ส.ชน้ั ต้น ปี 2564 งา่ ย การดำรงชพี ในปา่ 1. การทดสอบพชื ทก่ี นิ ได้ กระทำได้อย่างไร ก. ชมิ คอย ข. สอบถามชาวบ้าน ค.ดจู ากสัตว์ ง. ถูกทกุ ข้อ 2. กาสรา้ งทีพ่ ักทางทหารกระทำได้ 2 วิธี คือ ก. เรง่ ด่วน , ถาวร ข. กึ่งถาวร , ถาวร ค. ก่ึงเรง่ , เรง่ ด่วน , ถาวร ง. เรง่ ดว่ น , ก่ึงถาวร 3. การทำนำ้ ให้สะอาดมีกวี่ ธิ อี ะไรบ้าง ก. 3 วิธี ตม้ , ยาฆา่ เช้อื , กรอง ข. 3 วิธี ตม้ , กลน่ั , ใส่ยาฆ่าเชอ้ื 2 ชนดิ ค. 3 วธิ ี ยาฆา่ เชื้อ , กรอง , ซ้ือตดิ ตัว ง. ผิดทกุ ข้อ เรื่อง การปรนนบิ ตั บิ ำรุงยานยนต์ ๑. การปรนนิบัตบิ ำรุงกอ่ นใช้งานกระทำเพื่ออะไร ? ก. ตรวจระบบต่างๆ ของเครื่องยนต์ ข. ดูความถูกต้องของยานพาหนะ ค. ตรวจสภาพการยดึ ตรงึ ของตวั รถ ง. ถูกทกุ ข้อ ๒. การปรนนิบัตบิ ำรงุ เปน็ หวั ใจสำคญั พลขบั จะละเลยเสียมไิ ด้ คือการ ปบ.ประเภทไหน ? ก. การ ปบ.ประจำวนั ข. การ ปบ.ประจำสปั ดาห์ ค. การ ปบ.รอบ ๓ เดอื น ง. การ ปบ. รอบ ๖ เดอื น ๓. การปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ในหนา้ ท่ีพลขบั (ข้นั ท่ี ๑) มีการ ปบ.หลกั อยู่ ๓ ข้นั คือข้อใด ? ก. ขณะหยดุ พกั ขณะใช้งานและในโรงรถ ข. กอ่ นใชง้ าน ขณะหยุดพกั และขณะใชง้ าน ค. กอ่ นใชง้ าน ขณะใชง้ านและหลงั ใช้งาน ง. กอ่ นใชง้ าน ขณะใชง้ านและในโรงรถ ๔. การปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ในหนา้ ทีพ่ ลขับ พลขับจะใชแ้ บบพิมพอ์ ะไรในการปรนนบิ ตั ิบำรุงประจำวนั ? ก. ทบ. ๔๖๘ - ๓๐๑ ข. ทบ. ๔๖๘ - ๓๑๐ ค. ทบ. ๔๘๖ - ๓๑๐ ง. ทบ. ๔๖๘ - ๐๑๓
๕. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ งแลว้ ? ก. การ ปบ.ขน้ั ๑ เป็นงานในหนา้ ที่พลขับทำกไ็ ดไ้ ม่ทำกไ็ ด้ ข. การ ปบ.ขั้น ๑ เป็นการตรวจสภาพทั่วไปเพื่อให้ทราบขอ้ บกพร่องของยุทโธปกรณ์ ค. การ ปบ.ข้นั ๑ ตอ้ งทำบ่อยๆ เพอ่ื จะได้นำไปเบิก สป. ง. ท่กี ล่าวมาแลว้ ถกู ตอ้ งทุกข้อ ๖. ผบช.มุง่ หวังในการปบ. ในหนา้ ที่พลขับ (ขั้นท่ี๑) นัน้ เพื่อประสงค์อะไร ? ก. ต้องการให้มีงานทำ ข. เพื่อต้องการเบิกสป. ค. เพอ่ื เอาไปแก้ไขข้อบกพร่อง ง. เพื่อรกั ษายทุ โธปกรณแ์ ละเพอื่ ใหม้ ีประสิทธภิ าพ ร้องขอการปรับการยิง ค.- ป. 1. เคร่ืองมอื เครื่องใช้ของผู้ตรวจการณ์ที่ใช้วัดมมุ ทางระดบั เพื่อนำมาคำนวณการย้ายยงิ เรยี กวา่ อะไร ? ก. แผน่ เรขายงิ ข. เขม็ ทิศแบบเอม็ .2 ค. กล้องสอ่ งสองตา ง. ข้อ ข.และ ค. ถกู ต้อง 2. เปา้ หมายทเ่ี หมาะสมจะทำการยงิ ด้วย ค.หรอื ป. มากกวา่ การใชอ้ าวุธชนดิ อน่ื ๆทำการยิงคอื ? ก. ปืนกล ข. คลงั ค. ทหารขดุ ดนิ ง. เปา้ หมายท่ีอยหู่ ลังเนิน 3. การกำหนดท่ตี ้งั เป้าหมายดว้ ยวิธีพิกัดตารางที่ถกู ต้องคือการบอกอะไร ? ก. มุมภาค,พิกดั ข. พิกัด,มมุ ภาค ค. พิกดั ,ระยะ ง. พกิ ัด,มมุ ภาค,ระยะ 4. ความถกู ต้องในการบอกทต่ี ง้ั เป้าหมายการยา้ ยทางข้างหรือการแก้ทางขา้ งบอกเป็นจำนวนเต็มเทา่ ไร ? ก. 1 เมตร ข. 5 เมตร ค. 10 เมตร ง. 50 เมตร 5. ความถูกต้องในการบอกทศิ ทางผ้ตู รวจการณจ์ ะต้องบอกเป็นจำนวนเต็มกี่มลิ เลียม ? ก. 5 มิลเลียม ข. 10 มิลเลียม ค. 20 มิลเลียม ง. 50 มิลเลยี ม 6. “หวั หนิ จากสวนสน” เปน็ นามเรยี กขานระหวา่ ง ผตน.กบั ศอย. เปน็ องค์ประกอบคำขอยิงว่าดว้ ยเรือ่ ง อะไร ? ก. คำส่ังเตอื น ข. นามข่ายส่ือสาร ค. การแสดงตนของผตน. ง. คำสัง่ เตรยี ม 7. ทา่ นเปน็ ผต.ตรวจพบท่ีต้ังปก.2 กระบอกวัดมุมภาคได้ 6000 มลิ เลยี มกะระยะได้2300 เมตรวัดมุมดง่ิ -13 มิลเลยี มท่อี ยู่ของทา่ นไดก้ รุยไว้ในแผ่นเรขายิงแลว้ ทา่ นตัดสินใจบอกทต่ี ้ังเปา้ หมายด้วยวธิ ใี ด ? ก. วิธพี ิกดั ตาราง ข. วิธียา้ ยจากจดุ ที่ทราบ ค. วธิ โี ปลา่ ร์ ง. วธิ ีใช้สูตรมลิ เลยี ม
8. เมื่อผตน.สง่ คำขอยงิ ไปหมดแลว้ นึกขนึ้ ไดว้ า่ ไดส้ ่งระบบผดิ จะตอ้ งใชค้ ำพูดวา่ อยา่ งไรไปยงั ศอย. ? ก. หยดุ ยิง ข. เลิกยงิ ค. ผดิ หยุด,หยุดยงิ เลิกยิง ง. ผดิ หยุดแลว้ สง่ ข้อความทีถ่ ูกไปใหม่ การเลด็ ลอดหลบหนี 1. ความมุง่ หมายของการเล็ดลอดหลบหนี เพือ่ ใหท้ ราบหลักการในข้อใด ? ก. เมอ่ื ตนเองหรอื หน่วยถูกตัดขาดจากกำลงั ส่วนใหญ่ ข. เมอ่ื ตนอยใู่ นเขตหลังของข้าศกึ ค. เมื่อตกเป็นเชลยศึก ง. ทกุ ขอ้ ที่กลา่ วมา 2. การปลอมแปลง ปดิ บัง โดยการเดินทางปะปนไปกบั พลเรือน เป็นการเลด็ ลอดหลงั แนววธิ ีใด ? ก. โดยการแทรกซึม ข. เลด็ ลอดโดยการลวง ค. ปฏบิ ัติการแบบกองโจร ง. ถกู เฉพาะขอ้ ข. และ ค. 3. การเลด็ ลอดชนดิ ใด ปฏบิ ัติตอ่ จากการหลบหนี ก. ระยะใกล้ ข. ระยะไกล ค. แทรกซึม ง. การรบแบบกองโจร 4. การตกลงใจทำการตั้งรับณท่ีมัน่ ปัจจบุ ันตอ้ งอาศัยปัจจัยอะไรบา้ ง ? ก. เวลา, ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ, ลมฟา้ อากาศ ข. สถานการณ,์ กำลงั ข้าศึก, ภารกิจ ค. กำลังฝ่ายเรา, กำลังฝ่ายขา้ ศกึ , ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ง. เวลา, ขา่ วสารเก่ียวกับขา้ ศึก, สป.ต่าง ๆ , กำลังทจ่ี ะทำการต้านทาน ณ ท่ีมั่นตั้งรบั การสนบั สนนุ ทางอากาศโดยใกล้ชิด 1.ขอ้ ใดคือความหมายของการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลช้ ดิ ก. การปฏิบตั ิท่ีลึกเข้าไปในดินแดนขา้ ศึก เปา้ หมายไมจ่ ำเป็นตอ้ งมีการควบคุม ปฏิบัตไิ ด้ตามเสรี ตามความริเริ่มของกองทัพอากาศ ข. การปฏบิ ตั ทิ างอากาศหรือการโจมตที างอากาศท่ีกระทำตอ่ เป้าหมายของ ขศ. บนผิวพื้น โดยการร้องขอจากหนว่ ยภาคพน้ื ค. การปฏบิ ัติไปตามความริเร่ิมของกำลังทางอากาศหลงั จากไดว้ างแผนรว่ มกบั หนว่ ยกำลังภาคพ้ืน ง. การปฏิบัติทางอากาศหรือการโจมตีทางอากาศที่กระทำตอ่ เป้าหมายทีล่ ึกเข้าไปในดินแดนของ ขศ. หลังจากไดว้ างแผนรว่ มกับกำลงั ทางอากาศ
2.ข้อใดไม่จัดวา่ เป็นประเภทของการสนบั สนนุ โดยใกลช้ ดิ ก. การคมุ้ กันขบวนเดินเท้า ข. การบนิ คมุ้ กนั ค. การโจมตที างอากาศ ง. การขัดขวางทางอากาศ 3.ผ้คู วบคุมอากาศยานหน้าคือใคร (FAC) ก. ผตู้ รวจการณท์ ไี่ ด้รับการฝึก ข. นายทหารอากาศ (นักบนิ ) ค. ผ้บู งั คับหนว่ ยทีผ่ า่ นการอบรม ง. ถกู ทุกข้อ 4.ในการจัดหนว่ ยควบคมุ ทางอากาศยทุ ธวิธี จะมชี ดุ ผคู้ วบคุมอากาศยานหน้า (ชผคน)ทจ่ี ัดสง่ ออกไปปฏิบัติการ รว่ มกบั หนว่ ยกำลงั ภาคพืน้ มีหน้าที่ใหค้ ำแนะนำต่อ ผบ.หน่วยนนั้ เกย่ี วกับการขอใชก้ ำลังทางอากาศและทำ หน้าท่ีสง่ คำขอไปยงั หนว่ ยเหนอื ที่มีอำนาจในการสง่ั ใช้กำลังทางอากาศ อยากทราบวา่ ชผคน.จะจัดส่งไปหนว่ ย ถึงหนว่ ยภาคพนื้ ระดบั ใด ก. กองทัพภาค ข. กองพล ค. กองกำลังผสม ง. กรมและกองพนั สะกดรอย 1. การสะกดรอยดว้ ยสายตามิใช่ของใหม่แท้จรงิ คือของเก่าทีพ่ รานปา่ ได้ปฏิบตั ิมาแล้วหรือนักเรยี นก็เคยปฏบิ ตั ิ มานกั สะกดรอยจะต้องเป็นผู้มคี วามรใู้ นเร่ืองใด ? ก. รจู้ กั การเอาใจใส่ ข. รู้จกั การสงั เกตสิ่งเล็กๆน้อยๆ ค. ร้หู ลักการตรวจการณ์ ง. ทีก่ ล่าวมาถูกทุกข้อ 2. ลักษณะการปฏบิ ัตงิ านของชุดสะกดรอยมีหลายประการเชน่ เป็นชดุ แกป้ ัญหาให้ ผบช.ปฏบิ ัตงิ านเม่ือ ผบช. ส่งั , ชุดสะกดรอยปฏบิ ตั ิงานใกลข้ า้ ศึก 100 - 200 เมตรจดุ อ่อนของนักสะกดรอยได้แก่ ? ก. ห้ามขาดการฝึกฝนเกิน 3 เดือนและตอ้ งฝึกตนเองสปั ดาหล์ ะ 2 ครง้ั ข. ห้ามขาดการฝึกฝนเกนิ 2 เดอื นและตอ้ งฝึกตนเองสัปดาหล์ ะ 2 คร้ัง ค. ห้ามขาดการฝึกฝนเกนิ 2 เดอื นและตอ้ งฝึกตนเองสปั ดาหล์ ะ 3 ครงั้ ง. ห้ามขาดการฝกึ ฝนเกิน 3 เดอื นและตอ้ งฝึกตนเองสปั ดาห์ละ 3 ครงั้ 3. คุณลกั ษณะของนักสะกดรอยที่ดปี ระกอบด้วย สายตาด,ี ปัญญาดี, ความจำดี, อดทน, แขง็ แรง เปน็ พล ลว. นำดี ประเภทการสะกดรอย 3 อยา่ ง คือ ? ก. สายตา, ดมกล่ิน. การสงั เกต ข. สายตา, จมูกดี, การสงั เกต ค. สายตา, ดมกลน่ิ , การฟงั เสียง ง. สายตา, จมูกดี, การจำดี
วิชาครทู หาร ๑. ขอ้ ใดเป็นเหตุผลและ ความจำเปน็ ท่ีต้องศึกษาวิชาครทู หาร ? ก. เพราะเป็นวชิ าท่ีเรยี นง่าย ข. เพ่อื ความก้าวหน้าทางราชการ ค. เพอ่ื เปน็ หลกั ในการอบรมส่ังสอนผู้อ่ืน ง. เพือ่ ให้มีความรูใ้ นขัน้ ตน้ ๒. การจะเป็นครทู ด่ี ีและประสบความสำเร็จนัน้ จะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร ท่สี ำคญั ทสี่ ดุ ? ก. มคี วามรกู้ วา้ งขวางทุกวิชาและมีประสบการณ์ในสนามมาก ข. มคี วามรใู้ นบทเรียนท่สี อนและมเี ทคนคิ การสอนดี ค. สอนแบบเดิมๆที่เคยสอนอยู่ ง. ควรมยี ศและตำแหน่งสงู กว่าผู้เรยี น ๓. ครูทุกคนสามารถปรบั ปรุงการสอนของตนเองได้ วธิ ีการปรับปรงุ ตัวครปู ระการหนง่ึ คือ ก. การทำแผนการสอนทุกคร้ังทเ่ี ข้าสอน ข. สงั เกตการสอนของผอู้ นื่ ค. ปรบั ปรงุ เอกสารตำราให้ทันสมยั อยูเ่ สมอ ง. ปรับปรงุ อุปกรณ์การสอนให้ทนั สมยั อย่เู สมอ ๔. ลกั ษณะของครทู ดี่ ีประการหนงึ่ คือ จะต้องมีวญิ ญาณครู คำว่า “วิญญาณครู”นัน้ มีความหมายตรงกับข้อใด ก. มีบคุ ลิกลักษณะเหมาะสมท่จี ะเปน็ ครู ข. มีความสามารถในการสอนเปน็ อย่างดี ค. มีจติ ใจรกั การสอนและพอใจในอาชีพครู ง. เป็นผ้คู งแก่เรยี น ๕. หลังจากการสอนของครจู บไปแลว้ ถ้านักเรยี นยงั ไมเ่ กดิ การเรยี นรตู้ ามวตั ถุประสงค์ท่ีตง้ั ไว้ สง่ิ ที่ครูจะ ต้องพิจารณาแกไ้ ขเป็นประการแรก คือ ? ก. เทคนิคหรือวิธีการสอนของครู ข. สภาพแวดล้อมของการเรยี นการสอน ค. ความสนใจและตง้ั ใจเรยี นของนักเรยี น ง. อุปกรณเ์ ครือ่ งชว่ ยฝกึ ในการเรยี นการสอน ๖. การปรับปรงุ ตัวครูโดยวิธสี งั เกตการสอนของครูผู้อ่ืนนนั้ เปน็ การเน้นจะใหม้ กี ารพัฒนาในเร่ืองใด ? ก. เนน้ เรื่องใหม้ ีความรดู้ ี ข. เน้นเร่อื งความเปน็ ผู้นำ ค. เน้นเร่อื งการควบคุมห้องเรียน ง. เนน้ เร่ืองให้มีเทคนิคการสอนดี ๗. การจัดการสอนและการดำเนินการสอน จะแบ่งออกเป็นกส่ี ว่ น ? ก. ๒ ส่วน ข. ๓ สว่ น ค. ๔ สว่ น ง. ๕ สว่ น ๘. แบบหรือวธิ ีสอน ท่ีใชใ้ นทางราชการทหาร จะมที ้งั หมดกีแ่ บบ ? ก. ๒ แบบ ข. ๓ แบบ ค. ๔ แบบ ง. ๕ แบบ ๙. หลักการสอนที่วา่ ดว้ ย “บอกความมุง่ หมาย” จะนำมาใชใ้ นข้ันตอนใดขณะทำการสอน ? ก. ข้นั การกล่าวนำ ข. ขน้ั การอภปิ ราย ค. ขน้ั การสรุป ง. ข้ันตอนไหนก็ได้แล้วแตโ่ อกาส
คุณลักษณะยานยนตท์ หาร ๑. คำว่า “ รถบรรทกุ ” ทางทหารหมายความว่าอะไร ก. รถทใี่ ช้ล้อสำหรบั เคลือ่ นย้ายคน ข. รถทีใ่ ช้ล้อสำหรับเคล่อื นยา้ ย คน,สตั ว์,สงิ่ ของ ค. รถท่ีใช้ลอ้ สำหรบั เคล่อื นย้ายคน,อาวุธ,กระสุนและเคร่ืองมือเครื่องใช้ ง. รถท่ใี ชล้ อ้ หรือสายพานสำหรับบรรทุกคน และส่งิ ของทางทหาร ๒. ขอ้ ใดคือความหมายของคำวา่ “น้ำหนกั รถ” ก. นำ้ หนกั สมั ภาระหรอื ผโู้ ดยสาร รวมทัง้ เจา้ หนา้ ทป่ี ระจำรถ ข. นำ้ หนักทงั้ หมดของรถที่ติดตงั้ อุปกรณพ์ ร้อมดว้ ยเติมน้ำมนั เชอ้ื เพลงิ เรยี บรอ้ ย แต่ไม่มีพลประจำรถ ค. นำ้ หนักทัง้ หมดของรถทต่ี ิดตง้ั อปุ กรณพ์ ร้อมเติมน้ำมันเช้อื เพลิงเรียบร้อย รวมท้ังพลประจำรถ ง. น้ำหนกั ของรถทัง้ หมดที่ตดิ ตงั้ อปุ กรณ์และสามารถปฏบิ ัตกิ ารได้ รวมท้งั พลประจำรถ และนำ้ หนัก สัมภาระ ๓. ขอ้ ใดคอื ความหมายของ “ รถพว่ ง ” ? ก. รถยนตท์ อ่ี อกแบบให้มีกำลงั มากๆเพ่ือจะได้ลากจูงได้ ข. รถยนตท์ ่ีออกแบบไว้ลากจูงได้โดยมีหว่ งสำหรบั เกาะ ค. รถยนต์ที่ออกแบบไว้สำหรบั ลากจูงได้ทุกสภาพถนนโดยมีหว่ งสำหรบั เกาะ ง. รถท่อี อกแบบไวส้ ำหรบั ลากจูงโดยมคี าน และห่วงสำหรบั เกาะ ๔. ขอ้ ความ “ ทล่ี าดชนั ที่สดุ ซ่ึงยานยนตต์ ดิ ต้ังยุทโธปกรณ์รบและบรรทกุ น้ำหนกั เต็มที่ สามารถ แลน่ ขา้ มลาดได้ด้วยความเรว็ ทส่ี ม่ำเสมอ โดยใชเ้ กยี ร์ตามท่ีกำหนด ” เป็นความหมายของอะไร ? ก. มมุ ขึน้ ลาด ข. ระยะสงู พ้นพนื้ ค. มุมลงลาด ง. ความสามารถในการไต่ลาด ๕. รยบ. ๑/๔ ตนั ๔x๔ เอม็ ๑๕๑ เอ.๑ อยากทราบว่า ๔x๔ หมายความว่าอย่างไร ? ก. รถทม่ี ี ๔ ลอ้ เคลือ่ นที่ได้ท้งั ๔ ล้อ ข. รถท่ีมี ๔ ล้อ มีกำลังขบั เคล่อื น ๔ ลอ้ ค. รถทม่ี ี ๔ ลอ้ ลากจูงรถพว่ งทมี่ ลี ้อ ๔ ล้อ ง. รถท่ีมี ๔ ลอ้ บรรทกุ กำลงั พลได้ ๔ คน ๖. ข้อใดตอ่ ไปน้ีคือ “ ระยะสงู พ้นพื้น ” ของรถ ? ก. ระยะระหวา่ งระดบั พ้ืนดินกบั จุดทีต่ ่ำท่ีสุดใตท้ ้องรถ ข. ระยะระหวา่ งระดับพื้นดินกับพนื้ ใต้ท้องรถ ค. ระยะระหว่างระดับพื้นดินกบั ความสงู ของล้อรถ ง. ระยะระหวา่ งระดบั พนื้ ดินกบั ความสงู ของตัวรถ
