา่ ไร ข. ใคร อะไร ทไี่ หน ทาไม เมื่อไร ค. ใคร อะไร ทไ่ี หน เมื่อไร ทาไม อย่างไร ง. ใคร อะไร ท่ไี หน อยา่ งไร 9.กอ่ นทีเ่ คร่อื งบินจะออกจากจุดบนิ วน(CP) นกั บินจาไดร้ บั ข้อมูลข่าวสารจากหนว่ ยภาคพื้นในเรื่องใดบ้าง ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. สภาพอากาศ ลกั ษณะท่ีหมาย สถานการณ์ข้าศึก ข. นามเรยี กขาน จานวนละแบบอากาศยาน เวลาในการให้การสนับสนนุ ค. สภาพอากาศ ลักษณะทีห่ มาย สถานการณ์ข้าศึกและการต่อตา้ น แนวกาลงั ฝาุ ยเดียวกนั การยิงของ ปืนใหญ่ ง. นามเรียกขาน ลกั ษณะทห่ี มาย สภาพอากาศ เวลาในการให้การสนบั สนนุ 10.หลังจากเครื่องบินโจมตเี ปูาหมายแลว้ หนว่ ยภาคพ้นื จะต้องรายงานผลการโจมตีเปาู หมายใหน้ ักบนิ ทราบ ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้องในขั้นตอนนี้ ก. แจ้งตาบลระเบดิ หรือตาบลกระสุนตก ข. แจง้ ผลการทาลายเปาู หมายเป็นเปอร์เซน็ ต์ ค. แจ้งเวลาระเบดิ กระทบเปาู หมาย ง. ปรบั แก้ตาบลกระสุนตกให้นักบนิ 11.การพสิ จู นฝ์ ุายเพื่อต้องการทราบวา่ เป็นหน่วยทหารฝุายเดียวกนั ส่ิงทตี่ อ้ งแสดงนัน้ อย่างไร ? ก. แผ่นผา้ สัญญาณ VS - 17 ปูเป็นตัวอักษร ข. ลข.ควันสีแดง ค. ทัศนสัญญาณ ง. หมายแนว หมายที่ต้งั
12.ในการเตรยี มการในระหวา่ งรออนุมตั คิ าขอ และรออากาศยานมาสนับสนนุ ผบู้ งั คับหน่วยจะตอ้ งกระทา สิ่งใดบา้ ง? ก.ดารงการตดิ ต่อสอ่ื สารกับ ป. หน่วยเหนอื ข.ผบ.หนว่ ย ให้ พลวทิ ยุเปน็ ผใู้ ชว้ ิทยเุ พียงผูเ้ ดียว ค.ใหก้ าลงั พลในหนว่ ยเฉลี่ยกระสุนเตรยี มตะลมุ บอน ง.ถกู ทขุ ้อ 13.ผนู้ าอากาศยานหนา้ (FAG) มีหน้าที่อย่างไร ก. นาอากาศยานเข้าโจมตีเปูาหมายได้ ข. รายงานสภาพอากาศ ค. แนะนา บ.โจมตี เกี่ยวกับทิศทางที่ปลอดภยั ง. ถูกทกุ ข้อ 14.จุดทีไ่ ด้กาหนดอ้างทางภูมิศาสตรบ์ นพนื้ ดนิ หรือบนผวิ น้าใชเ้ พื่อเป็นตาบลให้เคร่ืองบนิ หรือการส่งทางอากาศมาปรากฏทน่ี ้ัน คือความหมายอยา่ งไร ก. ที่ตงั้ ข้าศึก ข. จุดบินวน ค. ทีต่ ้ังฝาุ ยเดยี วกนั ง. ทศิ ทางการโจมตี 15.ในการปูอักษรรหสั บอกฝุายเม่ือ บ. ใกลถ้ ึงทตี่ ้งั หน่วย ใครต้องเปน็ ผู้ส่ังให้ปสู ญั ญาณ ก. นกั บนิ ข. ผบ.หนว่ ย ค. ผนอ. ง. หน.ชดุ ปแู ผน่ ผ้า วชิ าการสนบั สนุนทางอากาศ *ขอ้ ใดไมจ่ ัดวา่ เปน็ ประเภทของการสนับสนนุ โดยใกลช้ ดิ ตอบ : การขดั ขวางทางอากาศ *ผู้ควบคุมอากาศยานหน้าคือใคร (FAC) ตอบ :นายทหารอากาศ (นกั บิน) *ในการจดั หน่วยควบคมุ ทางอากาศยทุ ธวธิ ี จะมีชดุ ผู้ควบคุมอากาศยานหน้า (ชผคน)ที่จดั สง่ ออกไปปฏิบัติการรว่ มกับหน่วยกาลงั ภาคพ้นื มหี น้าที่ใหค้ าแนะนาตอ่ ผบ.