๗. นำ้ หนักท้งั หมดของรถท่ีติดตง้ั ยุทโธปกรณ์พร้อมด้วยเตมิ น้ำมนั เช้ือเพลิง นำ้ น้ำมนั หล่อลืน่ แต่ไม่มีพล ประจำรถคือความหมายของคำว่าอะไร ? ก. น้ำหนักรถ ข. น้ำหนกั สัมภาระ ค. นำ้ หนกั บรรทกุ ในภมู ปิ ระเทศ ง. นำ้ หนกั ทัง้ หมด วิชาผูน้ ำทางทหาร ๑. บคุ คลท่ีสามารถปฏิบัติงานได้ทกุ สภาวะและตัดใจจากสิ่งย่วั ยุได้ จงึ นำไปสู่ความสำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี ไม่ว่าจะอยู่สภาพแวดล้อมใดๆ กต็ าม บุคคลเช่นนี้มคี ุณลักษณะของผูน้ ำเร่ืองใด ? ก. ความอดทน ข. ความเด็ดขาด ค. ความกล้าหาญ ง. ความเชื่อถือได้ ๒. สิ่งชี้สอบความเป็นผู้นำมีอยู่ด้วยกนั หลายประการ อยากทราบว่าข้อใดไม่ใชเ่ ครือ่ งช้ีความเปน็ ผู้นำ ? ก. วนิ ยั ข. กล้าหาญ ค. ขวญั ง. ความรคู้ วามชำนาญ ๓. “ความเป็นผเู้ ชอ่ื ถือได้” มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ไดร้ ับความไวว้ างใจและความเชือ่ ถือจากสงั คม ข. ปฏบิ ตั ิหนา้ ทดี่ ้วยความถูกต้อง ดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ จุ ริต ค. การไดร้ ับความไว้วางใจในการปฏิบัตงิ านตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง ง. ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีใหส้ ำเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี ๔. “ ความจงรักภักดี” มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. การแสดงออกถงึ ความสนใจและมีใจจดจ่อตอ่ การปฏบิ ัติงาน ข. เป็นคณุ สมบัติของความซ่อื สัตย์ที่มตี ่อประเทศชาติ กองทัพบก หนว่ ยของตน ผู้อาวโุ ส ผใู้ ตบ้ งั คบั บัญชา มติ รสหาย ค. เปน็ ผ้มู อี ุปนิสัยซ่ือตรงและตง้ั ม่นั อยูใ่ นหลกั ธรรมต่างๆ และมีความซื่อสตั ย์อย่างแทจ้ รงิ ง. เป็นผูท้ ม่ี คี วามรัก เพื่อน มิตรสหาย อยา่ งจรงิ ใจ
๕. ผู้นำทไี่ ม่หาความสะดวกสบายและความกา้ วหนา้ ใหก้ บั ตนเองจากความเดือดรอ้ นของผูอ้ ื่นและ ผู้ใตบ้ ังคบั บัญชาเปน็ คุณลกั ษณะของผูน้ ำข้อใด ? ก. ความจงรกั ภกั ดี ข. ความซื่อสัตย์ ค. ความไมเ่ หน็ แก่ตัว ง. ความอดทน ๖. สงิ่ ทีแ่ รก ทีต่ อ้ งทำ เม่ือสงั่ การใหก้ บั ผู้ใต้บงั คบั บัญชาไปแล้ว คืออะไร ? ก. การประเมนิ ความสามารถในการปฏิบตั งิ าน ข. การกำกับดแู ลท่ีเหมาะสม ค. การวางแผนอย่างรดั กุม ง. การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ทีร่ วดเรว็ ๗. ความเป็นผู้นำทางทหารเป็นทัง้ ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ ที่จะจูงใจและอำนวยการใหท้ หารปฏิบัตภิ ารกิจสำเรจ็ โดยใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาตอบสนองอยา่ งไร ? ก. เอาอกเอาใจเรา ข. ประจบสอพลอและเอาของกำนลั มาให้ ค. เชอื่ ฟัง นบั ถือและร่วมมืออยา่ งจริงใจ ง. ปฏบิ ัติงานตามคำส่ัง ๘. ข้อใดเป็นอำนาจหนา้ ท่ีตามกฎหมาย ของแต่ละบุคคลในหนว่ ยทหาร ที่มตี อ่ ผู้ใต้บังคับบญั ชา ช้ันยศ และอำนาจทไี่ ด้รบั มอบ ? ก. ผนู้ ำ ข. ผูบ้ งั คบั บัญชา ค. การบังคับบญั ชา ง. การจัดการ วิชาแผนที่ 1. แผนที่มาตราสว่ น 1:50,000 ซึ่งเปน็ แผนที่มาตรฐาน จดั อยู่ในกลมุ่ แผนที่มาตราสว่ นใด ? ก. เลก็ ข. กลาง ค. ใหญ่ ง. ย่อย 2. ถ้าจะตอ่ แผนท่ี ท่ีอยทู่ างด้านข้างของระวางทีเ่ รามีอยู่ จะตอ้ งดทู ่ีอะไรของขอบระวางจงึ จะทราบว่าเราจะไป นำแผนที่ระวางไหนมาต่อ ? ก. ชอ่ื ระวาง ข. ชือ่ ชดุ และมาตราส่วน ค. หมายเลขระวาง ง. หมายเลขลำดับชุด 3. ข้อใดไม่ใช่สีที่ใช้เขยี นสัญลักษณบ์ นแผนที่ ? ก. สฟี า้ ข. สเี หลอื ง ค. สเี ขียว ง. สนี ำ้ ตาลแดง
4. จะปรากฏอยู่ท่ีก่งึ กลางขอบระวางดา้ นบนและด้านล่างทางซ้าย ปกติใช้ช่ือภมู ิประเทศเดน่ ทางภูมิศาสตร์ หรอื ชื่อทางธรรมชาติ หรือใช้ช่ือเมืองท่ีใหญ่ เป็นความหมายของคำวา่ อะไร ? ก. ชอื่ ชดุ ข. ชือ่ มาตราสว่ น ค. ชอื่ ระวาง ง. หมายเลขลำดับชดุ ๕. สญั ลักษณข์ นาดหน่วย คือขนาดหนว่ ยใด ก. กองพนั ข. หมู่ ค. ตอน ง. หมวด 6. การอ้างกรดิ ทางทหาร (การอา่ นพิกัดบนแผนท่ี) ทถี่ ูกต้องด้วยตาเปล่า ข้อใดถูกต้อง ? ก. อา่ นพกิ ัดใกลเ้ คียง 1,000 ม. และเลขพกิ ัด 4 ตวั ข. อ่านพกิ ัดใกลเ้ คยี ง 100 ม. และเลขพิกดั 6 ตัว ค. อา่ นพกิ ัดใกลเ้ คยี ง 10 ม. และเลขพกิ ัด 8 ตวั ง. ถูกทง้ั ก – ข ๗. การพจิ ารณาภมู ปิ ระเทศสำคญั บนแผนที่ จะต้องพจิ ารณาภูมปิ ระเทศหลกั กอ่ี ย่าง ? ก. 3 อยา่ ง ข. 4 อย่าง ค. 5 อยา่ ง ง. 8 อยา่ ง ๘. แผนท่มี าตราส่วน 1:50,000 หมายความว่า ? ก. ระยะบนแผนท่ี 1 ส่วนเทา่ กบั ระยะภมู ิประเทศ 50,000 สว่ น ข. ระยะบนแผนท่ี 1 ซม. เท่ากบั ระยะภมู ปิ ระเทศ 50,000 ซม. ค. ระยะบนแผนท่ี ๑กม. เท่ากับ ระยะภมู ิประเทศ 50,000 กม. ง. ถูกทุกขอ้ ๙. เส้นช้นั ความสงู ท่ีแสดงบนแผนทีม่ ี 5 ประเภท ข้อใดไมใ่ ช่ ? ก. เสน้ ชน้ั ความสูงรอง ข. เสน้ ช้ันความสูงหลกั ค. เส้นชัน้ ความสงู พอประมาณ ง. เส้นช้ันความสงู ดเี พรสช่ัน ขอ้ สอบวิชา ฝา่ ยอำนวยการ ๑. ระเบยี บการนำหนว่ ยคือ กรรมวธิ ีที่ผู้บังคบั หนว่ ยใชใ้ นการเตรยี มหนว่ ยเพอื่ ปฏิบัติให้บรรลุภารกิจทาง ยุทธวิธี เรม่ิ ต้นเมอ่ื ไดร้ ับการแจง้ เตือนให้เตรยี มการปฏิบตั ิภารกิจและเรมิ่ ตน้ ใหม่อีกครงั้ เมอื่ ได้รบั คำส่งั ให้ปฏิบตั ิ ภารกิจ ใหม่ มี ๘ ขัน้ ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. ข้นั ท่ี ๑ รับภารกจิ ข. ขน้ั ท่ี ๒ จดั ทำแผนข้ันต้น ค. ขนั้ ที่ ๖ จดั ทำแผนสมบูรณ์ ง. ขนั้ ที่ ๗ ออกคำสง่ั
๒. ระเบียบการนำหนว่ ย ๘ ข้นั อยากทราบว่าขน้ั ใดไมต่ ้องเรียงลำดับ ก. ข้ันที่ ๓ – ๘ ข. ข้ันที่ ๔ – ๘ ค. ข้ันที่ ๕ – ๘ ง. ขัน้ ที่ ๑ – ๘ ๓. ระเบยี บการนำหนว่ ย ขั้นท่ี ๑ รบั ภารกจิ คำวา่ “ภารกิจหรอื งาน” มี ๒ รูปแบบ คือ แบบแรกผู้บังคบั หนว่ ย คดิ เอง และ แบบทสี่ องจากหนว่ ยเหนือหรือผู้บังคบั บัญชามอบให้ ข้อใดคอื ภารกิจหรืองานท่หี น่วยเหนือ มอบให้ ก. คำส่ังเตอื น ข. คำสงั่ ยทุ ธการ ค. คำส่ังเป็นส่วนๆ ง. ถกู ทกุ ข้อ ๔. ข้อใดใหค้ วามหมายของคำว่า “กิจเฉพาะ” ไดถ้ ูกตอ้ ง ก. ภารกิจ/งาน ท่ี ผบ.หน่วยคดิ ขึน้ เอง ข. ภารกิจ/งาน ที่ ผบ.หนว่ ยทำแลว้ ทำให้งานท่หี น่วยเหนือมอบให้สำเรจ็ ค. ภารกิจ/งาน ท่หี นว่ ยเหนือมอบให้ ง. ภารกจิ /งาน ทผ่ี บ.หน่วยรองมอบให้ ๕.ขอ้ ใดใหค้ วามหมายของคำวา่ “กิจแฝง”ได้ถูกต้อง ก. ภารกิจ/งาน ที่ ผบ.หนว่ ยคิดขึ้นเอง ข. ภารกิจ/งาน ที่ ผบ.หน่วยทำแล้วทำให้งานทหี่ น่วยเหนือมอบใหส้ ำเรจ็ ค. ภารกิจ/งาน ทห่ี น่วยเหนือมอบให้ ง. ภารกิจ/งาน ท่ผี บ.หน่วยรองมอบให้ ๖. เม่อื ท่านไดร้ บั คำสง่ั จากผู้บงั คับบัญชาให้ปฏบิ ัตภิ ารกิจการรบ ในฐานะท่ีท่านเป็นผบู้ ังคับหนว่ ยใชร้ ะเบยี บ การ นำหน่วยเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตภิ ารกิจ อยากทราบว่าข้ันที่ ๑ รับภารกจิ ใช้ปัจจัยมูลฐานอะไรในการ วิเคราะหภ์ ารกจิ ก. OCOKA ข. ACOKO ค. METT-TC ง. WHO WHAT WHEN WHERE WHY ๗. เม่ือ ผบ.มว.ปล.ได้รับคำสั่งยุทธการเข้าตีดว้ ยวาจา ผบ.ร้อย เสร็จเรยี บร้อยแลว้ ผบ.มว.ปล.จะตอ้ งวาง แผนการ ใชเ้ วลาอย่างไร ข้อใดกลา่ วถูกต้อง ก. ผบ.มว.ปล.ใชเ้ วลา ๑ ใน ๓ เวลา ๑ ใน ๓ ทเ่ี หลอื จะเปน็ เวลาของ ผบ.หนว่ ยรอง ข. ผบ.มว,ปล.ใชเ้ วลา ๑ ใน ๓ เวลา ๒ ใน ๓ ทเ่ี หลือจะเป็นเวลาของ ผบ.หนว่ ยรอง ค. ผบ.มว.ปล. ใชเ้ วลา ๑ ใน ๓ เวลา ๑ ใน ๒ ที่เหลอื จะเปน็ เวลาของ ผบ.หนว่ ยรอง ง. ผบ.มว.ปล.ใช้เวลา ๒ ใน ๓ เวลา ๑ ใน ๓ ทีเ่ หลือจะเป็นเวลาของ ผบ.หน่วยรอง
๘. “เวลาและสถานท่ีทจ่ี ะออกคำส่งั ยุทธการ” เปน็ ส่ิงที่ขาดไม่ได้ในการปฏบิ ัตติ ามระเบียบการนำหนว่ ย อยากทราบวา่ ข้อความดังกลา่ วจะปรากฏขึน้ ในระเบียบการนำหนว่ ย ข้นั ใด ก. ข้ันท่ี ๑ ข. ข้นั ท่ี ๒ ค. ขัน้ ที่ ๓ ง. ขน้ั ท่ี ๗ วชิ า พลแมน่ ปนื 1. ท่ายงิ ทม่ี น่ั คงที่สดุ คอื ท่าใด ? ก. ทา่ นอนยิง ข. ท่ายนื ยิง ค. ทา่ น่ังสงู ยงิ ง. ไดท้ กุ ทา่ 2. ศนู ย์ “ L ” ใชย้ ิงระยะเท่าใด ? ก. เกนิ กว่า 300 เมตร ข. ต่ำกวา่ 300 เมตร ค. 0 – 200 เมตร ง. 0 – 100 เมตร 3. การหมุนศูนย์หน้าทวนเข็มนาฬิกา จะทำใหร้ อยกระสุนถูกสูงขน้ึ หรอื ต่ำลง ? ก. สูงขึ้น ข. ไม่มีผล ค. ออกขวา ง. ตำ่ ลง 4. วิธแี กอ้ าการส่ายของปนื ขณะท่ีทำทา่ ยิงและเลง็ อย่นู นั้ จะต้องแก้อยา่ งใด ? ก. การเลง็ ข. การกะระยะ ค. การมอง ง. ท่ายิงและการควบคุมไก 5. หนึ่งคลิกของควงมุมสูงและควงมมุ ทศิ ของปืนเล็กยาว เอ็ม.16 ในระยะ 25 เมตร จะเล่อื นรอยกระสนุ ถกู ก่ี ซม.? ก. 0.7 ซม. ข. 2.4 ซม. ค. 2.8 ซม. ง. 3 ซม. 6. ท่ายงิ พ้นื ฐานในการฝกึ พลแม่นปืนมกี ่ีทา่ ก. 5 ท่า ข. 4 ท่า ค. 3 ทา่ ง. 2 ท่า 7. ในเรื่องของหลักพื้นฐานการยิงปืน 4 ประการ “ท่ายิงทมี่ ่ันคง” ในการวางศอกข้างท่ีไม่ถนัด ต้องวางใน ตำแหนง่ ใด ข้อใดกลา่ วถูกต้องท่สี ุด? ก. วางไวใ้ ต้ตวั ปืน ข. วางไว้ขา้ งตัวปืน ค. วางไว้ในตำแหนง่ ที่ถนัด ง. ไม่มีขอ้ ถูก
แผนกวชิ ายุทธวิธี ๑. ความมุ่งหมายหลกั ของการรบดว้ ยวิธีรุก คือขอ้ ใด ? ก. เพ่อื ยึดรกั ษาภูมปิ ระเทศสำคัญ ข. เขา้ ประชิดและตรึงกำลงั ข้าศึกไว้ ค. ทำลายกำลงั รบของขา้ ศึก ง. เพอื่ ลวงและหนั เหการปฏิบตั ขิ องขา้ ศกึ ๒. ขอ้ ความที่กลา่ วส้ัน ๆ ว่า “ คน้ –ตรึง–สูร้ บ–ตดิ ตาม และ ทำลาย ” เปน็ หลักการทางยุทธวธิ ขี อ้ ใด ก. ความม่งุ หมายของการรบดว้ ยวธิ รี ุก ข. หลกั นยิ มในการรบด้วยวิธรี ุก ค. หลกั พื้นฐานของการรบด้วยวธิ ีรกุ ง. แบบของการดำเนินกลยุทธ์ ๓. ผลสำเร็จของการรบด้วยวธิ รี ุก คือขอ้ ใด ? ก. เปน็ การรบผสมเหลา่ ข. มีการจู่โจม และอ่อนตัว ค. มีความออ่ นตวั ง. สามารถยดึ ท่หี มาย และทำการรบแตกหัก ๔. หลกั พน้ื ฐานทางยุทธวธิ ขี องการรบด้วยวิธีรกุ ผบ.หน่วย ไดค้ ิดและดัดแปลงมาจาก ? ก. หลกั การสงคราม ข. หลักนยิ มการรบทางยุทธวธิ ี ค. หลกั การรบด้วยวธิ รี กุ ง. ถกู ทุกข้อทีก่ ล่าวมา ๕. หลกั พ้นื ฐานทางยทุ ธวิธขี องการรบดว้ ยวธิ รี ุก เป็นการปฏบิ ตั กิ ารทีจ่ ำเปน็ เพ่ือทราบเกี่ยวกบั กำลงั ทีต่ งั้ การประกอบกำลงั และ การวางกำลงั ของข้าศึก คอื ขอ้ ใด ? ก. คล่คี ลายสถานการณ์ ข. ใหไ้ ด้เปรยี บและดำรงการเกาะ ค. ยดึ และควบคุมภมู ิประเทศสำคญั ง. ครองความเป็นฝา่ ยรเิ ร่มิ ๖. ลกั ษณะของการเข้าตี แบ่งออกได้ก่ลี กั ษณะอะไรบ้าง ? ก. ๒ ลักษณะ คอื เข้าตีเรง่ รบี และ เข้าตเี ร่งดว่ น ข. ๒ ลักษณะ คือ เข้าตเี ร่งรีบ และ เข้าตีประณีต ค. ๓ ลกั ษณะ คือ เขา้ ตปี ระสาน , เคลือ่ นทีเ่ ข้าปะทะ และ เขา้ ตีประณีต ง. ๓ ลกั ษณะ คือ เข้าตเี ร่งรีบ , เคลอ่ื นท่เี ข้าปะทะ และ ไลต่ ิดตาม
๗. แบบของการดำเนนิ กลยทุ ธ์ ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง ? ก. เคลื่อนทีเ่ ขา้ ปะทะ , การเขา้ ตี , การขยายผล และ การไลต่ ดิ ตาม ข. ตตี รงหนา้ , เจาะ , โอบ , ตลบ และ แทรกซมึ ค. ตีตรงหน้า , เจาะ , โอบลอ้ ม , โอบ ๒ ปีก และ แทรกซึม ง. ถกู ทุกข้อ ๘. แบบของการดำเนินกลยุทธ์ แบบใดท่ีมีความเหมาะสมน้อยท่สี ดุ ? ก. ตีโอบ ข. ตีตรงหนา้ ค. ตเี จาะ ง. ตตี ลบ ๙. ชนดิ ของการรบด้วยวธิ ีรกุ มีกีช่ นดิ อะไรบา้ ง ? ก. ๔ ชนดิ คอื การเคล่ือนทีเ่ ขา้ ปะทะ ,การเข้าตี ,การขยายผล และ การไลต่ ิดตาม ข. ๔ ชนิด คอื การเคลอ่ื นที่เข้าปะทะ , การเข้าตเี ร่งด่วน ,การเขา้ ตีประณีต และการไล่ติดตาม ค. ๓ ชนิด คอื การเคลือ่ นท่เี ขา้ ปะทะ , การเข้าตีประสาน และการขยายผล ง. ๓ ชนิด คอื การเคลื่อนทเ่ี ขา้ ปะทะ , การเขา้ ตี และ การเสรมิ ความมนั่ คง ณ ที่หมาย ๑๐. วธิ ีการเคลื่อนที่ หรือเทคนิคการเคล่อื นท่ีแบบใดท่เี หมาะสมที่สุดในโอกาสที่ปะทะกบั ข้าศึก ? ก. การเคลื่อนทท่ี างยุทธวธิ ี ข. การเดินทาง ค. การเดินทางเฝา้ ตรวจ ง. การเดนิ ทางเฝ้าตรวจสลบั ๑๑. วธิ กี ารเดนิ ทางเฝา้ ตรวจสลับ ในระหวา่ งท่ีชดุ ยงิ ก.หยดุ การเคลื่อนทเี่ ฝา้ ตรวจชดุ ยิง ข. เคลือ่ นท่ไี ป ข้างหน้า ปกตจิ ะเคลื่อนทล่ี ้ำไปขา้ งหนา้ ระยะประมาณเทา่ ใด ? ก. ไม่เกิน ๑๕๐ เมตร ข. ๒๐๐ เมตร ค. ๒๕๐ เมตร ง. ๓๐๐ เมตร ๑๒. ภารกจิ ของ มว.ปล.ในการเขา้ ตี คือข้อใด ? ก. เขา้ ประชิดขา้ ศึก ทำลายขา้ ศึก หรือจบั ขา้ ศกึ เป็นเชลย ข. ยบั ยัง้ ขา้ ศกึ ด้วยการยิง ค. ผลกั ดันข้าศกึ ดว้ ยการรบประชิด ง. ไม่มีขอ้ ใดถกู ก
๑๓. การจดั กำลงั ในการเข้าตีประกอบดว้ ย ๓ สว่ น คอื ส่วนอะไรบ้าง ? ก. ส่วนบังคบั บญั ชา , สว่ นดำเนนิ กลยุทธ์ , ส่วนกองหนุน ข. สว่ นบังคบั บัญชา , ส่วนดำเนินกลยุทธ์ , ส่วนยิงสนบั สนุน ค. สว่ นระวงั ป้องกนั , สว่ นดำเนินกลยุทธ์ , ส่วนยงิ สนบั สนุน ง. สว่ นบังคบั บญั ชา , ส่วนเขา้ ตีหลัก , ส่วนเข้าตสี นบั สนนุ ๑๔. หมู่ ปก.เอ็ม.๖๐ , คจตถ.ในอัตราของ มว.ปล.ใครเป็นผสู้ ั่งใชโ้ ดยตรง ? ก. ผบ.หมู่ ปล. ข. ผบ.มว.ค.๖๐ ค. ผบ.มว.ปล. ง. ผบ.รอ้ ย. ๑๕. แผนการเข้าตี ประกอบดว้ ย แผนใดบา้ ง ? ก. แผนการบงั คับบญั ชา ข. แผนการดำเนนิ กลยทุ ธ์ ค. แผนการยงิ สนบั สนนุ ง. ถกู เฉพาะขอ้ ข. และ ค. ๑๖. แผนการดำเนนิ กลยุทธ์ คือ แผนการใช้ หมู่ ปล.ตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นส่วนดำเนนิ กลยุทธ์ แผนนจี้ ะต้อง ประกอบดว้ ยส่งิ ใดบา้ ง ? ก. เส้นทาง , รปู ขบวน , การเขา้ ตะลุมบอน , การเสรมิ ความมน่ั คง , การควบคุม ข. เสน้ ทาง , รูปขบวน , การเขา้ ตะลมุ บอน , การใช้ระหว่างเคลอ่ื นที่ , การควบคุม ค. การเคลือ่ นท่ี , การผ่านแนว , การปะทะขา้ ศึก , การปะทะขา้ ศึก , การเข้าตะลุมบอน ง. การใชใ้ นข้ันตน้ , การใชร้ ะหว่างเคล่ือนที่ , การเข้าตะลุมบอน , การควบคุม ๑๗. พื้นท่ีทเี่ หมาะสมใช้เป็นทรี่ วมพล ควรมีลักษณะอยา่ งไร ? ก. มีการกำบังและซ่อนพราง ข. พืน้ ท่ีกว้างขวางกระจายกำลังได้ ค. พ้นจากระยะยิงของ ป.และ ค. ง. ถูกทุกข้อ ๑๘. ในทีร่ วมพล ต้องเตรยี มการปฏบิ ตั ิในเรื่องใดบ้าง ? ก. การจดั กำลังรบ ข. การซ่อมบำรุง ค. การส่งกำลงั ง. ถูกทกุ ข้อ
๑๙. “ ที่ตงั้ ซ่งึ มีการกำบงั และซอ่ นพรางแห่งสดุ ทา้ ยใกล้แนวออกตี ซึ่งหมวดจะวางกำลังในรปู ขบวนเข้าตี และประสานการปฏบิ ัตคิ รัง้ สดุ ทา้ ยก่อนผ่านแนวออกตี มว.ปล.จะตดิ ดาบปลายปนื ณ พืน้ ท่ีน้ี ” หมายถงึ ขอ้ ใด ? ก. ทรี่ วมพล ข. แนวออกตี ค. ฐานออกตี ง. ทหี่ มาย ๒๐. แนวออกตี คือ แนวซ่งึ ประสานการเรม่ิ ตน้ ในการเข้าตี ซึ่งอยหู่ า่ งจากท่รี วมพลระยะประมาณเท่าใด ? ก. ๔ กม.หรือ เดินประมาณ ๑ ชม. ข. ๔ – ๖ กม.หรือ เดินประมาณ ๒ ชม. ค. ๓ – ๔ ไมล์ หรอื เดนิ ประมาณ ๓ ชม. ง. ๕ – ๖ ไมล์ หรอื เดนิ ประมาณ ๔ ชม. ๒๑. แนวปะสานการปฏบิ ตั ขิ นั้ สุดทา้ ย ใช้ในการปรบั รปู ขบวน เล่ือนหรือย้ายการยงิ สนบั สนนุ แนวนี้จะ อยูห่ า่ งจากท่หี มายประมาณเทา่ ใด ? ก. ๕๐ – ๑๐๐ เมตร ข. ๑๐๐ – ๑๕๐ เมตร ค. ๑๐๐ – ๒๐๐ เมตร ง. ๒๐๐ – ๓๐๐ เมตร ๒๒. ลักษณะท่ีหมายของ มว.ปล.ซง่ึ ผบ.ร้อย.กำหนดให้ ควรมีลักษณะใด ? ก. สังเกตเหน็ ง่ายในภูมิประเทศ ข. ตอ้ งบรรลุความสำเร็จรว่ มกนั ค. เมื่อยดึ ไดต้ ้องควบคุมได้ ง. ถูกทกุ ข้อ ๒๓. การเสรมิ ความมั่นคง ณ ท่ีหมายและจัดระเบยี บใหม่ ตอ้ งทำทนั ทีทยี่ ึดที่หมายได้ การจดั วางกำลัง มอบเขตการยงิ ดดั แปลงภูมิประเทศ ป้องกันการตีโตต้ อบจากขา้ ศึก โดยใชห้ ลกั การอะไร ? ก. หลักการเข้าตี ข. หลกั การตั้งรับ ค. หลักการร่นถอย ง. หลักการรบหน่วงเวลา ๒๔. ภารกจิ ของหมู่ปืนกลในการเข้าตี คืออะไร ? ก. สนับสนุน มว.ปล.อย่างใกลช้ ิด ข. ผลกั ดันขา้ ศึก ค. ยบั ยง้ั ข้าศึก ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู
๒๕. ลักษณะท่ีตง้ั ยงิ ของปืนกล ควรมลี กั ษณะอยา่ งไร ? ก. ตรวจการณ์เหน็ เปา้ หมาย ข. มพี ื้นการยิงดี ค. มกี ารกำบงั และซอ่ นพราง ง. ถูกทกุ ข้อ ๒๖. การเขา้ ตใี นเวลากลางคนื ของ มว.ปล. กระทำเพอื่ สิ่งใด ? ก. ชิงความไดเ้ ปรียบ ข. ขยายผลแหง่ ความสำเรจ็ ค. หลีกเลย่ี งการสูญเสีย ง. ถกู ทกุ ข้อ ๒๗. จดุ แยกหมวด ในการเขา้ ตเี วลากลางคนื ใครเปน็ ผกู้ ำหนด ? ก. ผบ.พนั . ข. ผบ.รอ้ ย. ค. ผบ.มว. ง. ผบ.หมู่ ๒๘. แนวปรบั รูปขบวน ผบ.รอ้ ย.เปน็ ผูก้ ำหนด อย่หู า่ งจากทหี่ มายประมาณเท่าใด ? ก. ๑๐๐ – ๒๐๐ เมตร ข. ๑๕๐ – ๒๐๐ เมตร ค. ๑๐๐ – ๑๕๐ เมตร ง. ๒๐๐ – ๓๐๐ เมตร ๒๙. การติดต่อสอ่ื สารในการเขา้ ตีเวลากลางคืน จะใชก้ ารติดตอ่ สอื่ สารทางใดเปน็ หลัก จนกว่าขา้ ศึก จะตรวจพบ ? ก. วทิ ยุ ข. ท่าสญั ญาณ ค. โทรศัพทส์ นาม ง. เสยี งสัญญาณ ๓๐. ชดุ ลาดตระเวนของ มว.ประกอบดว้ ยกำลงั ๔ – ๖ นาย มใี ครบ้าง ? ก. ตัวแทน บก.มว. ๒ นาย , ตวั แทน หมู่ ปล.หมลู่ ะ ๑ นาย ข. ตัวแทน บก.มว. ๑ นาย , ตวั แทน หมู่ ปล.หมูล่ ะ ๑ นาย ค. ตัวแทน บก.มว. ๒ นาย , ตัวแทนหมู่ ปล.,หมู่ ปก. หม่ลู ะ ๑ นาย ง. ตวั แทน บก.มว. ๑ นาย , ตวั แทนหมู่ ปล.,หมู่ ปก.หม่ลู ะ ๑ นาย
ขอ้ สอบวิชา การสอื่ สาร ๑. เมอ่ื มีการเรียนการสอนท่ีเน้นความสำคัญในระดบั มว.ปล. ผู้เขา้ รบั การฝกึ / ศึกษา ทราบหรือไม่วา่ ชุด โทรศัพทส์ นาม (ตาม อจย.) ทนี่ ยิ มใช้ในแนวหน้าระดับ หม่,ู มว. คือ ? ก. SAMSUNG ข. โทรศพั ท์ประจำสนาม ค. โทรศัพท์กำลังงานเสยี ง ง. TA-43 ๒. อย่างทเ่ี ราทราบกันดีวา่ ระบบการสื่อสารทางสายจะติดต่อกนั ได้อย่างสมบรู ณ์ เกดิ จากส่วนประกอบหลัก ๔ ส่วน ทา่ นทราบหรือไมว่ ่าข้อมูลทางเทคนิคของสายโทรศัพท์สนาม ในระดับ กรม ร. ลงมา ข้อใดถกู ? ก. สายโทรศัพทส์ นาม WD-8/PT ข. กนั ความร้อนได้ ค. ประกอบดว้ ยลวดโลหะตวั นำทงั้ ส้นิ ๑๔ เสน้ /๑ คู่สาย ง. ผิดทกุ ข้อ ๓. นายสบิ สื่อสารในระดับกองรอ้ ย (ร้อย.อวบ.) เมอื่ ต้องวางแผนการใช้เคร่ืองมือส่ือสาร อยากทราบว่า กองร้อยที่ ๑ จะใช้เคร่ืองมือส่ือสารทางสายตามอตั ราการจัด (ปี ๒๒) คืออะไรและเท่าไรบา้ ง ? ก. TA-1/PT๒ เคร่ือง ข. PRC/624 ๒ เคร่ือง , ชดุ MK-456 ๑ ชุด ค. TA-312/PT๒ เคร่ือง ง. ชดุ CE-11 ๑ ชดุ ๔. TA – 312/PT จัดอยใู่ นพวกโทรศัพท์สนามทใ่ี ชก้ ำลงั งานประเภทใด ? ก. กำลงั งานเสียงจากระบบเม็กนโิ ตในตวั เครอื่ ง ข. กำลังงานหม้อไฟร่วม, หม้อไฟประจำเครอ่ื ง ค. กำลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ ง. กำลังงานจากแสงอาทิตย์ ๕. สาย WD – 1/TT ทีถ่ ือวา่ เสอื่ มคุณภาพ คือสายท่ีมีรอยต่อมากกว่า ๓๐ รอยต่อโดยใช้เกณฑ์อะไร ? เปน็ เครอ่ื ง กำหนด ก. ทคี่ วามยาว ๑ กม ข. ทค่ี วามยาว ๑ ไมล์ ค. ท่ีนำ้ หนัก ๑ กก. ง. ท่นี ำ้ หนกั ๑ ปอนด์ ๖. เมื่อจะสน้ิ สุดการเรียนการสอนในหลักสตู ร ความรู้ที่ได้จากการประเมินผลตนเองในขัน้ ตน้ ขอ้ ใดกล่าวถูก ? ก. การส่อื สารทางสาย คือ การส่งสัญญาณไฟฟ้า โดยอาศัยวงจรทางสายเปน็ สอื่ ฯ ข. การส่ือสารทางสาย เปน็ การส่งสญั ญาณคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ ใหก้ ระจายไปในบรรยากาศ ค. เครื่องมือที่สามารถส่งสัญญาณไฟฟ้าไปตามวงจรทางสายในระดับ มว.ปล. คือ โทรศัพท์ TA-312/PT ง. ล้อสายแบบหลอดด้ายที่ใชง้ านและมีประจำ อจย. ในระดับ มว.ปล. เป็นสว่ นประกอบชดุ ของชุด CE- 11
๗. ส.อ.สมบัติ ผลัดกันชม แนะนำองคค์ วามรู้ท่ีไดร้ ่ำเรียนมาตลอดหลกั สตู รใหก้ บั เพื่อนๆร่วมรุ่น ขอ้ ใดกลา่ วผดิ ก. เม่ือเราทำหน้าทเี่ ป็น จนท.สอื่ สารของหน่วย “ เวลา” เป็นสิง่ สำคัญทสี่ ดุ ที่ต้องนำมาใช้เปน็ ข้อพิจารณา ฯ ข. ปกตกิ ารสื่อสารทางสายใช้สำหรับควบคมุ ทางยุทธวธิ ี และใช้เปน็ การสื่อสารหลักในภารกจิ เข้าตเี วลา กลางคืน ค. การสอ่ื สารทางสาย ปกตแิ ล้วใช้เป็นการสือ่ สารหลกั ในภารกิจการตัง้ รับแบบยึดพื้นที่ และใช้ในที่รวม พล ง. ข้อดีของการสื่อสารทางสาย คือ ตดิ ต้งั ไดร้ วดเรว็ กว่าการส่ือสารอ่ืนใด และพูดสวนทางกันได้ ๘. หวั ขอ้ ท้งั หมดเป็นอุปกรณ์ท่เี ปน็ ส่วนประกอบชุดของ CE – 11 ขอ้ ใดกล่าวผิด ? ก. โครงลอ้ RL – 39 ข. ST – 34, 35, ค. ชุดโทรศพั ทก์ ำลงั งานเสียง ง. DR – 8 พรอ้ มสายโทรศัพท์สนามWD-1/PT ๙. หน่วยต่าง ๆ ในระดับ มว.ปล. มเี คร่อื งมือสื่อสารทางสายอยู่ในอัตราท้ังสิน้ ? ขอ้ ใดถกู ทีส่ ดุ ก. โทรศัพท์ TA – 312/PT จำนวน ๒ เคร่อื ง ข. โทรศัพท์ TA – 1/PT จำนวน ๔ เครือ่ ง ค. โทรศัพท์ TA – 1/PT จำนวน ๕ เครือ่ ง ง. โทรศัพท์ TA – 1/PT จำนวนท้งั สน้ิ ๖ เครือ่ ง ๑๐. การส่ือสารทางสาย ปกติจะไมน่ ำมาใชส้ ำหรบั ในกรณีใด? ก. ควบคุมทางยุทธวิธี ข. ควบคุมการยิง ค. ใช้ รบั – สง่ ขา่ วคำสั่งยทุ ธการในการรบ ง. ตดิ ตอ่ ทางด้านธรุ การและส่งกำลงั บำรงุ ทั่วไป ข้อสอบหลกั ยิงปนื เลก็ 1. การหาระยะยิงทน่ี ำมาใชเ้ พอื่ ให้ทนั กับสถานการณท์ างยุทธวิธนี ้นั ใชว้ ธิ ีหาระยะยิงอย่างไร ? ก. วดั ระยะในแผนท่ี ข. จากเคร่อื งมอื วดั ระยะ ค. จากตรวจผลการยงิ ง. การกะระยะดว้ ยสายตา 2. วิธหี าระยะยิงโดยใชก้ ารกะระยะดว้ ยสายตานั้น สามารถกระทำได้กว่ี ธิ ี ? ก. 1 วิธี ข. 2 วิธี ค. 3 วิธี ง. 4 วธิ ี 3. การกะระยะด้วยสายตา โดยวิธกี ำหนดหนว่ ยหลัก 100 เมตร ควรฝึกใหท้ หารสามารถกะระยะไดแ้ มน่ ยำ และ ใกล้เคียงกับความเป็นจริงจนถงึ ระยะเท่าใด ? ก. 300 เมตร ข. 500 เมตร ค. 800 เมตร ง. 900 เมตร 4. การกะระยะด้วยสายตาดว้ ยวิธกี ำหนดหน่วยหลกั 100 เมตร จะไม่มีความแมน่ ยำในระยะเท่าใด ? ก. 500 เมตร ข. 700 เมตร ค. 900 เมตร ง. เกิน 1,000 เมตร
5. ปัจจัยทีท่ ำใหก้ ารกะระยะดว้ ยสายตาคลาดเคลือ่ น คือข้อใด ? ก. ความชัดเจนของเปา้ หมาย ข. ลกั ษณะภูมิประเทศ ค. แสงสว่าง ง. ถูกทุกขอ้ 6. การกะระยะเมอ่ื มองจากที่สงู ลงมาท่ีตำ่ จะทำให้การกะระยะเปน็ อยา่ งไร ? ก. ใกล้กว่าความเป็นจรงิ ข. ไกลกวา่ ความเปน็ จรงิ ค. เทา่ กับความเปน็ จรงิ ง. ไม่มขี ้อใดถกู 7. การกะระยะดว้ ยสายตา เมื่อมองขา้ มพื้นที่ราบเรียบ เช่น พน้ื นำ้ นาขา้ ว ทะเลทราย หิมะ จะทำให้ การกะระยะเปน็ อย่างไร ? ก. ใกลก้ วา่ ความเป็นจรงิ ข. ไกลกวา่ ความเป็นจริง ค. เท่ากับความเป็นจริง ง. ไม่มขี ้อใดถูก 8. ในการฝกึ การกะระยะด้วยสายตา โดยใช้วธิ ีเดินนบั ก้าวนั้นระยะ 100 เมตร โดยเฉล่ียจะเดนิ ได้ประมาณ ก่ีก้าว ? ก. 100 กา้ ว ข. 110 กา้ ว ค. 130 ก้าว ง. 150 กา้ ว ขอ้ สอบวิชา อาวุธ ปพ.๘๖ 1. ปพ.๘๖ มีการทำงานอย่างไร ก. ทำงานดว้ ยมือ ข. ทำงานดว้ ยการสะท้อนถอยหลงั ของลำกล้อง ค. ทำงานดว้ ยการถอยหลงั ของสว่ นเคลือ่ นท่ี ง. ทำงานดว้ ยการถอยหลังของเล่อื นปนื 2. ข้อใดคือระยะยงิ ไกลสดุ และระยะยงิ หวังผล ปพ.86 ก. ๑,๖๔๕ หลา, ๕๐ หลาลงมา ข. ๑,๖๔๐ ม. , ๕๐ ม.ลงมา ค. ๑,๔๖๕ หลา, ๕๐ หลาลงมา ง. ๑,๖๔๐ หลา, ๕๐ หลาลงมา ปลย.๑๑ 3. ปลย.๑๑ ระบายความร้อนดว้ ยอากาศ แต่มีระบบการทำงานดว้ ยอะไร ก. ดว้ ยการถอยหลงั ของลำกล้อง ข. ด้วยการถอยหลงั ของส่วนเคลื่อนที่ ค. ดว้ ยแก็ส ง. ถกู ทุกข้อ 4. ข้อใดคือโอกาสใชเ้ ลง็ ท่ีศนู ย์บาก ปลย.11 ก.เป้าอยเู่ กินระยะยงิ ๒๐๐ ม. ขน้ึ ไปทัศนะวสิ ยั ไมด่ ี ข.เป้าอยทู่ ร่ี ะยะ ๒๐๐ ม. ยิงเป้าเคลือ่ นที่ ค.เปา้ อยู่ท่รี ะยะ ๑๕๐ ม. ถงึ ๒๐๐ ม. เป้าเคล่อื นที่ ง.ทศั นะวสิ ยั ไม่ดี เปา้ เคลื่อนท่รี ะยะไมเ่ กิน ๑๐๐ ม.