หน่วยนั้นเก่ยี วกับการขอใชก้ าลังทางอากาศและทาหนา้ ทีส่ ่งคาขอไปยงั หน่วยเหนือทม่ี ี อานาจในการส่ังใช้กาลังทางอากาศ อยากทราบว่า ชผคน.จะจัดสง่ ไปหน่วยถึงหนว่ ยภาคพน้ื ระดบั ใด ตอบ :กรมและกองพนั *ขอ้ ใดเปน็ คุณสมบตั ขิ องผนู้ าอากาศยานหน้า FORWARD AIR GUIDE (FAG) ตอบ : ผ่านการอบรมหน้าที่ ผนอ. (FAG) *การพิสูจนฝ์ าุ ยเพ่อื ต้องการทราบวา่ เป็นหนว่ ยทหารฝุายเดยี วกันส่ิงท่ีตอ้ งแสดงนน้ั อย่างไร ตอบ : แผน่ ผา้ สญั ญาณ VS - 17 ปูเป็นตัวอักษร *ในการเตรยี มการในระหว่างรออนุมัติคาขอ และรออากาศยานมาสนับสนุน ผู้บังคบั หนว่ ยจะตอ้ งกระทา สงิ่ ใดบ้าง ตอบ :ดารงการตดิ ต่อสื่อสารกับ ป. หน่วยเหนือ * จดุ ท่ไี ด้กาหนดอ้างทางภมู ิศาสตรบ์ นพน้ื ดนิ หรอื บนผิวน้าใช้เพ่อื เปน็ ตาบลให้เคร่ืองบินหรอื การสง่ ทางอากาศมาปรากฏทน่ี ้ันคือ ความหมายอย่างไร ตอบ : จดุ บนิ วน * ในการปูอักษรรหัสบอกฝุายเมือ่ บ. ใกล้ถึงท่ีตัง้ หน่วย ใครต้องเป็นผสู้ ง่ั ใหป้ สู ัญญาณ ตอบ : นักบิน
การดารงชพี ในป่า 1.การทดสอบพชื ทกี่ นิ ได้ กระทาได้อยา่ งไร ก. ชมิ คอย ข. สอบถามชาวบา้ น ค.ดูจากสัตว์ ง. ถกู ทกุ ข้อ 2. กาสรา้ งทีพ่ ักทางทหารกระทาได้ 2 วิธี คอื ก. เรง่ ดว่ น , ถาวร ข. กงึ่ ถาวร , ถาวร ค. กงึ่ เรง่ , เรง่ ด่วน , ถาวร ง. เร่งดว่ น , ก่ึงถาวร 3. การทานา้ ให้สะอาดมกี วี่ ธิ อี ะไรบา้ ง ก. 3 วธิ ี ตม้ , ยาฆ่าเชือ้ , กรอง ข. 3 วธิ ี ตม้ , กล่ัน , ใส่ยาฆ่าเช้อื 2 ชนดิ ค. 3 วธิ ี ยาฆ่าเช้อื , กรอง , ซือ้ ตดิ ตวั ง. ผดิ ทกุ ข้อ 4. สงิ่ สาคัญที่สดุ ในการดารงชพี ในปาุ ได้แก่ ? ก. การมอี าหารรบั ประทานสมบูรณ์ ข. การมนี ้าดม่ื ที่ปลอดภัย ค. การมที ่ีพักที่สุขสบาย ง. การมีกาลังใจและความตั้งใจอันแน่วแน่ 5. ปาุ ในประเทศไทยเราสามารถแบ่งปุาไม้ออกตามลักษณะของปาุ เป็น 2 ชนดิ ได้แก่ ? ก. ปาุ แดงและปุาดงดบิ ข. ปุาดงดิบและปุาผลัดใบ ค. ปุาดงดบิ และปุาเบญจพรรณ ง. ปาุ ดนิ นา้ จดื และปาุ ดินนา้ เคม็ 6. เมอื่ เราอย่ใู นปุาอนั ตรายท่จี ะเกิดกับเรามี 2 ประเภทไดแ้ ก่ ? ก. น้าปาุ และสตั ว์ปาุ ข. พืชที่เป็นพิษและสัตวป์ ุา ค. ธรรมชาตขิ องปาุ และทหารข้าศึก ง. กินอาหารทีเ่ ปน็ พษิ และไข้ปุา 7. ปญั หาใหญ่ๆ ของการดารงชีพ แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทไดแ้ ก่ ? ก. พืช, สตั ว,์ น้า ข. อาหาร, น้า, ท่พี ัก ค. กาลงั พล, อาวุธยุทโธปกรณ์, ยารกั ษาโรค ง. อาวธุ , เคร่อื งนุ่งห่ม, ที่พัก 8. การนอนในปุาท่ีถูกต้องในการดารงชพี ควรเลือกให้ทหารนอนอย่างไร ? ก. นอนสูงกวา่ พน้ื ดิน ข. นอนในพน้ื ทโี่ ลง่ แจ้ง ค. นอนเอาศีรษะเข้าหาต้นไม้ใหญ่ๆ ง. นอนใกลก้ องไฟ 9. การแสวงหาอาหารในปาุ แบ่งออก 2 ชนิด ใหญ่ๆ คือ ? ก. ในน้า,บนพนื้ ดนิ ข. น้า, ที่พัก ค. ในปุาดงดบิ ,ในปาุ โปร่ง ง. สตั ว์,พืช 10. การแบ่งประเภทปญั หาใหญๆ่ ซึง่ เกี่ยวกับการดารงชีพใหเ้ หมาะสมกบั ภูมภิ าคมีอยู่ด้วยกัน 4 ประการ คอื ? ก. ชุดดารงชีพในปาุ ข. ชุดดารงชพี ในทะเล ค. ชุดดารงชพี ในทะเลทราย ง. ถูกทุกขอ้
11. วิธีการติดไฟในขณะทีเ่ ราอย่ใู นปาุ ซงึ่ ไม่มไี มข้ ีดไฟหรือไฟแช็คท่นี าตดิ ตวั ไปวิธกี ารตดิ ไฟทยี่ ากที่สดุ ได้แกช่ นดิ ใด ? ก. หินและเหลก็ ข. ใช้ไม้ถูกนั ค. กระจกและแสงแดด ง. ใชเ้ ชือกปุาน ถกู ับไม้ 12. ร่างกายของคนเรามตี ้องการน้า 1 คน/วนั น้นั 2 - 5 ลิตรการทาน้าแสวงหาไดจ้ ากในปุาให้สามารถ ทาใหส้ ามารถดม่ื ได้ด้วย วธิ ีการใส่ยาฆา่ เชอ้ื ฮาราโฮน 2 เม็ดต่อน้า 1 กระติก ควรใส่ยาแลว้ ทิง้ ไวก้ นี่ าที ? ก. 3 นาที ข. 10 นาที ค. 30 นาที ง. 40 นาที 13. ผลไมแ้ ละพชื ตา่ งๆทเ่ี ราพบในปาุ ซง่ึ จะนามาประกอบอาหารหรอื กนิ นน้ั มวี ิธปี ฏิบตั ดิ ้วยกนั 4 วธิ วี ิธีใดทไี่ มป่ ลอดภยั 100 % การปฏิบัติ 4 วธิ ี ? ก. สอบถามชาวบ้าน ข. ดจู ากสตั ว์ ค. ความค้นุ เคย ง. ชมิ แลว้ คอย 14.เรอ่ื งทส่ี าคัญทส่ี ุดในการดารงชีพอย่ใู นปาุ ซ่งึ เปน็ กญุ แจทจ่ี ะนาไปสู่ความสาเร็จ 8 ประการ คือข้อใด ? ก. SERVIVAL ข. SURVIVEL ค. SURVIVAL ง. SEVRIVAL 15. พืชในประเทศไทยมีประมานกี่ชนดิ ก. สองแสนหา้ หม่ืนชนดิ ข. สามแสนกวา่ ชนิด ค. นับไมถ่ ว้ น ง. ขอ้ ก. และ ข. ถกู ตอ้ งทส่ี ุด การดารงชพี ในปา่ *. เมอ่ื เราอยใู่ นปุาอันตรายทจ่ี ะเกดิ กับเรามี 2 ประเภทได้แก่ ตอบ : ธรรมชาตขิ องปุาและทหารข้าศึก * การนอนในปุาทีถ่ ูกต้องในการดารงชีพควรเลอื กใหท้ หารนอนอย่างไร ตอบ : นอนสงู กวา่ พ้นื ดิน * การแสวงหาอาหารในปุาแบ่งออก 2 ชนดิ ใหญๆ่ คอื ตอบ : สัตว์,พืช *วธิ ีการตดิ ไฟในขณะท่เี ราอย่ใู นปาุ ซ่ึงไม่มีไม้ขดี ไฟหรือไฟแช็คทนี่ าติดตัวไปวิธกี ารตดิ ไฟที่ยากท่ีสดุ ไดแ้ กช่ นิดใด ตอบ : ใชไ้ มถ้ ูกัน *รา่ งกายของคนเรามตี ้องการนา้ 1 คน/วันนน้ั 2 - 5 ลิตรการทานา้ แสวงหาได้จากในปุาใหส้ ามารถ ทาให้สามารถดื่มไดด้ ว้ ย วธิ ีการใสย่ าฆา่ เช้อื ฮาราโฮน2 เมด็ ต่อนา้ 1 กระติก ควรใสย่ าแล้วทิ้งไว้กน่ี าที ตอบ : 30 นาที *ผลไม้และพืชต่างๆที่เราพบในปุาซึ่งจะนามาประกอบอาหารหรอื กินนน้ั มีวิธปี ฏิบตั ดิ ว้ ยกัน 4 วิธีวิธีใดที่ไม่ปลอดภัย 100 % การ ปฏิบัติ 4 วธิ ี ตอบ : ชมิ แลว้ คอย * เรอื่ งทส่ี าคัญท่สี ดุ ในการดารงชพี อยู่ในปุาซึ่งเป็นกุญแจทจ่ี ะนาไปส่คู วามสาเร็จ 8 ประการ คือข้อใด ตอบ : SURVIVAL * พชื ในประเทศไทยมีประมาณกี่ชนิด ตอบ : สามแสนกว่าชนิด
วชิ าครทู หาร ๑. ขอ้ ใดเปน็ เหตุผล และความจาเป็นที่ต้องศึกษาวิชาครูทหาร? ก. เพราะเป็นวิชาท่เี รยี นง่าย ข. เพอื่ ความกา้ วหน้าทางราชการ ค. เพอื่ เปน็ หลักในการอบรมสั่งสอนผู้อื่น ง. เพอื่ ใหม้ ีความรู้ขั้นต้น ๒.การจะเป็นครทู ี่ดแี ละประสบความสาเร็จนนั้ จะต้องมีคุณลกั ษณะอย่างไร สาคญั ท่สี ดุ ? ก. มคี วามรู้กว้างขวางทุกวิชาและประสบการณใ์ นสนามมาก ข. มคี วามร้ใู นบทเรียนท่ีสอนและมเี ทคนิคการสอนดี ค. สอนแบบเดมิ ท่ีรนุ่ พีเ่ คยสอน ง.ควรมียศและตาแหน่งสูงกว่าผู้เรยี น ๓.ลักษณะของครูที่ดีประการหนึง่ คือ จะตอ้ งมวี ญิ ญาณครู คาว่า “วิญญาณครู” นัน้ มีความหมายตรงกบั ของใด? ก. มบี คุ ลกิ ลักษณะเหมาะสมท่จี ะเป็นครู ข. มีความสามารถในการสอนเปน็ อยา่ งดี ค. มีจติ รกั การสอนและพอใจในอาชีพครู ง. เปน็ ผูค้ งแกเ่ รยี น ๔. การฝกึ ภาคสนามของหลกั สตู รตา่ งๆ นัน้ เป็นการนาเอาหลักการสอนขอ้ ใดมาใชม้ ากท่ีสดุ ? ก. การเรา้ ใจ ข.ความสมจรงิ ค. ความรู้เดิม ง. การกระต้นุ ๕. องค์ประกอบของการกล่าวนาทตี่ ้องนามากล่าวเสมอในครง้ั แรกของการสอน คืออะไร ? ก. การแนะนาอปุ กรณก์ ารสอน ข. การแนะนาตวั ครู ค.ความมงุ่ หมายและเหตุผลในการเรยี น ง. ต้องกลา่ วทง้ั หมดทกุ ข้อ ๖. วิธีสอนมีอยูห่ ลายวิธี การเลอื กใชว้ ิธกี ารสอนแบบใดน้ัน จะข้ึนอย่กู บั ปัจจัยในเร่ืองอะไรบา้ ง ? ก.จานวนนักเรียน ข.ความร้เู ดมิ ค. พืน้ ฐานความรขู้ องนักเรยี น ง. ต้องพจิ ารณาทุกข้อท่กี ล่าวมา ๗. วธิ ีการสอนแบบใด ท่ีไม่ทาให้เกดิ ความสนใจ และไม่ส่งเสริมให้นกั เรยี นมที ัศนคติในการเรยี น? ก. วิธีสอนแบบเชงิ แสดง ข. วิธสี อนแบบเชงิ ประชมุ ค.วิธีสอนเชงิ บรรยาย ง. ทกุ วธิ ที ่ีกลา่ วมา ๘.