ปลย. เอ็ม ๑๖ เอ ๑ 5. ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๑ ทำงานด้วยอะไร ก. ทำงานดว้ ยแรงสะท้อนถอยหลังของลำกลอ้ ง ข. ทำงานดว้ ยแก๊ส ค. ทำงานดว้ ยส่วนเคลื่อนท่ี ง. ทำงานดว้ ยมือ 6. ระยะยิงไกลสุดและระยะยงิ หวังผลของ ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๑ มีระยะยิงเทา่ ใด ก. ๒,๖๕๓ เมตร และ ๒๕๐ เมตร ข. ๒,๖๕๓ เมตร และ ๔๖๐ เมตร ค. ๒,๕๖๓ เมตร และ ๒๕๐ เมตร ง. ๒,๕๖๓ เมตร และ ๔๖๐ เมตร 7. การแกไ้ ขเหตตุ ิดขัดทันทที ันใดของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๑ มขี ้ันตอนในการปฏบิ ตั ิทถ่ี กู ต้องอย่างไร ก. ตบ, ดนั , ดงึ , เล็ง, ยิง ข. ดงึ , ตบ, ดนั , เลง็ , ยิง ค. ดนั , ดงึ , ตบ, เลง็ , ยิง ง. ตบ, ดงึ , ดนั , เลง็ , ยิง ค.เอ็ม.๒๐๓ 8. ค.เอม็ .๒๐๓ ขนาด ๔๐ มม. ทำงานอยา่ งไร ก. ทำงานดว้ ยการเล่ือนลำกล้องออกและเขา้ ข. ทำงานดว้ ยการถอยหลังของส่วนเคลอื่ นที่ ค. ทำงานดว้ ยการสะท้อนถอยหลังของลำกล้อง ง. ไมม่ ีข้อถูก 9. ค.ขนาด ๔๐ มม. เอ็ม.๒๐๓ ระยะยงิ หวงั ผลเป็นจุดและเปน็ พนื้ ทีเ่ ท่าใด ก. เป็นจุด ๑๕๐ เมตร เป็นพ้ืนที่ ๓๕๐ เมตร ข. เป็นจุด ๑๕๐ เมตร เป็นพนื้ ท่ี ๓๐๐ เมตร ค. เปน็ จดุ ๑๐๐ เมตร เป็นพ้ืนที่ ๓๕๐ เมตร ข. เป็นจดุ ๒๐๐ เมตร เป็นพืน้ ท่ี ๔๐๐ เมตร ปก.เอ็ม.๖๐ 10. ปก.เอม็ .๖๐ มเี กลียวกเี่ กลียวเวียนทางใด ก. ๔ เกลียวเวียนซา้ ย ข. ๔ เกลียวเวียนขวา ค. ๖ เกลยี วเวยี นขวา ง. ๘ เกลียวเวยี นขวา 11. ปก.เอม็ .๖๐ สามารถทำการยิงหวงั ผลไดใ้ นระยะเทา่ ใด ก. ๑,๑๐๐ เมตร ข. ๑,๐๐๐ เมตร ค. ๑,๒๐๐ เมตร ง. ๑,๕๐๐ เมตร ปลย. เอ็ม. ๑๖ เอ. ๒ 12. ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๒ ทำงานด้วยอะไร ก. ทำงานดว้ ยแรงสะท้อนถอยหลงั ของลำกลอ้ ง ข. ทำงานด้วยแกส๊ ค. ทำงานด้วยสว่ นเคลอื่ นท่ี ง. ทำงานดว้ ยมอื ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๔ 13. ปลย.เอม็ .๑๖ เอ ๔ มเี กลียวภายในลำกล้อง ๖ เกลียว เวียนขวา ๒ รอบ ยาวก่นี ้วิ ก. ๗ นว้ิ ข. ๑๕ นว้ิ ค. ๑๖ นวิ้ ง. ๑๔ นว้ิ
ปลย.ทาโว 14. ปลย.ทาโว ทำงานด้วยอะไร ก. ทำงานดว้ ยแรงสะท้อนถอยหลงั ของลำกล้อง ข. ทำงานดว้ ยแก๊ส ค. ทำงานดว้ ยส่วนเคลือ่ นท่ี ง. ทำงานด้วยมือ ปลก. เอ็ม. ๒๔๙ (มินิมิ) 15. ระยะยิง ปลก. เอ็ม. ๒๔๙ (มนิ มิ )ิ ข้อความต่อไปน้ขี ้อใดกลา่ วไม่ถูกต้อง ก. ระยะยงิ หวังผลเป้าหมายเป็นจดุ ๖๐๐ ม. ข. ระยะยงิ เปา้ หมายเป็นพ้ืนท่ี ๘๐๐ ม. ค. ระยะยิง ข่ม ๑,๐๐๐ ม. ง. ระยะการยงิ กวาดพ้ืนที่ลาดเสมอ ๗๐๐ ม. 16. ปลก.เอม็ .๒๔๙ มินมิ ิ การปรับทางระยะท่ีศูนยห์ ลงั (ศนู ย์รู) ระยะ ๑๐๐ เมตรหมุน ๑ คลิ๊กหรอื ครึ่ง รอบจะเปล่ียนรอยกระสุนถูกไปเทา่ ไร ก. ๓ ซม. ข. ๕ ซม. ค. ๖ ซม. ง. ๑๐ ซม. ปลก.เนเกฟ 17. หลักการใหญ่ ๆ ในการทำงานของ ปลก.เนเกฟ มีดงั ต่อไปนี้ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ต้อง ก. ทำงานดว้ ยส่วนเคลื่อนท่ี ข. ปอ้ นกระสนุ ดว้ ยสายกระสนุ ค. ทำการยิงด้วยทา่ ลูกเล่ือนเปดิ ง. ป้อนกระสุนด้วยซองกระสุน ปก.๓๘ 18. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้องในเรื่อง หลกั การทำงาน ก. ทำงานดว้ ยแกส๊ ระบายความร้อนด้วยอากาศ ข. ปอ้ นกระสนุ ด้วยสายกระสนุ ค. ทำการยิงดว้ ยทา่ ลูกเลื่อนเปดิ ง. ทำการยิงดว้ ยทา่ ลูกเลื่อนปิด ค.อตั โนมัติ ๔๐ มม. 19. ระยะยงิ หวังผล ของ ค.อัตโนมัติ ๔๐ มม.ได้ก่ีเมตร ก. ๑,๗๐๐ เมตร ข. ๑,๘๐๐ เมตร ค. ๑,๕๐๐ เมตร ง. ๑,๖๐๐ เมตร 20. ลกั ษณะการทำงานของ ค.อัตโนมตั ิ ๔๐ มม. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ทำการยิงไดท้ ง้ั ก่งึ อัตโนมตั ิและอัตโนมัติ ข. ป้อนกระสนุ ดว้ ยสายกระสุน ค. ทำการยิงด้วยทา่ ลกู เลื่อนเปิด ง. ทำการยิงอตั โนมัติได้อยา่ งเดยี ว
ปรส.ขนาด ๘๔ มม. CARL-GUSTAF M 3 21. ปืนไร้แรงสะท้อน ขนาด ๘๔ มม. แบบ เอ็ม.๓ (CARL-GUSTAF M 3) แบ่งเป็นอาวุธต่อส้รู ถถังประเภทใด ก. ขนาดเบา ข. ขนาดกลาง ค. ขนาดหนัก ง. ถูกทุกข้อ 22. ปนื ไร้แรงสะท้อน ขนาด ๘๔ มม. แบบ เอ็ม.๓ มีระยะหวังผลเท่าไร เม่ือใชก้ ล้องเลง็ และกระสุน HEAT 551 ก. เปา้ หมายอยู่กบั ท่ี ๗๐๐ เมตร เปา้ หมายเคล่อื นท่ี ๓๐๐ เมตร ข. เป้าหมายอยู่กับท่ี ๗๐๐ เมตร เปา้ หมายเคลือ่ นที่ ๔๐๐ เมตร ค. เป้าหมายอยู่กับที่ ๕๐๐ เมตร เป้าหมายเคลือ่ นที่ ๓๐๐ เมตร ง. เป้าหมายอย่กู ับท่ี ๔๐๐ เมตร เปา้ หมายเคลอื่ นที่ ๗๐๐ เมตร เครือ่ งยงิ ลูกระเบดิ ขนาด ๖๐ มม. 23. อัตราการจัดของ มว.ค.๖๐ ประกอบดว้ ย........หมู่ ๆละ.......นาย ทัง้ มว.ค มกี ำลงั พลท้งั สน้ิ .......นาย ก. ๓, ๔ , ๑๕ ข.๓, ๔ , ๑๘ ค. ๓ , ๕ , ๒๐ ง. ๓ , ๖ ,๒๒ 24. ข้อใดกล่าวถกู ต้อง ก. ควงสูงเปน็ มิลเลียม ข. ควงสา่ ยเป็นองศา ค. มมุ สงู ปฏบิ ตั ิการยงิ ๔๕ – ๘๕ องศา ง. ใชก้ ลอ้ ง เอ็ม.๔ ในการเล็ง อาวุธกลุ่มสังคมนยิ ม 25. ซองกระสนุ อาวธุ ของฝา่ ยตรงข้ามมีกี่แบบ ก. ๑ แบบ ข. ๒ แบบ ค. ๓ แบบ ง. ๔ แบบ 26. อดุ มการณใ์ นการสร้างอาวธุ ของกล่มุ ประเทศสังคมนยิ มคือข้อใด ก. อาวุธต้องทำการยิงโดยไม่ตดิ ขัด ข. สร้างแบบงา่ ยเพ่ือสะดวกในการใชง้ าน ค. สามารถพกพาตดิ ตวั ไดค้ ล่อง ง. ป้องกนั การกดั กร่อนของสนิมได้ เท่า วัตถรุ ะเบดิ และการทำลาย 27. วตั ถุระเบดิ ทางทหารแบ่งออกเป็นกป่ี ระเภท ก. ๑ ประเภท ข. ๒ ประเภท ค. ๓ ประเภท ง. ๔ ประเภท 28. ดินระเบดิ TNT ขนาดใด เหมาะสำหรับใช้ในการฝกึ เพื่อให้เกดิ ความคนุ้ เคย ก. ๑/๔ ปอนด์ ข. ๑/๒ ปอนด์ ค. ๓/๔ ปอนด์ ง. ๑ ปอนด์
ทุ่นระเบิด 29. ทนุ่ ระเบดิ คือ อะไร ก. สารเคมีผสม ข. วตั ถุระเบดิ ทีผ่ ลิตขนึ้ จากโรงงาน ค. วัตถรุ ะเบดิ ที่บรรจใุ นภาชนะหรอื วสั ดุอน่ื ง. วัตถุระเบดิ ท่ีออกแบบเพ่ือทำลาย 30. ส่วนประกอบของทนุ่ ระเบดิ สว่ นใดท่อี าจไม่มีกไ็ ด้ ก. ชนวน ข. ดินนำหรือดินปะทุ ค. ดนิ ระเบดิ หลัก ง. เปลือกทุ่นระเบดิ กับระเบิด 31. ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเกี่ยวกับความหมายของ “ กับระเบิด ” ก. วตั ถรุ ะเบิดท่ีบรรจุในภาชนะหรือวัสดอุ ื่น ๆ ออกแบบเพ่ือทำลายหรือทำความเสยี หายแกช่ ีวติ ข. ดินระเบิด กระสนุ ป. ลข. หรือสงิ่ อื่นทม่ี วี ัตถุระเบิดบรรจุอยูน่ ำมาประดิษฐ์ขึ้นเพื่อทำให้เกิดการ ระเบิดข้ึนโดยการกระทำของบคุ คล ค. กับระเบิดที่ทำจากโรงงานโดยเฉพาะ มเี ครื่องกลไกยอกย้อนไม่สามารถประดิษฐ์ข้นึ ไดใ้ นสนาม ง. เปน็ สสารชนิดหน่งึ ซ่งึ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมี เม่ือไดร้ บั แรงกระตุ้นเตือนเร่มิ แรกอยา่ งเหมาะสมทำ ให้เกิดเป็นสารอย่างใหมข่ ึ้น 32. กับระเบิดมี ๒ ประเภท ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. กับระเบดิ พวงใช้เชอ้ื ปะทุชนวนและกบั ระเบดิ พวงใชเ้ ช้อื ปะทุไฟฟ้า ข. กบั ระเบดิ ท่ปี ระดิษฐข์ ้ึนและพวงใช้เชือ้ ปะทุไฟฟ้า ค. กบั ระเบดิ ท่ผี ลิตจากโรงงานและกับระเบิดแสวงเครอื่ ง ง. กบั ระเบดิ ท่สี รา้ งขึ้นในสนามรบและกับระเบิดที่สร้างขน้ึ ในสถานการณป์ กติ ระเบิดแสวงเครอื่ ง 33. แอมโมเนียมไนเตรทต้องผสมกับวัสดใุ ดถึงจะได้ผลการระเบิดดที ่สี ุด ก. เบนซิล ข. ดเี ซล ค. แกส็ โซฮอล์ ง. น้ำมนั พืช 34. ANFO คอื อะไร ก. แอมโมเนยี มไนเตรท + น้ำมนั เช้ือเพลงิ ข. แอมโมเนยี มไนเตรท + ยูเรีย ค. แอมโมเนียมไนเตรท + TNT ง. วัตถรุ ะเบิดทางทหาร ปอ้ มสนาม 35. ข้อใดคอื ความหมายของปอ้ มสนาม ก. ป้อมคา่ ยทีส่ ร้างข้ึนเม่ือปะทะกับข้าศึก ข. ป้อมคา่ ยท่ีสร้างข้ึนเม่ือยงั ไมม่ ีการปะทะกบั ข้าศกึ ค. ป้อมค่ายท่สี ร้างขึ้นเมื่อใกลจ้ ะปะทะกบั ขา้ ศึก ง. ข้อ ก. และ ค. ถกู
36. ขอ้ พจิ ารณาประการแรกในการเลอื กทต่ี ัง้ หลุมบุคคล เพ่ือใช้ทำหลมุ ทำการรบนน้ั ข้อใดถกู ต้อง ก. มกี ารกำบังจากการยิงดี ข. มพี ้ืนการยงิ ดี ค. มกี ารซ่อนเรน้ ดี ง. สามารถต่อสู้ได้รอบตวั เครือ่ งกดี ขวาง 37. เครื่องกีดขวางลวดหนามแบง่ ออกได้ตามภารกิจในการตั้งรบั ดงั น้ี ก. รั้วลวดหนามทางยุทธวิธ,ี ปอ้ งกันตน และรัว้ ลวดทางปกี ข. รว้ั ลวดหนามทางยุทธวธิ ี,ป้องกนั ตน และเพ่ิมเตมิ ค. ร้ัวลวดหนามปอ้ งกนั ตน และเพิ่มเตมิ ง. รวั้ ลวดหนามทางยทุ ธวธิ ี และเพิ่มเติม 38. เครือ่ งกีดขวางลวดหนามทางยุทธวิธีจะจัดสร้างอยหู่ น้าแนวตง้ั รับดังนี้ ก. ตามแนวยิงป้องกันขั้นสุดท้ายของฝ่ายเรา ข. ห่างจากหนา้ ท่มี น่ั ตง้ั รบั ตั้งแต่ ๓๐ – ๑๐๐ เมตร ค. ห่างจากหนา้ ทีม่ น่ั ต้งั รบั ระยะ ๑๐ เมตรขึ้นไป ง. ห่างจากหน้าทมี่ นั่ ต้ังรบั ระยะ ๓๐ เมตรลงมา 39. การสร้างเคร่ืองกดี ขวางลวดหนามไม่วา่ จะสรา้ งแบบใดก็ตามประการสำคญั ทส่ี ุดอนั ดับแรกจะต้อง ก. มีอาวธุ คมุ้ ครองเสมอ ข. ไมจ่ ำเปน็ จะต้องมอี าวุธยงิ คมุ้ ครอง ค. ตอ้ งวางให้มีระเบยี บ ง. ถูกทงั้ ข้อ ก,ข
ปานกลาง การดำรงชีพในปา่ 1. สิง่ สำคัญที่สดุ ในการดำรงชีพในปา่ ไดแ้ ก่ ? ก. การมีอาหารรบั ประทานสมบูรณ์ ข. การมีน้ำดื่มที่ปลอดภัย ค. การมีท่ีพกั ท่ีสุขสบาย ง. การมีกำลังใจและความตัง้ ใจอันแน่วแน่ 2. ปา่ ในประเทศไทยเราสามารถแบง่ ป่าไมอ้ อกตามลกั ษณะของปา่ เป็น 2 ชนิดไดแ้ ก่ ? ก. ป่าแดงและป่าดงดิบ ข. ป่าดงดิบและปา่ ผลดั ใบ ค. ปา่ ดงดบิ และป่าเบญจพรรณ ง. ปา่ ดนิ นำ้ จดื และป่าดนิ นำ้ เค็ม 3. เมอ่ื เราอยู่ในปา่ อันตรายท่ีจะเกิดกบั เรามี 2 ประเภทได้แก่ ? ก. น้ำป่าและสตั วป์ า่ ข. พืชท่เี ปน็ พิษและสตั วป์ า่ ค. ธรรมชาตขิ องปา่ และทหารข้าศึก ง. กนิ อาหารที่เป็นพษิ และไข้ปา่ 4. ปญั หาใหญๆ่ ของการดำรงชีพ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทไดแ้ ก่ ? ก. พืช, สตั ว์, น้ำ ข. อาหาร, น้ำ, ทพี่ กั ค. กำลังพล, อาวธุ ยทุ โธปกรณ์, ยารกั ษาโรค ง. อาวุธ, เครื่องน่งุ หม่ , ทีพ่ ัก 5. การนอนในป่าที่ถูกต้องในการดำรงชพี ควรเลือกใหท้ หารนอนอย่างไร ? ก. นอนสงู กวา่ พนื้ ดิน ข. นอนในพน้ื ทโี่ ลง่ แจง้ ค. นอนเอาศรี ษะเขา้ หาต้นไม้ใหญๆ่ ง. นอนใกล้กองไฟ 6. การแสวงหาอาหารในปา่ แบง่ ออก 2 ชนิด ใหญๆ่ คือ ? ก. ในนำ้ ,บนพ้นื ดิน ข. นำ้ , ทีพ่ กั ค. ในป่าดงดบิ ,ในป่าโปร่ง ง. สตั ว์,พืช 7. การแบ่งประเภทปญั หาใหญ่ๆซึ่งเกี่ยวกับการดำรงชพี ให้เหมาะสมกับภูมภิ าคมีอยดู่ ว้ ยกัน 4 ประการ คือ ? ก. ชดุ ดำรงชพี ในปา่ ข. ชุดดำรงชพี ในทะเล ค. ชดุ ดำรงชีพในทะเลทราย ง. ถูกทุกข้อ 8. วธิ ีการตดิ ไฟในขณะทเ่ี ราอยู่ในปา่ ซ่งึ ไม่มีไมข้ ีดไฟหรือไฟแชค็ ทนี่ ำติดตัวไปวิธีการตดิ ไฟทย่ี ากท่สี ุดไดแ้ กช่ นดิ ใด ? ก. หนิ และเหล็ก ข. ใชไ้ ม้ถกู นั ค. กระจกและแสงแดด ง. ใช้เชอื กป่าน ถูกบั ไม้
เร่อื ง การปรนนิบตั ิบำรงุ ยานยนต์ 1. การปรนนิบัตบิ ำรุงของช่างประจำหนว่ ยผ้ใู ดเปน็ ผชู้ ว่ ยช่างในการปรนนบิ ัติบำรงุ ? ก. นายทหารยานยนต์ ข. พลทหาร ค. พลขับ ง. นายสบิ ปลอ่ ยรถ 2. สาเหตุใดจึงตอ้ งทำการปรนนิบตั ิบำรงุ ขน้ั ๑ก่อน ? ก. เพอื่ ให้มคี วามสะอาดสภาพนา่ ใช้ ข. เพอื่ รอรับตรวจจากผบช.ท่รี บั ผดิ ชอบ ค. เพื่อใหม้ ีสภาพท่ีน่าใช้และสะดุดตา ง. เพื่อให้รู้สาเหตุแห่งการชำรุดแลว้ ดำเนินการแก้ไข 3. การเติมลมยางเติมนำ้ ในหม้อน้ำทำความสะอาดเปน็ การกระทำอะไร ? ก. การปรนนิบัติบำรุง ข. การซอ่ มบำรุง ค. การสง่ ซอ่ ม ง. ถูกทกุ ข้อ 4. การปรนนบิ ัติบำรงุ เม่ือตรวจพบข้อบกพร่องหรือทำงานไมส่ มบูรณเ์ กนิ ขน้ั ที่ ๑ พลขับต้องปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรก่อน ? ก. แขวนปา้ ยชะงกั ใช้งาน ข. รายงาน ผบช.ทราบทนั ที ค. ทำการแก้ซ่อมเองได้เลย ง. สง่ ซอ่ มตามสายงานของ ผบช. 5. กอ่ นนำ รยบ.ออกไปใช้งาน พลขบั ทำการตรวจสภาพเรียบร้อย เปน็ การตรวจสภาพท่วั ไปด้วยอะไร ? ก. ตรวจสภาพด้วยหู ข. ตรวจสภาพดว้ ยความชำนาญ ค. ตรวจสภาพดว้ ยจมกู ง. ตรวจสภาพด้วยสายตา 6. จา่ สิบเอกปิยะทศั น์ ฯ นำ รยบ.บรรทกุ น้ำ ขนาด ๕,๐๐๐ ลติ ร ไปส่งน้ำ ขณะวงิ่ อยู่ไดย้ นิ เสียงเครื่องยนต์ ดังไม่ สมำ่ เสมอแล้วจดจำไป ปบ. เมือ่ ถึงหน่วย ถอื วา่ เป็นการ ปบ.หว้ งใด? ก. การ ปบ.กอ่ นใชง้ าน ข. การ ปบ.ขณะใชง้ าน ค. การ ปบ.ขณะหยุดพกั ง. การ ปบ.หลังใช้งาน 7. การปรนนิบตั บิ ำรุงตามแบบพมิ พ์ ทบ. ตรวจสภาพอาการชำรุดเลก็ น้อย ไม่พบข้อบกพรอ่ งจะต้องทำ เครือ่ งหมาย อะไรลงในช่องแบบพิมพ์ ? ก.เครอื่ งหมายคูณ ข. เคร่อื งหมายถูก ค. เครอ่ื งหมายดอกจันทน์ ง. เครอื่ งหมายดอกจนั ทน์และเครื่องหมายคูณ 8. พลขับทำการ ปบ. รยบ. ตรวจพบหมอ้ น้ำร่ัว พลขับจะปฏบิ ตั เิ ช่นไร ? ก. ถอดเบกิ เปล่ียนเอง ข. รายงาน ผบช.รอชา่ งถอดสง่ ซอ่ ม, เปลย่ี น ค. ถอดนำไปซอ่ มตามทอ้ งตลาด ง. ไม่มขี ้อถูก
9. ก่อนนำรถออกใชง้ านทกุ ครัง้ พลขับจะต้องมีหลักฐานเอกสารติดรถไปดว้ ยเสมอ อยากทราบว่า หลกั ฐานที่ กล่าว มามเี อกสารอะไรบ้าง ? ก. สพ.๑๑๐, แบบรายงานอบุ ตั เิ หตุ, ใบอนุญาตขบั ขีร่ ถยนตท์ หาร, คำสง่ั หลอ่ ลื่น ข. สพ.๑๑๐ , แบบรายงานอบุ ัตเิ หตุ , ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ทหาร , คำสัง่ หลอ่ ลนื่ , หนงั สือเดนิ ทาง ค. บตั รการใช้รถประจำวนั , แบบรายงานอุบตั ิเหตุ , ใบอนญุ าตขบั ข่ีรถยนตท์ หาร ง. บัตรการใชร้ ถประจำวัน , แบบรายงานอบุ ัติเหตุ , ใบอนุญาตขบั ขรี่ ถยนตท์ หาร , หนงั สอื เดินทาง 10. การตรวจแป้นเกลียวล้อแปน้ เพลาลอ้ และความดันลมในยางเป็นหน้าท่ีของใคร ? ก. พลขับ ข. นายสิบชนิ้ สว่ น ค. นายสบิ ปลอ่ ยรถ ง. พลทหาร 11. พลขบั นำ รยบ. ไปใช้งานกอ่ นการใช้งานทำการอนุ่ เคร่ืองยนต์แล้วจึงออกไปปฏิบัติงานเป็นการปฏิบตั ิ ถูกต้อง หรือไม่ ? ก. ถูกต้องเพราะเครื่องยนต์ต้องมีอุณหภมู ิพร้อมใชง้ าน ข. ไม่ถูกต้องเพราะทำให้ส้ินเปลอื งงบประมาณ ค. ไมต่ อ้ งทำอะไรเลยนำรถไปใชง้ านไดเ้ ลย ง. ถูกเฉพาะขอ้ ข. และค. 12. เม่ือพลขับนำรถออกไปใช้งานขณะวิ่งอยู่ได้ยนิ เสยี งเคร่ืองยนต์ดัง ไมส่ ม่ำเสมอ จงึ หยุดรถเพ่ือทำการสาเหตุ ถอื วา่ เปน็ การปบ.หว้ งใด ? ก. การปบ. ก่อนใชง้ าน ข. การปบ.ขณะใชง้ าน ค. การปบ. ขณะหยุดพัก ง. การปบ.หลังใช้งาน วชิ าการร้องขอการปรับการยิงค.- ป. 9. มาตรามมุ ทิศของ เข็มทิศ เอ็ม.2หนง่ึ ขดี มีค่ากีม่ ลิ เลยี ม ? ก. 10 เมตร ข. 10 มลิ เลยี ม ค.20 มิลเลียม ง. 5 เมตร 10. มาตราทางระดบั หนง่ึ ช่อง มีคา่ เทา่ กบั กี่มิลเลียม ? ก. 10 เมตร ข. 10 มิลเลยี ม ง. 5 เมตร ค.20 มิลเลยี ม
11. เข็มทิศ เอ็ม.2 จะมตี ัวเลขกำกับไวท้ ุก ๆ ก่ีมลิ เลยี ม ? ก. 100 มิลเลียม ข. 200 มิลเลยี ม ค.50 มลิ เลียม ง. 200 เมตร 12. มาตราทางระดับของกล้องส่องสองตา แบ่งออกเป็นกช่ี ่อง ? ก. 10 ช่อง ข. 20 ชอ่ ง ค.50 ชอ่ ง ง. 40 ชอ่ ง 13. เข็มทิศ เอม็ .2สามารถวดั มมุ ภาคได้สงู สุดกี่มิลเลียม ? ก. 1600 มิล ข. 3200 มลิ เลียม ค.4800 มลิ เลยี ม ง. 6400 มลิ เลียม 14. เข็มทิศ เอม็ .2จะมตี วั เลขคู่กำกบั ไว้ตัง้ แต่ 0 ถงึ 6200 โดยเวน้ ห่างกันเท่าไร ? ก. 100 มิลเลยี ม ข. 200 มลิ เลียม ค.300 มลิ เลียม ง. 400 มลิ เลยี ม 15. วสั ดทุ ใี่ ชท้ ำแผน่ พดั ตรวจการณ์ คือข้อใด ? ก. พลาสตกิ ข. วสั ดุโปรง่ ใส ค.วสั ดโุ ปรง่ แสง ง. วัสดหุ นาแขง็ แรง 16. การวดั มุมดว้ ยมือนั้น อยากทราบว่าถ้าวัดมุมเป้าหมายได้ น้ิวชถี้ ึงนิว้ นาง มีคา่ เท่าใด ? ก. 30 มลิ เลียม ข. 70 มลิ เลียม ค.100 มลิ เลยี ม ง. 125 มิลเลียม 17. การกำหนดทตี่ ั้งเป้าหมายของผูต้ รวจการณห์ นา้ ที่นิยมใช้มีกว่ี ธิ ี ? ก. 1 วธิ ี ข. 2 วธิ ี ค.3 วิธี ง. 4 วิธี 18. การทำความสะอาดเลนส์ของกลอ้ งสอ่ งสองตา ควรใชอ้ ะไร ? ก. น้ำสบู่ ข. กระดาษทชิ ชู่ ค. กระดาษเช็ดเลนส์ ง. กระดาษใดก็ได้ 19. การกำหนดท่ีตง้ั เปา้ หมายท่บี อก “มมุ ภาค, ระยะ, สงู ขน้ึ /ต่ำลง” เป็นการกำหนดท่ีตงั้ เป้าหมายแบบใด ? ก. แบบพิกัดตาราง ข. พิกดั โปลา่ ร์ ค.แบบยา้ ยจากจุดท่ที ราบ ง. แบบหมายตำบลระเบดิ 20. การดำเนนิ ภารกิจยิงของ ผตู้ รวจการณ์หน้า มกี ี่ขั้น ? ก. 2 ข้นั ข. 3 ขน้ั ค.4 ขัน้ ง. 5 ขนั้ 21. การดำเนินภารกิจยงิ ของ ผู้ตรวจการณห์ น้า มกี ี่ขนั้ ? ก. 2 ขน้ั ข. 3 ขนั้ ค. 4 ข้นั ง. 5 ขนั้
22. ข้อใด ไมใ่ ช่ เคร่ืองมือของผู้ตรวจการณ์ ? ก. นวิ้ มอื ข. กล้องสอ่ งสองตา ค. แผนท่ี ง. แผน่ กรยุ จดุ 23. เครอื่ งยิงลูกระเบิดเป็นอาวุธที่มีลกั ษณะการยงิ แบบใด ? ก. เล็งตรง ข. เลง็ จำลอง ค. เล็งดกั ง. เลง็ ตรงและจำลอง การเล็ดลอดหลบหนี 1. การเล็ดลอดหมายถงึ ? ก. การปฏิบตั ทิ กุ วิถีทางเพ่ือใหพ้ น้ จากท่ีคุมขงั ข. การปฏบิ ตั ทิ ุกวถิ ีทางเพอ่ื ใหพ้ ้นจากการทรมาน ค. การปฏบิ ัตทิ กุ วถิ ีทางเพื่อให้พ้นจากการถกู จับ ง. การปฏบิ ัตทิ ุกวถิ ีทางเพื่อให้พน้ จากพื้นที่การรบ 2. เม่อื ทา่ นตกเปน็ เชลยศกึ ควรตอบคำถามในเร่ืองอไรบ้าง ? ก. ยศ, ชื่อ, สกลุ , หมายเลขประจำตัว ข. ยศ, ชือ่ , สกุล, ภมู ลิ ำเนา, หมายเลขประจำตวั ค. ยศ, ช่อื , สกลุ , ภมู ิลำเนา, สังกัด, หมายเลขประจำตวั ง. ยศ, ช่อื , สกลุ , วนั เดือนปีเกิด, หมายเลขประจำตัว 3. การวางแผนในการเลด็ ลอดหลบหนีวิธีแทรกซึมจะอาศยั ปัจจัยทส่ี ำคัญอะไรบา้ ง ? ก. ทอี่ ย่ปู จั จุบัน, การวางกำลังของข้าศึก, ทศั นวิสยั , สมรรถภาพของผ้เู ล็ดลอด ข. เวลา, ข้าศึก, ภูมิประเทศ, ลมฟ้าอากาศ ค. เวลา, ขา้ ศกึ , ขวญั , ทศั นวิสยั ง. ข้าศกึ , ภมู ปิ ระเทศ, ลมฟา้ อากาศ 4. การปฏิบตั ิการเลด็ ลอดหลบหนี ทบ.ได้มอบความรับผิดชอบให้กบั หน่วยใด ? ก. ขว.ทบ. ข. ขกท.ทบ. ค. นสศ. ง. ศปก.ทบ. 5. ขอ้ ใดเป็นสาเหตุทไี่ ม่คิดจะหลบหนี ? ก. ขาดการฝึก ข. ไมว่ างแผน ค. ความเพิกเฉย ง. ความหวาดกลวั 6. ขอ้ ใดไมใ่ ชค่ ุณค่าของการหลบหนี ? ก. อิสระภาพ ข่าวสารทางทหาร ข. เพ่ิมกำลงั ให้ฝา่ ยเดียวกันควบคุมไว้ ค. บั่นทอนกำลังรบข้าศึกใหเ้ กดิ ความว่นุ วาย ง. ทำใหข้ า้ ศกึ ขวัญตำ่
7. ประเภทของการเลด็ ลอดแบง่ ออก 2 ประเภท ได้แกอ่ ะไรบ้าง ? ก. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทระยะยาว ข. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทหลงั แนวรบ ค. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทระยะไกล ง. 1.ประเภทใกลป้ ระชดิ 2.ประเภทไม่ประชิด 8. ขอ้ ใดกล่าวถึงการเลด็ ลอดระยะใกลไ้ ด้ถูกต้อง ? ก. มีสภาพร่างกายด,ี รู้ทิศทางระยะทาง ข. รทู้ ่ตี ้ัง,การวางกำลงั ของข้าศกึ ค. มีอาหารและเส้ือผา้ ง. ที่กล่าวมาถูกทุกขอ้ การสนับสนนุ ทางอากาศโดยใกล้ชดิ 1. ขอ้ ใดเป็นคณุ สมบัติของผนู้ ำอากาศยานหน้า FORWARD AIR GUIDE (FAG) ก. มีความรยู้ ทุ ธวธิ ภี าคพืน้ และยทุ ธวิธอี ากาศยาน ข. มคี วามรู้ภาษาองั กฤษและการอา่ นแผนที่ ค. ผ่านการอบรมหนา้ ท่ี ผนอ. (FAG) ง. มีความรกู้ ารตดิ ต่อสือ่ สาร,ยทุ ธวิธภี าคพ้ืนและยทุ ธวธิ ีอากาศยาน 2. พนื้ ทใี่ นการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลช้ ิด ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ ง ก. จากหน้าสดุ ของการวางกำลงั ฝ่ายเราไปจนถงึ ขอบหน้าของเขตภายในขา้ ศึก ข. จากแนวประสานการยิงสนับสนนุ และเขา้ ไปในเขตภายในข้าศึก ค. จากขอบหน้าพื้นท่ีการรบไปจนถงึ แนวประสานการยิงสนับสนนุ ง. จากขอบหนา้ พืน้ ท่ีการรบไปจนถงึ เขตภายในข้าศึก 3. การส่งคำขอทนั ที(เร่งดว่ น) จะตอ้ งใหค้ ำขอถึงผูม้ ีอำนาจอนุมัติการใช้ บ. ของ ทอ. และจะได้รบั การ ตอบสนองในเวลาอย่างชา้ เทา่ ไร ? ก. 2 ชั่วโมงเข้ารหัส ข. 6 ช่วั โมงเข้ารหสั ค. 2 ช่วั โมงไม่เข้ารหสั ง. 6 ชัว่ โมงไม่เข้ารหัส 4. คำขอทันทที นั ใดมหี ัวข้ออะไรบา้ ง ? ก. ใคร อะไร ท่ีไหน เมอื่ ไร อยา่ งไร เทา่ ไร ข. ใคร อะไร ที่ไหน ทำไม เม่ือไร ค. ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม อย่างไร ง. ใคร อะไร ท่ไี หน อย่างไร 5. ก่อนทีเ่ ครอื่ งบินจะออกจากจุดบินวน(CP) นักบนิ จำได้รับข้อมลู ขา่ วสารจากหน่วยภาคพ้ืนในเร่ืองใดบา้ ง ข้อ ใดกล่าวถูกต้อง ก. สภาพอากาศ ลักษณะท่ีหมาย สถานการณ์ขา้ ศึก ข. นามเรยี กขาน จำนวนละแบบอากาศยาน เวลาในการให้การสนับสนนุ ค. สภาพอากาศ ลักษณะที่หมาย สถานการณ์ข้าศึกและการตอ่ ต้าน แนวกำลังฝา่ ยเดียวกนั การยิงของ ปนื ใหญ่
ง. นามเรยี กขาน ลักษณะทหี่ มาย สภาพอากาศ เวลาในการใหก้ ารสนบั สนุน 6. หลงั จากเครอ่ื งบนิ โจมตีเป้าหมายแลว้ หนว่ ยภาคพนื้ จะต้องรายงานผลการโจมตเี ปา้ หมายใหน้ กั บนิ ทราบ ข้อใดกลา่ วไม่ถูกต้องในขั้นตอนน้ี ก. แจ้งตำบลระเบิดหรือตำบลกระสุนตก ข. แจ้งผลการทำลายเปา้ หมายเปน็ เปอร์เซน็ ต์ ค. แจง้ เวลาระเบิดกระทบเป้าหมาย ง. ปรับแก้ตำบลกระสนุ ตกให้นกั บิน 7. การพิสูจน์ฝา่ ยเพื่อต้องการทราบว่าเป็นหน่วยทหารฝา่ ยเดยี วกนั สิง่ ที่ต้องแสดงน้นั อยา่ งไร ? ก. แผ่นผา้ สัญญาณ VS - 17 ปูเป็นตัวอักษร ข. ลข.ควนั สแี ดง ค. ทัศนสัญญาณ ง. หมายแนว หมายทตี่ ้ัง 8. ในการเตรียมการในระหวา่ งรออนุมตั ิคำขอ และรออากาศยานมาสนบั สนนุ ผู้บังคบั หน่วยจะตอ้ งกระทำ ส่งิ ใดบา้ ง? ก.ดำรงการตดิ ต่อส่อื สารกับ ป. หน่วยเหนอื ข.ผบ.หน่วย ให้ พลวิทยเุ ปน็ ผใู้ ชว้ ทิ ยเุ พยี งผเู้ ดียว ค.ให้กำลังพลในหน่วยเฉล่ยี กระสนุ เตรยี มตะลุมบอน ง.ถูกทุข้อ สะกดรอย 1. สิ่งที่นกั สะกดรอยไม่ควรทำ 5 ประการคืออยา่ ก้มหน้าหารอยตลอดเวลา, อยา่ เสียงดงั , อย่าจับตน้ ไม้, อย่าหลอกตวั เอง, อยา่ ไปเม่ือเหนอื่ ยปัจจัยท่มี ผี ลกระทบต่อการสะกดรอยมีอะไรบา้ ง ? ก. แดด, ลม, ฝ่นุ , ระยะทาง ข. แสง, เสยี ง, เวลา, เหนอื่ ย ค. แดด, ลม, ฝน, เวลา ง. แสง, เสยี ง, ฝน, เวลา 2. ลกั ษณะรอยท่ีพบเกิดจากข้าศึกเคลื่อนท่เี ร็ว ๆ หรือ วง่ิ รอยจะมีลักษณะอย่างไร ? ก. รอยห่าง, รอยกระจาย, รอยตืน้ ข. รอยห่าง, รอยค่อย, รอยลกึ ค. รอยหา่ ง, รอยกระจาย, รอยเป็นแนวเดียวกนั ง. รอยหา่ ง, รอยลึก, รอยเปน็ แนวเดยี วกนั 3. ประเภทของรอยมีรอยบนพืน้ ดินและรอยระดบั สงู เม่อื ท่านสะกดรอยแลว้ รอยหายท่านควรทำอยา่ งไร ? ก. ถอยหลงั กลบั ไปเร่ิมต้นใหม่ ข. แยกกันเดินหาใหท้ วั่ ค. ถอยหลังไป 4 - 5 ก้าวเรมิ่ คน้ หาอย่างเปน็ ระบบ ง. จบภารกิจ 4. ข่าวสารอะไรท่ีได้จากรอย ? ก. จำนวนคน, ทิศทาง, อายคุ น, เพศชาย – หญงิ ข. ทศิ ทาง, ความเรว็ , อายุของรอย, มขี องหนกั หรือไม่ ค. เพศชาย – หญิง, ยทุ โธปกรณ์, เวลา, ขวัญ ง. ยุทโธปกรณ์, เวลา, ทศิ ทาง, มีของหนัก 5. การคำนวณจำนวนคนมสี ูตรการคำนวณอย่างไร ? ก. ขดี กรอบยาว36 นว้ิ หารด้วย 2 ข. ขดี กรอบยาว18 นวิ้ ค. หารอยเท้าหลกั ง. ท่กี ลา่ วมาถูกทุกขอ้