ข้อใดกลา่ วถูกต้องทสี่ ดุ เก่ียวกับการพดู ของครู ? ก. พดู เชน่ เดียวกับการใหโ้ อวาท ข. จังหวะการพูดตอ้ งสม่าเสมอ ค. พูดเชน่ เดียวกับการพดู สนทนา ง. ระดับเสยี งในการพดู ต้องสม่าเสมอ ๙. ผู้ท่ีทาหน้าท่ีครจู าเปน็ อย่างย่งิ ทีจ่ ะต้องเป็นผู้ทีม่ ีความรู้ในเรื่องท่ีสอน มเี ทคนิคการสอนทีด่ ี และท่สี าคญั คือ จะต้องมศี ิลปะในการพูดท่ดี ดี ้วย ดงั นัน้ การพูดจึงเป็นการสร้างสมั ผัสที่ดรี ะหวา่ งครูกบั นักเรยี น อยาก ทราบว่า “การสรา้ งสัมผสั ระหวา่ งครูกบั นกั เรยี น” ตรงกบั ข้อใด ? ก. พูดเมื่อนักเรียนตง้ั ใจฟัง ข. เตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี ค. มีทัศนคติท่ดี ี ง. เตรยี มการกล่าวนามาเปน็ อยา่ งดี ๑๐.ในการเตรยี มการสอนของครู เรอ่ื งใดๆ น้ัน สง่ิ แรกที่ครูจะต้องนามาพจิ ารณา คืออะไร ? ก. การทาแบบการสอน ข. วธิ ดี าเนินการสอน ค. เอกสารหรือหลักฐานอา้ งอิง ง.ความม่งุ หมายของบทเรียน
๑๑.แผนการสอน ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องทสี่ ุด ? ก. เพือ่ ใชเ้ ป็นคมู่ ือการสอน ข. เพื่อใหส้ ามารถสอนแทนกันได้ ค. เพ่อื ใชเ้ ปน็ ตารามาทาการสอน ง. เพ่ือใชเ้ ปน็ หลกั ฐานการรับตรวจ ๑๒. หลังจากทาแผนการสอนเรียบรอ้ ยแล้ว ขนั้ ตอนต่อไปจะต้องทาอะไรก่อนทาการสอน ? ก. เขา้ สอนได้ทนั ที ข. เตรียมหลกั ฐานทางธุรการใหเ้ รยี บรอ้ ย ค. ต้องมีการตรวจสอบคร้ังสดุ ท้าย ง. ต้องมีการสักซอ้ มทดลอง ๑๓.“ครจู ะต้องเปน็ ผทู้ ่สี ามารถนาเอาหลักการ วิธีการและเทคนิคการสอนตา่ งๆ ไปใช้ให้บังเกิดผลดี” ข้อความ ดงั กลา่ วอยู่ในคุณลกั ษณะครูที่ดีข้อใด? ก. มีความรใู้ นบทเรยี นท่ีสอน ข. มีบคุ ลิกลักษณะในการเป็นผนู้ า ค. มีความรู้ในเทคนิคการสอน ง. มที ศั นคติทดี่ ตี อ่ อาชีพครู ๑๔.การสอนวิธีใดๆ กต็ าม แบง่ ออกเป็น ๓ สว่ น คือ กล่าวนา อธิบาย และสรุป หรือ ทบทวน อยากทราบว่า การกลา่ วนากระทาเพื่อความมงุ่ หมายอะไร ? ก.ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งครูกบั นักเรยี น ข. กลา่ วเปิดการสอนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ค. กล่าวในส่ิงท่ีดีตืน่ เตน้ ง. บอกเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล ๑๕. วิธสี อนแบบใด เรา้ ใจให้นกั เรียนสนใจ และระวังตวั เพ่ือตอบคาถามอยู่ตลอดเวลาที่ครสู อน ? ก. วิธสี อนเชิงบรรยาย ข. วิธสี อนเชงิ ประชุม ค. วิธีสอนแบบเชงิ แสดง ง. วธิ ีสอนแบบอภิปราย ๑๖.แผนบทเรยี นอย่างน้อยต้องประกอบดว้ ยกส่ี ่วน ? ก. ๔ ส่วน ข. ๓ สว่ น ค. ๒ สว่ น ง. ๑ สว่ น ๑๗.