6. รอยตอ่ ไปนี้อะไรจดั เปน็ รอยบนพื้นดิน ? ก. รอยน้ำกระเพื่อม ข. รอยมือจับบนต้นไม้ ค. กง่ิ ไมห้ รอื ใบไม้หัก ง. ใยแมลงมุม 7. การลวงและการต่อตา้ นการสะกดรอยเป็นลกั ษณะพึงประสงคข์ องหนว่ ยทหาร เพอื่ การต่อตา้ นการตดิ ตาม ของข้าศึก ขอ้ ใดไมใ่ ช่ ก. จงใจนำออกนอกทาง, ลวงเข้าพ้นื ทซ่ี ุ่ม ข. คงหลงั คอยกลบเกล่ือนรอ่ งรอย ค. แยกออกเปน็ กลุ่มเลก็ ๆ ง. หกั กง่ิ ไมท้ ำเครื่องหมายตลอดทาง 8. การหาจำนวนคนรอยเท้า ถา้ รอยเท้าไม่ชดั เจน จะใชว้ ิธใี ดในการหาจำนวนคนจากรอย ก. ขีดกรอบยาว 36 นว้ิ แล้ว หารดว้ ย 2 ข. ขีดกรอบยาว 18 นว้ิ ค. หารอยเทา้ หลัก ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก วิชาครูทหาร 1. การฝึกภาคสนามของหลักสูตรต่างๆนนั้ เป็นการนำเอาหลักการสอนขอ้ ใดมาใช้มากท่ีสดุ ? ก. การเรา้ ใจ ข. ความร้เู ดมิ ค.ความสมจริง ง. การตอบสนอง 2. องค์ประกอบของการกลา่ วนำท่ีต้องนำมากล่าวเสมอในครงั้ แรกของการสอน คืออะไร ? ก. การแนะนำตวั ของครู ข. การแนะนำอุปกรณก์ ารสอน ค. ความมุง่ หมายและเหตผุ ลในการเรียน ง. ตอ้ งกลา่ วทง้ั หมดทกุ ข้อ 3. ในขัน้ ตอนการอธิบายของครู ส่งิ ท่ีครูจะต้องคำนึงถึงมากท่ีสดุ คือ ? ก. การเนน้ หัวขอ้ สำคัญ ข. การรักษาความสนใจของนักเรียน ค. การต่อเนื่องระหว่างหัวข้อการสอน ง. ต้องกระทำทุกหัวขอ้ ทีก่ ลา่ วมา 4. หัวขอ้ สำคญั ท่ีนำมาอธบิ ายในการสอนคร้ังแรกเพ่ือให้นักเรยี นจดจำได้ง่าย ควรมีกห่ี ัวข้อ ? ก. ๒ - ๓ หวั ข้อ ข. ๔ - ๕ หัวขอ้ ค. ๖ - ๗ หัวขอ้ ง. กีห่ ัวข้อกไ็ ดแ้ ล้วแต่เรอ่ื งทสี่ อน 5. วธิ ีสอนมอี ยู่หลายวิธี การที่จะเลือกใช้วธิ กี ารสอนแบบใดนนั้ จะขึ้นอยู่กับปจั จยั ในเร่ืองอะไรบา้ ง ? ก. จำนวนนักเรยี น ข. เรือ่ งท่สี อนและเวลา ค. พนื้ ฐานความรู้ของนกั เรยี น ง. ตอ้ งพจิ ารณาทุกข้อท่ีกลา่ วมา 6. วธิ กี ารสอนแบบใด ที่ไมส่ ง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนใชค้ วามคิดและจะไมน่ ำมาสอนกับนกั เรียนระดบั ต่ำๆ ? ก. วิธสี อนแบบเชิงแสดง ข. วิธสี อนแบบเชิงประชุม ค. วธิ สี อนแบบเชงิ บรรยาย ง.วิธีสอนแบบแก้ปญั หา 7. วิธีสอนแบบใด ทเี่ ร้าใจให้นักเรยี นสนใจ และระวงั ตวั เพ่อื ตอบคำถามอย่ตู ลอดเวลาท่ีครสู อน ? ก. วธิ ีสอนแบบเชิงบรรยาย ข. วิธสี อนแบบเชงิ ประชุม ค. วธิ ีสอนแบบเชงิ แสดง ง. ทุกวิธีที่กล่าวมา
8. ข้อใดกล่าวถกู ต้องท่สี ดุ เกย่ี วกบั การพดู ของครู ? ก. พูดเชน่ เดยี วกบั สนทนา ข. พดู เช่นเดียวกับการให้โอวาท ค. จังหวะการพูดต้องสม่ำเสมอ ง. ระดับเสยี งในการพดู จะต้องสมำ่ เสมอ 9. ครูควรให้นักเรียนมีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอนมากท่ีสุด วธิ กี ารที่ถูกต้องควรทำอยา่ งไร ? ก. ให้นักเรียนชว่ ยแจกเอกสาร ข. ใหน้ ักเรียนช่วยลบกระดาน ค. ให้นักเรียนตงั้ คำถามและตอบคำถาม ง. ทกุ ข้อทีก่ ล่าวมา 10. ลักษณะของคำถามที่ดี ควรเป็นอย่างไร ? ก. ควรเน้นหลายๆจุด ข. ควรมีคำตอบทกี่ ว้างๆ ค. ควรตอบได้หลายคำตอบ ง. ควรมีจุดม่งุ หมายประการเดยี ว 11. ขณะทำการสอนหรอื เมอ่ื สอนจบบทเรยี นแล้ว นักเรียนถามคำถามมาก จำนวนคำถามจะเปน็ เคร่ือง บง่ ช้ีถงึ เรอื่ งอะไรมากทสี่ ดุ ? ก. นกั เรียนสนใจเรียนในวชิ านั้น ข. บทเรยี นน้ันครูสอนได้ดมี าก ค. บทเรยี นนั้นมคี วามสำคัญมาก ง. บทเรยี นน้ันเป็นเรื่องทยี่ ากมาก 12. การจะเลือกใช้อุปกรณ์การสอนหรอื เคร่ืองช่วยฝึกแบบใดน้ัน ปจั จัยทีส่ ำคัญที่สุดจะต้องนำมาพิจารณา เปน็ อนั ดบั แรก คืออะไร ? ก. เนอ้ื หาของวชิ าทีส่ อน ข. ความมงุ่ หมายของบทเรยี น ค. ขนาดหรอื สภาพของห้องเรียน ง. จำนวนนักเรียนและเวลาที่มีอยู่ 13. ในการเตรยี มการสอนบทเรียนเรือ่ งใดนั้น สง่ิ แรกท่คี รูจะต้องนำมาพิจารณา คืออะไร ก. วธิ ีดำเนินการสอน ข. การทำแผนการสอน ค. ความมุง่ หมายของบทเรยี น ง. เอกสารหรอื หลักฐานอ้างอิง 14. แผนการสอน ครจู ดั ทำข้ึนเพอื่ อะไร ? ก. เพือ่ ใชเ้ ปน็ คมู่ ือการสอน ข. เพอ่ื ให้สามารถสอนแทนกันได้ ค. เพอ่ื ใชเ้ ป็นตำรามาทำการสอน ง. เพ่อื ใชเ้ ปน็ หลักฐานการรบั ตรวจ 15. หลังจากทำแผนการสอนเรียบรอ้ ยแล้ว ข้นั ตอนต่อไปจะต้องทำอะไรก่อนทำการสอน ? ก. เขา้ สอนไดเ้ ลย ข. ต้องมีการซักซ้อมทดลอง ค. ต้องมีการตรวจสอบครั้งสุดทา้ ย ง. เตรียมหลักฐานทางธรุ การให้เรยี บรอ้ ย 16. ถ้าต้องการวดั ทักษะของนกั เรียนในการถอดประกอบอาวธุ ยุทโธปกรณ์ แบบของการประเมินผล ท่เี หมาะสมทสี่ ดุ ที่จะนำมาใช้ คือแบบใด ? ก. การสงั เกต ข. การสมั ภาษณ์ ค. การทดสอบปฏบิ ตั ิ ง. การทดสอบข้อเขียน
17. หน้าที่และความรับผดิ ชอบเก่ยี วกบั เร่อื งการฝึกน้ัน ผู้อำนวยการฝึกคือผู้ท่ีรับผดิ ชอบในเรื่อง การวางแผน การ ฝกึ , การจดั ระเบยี บการฝึก , การดำเนินการฝึกและการประเมนิ ผลการฝึก ส่วนผู้ฝึกหรือครฝู ึกมหี น้าท่ี แตกตา่ งจากผู้อำนวยการฝกึ ในเรือ่ งอะไร ? ก. การดำเนินการฝึก ข. การเตรยี มการฝึก ค. การประเมนิ ผลการฝึก ง. การจัดระเบียบการฝกึ 18. องค์ประกอบของวัตถปุ ระสงค์ของการฝึก ซึ่งมีอยู่ ๓ ประการคือ ก. กจิ เฉพาะ , เง่ือนไข , การเตรียมการฝึก ข. กจิ เฉพาะ , การดำเนินการฝึก , การประเมนิ ผลการฝกึ ค. กจิ เฉพาะ , เงอ่ื นไข ,มาตรฐานการฝึก ง. กิจเฉพาะ , เง่อื นไข , การประเมินผลการฝึก คุณลักษณะยานยนตท์ หาร 1. รยบ. ๑/๔ ตนั ๔ x ๔ เอม็ ๑๕๑ เอ.๑ อยากทราบวา่ ๑/๔ ตนั หมายถึงอะไร ? ก. น้ำหนกั รถ ข. น้ำหนกั บรรทกุ ค. นำ้ หนกั บรรทุกในภูมิประเทศ ง. นำ้ หนักท้งั หมดของรถ 2. ระยะปฏบิ ตั กิ าร หมายความวา่ อย่างไร ? ก. ระยะทางที่รถยนต์นำกำลงั พลเข้าถึงที่หมายด้วยความปลอดภัย ข. ระยะทางที่ยานยนต์สามารถทำงานไดภ้ ายในนำ้ มันเชอ้ื เพลิงเต็มถงั ค. ระยะทางทีย่ านยนตน์ ำกำลงั พลไปสง่ ยังท่หี มาย และกลบั ดว้ ยความปลอดภัย ง. ขน้ึ อย่กู ับดุลพนิ จิ ของ ผบช. 3. การแบง่ ประเภทของยานยนต์ตามลักษณะการใชง้ าน จะแบ่งได้ก่ปี ระเภท อะไรบา้ ง ? ก. ๒ ประเภท ๑. ยานยนตธ์ รุ การ ๒. ยานยนตย์ ทุ ธวธิ ี ข. ๒ ประเภท ๑. ยานยนตใ์ ช้งานท่ัวไป ๒. ยานยนตใ์ ชง้ านพิเศษ ค. ๓ ประเภท ๑. ยานยนต์ลอ้ ๒. ยานยนตส์ ายพาน ๓. ยานยนตส์ ะเทนิ น้ำสะเทินบก ง. ๓ ประเภท ๑. ยานยนต์ใช้งานทวั่ ไป ๒. ยานยนตใ์ ชง้ านพเิ ศษ ๓. ยานยนต์ติดตั้งอุปกรณพ์ ิเศษ 4. ถา้ แบง่ ประเภทยานยนต์ ตามลกั ษณะการใชง้ าน อยากทราบวา่ รยบ. ๒ ๑/๒ ตนั เอ็ม ๓๕ จะจัดอยใู่ น ยานยนตช์ นดิ ใด ? ก. ยานยนตธ์ ุรการ ข. ยานยนต์ใชง้ านทัว่ ไป ค. ยานยนต์ยทุ ธวิธี ง. ยานยนตต์ ดิ ตั้งอุปกรณ์พิเศษ 5. รถกู้ ๕ ตัน จดั อยใู่ นยานยนตแ์ บบใด ? ก. ยานยนต์ใชง้ านท่ัวไป ข. ยานยนตร์ บ ค. ยานยนตใ์ ช้งานพเิ ศษ ง. ยานยนตต์ ดิ ต้งั อปุ กรณ์พิเศษ
6. ขอ้ ใดคือคุณลักษณะท่ีสำคัญของยานยนตท์ ใ่ี ชใ้ นราชการทหารทกุ ชนิด ? ก.มยี างอะไหล่ ข. มกี วา้ น ค. การขบั ทุกล้อ ง. มุมขน้ึ ลาด - ลงลาดนอ้ ย 7. ข้อใด ไม่ใช่คณุ ลกั ษณะของยานยนตท์ ใี่ ช้ในราชการทหาร ? ก. มกี ันชนหนา้ - หลังแขง็ แรง ข. ต้องมีระยะสูงพน้ พืน้ น้อย ค. มีขอลากจงู ง. การขับทุกล้อ 8. รยบ. ๑/๔ ตนั แบบ เอม็ ๑๕๑ มถี ังนำ้ มนั เชือ้ เพลงิ จุเท่าไร? ก. ๔๐ ลติ ร ข. ๔๕ ลิตร ค. ๕๐ ลิตร ง. ๖๕ ลติ ร 9. รยบ. ๑/๔ ตัน เอม็ ๗๑๘ มคี วามจำเปน็ ต้องข้ามลำธาร ขณะนนั้ มนี ้ำลกึ ๒๐ นว้ิ อยากทราบว่าข้ามได้หรือไม่? ก. ขา้ มไดป้ กติ ข. ขา้ มได้ต้องใชอ้ ุปกรณ์ช่วย ค. ข้ามไม่ได้ ง. ถ้าระดับน้ำลกึ ไม่ถงึ ๒๐ น้ิวถงึ ข้ามได้ 10. การตั้ง ปรส. ๑๐๖ ในอตั รา กรม ร. ปัจจุบนั ใช้ รยบ. ๑/๔ แบบใด ? ก. เอ็ม. ๖๐๖ ข. เอม็ . ๗๑๘ ค. เอ็ม. ๘๒๕ ง. แบบ ซีจี ๓ บี - เจ ๔ ซี 11. ข้อใดมิใชค่ วามมุ่งหมายในการใช้ รยบ. ๑/๔ ตัน ๔X๔ ? ก. รถกซู้ ่อมฉุกเฉิน ข. ลาดตระเวน ค. รถบังคับบญั ชา ง. ลำเลียงสมั ภาระ 12. การนำ รบย. ๔X๔ แบบ ๕๐เขา้ มาใชใ้ นกองทับบก เพ่ือทดแทน รยบ. อะไร ? ก.รยบ. ๑/๔ ตัน M ๑๕๑ ข. รยบ. ๑ ตนั ค. รยบ. ๑ ๑/๔ ตนั ง. รยบ.๒ ๑/๒ ตนั วิชาผู้นำทางทหาร 1. ขอ้ ใด ผนู้ ำไม่ควรนำใช้มากที่สดุ ในการจูงใจผู้ใตบ้ ังคับบญั ชา ? ก. การใหร้ างวัลควรให้ในเวลามกี ารประชุมชแ้ี จง ข. การตำหนคิ วรตำหนิในที่ประชุมเทา่ นน้ั เพอ่ื ใหท้ ราบด้วยท่ัวกัน ค. การให้รางวลั ควรใช้เป็นคำชมเชยมากกว่าเป็นสง่ิ ของ ง. การตำหนคิ วรเรยี กมาตำหนสิ องต่อสอง 2. ข้อใดเปน็ รากฐานของพฤติกรรม ? ก. ความตอ้ งการบังคบั บญั ชา ข. ความต้องอันเกิดจากการเรียนรู้ ค. ความต้องการรวมกลมุ่ ง. ความตอ้ งการปจั จัย ๔
3. ผ้นู ำอาศยั หลกั เกณฑ์อะไรเพ่อื เป็นเคร่ืองบ่งบอกผลการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยว่าจะสำเรจ็ หรอื ล้มเหลว ? ก. หลักการผนู้ ำ ข. คุณลกั ษณะผูน้ ำ ค. สงิ่ ชส้ี อบความเป็นผนู้ ำ ง. พฤติกรรมมนษุ ย์ 4. การปฏิบัตติ นยึดมน่ั อยู่ในหลกั ธรรมและรกั ษาสัจจะวาจาโดยสม่ำเสมอพดู ส่งิ ใดก็ปฏิบตั ิตามนั้นเป็น คุณลกั ษณะของผู้นำเร่ืองใด ? ก. วจิ ารณญาณ ข. ความอดทน ค. ความยตุ ธิ รรม ง. ความซือ่ สัตย์ 5. ความเจรญิ ก้าวหน้าทางด้านวทิ ยาการของโลก น้ันจะเจริญก้าวหนา้ ไปอย่างไมห่ ยุดยั้งและมีการ พัฒนาให้เจริญยิง่ ๆ ขนึ้ ไปตลอดเวลา ทา่ นจะพิจารณาคุณลักษณะของผนู้ ำในเรอ่ื งใดจึงจะได้ช่ือ วา่ เป็นผู้นำทที่ ันสมัย ? ก. ความรู้ ข. กาลเทศะ ค. ความกระตือรือร้น ง. ความเป็นผู้เช่ือถือได้ 6. ขอ้ ใดทจี่ ะไม่ทำให้ตวั ผ้นู ำล้มเหลว ? ก. ไม่มีความรแู้ ละไม่ศกึ ษา ข. ไมเ่ ขา้ ใจความต้องการของคน ค. ใชเ้ วลาในการประมาณสถานการณ์ ง. ใช้คนไมต่ รงกบั งาน 7. ขอ้ ใดเป็นวัตถุประสงค์สำคัญที่สุดของความเป็นผู้นำทางทหาร ? ก. เพอื่ ให้ทราบถึงพฤติกรรมของมนษุ ย์ ข. การปฏิบัติภารกจิ ใหส้ ำเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดีโดยส้นิ เปลืองเคร่ืองมือและเวลานอ้ ยทส่ี ุด ค. เพ่ือใหท้ ราบและมีความเข้าใจหลักการของผู้นำ ง. เพือ่ สรา้ งสรรค์ใหม้ ีขวัญและความรักหมู่คณะ 8. การรู้จักใชส้ ามญั สำนึกตกลงใจแกป้ ัญหาต่างๆด้วยความรอบคอบและสามารถแกป้ ัญหาต่างๆ ได้ สำเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี เปน็ คณุ ลกั ษณะผนู้ ำเรื่องใด ? ก. กล้าหาญ ข. วิจารณญาณ ค. ความยตุ ิธรรม ง. กาลเทศะ