เมอ่ื ทา่ นได้ศึกษาหลกั ของวิชาครูจบลงแลว้ อยากทราบว่าสงิ่ ทที่ า่ นจะไดร้ บั อะไรตอ่ ไปในชวี ิต ? ก. ความเปน็ ครู ข. ความก้าวหนา้ ค. ความรอบรูด้ า้ นวชิ าการ ง. ความม่นั ใจ ๑๘. หลกั การสอนที่ว่าดว้ ย “บอกความม่งุ หมาย” จะนามาใช้ในขัน้ ตอนใดขณะทาการสอน ? ก. ขัน้ ตอนการกลา่ วนา ข. ขนั้ การอภปิ ราย ค. ขั้นการสรุป ง. ข้นั ตอนไหนก็ได้แล้วแตโ่ อกาส ๑๙. ขณะทาการสอนหรอื เม่ือสอนจบบทเรียนแล้ว นักเรียนถามคาถามว่า จานวนคาถามจะเป็นเครื่องบ่งชี้ถงึ เร่อื งอะไรมากท่สี ุด ? ก. บทเรยี นน้นั เป็นเรื่องทยี่ ากมาก ข. บทเรยี นนน้ั ครสู อนได้ดมี าก ค.´บทเรียนนัน้ มีความสาคัญมาก ง. นักเรียนสนใจเรยี นในวชิ านัน้ ๒๐. แบบหรือวธิ ีการสอน ท่ีใช้ในเนือ้ หา จะมีทั้งหมดกีแ่ บบ ? ก. ๒ แบบ ข. ๓ แบบ ค. ๔ แบบ ง. ๕ แบบ
วชิ าครูทหาร *ข้อใดเปน็ เหตุผล และความจาเป็นทต่ี อ้ งศกึ ษาวชิ าครทู หาร ตอบ : เพื่อเปน็ หลักในการอบรมสง่ั สอนผอู้ น่ื *การจะเป็นครูท่ดี ีและประสบความสาเรจ็ น้ัน จะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร สาคัญทส่ี ุด ตอบ : มีความรใู้ นบทเรยี นที่สอนและมีเทคนิคการสอนดี *ลกั ษณะของครูท่ดี ีประการหนึ่งคือ จะต้องมวี ิญญาณครู คาว่า “วิญญาณครู” น้นั มีความหมายตรงกับ ของใด ตอบ :มจี ิตรักการสอนและพอใจในอาชีพครู *หลกั การสอนที่วา่ ดว้ ย “บอกความมงุ่ หมาย” จะนามาใช้ในข้นั ตอนใดขณะทาการสอน ตอบ :ข้ันตอนการกล่าวนา *ข้อใดกล่าวถกู ต้องท่ีสุด เก่ยี วกับการพดู ของครู ตอบ :พูดเช่นเดียวกบั การพดู สนทนา * ผูท้ ่ีทาหนา้ ท่ีครจู าเป็นอยา่ งยง่ิ ทีจ่ ะต้องเป็นผ้ทู ี่มคี วามรใู้ นเรอื่ งท่สี อน มีเทคนคิ การสอนท่ดี ี และท่ีสาคญั คือจะตอ้ งมีศิลปะใน การพดู ท่ีดีด้วย ดังนั้น การพูดจงึ เปน็ การสร้างสัมผัสทด่ี ีระหวา่ งครูกบั นักเรยี น อยากทราบวา่ “การสร้างสมั ผัสระหว่างครกู บั นักเรียน” ตรงกบั ขอ้ ใด ตอบ :เตรียมการกล่าวนามาเปน็ อย่างดี *ในการเตรยี มการสอนบทเรยี นเร่อื งใดนัน้ สิ่งแรกทค่ี รจู ะต้องนามาพิจารณา คืออะไร ตอบ :ความมุ่งหมายของบทเรยี น *เปาู หมายหรือแนวทางซ่ึงผู้บังคบั บญั ชาได้นามาใชใ้ นการวางแผน ท่เี นน้ ผลการปฏิบัติจะเริ่มต้นและจบลงทีใ่ ด ตอบ :วตั ถปุ ระสงค์ในการฝึก * หลงั จากทาแผนการสอนเรียบรอ้ ยแลว้ ขั้นตอนต่อไปจะต้องทาอะไรก่อนทาการสอน ตอบ :ต้องมีการตรวจสอบครั้งสดุ ทา้ ย *หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผิดชอบเกีย่ วกบั เรื่องการฝกึ น้นั