9. การปกครองบังคบั บัญชาอย่างตรงไปตรงและ ไม่มีอคติต่อผู้บังคบั บัญชาคนใด ด้วยความเสมอภาค การ ปฏิบตั ิเช่นนต้ี รงกับ คุณลักษณะผนู้ ำเร่อื งใด ? ก. ความจงรกั ภักดี ข. ความกลา้ หาญ ค. ความไมเ่ หน็ แก่ตวั ง. ความยุตธิ รรม 10. คำพดู ท่ีว่า “ ไมฆ่ ่าน้อง ไม่ฟ้องนาย ไมข่ ายเพ่ือน” ไมน่ ำปญั หาส่วนตวั ของผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาของตน ไปนนิ ทาใหผ้ ้อู ่ืนฟงั ไม่วพิ ากษว์ จิ ารณ์ผ้บู งั คบั บัญชาของตนต่อหน้าผู้ใต้บงั คบั บญั ชาเป็นคุณลกั ษณะ ผนู้ ำเร่ืองใด ? ก. กาลเทศะ ข. วิจารณญาณ ค. ความจงรกั ภกั ดี ง. การไม่เห็นแก่ตัว 11. เครอ่ื งชี้ความเป็นผู้นำเป็นสิ่งทจี่ ะชใ้ี หเ้ หน็ ถึงความสำเร็จหรอื ความลม้ เหลวในการเปน็ ผนู้ ำทางทหาร นน้ั ไดแ้ ก่อะไรบ้าง? ก. ความร้คู วามชำนาญ ข. หลักการของผ้นู ำ ค. คณุ ลกั ษณะของผู้นำ ง. พฤติกรรมของมนุษย์ 12. ถ้ากำลังพลในหน่วยงานของทา่ นมีขีดความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านตามหน้าทีห่ รือภารกจิ ทีไ่ ดร้ ับ มอบอยู่ในระดับมาตรฐานทีส่ ูง แสดงว่าหน่วยของทา่ นมีสถานภาพอยา่ งไร ? ก. มคี วามรักหมคู่ ณะ ข. มขี วัญดี ค. มวี ินัยดี ง. มคี วามร้คู วามชำนาญดี 13. การสร้างความประทับใจ ใหเ้ ปน็ ที่นยิ มของผู้อน่ื อยู่ตลอดเวลา ทั้งกาย วาจา ใจ คอื ข้อใด ? ก. การวางทา่ ทาง ข. ความยุติธรรม ค. สมรรถภาพ ง. การยอมรบั นับถือ
14. ข้อใดเปน็ ความมุ่งหมายของการเรยี นวชิ าผ้นู ำทางทหาร ? ก. เพือ่ ใหท้ ราบและมคี วามเขา้ ใจในศลิ ปะแห่งความเป็นผู้นำ ข. เพอ่ื ให้ทราบถึงพฤตกิ รรมของมนุษย์ ค. เพ่ือให้ทราบถึงวตั ถปุ ระสงคข์ องความเปน็ ผนู้ ำทหาร ง. เพือ่ ให้ทราบและมคี วามเข้าใจหลกั การของผนู้ ำ 15. องคป์ ระกอบของความเป็นผ้นู ำทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ ขอ้ ใดไม่เก่ียวข้องกับ “การจดั การ” ? ก. การวางแผน ข. อำนาจเต็ม ค. อำนวยการ ง. ประสานงาน 16. ข้อความใดมีความหมายตรงกับคำว่า “ความรกั หมู่คณะ” ? ก. ความจงรกั ภักดี ความภาคภมู ใิ จ ความศรัทราต่อหน่วยและบคุ คลที่อยู่รว่ มกัน ข. ความจงรักภักดี ความภาคภมู ิใจ ความศรัทราในตัวผ้นู ำและหนว่ ยทมี่ ีประสิทธิภาพ ค. ความจงรกั ภกั ดี ความภาคภูมิใจ ความศรัทราตอ่ หนว่ ยท่ีสมาชกิ แต่ละบคุ คลของหนว่ ย แสดงออกใหเ้ ห็น ง. ความจงรักภกั ดีท่ีบุคคลในหน่วยมีใหซ้ ่งึ กนั และกัน 17. คำว่า “ความรูค้ วามชำนาญ” มคี วามหมายตรงกบั ข้อความใด ? ก. ขดี ความสามารถของบุคคลและของหนว่ ยท่ีปฏบิ ัติภารกิจให้สำเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี ข. ขดี ความสามารถของบุคคลและของหน่วยท่ปี ฏบิ ัติงานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ค. ขีดความสามารถของบุคคลที่ปฏบิ ัตงิ านตามหน้าท่ีได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ง. ขดี ความสามารถของบคุ คลและของหน่วยทัง้ ในทางเทคนคิ ทางยุทธวธิ ี และทางรา่ งกาย 18. ข้อใดเปน็ องคป์ ระกอบของความเป็นผู้นำ ? ก. ตวั ผ้นู ำ ส่ิงแวดลอ้ ม สถานการณ์ ข. ตวั ผนู้ ำ หน่วยทหาร สถานการณ์ ค. ตัวผู้นำ หนว่ ยทหาร สิง่ แวดลอ้ ม ง. ตวั ผนู้ ำ พฤติกรรม ส่ิงแวดล้อม จ.
วชิ าแผนท่ี ๑. ข้อระวังในการใช้และเก็บรกั ษาเข็มทิศแบบเลนเซติก ข้อใดกล่าวถกู ต้อง ? ก. เมอื่ ไม่ใชจ้ ะต้องเกบ็ ใส่กล่องให้เรยี บร้อย ข. ควรใหห้ า่ งจากสายโทรเลข 10 เมตร ค. จะตอ้ งอยูห่ า่ งจากปืนใหญส่ นามน้อยกวา่ 18 เมตร ง. ตอ้ งหา่ งจากปืนกล 0.2 เมตร 2. ขนาดระวางมาตรฐาน ของแผนท่ี 1 : 50,000 คือข้อใด ? ก. 7΄30x 7΄30 ข. 15΄x 15΄ ค. 1˚x 1˚30΄ ง. 4˚x 6˚ 3. การกำหนดพิกัดกริดใกล้เคียง 100 เมตรหรือการอา่ นพิกัดใกล้เคียง ๑๐๐ เมตร ต้องอ่านด้วยตัวเลขกต่ี วั ก. ๘ ตวั ข. ๗ ตวั ค. ๖ ตวั ง. ๕ ตัว 4. การจบั ถอื เขม็ ทศิ เพ่อื ใช้งานมีอยดู่ ว้ ยกันกว่ี ธิ ี ? ข. 4 วธิ ี ก. 5 วิธี ค. 3 วิธี ง. 2 วธิ ี 5. เส้นช้นั ความสงู ทีม่ ีลกั ษณะคล้ายอักษร “U”หรือ“V” หนั ปลายฐานไปสู่ท่ีตำ่ คือลักษณะภูมปิ ระเทศเป็น อะไร ก. คอเขา ข. หุบเขา ค. สันเขา ง. ยอดเขา 6. วงแหวนของครอบหน้าปัดเขม็ ทิศ เมือ่ หมุนไป 1 คลก๊ิ หมนุ ทางทิศเหนือจะเปลีย่ นไปก่ีองศา ก. 2 องศา ข. 3 องศา ค. 1 องศา ง. 5 องศา 7 . สว่ นประกอบของเข็มทิศแบบเลนเซติกท่ีสำคญั มี 3 สว่ น ขอ้ ใดถกู ก. ฝาตลับเขม็ ทศิ , ครอบหนา้ ปัดเขม็ ทิศ, เรอื นเข็มทิศ ข. ก้านเล็ง, ฝาตลับเขม็ ทศิ , เรือนเข็มทิศ ค. เรอื นเข็มทศิ , ก้านเล็ง, หนา้ ปัดเข็มทิศ ง. ไม่มขี ้อถูก 8. การใชเ้ ขม็ ทิศเลนเซตกิ เพื่อวดั มุมภาคทศิ เหนือบนแผนท่ี ขนั้ ตอนแรกท่สี ำคญั ทสี่ ดุ จะต้องปฏบิ ตั อิ ย่างไร? ก. ต้ังเข็มทศิ ปกติ ข. หวั ลกู ศรทับดัชนสี ีดำ ค. วางแผนท่ีให้ถกู ทิศ ง. ตวั เรอื นเขม็ ทิศทับจดุ เริ่มตน้ ฝาตลบั เขม็ ทิศทบั ท่ีหมาย 9. หากต้องการแปลงมุมภาคทศิ เหนือ ๙๐ องศา ให้เป็นมุมภาคทิศเหนือกลับ จะได้เทา่ กับก่ีองศา ก. ๑๘๐ องศา ข. ๒๗๐ องศา ค. ๒๐ องศา ง. ๐ องศา 10. การวัดมุมภาคทศิ เหนือบนแผนทโ่ี ดยใชเ้ คร่อื งมอื p –67 หากมุมทต่ี ้องการวัดมากกว่า 180 องศา เราจะหนั สว่ นโคง้ ของเครื่องมือไปในลักษณะใด
ก. หนั สว่ นโค้งไปทางซ้าย ข. หนั สว่ นโคง้ ไปทางใดก็ได้ ค. หันสว่ นโค้งไปทางขวา ง. หนั ส่วนโค้งขนึ้ ดา้ นบน 11. เครอื่ งมอื P – 67 สามารถใชง้ านไดห้ ลากหลาย ขอ้ ใดทีไ่ ม่สามารถใช้งานได้ ก. วัดระยะในภูมิประเทศ ข.วดั มุมภาคทศิ เหนือ ค. อ่านพิกดั กรดิ ง.วดั ระยะบนแผนที่ 12. การใช้เข็มทิศเพื่อใช้งานในเวลากลางคืน หลังจากที่หมุนแหวนครอบหน้าปัดเข็มทิศให้ขีดพรายน้ำยาว และหัวลกู ศรทับกับมมุ ภาคทิศเหนอื ที่ตอ้ งการแลว้ ทิศทางหรือแนวทจ่ี ะต้องเดนิ ทาง คือแนวใด ? ก. หวั ลูกศร ข. ขีดพรายน้ำยาว ค.แนวฝาตลบั เขม็ ทศิ ง. ไม่มีข้อใดถกู 13. รูปลายเสน้ ท่เี ขียนแสดงผิวพ้นื พิภพ ลงบนพ้ืนราบตามมาตราส่วน ส่ิงทมี่ นุษย์สรา้ งขนึ้ และทป่ี รากฏตาม ธรรมชาตจิ ะแสดงด้วยสญั ลักษณ์เสน้ และสี เปน็ ความหมายของอะไร ? ก. สญั ลักษณ์ของแผนท่ี ข. สญั ลักษณ์ทางทหาร ค. แผนที่ ง. ถกู ทุกข้อ 14. เส้นชั้นความสูงบนแผนที่ ปกติจะเขียนด้วยเส้นสีน้ำตาล ที่ลากผ่านตำบลต่าง ๆ ที่มีความสูงเท่ากันเป็น เส้นโค้ง เรียบ ส่วนใหญ่จะเขียนแล้วมาบรรจบตัวเอง ถ้าบริเวณที่เส้นชั้นความสูงเขียนในลักษณะคล้ายตัว “U” หรอื “V” ทหี่ ันปลายฐานไปสทู่ ี่สูง เรียกวา่ อะไร ? ก. หบุ เขา ข. สันเขา ค. คอเขา ง. ลาดแอน่ (เวา้ ) 15. การกำหนดพกิ ัดกรดิ ใกล้เคยี ง 10 เมตรหรือการอ่านพกิ ัดใกล้เคียง ๑๐ เมตร ต้องอา่ นดว้ ยตวั เลขกตี่ วั ก. ๘ ตัว ข. ๗ ตัว ค. ๖ ตวั ง. ๕ ตัว 16. พกิ ัดของอำเภอปราณบรุ ี คอื พิกดั ใด ? ก. 47P NP ๙๙๖๗๐๔ ข. 47P NP ๗๐๔๙๙๖ ค. 47PPP ๙๙๖๗๐๔ ง. 47P 745596 17. มาตราส่วนเส้นบรรทดั ( Bar Scale ) ปรากฏอยู่สว่ นใดของบขอบระวาง ก. ก่งึ กลางขอบระวางด้านลา่ ง ข. มุมขวาขอบระวางดา้ นลา่ ง ค. กง่ึ กลางขอบระวางด้านบน ง. มมุ ซา้ ยขอบระวางดา้ นลา่ ง 18. โดยปกตถิ ้าเราต้องการจะอ่านค่ามุมภาคทิศเหนือบนเขม็ ทศิ เลนเซตกิ จะต้องอ่านค่ามมุ ภาคทิศ เหนือท่ีส่วนใดบนหนา้ ปดั เข็มทิศ ก. เส้นดัชนชี ้ีมุมภาคทศิ เหนือ ข. เส้นดชั นีสดี ำ ค. หัวลกู ศร ง. ก. และ ข. ถกู
ขอ้ สอบวิชา ฝ่ายอำนวยการ 1. เมื่อ ผบ.หนว่ ยทำการวเิ คราะหป์ จั จัย METT-TC แล้วผลลัพธ์ในการวเิ คราะหจ์ ะเปน็ ข้อมูลในการกระทำ หรือ ปฏบิ ัตกิ ารตามระเบยี บนำหน่วยขอ้ ใด ก. วางแผนขน้ั ต้น ข. วางแผนสมบูรณ์ ค. ใหค้ ำสงั่ เตอื น ง. ออกคำส่ังยุทธการ 2. ผบ.หน่วยทำการวิเคราะห์ปจั จยั METT-TC ตัวอักษร “C ” หมายรวมถงึ อะไร ก. การควบคมุ บังคบั บญั ชา ข. ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถน่ิ ค. การกำบังและการซอ่ มพราง ง. กระจ่างแจง้ ชัดเจน 3. ระเบยี บการนำหน่วย ๘ ข้ัน ข้อใดกลา่ วไม่ถูกต้อง ก. ขัน้ ท่ี ๑ รับภารกิจ “ภารกิจได้มาจาก ๑.ผบ.หนว่ ยคิดขึ้นเอง ๒.หนว่ ยเหนือมอบให้ ข. ขน้ั ท่ี ๒ คำสัง่ เตอื น มีแบบฟอร์มทตี่ ายตัวเปล่ยี นแปลงไม่ไดถ้ ูกต้องตามแบบของคำสงั่ เตอื น ออกได้ ไม่เกิน ๑ ครง้ั ต่อ๑ภารกิจ และไมจ่ ำเป็นต้องระบุเวลา/สถานท่ีทอี่ อกคำสั่งยุทธการ ค. ขัน้ ท่ี ๕ การลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศ หากผบ.หนว่ ย ไม่สามารถตรวจภมู ิประเทศดว้ ยตนเอง ผบ.หนว่ ยสามารถลาดตระเวนบนแผนทีไ่ ด,้ และสามารถสอบถามหนว่ ยลาดตระเวนของฝ่ายเราได้ ง. ขัน้ ที่ ๗ การออกคำสงั่ สมบูรณ์หากไมส่ ามารถมองเหน็ ท่ีหมาย ผบ.หนว่ ยสามารถจดั ทำภมู ปิ ระเทศ จำลองหรอื ภาพสังเขปเพ่อื ประกอบการออกคำส่ังได้ 4. การประมาณสถานการณข์ องผู้บังคับหน่วยทางยุทธวธิ ีนั้นมี ๕ ข้อ อยากทราบวา่ การประมาณ สถานการณ์ ในทข่ี อ้ ท่ี ๔ กลา่ วถึงเร่ืองอะไร ก. การเปรียบเทียบหนทางปฏบิ ัตขิ องฝ่ายเรา ข. การวิเคราะหห์ นทางปฏิบัตขิ องท้ังสองฝ่าย ค. ข้อตกลงใจ ง. สถานการณแ์ ละหนทางปฏิบตั ิ 5. การประมาณสถานการณ์ของผู้บังคบั หนว่ ยทางยุทธวธิ ีนั้นมี ๕ ขอ้ อยากทราบว่า การประมาณ สถานการณ์ ในท่ขี อ้ ท่ี ๔ กล่าวถึงเรื่องอะไร ก. การเปรยี บเทยี บหนทางปฏบิ ตั ขิ องฝ่ายเรา ข. ภารกจิ ค. ขอ้ ตกลงใจ ง. สถานการณ์และหนทางปฏิบตั ิ
6. ปัจจยั การยทุ ธ์ (METT – TC) อยากทราบวา่ T ตวั แรก คือข้อใด ก. ภมู ิประเทศและลมฟา้ อากาศ ข. เวลาท่ีมอี ยู่ ค. ขา้ ศกึ ง. กำลังทีม่ ีอยู่ 7. ผบ.หนว่ ยจะดำเนินการตามขน้ั ตอนการประมาณสถานการณ์หรอื ข้นั ตอนการแกป้ ัญหาอยา่ งละเอยี ดเทา่ ท่ี เวลาจะอำนวยในการดำเนินการดังกลา่ วตามระเบยี บการนำหนว่ ย ขั้นที่ ๓ การวางแผนขั้นตน้ โดยใช้ ปัจจัย มูลฐาน METT – T มาใช้ อยากทราบว่า T – Terrain and Weather ซง่ึ ต้องนำข้อพจิ ารณาลักษณะ ภมู ิ ประเทศทางทหาร OCOKA มาพิจารณาอยากทราบว่า ถา้ หากไม่อยากให้ขา้ ศึกทำการยงิ จากอาวุธยงิ เลง็ ตรง และเล็งจำลอง หรือตรวจการณ์พล ควรนำขอ้ พิจารณาทางทหารขอ้ ใดมาใช้ ก. O ข. C ค. K ง. A 8. ขอ้ พจิ ารณาลักษณะภมู ิประเทศ (OCOKA) ตวั A หมายถงึ อะไร ก. การตรวจการณ์และการยงิ ข. การกำลงั และซ่อนพราง ค. แนวทางการเคลื่อนท่ี ง. เครื่องกดี ขวาง 9. พน้ื ท่ี หากฝา่ ยใดฝา่ ยหน่ึงยึดหรือครอบครองไว้ได้และเกิดความไดเ้ ปรียบอย่างเห็นได้ชัด เรยี กวา่ อะไร ก.พน้ื การยงิ ข.เคร่ืองกีดขวาง ค.ภมู ปิ ระเทศสำคญั ง.แนวทางการเคล่ือนท่ี 10. ผบ.มว.ปล.ออกคำสั่งให้ ผบ.หมู่ ปล. ท่ี ๑,๒,๓ และ ผบ.หมู่ ปก.คำสั่งมรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ “ภารกิจ มว.ปล. ที่ ๑ จะเข้าตใี น ๑๖๐๙๐๐ ก.พ.๕๒ เพื่อเขา้ ยึดเขานกกระจบิ ให้ ผบ.หมู่ ปล. ท่ี ๑,๒,๓ และ ผบ. หมู่ ปก. ไปรบั คำส่ังเข้าตที ี่ ตก.หมวด บริเวณพิกัด NP ๙๒๑๗๔๓ ใน ๑๕๐๘๐๐ ก.พ.๕๒” หมายถงึ คำสั่งข้อ ใด ก. คำส่ังเปน็ ส่วนๆ ข. คำส่ังช้ีแจง ค. คำสั่งยทุ ธการ ง. คำส่ังเตอื น