ผู้อานวยการฝกึ คอื ผูท้ ี่รับผิดชอบในเร่อื ง การวางแผนการฝึก , การจัด ระเบยี บการฝึก , การดาเนนิ การฝกึ และการประเมนิ ผลการฝึก สว่ นผฝู้ กึ หรือครฝู ึกมหี นา้ ทแี่ ตกตา่ งจากผู้อานวยการฝึกในเรอ่ื ง อะไร ตอบ :การเตรียมการฝึก วิชาผนู้ าทางทหาร ๑. เคร่อื งชค้ี วามเปน็ ผนู้ ามีอยู่ด้วยกนั หลายประการ อยากทราบวา่ ข้อใดไมใ่ ชเ่ ครื่องช้คี วามเป็นผ้นู า? ก. วินัย ข.กลา้ หาญ ค. ขวญั ง. สมรรถภาพ ๒. ข้อความใดมีความหมายตรงกบั คาวา่ “ความรกั หมู่คณะ” ? ก.ความจงรกั ภักดี ความภาคภูมิใจ ความศรัทราต่อหนว่ ยและบคุ คลทอี่ ยู่รว่ มกัน ข.ความจงรกั ภกั ดี ความภาคภูมใิ จ ความศรทั ราในตัวผ้นู าและหนว่ ยทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ ค.ความจงรกั ภกั ดี ความภาคภมู ใิ จ ความศรัทราต่อหน่วยทส่ี มาชิกแต่ละบคุ คลของหน่วย แสดงออกให้เห็น ง.ความจงรักภกั ดที ี่บคุ คลในหนว่ ยมีให้ซงึ่ กันและกัน
๓. “ความเปน็ ผูเ้ ชอื่ ถือได้” มีความหมายตรงกับข้อใด? ก. ได้รบั ความไวว้ างใจและความเชื่อถือจากสงั คม ข. ปฏบิ ตั หิ น้าทดี่ ้วยความถูกตอ้ ง ด้วยความซื่อสตั ย์สจุ ริต ค.การได้รบั ความไว้วางใจในการปฏบิ ัติงานตามหนา้ ท่ีได้อย่างถูกต้อง ง. ปฏิบตั ิงานตามหนา้ ที่ให้สาเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี ๔. บุคคลทส่ี ามารถปฏบิ ตั งิ านได้ทุกสภาวะและตัดใจจากสง่ิ ยัว่ ยุได้ จึงนาไปสู่ความสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดีไม่ ว่าจะอยสู่ ภาพแวดล้อมใดๆ ก็ตามบุคคลเช่นน้ีมีคุณลกั ษณะของผ้นู าเร่ืองใด ? ก.ความอดทน ข. ความเด็ดขาด ค. ความกล้าหาญ ง. ทกุ ขอ้ ท่กี ลา่ วมา ๕. ผู้นาทีไ่ ม่หาความสะดวกสบายและความก้าวหนา้ ให้กบั ตนเองจากความเดือดรอ้ นของผู้อ่ืนและ ผูใ้ ต้บังคบั บัญชาเป็นคุณลกั ษณะของผู้นาขอ้ ใด? ก. ความจงรกั ภักดี ข. ความซอื่ สตั ย์ ค. ความไมเ่ หน็ แกต่ วั ง. ความยุตธิ รรม ๖. ขอ้ ใดเปน็ อานาจหน้าทีต่ ามกฎหมายของแตล่ ะบุคคลในหน่วยทหาร ท่ีมีต่อผูใ้ ต้บงั คับบญั ชาชั้นยศ และอานาจทไี่ ดร้ บั มอบ ? ก. ผู้นา ข. ผูบ้ งั คบั บัญชา ค. การบังคับบัญชา ง. การจัดการ ๗. ขอ้ ใดเป็นรากฐานของพฤติกรรม? ก.ความต้องการบงั คบั บญั ชา ข.ความตอ้ งอันเกดิ จากการเรียน ค. ความต้องการรวมกลมุ่ ง. ถูกทุกขอ้ ๘. ผนู้ าอาศัยหลกั เกณฑ์อะไรเพือ่ เป็นเคร่ืองบง่ บอกผลการปฏิบัตงิ านของหนว่ ยวา่ จะสาเร็จหรอื ลม้ เหลว ? ก. หลกั การผนู้ า ข. คณุ ลักษณะผูน้ า ค. เครือ่ งชี้วัดความเป็นผนู้ า ง. พฤตกิ รรมมนษุ ย์ ๙. ความเจรญิ กา้ วหน้าทางด้านวิทยาการของโลก นน้ั จะเจริญก้าวหนา้ ไปอย่างไม่หยุดย้ังและมีการ พฒั นาให้เจริญยงิ่ ๆ ข้ึนไปตลอดเวลา ทา่ นจะพจิ ารณาคุณลกั ษณะของผนู้ าในเร่ืองใดจงึ จะไดช้ ื่อ วา่ เป็นผูน้ าท่ที ันสมัย? ก.ความรู้ ข. กาลเทศะ ค. ความกระตือรือรน้ ง. ความเป็นผู้เช่อื ถือได้ ๑๐. การปกครองบังคบั บัญชาอย่างตรงไปตรงและ ไม่มีอคติตอ่ ผ้บู ังคับบัญชาคนใด ด้วยความเสมอภาค การ ปฏิบัติเช่นน้ีตรงกบั คณุ ลักษณะผ้นู าเรื่องใด? ก. ความจงรกั ภักดี ข. ความกล้าหาญ ค.ความไม่เหน็ แกต่ วั ง.ความยุติธรรม
๑๑. ข้อใด ผู้นาไม่ควรนาใชม้ ากที่สุดในการจูงใจผ้ใู ตบ้ ังคับบัญชา ? ก. การใหร้ างวัลควรให้ในเวลามกี ารประชุมชแ้ี จง ข. การตาหนคิ วรตาหนิในทีป่ ระชมุ เท่าน้ัน เพื่อให้ทราบด้วยทั่วกัน ค. การให้รางวลั ควรใชเ้ ปน็ คาชมเชยมากกว่าเป็นสง่ิ ของ ง. การตาหนิควรเรียกมาตาหนิสองต่อสอง ๑๒. คาพดู ท่วี า่ “ ไม่ฆ่านอ้ ง ไมฟ่ ูองนาย ไม่ขายเพ่ือน” ไมน่ าปัญหาสว่ นตวั ของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาของตน ไปนนิ ทาให้ผอู้ ่ืนฟัง ไม่วพิ ากษว์ ิจารณ์ผบู้ ังคบั บญั ชาของตนตอ่ หนา้ ผใู้ ต้บงั คับบัญชาเปน็ คณุ ลกั ษณะ ผนู้ าเร่อื งใด? ก.กาลเทศะ ข.วจิ ารณญาณ ค.ความจงรกั ภักดี ง.การไมเ่ ห็นแกต่ ัว ๑๓.เครอื่ งช้ีความเป็นผนู้ าเป็นสง่ิ ท่ีจะช้ใี ห้เหน็ ถงึ ความสาเร็จหรือความลม้ เหลวในการเปน็ ผู้นาทางทหาร นน้ั ไดแ้ ก่อะไรบ้าง? ก.สมรรถภาพ ข.หลกั การของผ้นู า ค.คุณลกั ษณะของผู้นา ง.พฤตกิ รรมของมนุษย์ ๑๔. การปฏิบตั ิตนยึดมั่นอยูใ่ นหลกั ธรรมและรกั ษาสจั จะวาจาโดยสมา่ เสมอพูดส่ิงใดกป็ ฏบิ ัตติ ามน้นั เป็น คณุ ลักษณะของผู้นาเร่ืองใด ? ก. วจิ ารณญาณ ข. ความอดทน ค. ความยตุ ธิ รรม ง.ความซ่อื สัตย์ ๑๕. ข้อใดเปน็ องคป์ ระกอบของความเป็นผนู้ า ? ก.ตัวผูน้ า ส่งิ แวดล้อม สถานการณ์ ข.ตัวผนู้ า หนว่ ยทหาร สถานการณ์ ค. ตวั ผู้นา หน่วยทหาร ส่งิ แวดลอ้ ม ง. ตวั ผู้นา พฤติกรรม สง่ิ แวดลอ้ ม ๑๖.ถา้ กาลังพลในหน่วยงานของทา่ นมีขดี ความสามารถในการปฏิบัตงิ านตามหน้าทหี่ รือภารกจิ ท่ไี ดร้ ับ มอบอยใู่ นระดับมาตรฐานท่ีสูง แสดงว่าหนว่ ยของท่านมีสถานภาพอย่างไร? ก.มคี วามรกั หม่คู ณะ ข.มขี วญั ดี ค.มีวินยั ดี ง.มีสมรรถภาพดี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236