11. คำสั่งยทุ ธการในขอ้ ๒ ภารกจิ ซงึ่ เป็นภารกจิ แถลงใหม่ ผบ.หนว่ ย มักจะกระทำออกมาอย่างชัดเจน มี ใจความ ส้ันๆ สมบรู ณ์เขา้ ใจงา่ ยโดยจะกลา่ วเป็นรูปคำถามเรยี งตามลำดับหวั ข้อ ข้อใดกล่าวถูกต้องท่สี ดุ ก. ใคร, อะไร, เมื่อใด, ท่ีไหน, ทำไม ข. ใคร, เม่ือใด, อะไร, ที่ไหน, ทำไม ค. ใคร, เมอื่ ใด, ทไี่ หน, อะไร, ทำไม ง. ใคร, ทไ่ี หน, เม่อื ใด,อะไร, ทำไม 12. ระเบียบการนำหนว่ ยเปน็ กรรมวิธเี พ่ือให้บรรลุภารกจิ ที่ได้รบั มอบ เพ่ือให้ทุกคนทราบภารกจิ /เตรยี มการ พอ มี ๘ ขน้ั มกี รรมวิธีดำเนนิ การอยา่ งไร? ก. ต้องทำตามลำดบั ข้ัน ข. ไม่จำเป็นตอ้ งทำตามลำดบั ขนั้ ข้ึนอยู่กบั เวลาและสถานการณ์ ค. เปน็ กรรมวธิ ดี ำเนนิ การก่อนรบั ภารกจิ เทา่ นั้น ง. เป็นกรรมวธิ ดี ำเนนิ การหลกั รับภารกจิ เทา่ นั้น 13. เหตุใดหลงั จากรับภารกจิ และ ผบ.มว. ได้วิเคราะหก์ จิ ของตนเองเรียบร้อยแล้วจงึ ต้องออกคำส่ังเตือนให้แก่ ผบ.หมู่ ก. เพอ่ื เปน็ การใหค้ วามสนใจแก่ ผบ.หมู่ ข. เพอ่ื เปน็ การใหค้ วามยตุ ิธรรมแก่ ผบ.หมู่ ค. เพือ่ เปน็ การวางแผนคู่ขนานระหวา่ ง ผบ.มว. และ ผบ.หมู่ ง. เพื่อให้ ผบ.รอ้ ย รับทราบภารกิจตนเองก่อน ผบ.หมู่ 14. การลาดตระเวน ของ ผบ.มว. ถ้ามเี วลามากเพียงพอควรปฏิบตั อิ ย่างไร ก. ทำการ ลว. ตรวจภมู ปิ ระเทศบนพืน้ ดินด้วยตนเอง ข. ทำการ ลว. บนแผนที่ ค. ทำการ ลว. บนภมู ปิ ระเทศจำลอง ง. ให้ รอง ผบ.มว. เป็นผไู้ ป ลว. บนพนื้ ดนิ แทนตนเอง 15. การทำแผนสมบูรณ์ ผบ.มว. ควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ก. ใช้แผนขน้ั ต้น + การ ลว. ข. ทบทวนภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบจาก ผบ.ร้อย ค. แผนสอดคล้องเจตนารมณ์ของ ผบ.ร้อย และ ผบ.พัน. ง. ทก่ี ลา่ วมาแลว้ ถูกทุกข้อ
วิชา พลแมน่ ปนื 8. การใชศ้ นู ยห์ ลังของ ปลย.เอม็ 16 A 1 ในการยงิ ปรับปืนในสนาม 1000 นวิ้ (25 เมตร) ข้อใดถูกต้อง ? ก. ใช้ศูนยร์ ะยะใกล้ ข. ใช้ศูนยร์ ูใหญ่ ค. ใชศ้ นู ยร์ ะยะไกล ง. ใช้ศูนย์ R 9. ขอ้ ใดกลา่ วถึงหลักพ้ืนฐานการยงิ ปืน 4 ประการ ไดถ้ ูกต้องท่ีสุด ก. ท่ายงิ ทม่ี ่นั คง, การเล็ง, การควบคุมลมหายใจ, การลัน่ ไก ข. ทา่ ยิงทม่ี ่ันคง, การจดั ภาพศนู ย์พอดี, การจดั ศนู ย์น่ังแทน่ , การล่ันไก ค. ทา่ ยิงท่มี ัน่ คง, การเล็ง, การลั่นไก, การเล็งตาม ง. ทา่ ยิงทม่ี ั่นคง, การเล็ง, การผ่อนคลาย, การล่นั ไก 10. ในการปรบั ศูนย์ ปลย. เอม็ 16 A 1 เม่อื ต้องการให้ตำบลกระสนุ ถูกสงู ขึ้นตอ้ งทำอยา่ งไร? ก. หมุนศูนย์หน้าตามเข็มนาฬิกา ข. หมุนศนู ย์หน้าตามลูกศร UP ค. หมุนศูนยห์ นา้ ตามลูกศร R ง. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก 11. ข้อใดกล่าวถงึ ความมุ่งหมายของการยิงจดั กลุ่ม ไดต้ ้องที่สุด? ก. การยงิ ใหก้ ระสนุ ถูกเป้าเปน็ กลุ่มเลก็ และกลุ่มกระสนุ คงที่ ข. การยงิ ใหก้ ระสนุ ถูกก่งึ กลางเปา้ ค. การย้ายตำบลกระสนุ ให้ถูกเป้า ง. ไมม่ ีขอ้ ถูก 12. ข้อใดกล่าวถึงการลัน่ ไกได้ถูกต้องที่สุด ก. ลัน่ ไกอย่างเร็ว ข. ลน่ั ไกโดยการค่อยๆสรา้ งแรงบบี ค. ลั่นไกท่ลี ะคลิก ง. ล่ันไกโดยใชป้ ลายน้วิ โดยคอ่ ยๆสรา้ งแรงบีบ 13. ในเรอื่ งของหลกั พนื้ ฐานการยิงปืน 4 ประการ “การเล็ง”ประกอบดว้ ย ศนู ยห์ ลัง ศนู ย์หนา้ และเปา้ ตาผู้ ยงิ จะตอ้ งจ้องท่ีจุดใด? ก. เป้า ข. ศนู ยห์ ลัง ค. ศูนย์หนา้ ง. ถกู ทุกข้อ
14. ในการปรบั ปลย. เอม็ 16 A 1 เมอ่ื ต้องการปรบั ใหต้ ำบลกระสุนถกู ไปทางซ้าย ตอ้ งปรับศูนย์หลังอยา่ งไร? ก. ตามลกู ศร L ข. ตามลูกศร R ค. ทวนลกู ศร L ง. ทวนลกู ศร R 15. การปรับศนู ย์ ปลย. เอ็ม 16 A 1 ในระยะ 25 เมตร ท้ังทางทศิ และทางระยะ 1 คลกิ จะมคี า่ เท่าไร? ก. 0.77 มลิ ลเิ มตร ข. 0.7 มิลลิเมตร ค. 0.77 เซนติเมตร ง. 0.7 เซนติเมตร 9. ในเรือ่ งของหลักพนื้ ฐานการยิงปนื 4 ประการ “การเล็ง”ประกอบดว้ ย ศูนยห์ ลัง ศูนยห์ น้า และเปา้ ตาผู้ ยิงจะต้องจอ้ งท่จี ุดใด? ก. เป้า ข. ศูนยห์ ลงั ค. ศูนย์หน้า ง. ถูกทกุ ขอ้ 10. การใช้ศูนยห์ ลังของ ปลย.เอม็ 16 A 1 ในการยิงปรบั ปืนในสนาม 1000 นิว้ (25 เมตร) ขอ้ ใดถกู ต้อง ? ก. ใชศ้ นู ย์ระยะใกล้ ข. ใช้ศนู ย์รใู หญ่ ค. ใช้ศนู ย์ระยะไกล ง. ใชศ้ นู ย์ R 11. การปรบั ศนู ย์ ปลย. เอม็ 16 A 1 ในระยะ 25 เมตร ทั้งทางทศิ และทางระยะ 1 คลกิ จะมคี ่าเท่าไร? ก. 0.77 มิลลเิ มตร ข. 0.7 มลิ ลเิ มตร ค. 0.77 เซนติเมตร ง. 0.7 เซนติเมตร 12. ในการปรบั ปลย. เอ็ม 16 A 1 เม่อื ต้องการปรับให้ตำบลกระสุนถูกไปทางซา้ ย ต้องปรบั ศูนยห์ ลังอยา่ งไร? ก. ตามลกู ศร L ข. ตามลกู ศร R ค. ทวนลูกศร L ง. ทวนลูกศร R
13. ในการปรบั ศนู ย์ ปลย. เอ็ม 16 A 1 เม่ือต้องการให้ตำบลกระสุนถกู สูงขึ้นต้องทำอยา่ งไร? ก. หมุนศนู ยห์ นา้ ตามเขม็ นาฬิกา ข. หมุนศูนย์หน้าทวนเขม็ นาฬิกา ค. หมุนศนู ย์หลงั ตามเขม็ นาฬิกา ง. หมุนศนู ย์หลงั ทวนเขม็ นาฬิกา 14. ท่ายงิ พื้นฐานทลี่ ะนัดในการฝกึ พลแมน่ ปนื มีก่ีท่า จ. 5 ท่า ฉ. 4 ท่า ช. 3 ทา่ ซ. 6 ทา่ 15. ในเร่ืองของหลักพื้นฐานการยงิ ปนื 4 ประการ “ท่ายิงท่ีมั่นคง” ในการวางศอกข้างที่ไม่ถนดั ต้องวางใน ตำแหน่งใด ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด? จ. วางไว้ใต้ตัวปนื ฉ. วางไวข้ ้างตัวปนื ช. วางไว้ในตำแหนง่ ใดก็ได้ ซ. วางไวข้ า้ งลำตัว
แผนกวชิ ายุทธวิธี ๑. ปจั จัยทเี่ อือ้ อำนวยตอ่ การกอ่ ความไม่สงบ คอื ? ก. ประชาชนทลี่ ่อแหลม ข. รัฐบาลไม่เขม้ แข็ง ค. การนำและการช้นี ำ ง. ถูกทุกขอ้ ๒. เปน็ การสร้างความขัดแย้งต่อรฐั บาลอย่างยึดเยอ้ื ยาวนาน โดยใช้องคก์ รมวลชนเปน็ หลกั เปน็ รปู แบบการก่อความไม่สงบรูปแบบอะไร ? ก. แกนนำปฏวิ ตั ิ ข. บ่อนทำลาย ค. มงุ่ เน้นมวลชน ง. แบบดงั่ เดมิ ๓. รูปแบบการก่อความไมส่ งบรูปแบบอะไรที่ใชว้ ิธกี ารต่อสู้ยืดเย้อื ยาวนาน คือ ? ก. แกนนำปฏวิ ัติ ข. บอ่ นทำลาย ค. มงุ่ เนน้ มวลชน ง. แบบดั่งเดิม ๔. มเี อกภาพในการปฏิบตั ิ,ให้ขา่ วกรองมากท่ีสดุ , ลดความรนุ แรงน้อยที่สุด,รฐั บาลมีประสทิ ธิภาพ กล่าวถงึ เร่อื งไร ? ก. กำหนดการ ปปส. ข. หลักการในการ ปปส. ค. การวางแผนในการ ปปส. ง. วธิ ีปฏิบัตใิ นการ ปปส. ๕. การแบง่ พน้ื ที่ในการ ปปส. มีก่พี ื้นท่ีอะไรบ้าง ? ก. ๓ พนื้ ท่ี แดง,เหลือง,เขียว ข. ๓ พนื้ ที่ แดง,เหลอื ง,ส้ม ค. ๒ พ้นื ท่ี พน้ื ท่ี ฝกส., พนื้ ที่ของรฐั บาล ง. ๒ พ้นื ท่ี พน้ื ทข่ี องรัฐบาล, พ้นื ท่ีประชาชน ๖. พื้นทใ่ี นการ ปปส. ท่มี คี วามรุนแรงทีส่ ุดคือพื้นที่อะไร ? ก. พื้นท่ีสแี ดง ข. พน้ื ทส่ี ีเหลือง ค. พ้ืนท่ีสีเขียว ง. พืน้ ท่สี สี ม้ ๗. พืน้ ทที่ ร่ี ัฐบาลกำหนดให้เป็นพน้ื ทีช่ ่วงชงิ คือพืน้ ที่ ? ก. พื้นทส่ี ีแดง ข. สเี หลือง ค. เขียว ง. สม้ ๘. พ้นื ท่ที ีอ่ ยู่ในความควบคุมของรฐั บาล ได้แก่พน้ื ท่ีอะไร ? ก. พ้นื ทส่ี ีแดง ข. พ้ืนที่สีเหลอื ง ค. พืน้ ท่สี เี ขยี ว ง. พื้นทสี่ สี ้ม
๙. ขน้ั ของการกอ่ ความไม่สงบมกี ่ขี ัน้ ? ก. ๒ ขน้ั ข. ๓ ขน้ั ค. ๔ ขั้น ง. ๕ ข้ัน 10. คน้ หา จำกดั กลไกและดำเนนิ งานของขบวนการก่อความไม่สงบเพ่ือตดั สัมพันธ์และสรา้ ง สภาพแวดลอ้ มให้ประชาชนปลอดภัย เป็นงานกำหนดการในการ ปปส. ในเรอ่ื งอะไร ? ก. การปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มชว่ ยเหลือประชาชน ข. การพิทักษท์ รัพยากรและประชาชน ค. การปราบปรามกองกำลัง ง. ถูกทุกขอ้ 11. การแบง่ มอบพนื้ ทใ่ี นการ ปปส. “กองพนั ทหารราบ” โดยใชเ้ สน้ แบง่ เขตการปกครองกระทรวงมหาดไทย คอื ? ก. จงั หวัด ข. อำเภอ ค. ตำบล ง. หมู่บ้าน 12. การแบง่ พ้นื ทใ่ี นการ ปปส.”กองร้อย” โดยใช้เสน้ แบง่ เขตการปกครองกระทรวงมหาดไทย คือ ? ก. จงั หวดั ข. อำเภอ ค. ตำบล ง. หมู่บ้าน 13. ภมู ิประเทศสำคญั ยิ่งในการปฏบิ ตั ิทางทหารในการ ปปส. คือ ? ก. ฐานปฏบิ ตั กิ ารกองโจร ข. หัวหนา้ กลมุ่ ขบวนการ ค. ประชาชนในพนื้ ที่ ง. พน้ื ทป่ี ฏิบัตกิ ารรบั ผิดชอบ 14. การพฒั นาประเทศ, การพฒั นาชุมชน, การพฒั นาพิเศษ ( เฉพาะพ้ืนท่)ี และการช่วยเหลอื ประชาชน กลา่ วถงึ กำหนดการในการ ปปส. เรอื่ งอะไร ? ก. ยทุ ธศาสตร์พัฒนาและการเสริมความมั่นคง ข. การใช้มาตรการหลกั ๓ เสรมิ ๒ ค. การปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มชว่ ยเหลือประชาชนและทรพั ยากร ง. ถูกทกุ ข้อ 15. หลกั การในการป้องกันการปราบปรามการกอ่ ความไม่สงบที่ดีควรมีลกั ษณะอย่างไร ? ก. มเี อกภาพในการปฏิบตั ,ิ ใหข้ ่าวกรองมากทีส่ ดุ , ลดความรุนแรงใหเ้ หลือน้อยทส่ี ุด ข. การเตรยี มการฝึกกำลงั พลใหม้ ีประสิทธภิ าพและเขา้ ใจพนื้ ทป่ี ฏิบตั ิการ ค. เข้าใจปัญหาทเี่ กดิ ขึ้น หน่วยมงี บประมาณเพียงพอ ง. มกี ารวางแผนที่ดี สามารถปฏบิ ัติตามแผนเผชิญเหตุไดต้ ลอด ๒๔ ชม.
16. การพัฒนาภายในและการป้องกันภายในมีองคป์ ระกอบทีส่ ำคญั ทางยุทธศาสตรใ์ นการปปส. คอื ? ก. การพฒั นาท่ีสมดลุ ,การระดมสรรพกำลัง,การรกั ษาความปลอดภยั ,การทำลายองค์กรของ ฝกส. ข. มเี อกภาพในการปฏิบตั ิ,ให้ข่าวกรองมากทส่ี ุด, ลดความรนุ แรงใหเ้ หลอื น้อยทส่ี ุด ค. การปรับปรงุ สภาพแวดล้อมชว่ ยเหลือประชาชนและทรัพยากร ง. เศรษฐกิจ, สังคม,จิตวทิ ยา, ยุทธศาสตรก์ ารป้องกันการก่อความไมส่ งบ 17. พ้นื ที่หลักในการปฏิบตั ใิ นการ ปปส. ในการปฏบิ ัติทางยุทธวิธที างทหาร เพ่ือขยายพ้นื ทไ่ี ด้แก่พนื้ ทีอ่ ะไร ? ก. พ้ืนท่ีอยใู่ นความควบคุมของกองโจร ข. พนื้ ท่ีชว่ งชงิ ค. พน้ื ที่อยู่ในความควบคุมของรัฐบาล ง. พืน้ ที่เฉพาะพิเศษที่หน่วยเหนอื กำหนด 18. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภายในคอื การดำเนินการเพ่ือสร้างความเจรญิ และดำรงไว้ซ่ึงสถาบันท่มี ีความ สำคญั ยิ่งในการตอบสนอง ความต้องการโดยสว่ นรวมของประเทศ มีองคป์ ระกอบทีส่ ำคญั คือ ? ก. เศรษฐกิจ, การเมือง, การทหาร, สงั คม ข. การทหาร, การเมือง, ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาภายในและการป้องกนั ภายใน ค. เศรษฐกจิ , สงั คม,จติ วทิ ยา, ยุทธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั การก่อความไม่สงบ ง. การปรับปรุงสภาพแวดล้อม, การพิทักษ,์ การปราบปราม,การข่าวกรองและ ปจว. 19. การปฏิบัติจิตวิทยาในการ ปปส. ในพื้นทห่ี ่างไกล เนน้ งานหลกั เรื่องอะไรเป็นสำคัญคอื ? ก. ขวญั กำลงั ใจของเจ้าหนา้ ท่ีรฐั และได้รบั การสนับสนนุ จากประชาชน ข. กำลังพลทีม่ ีประสิทธิภาพ, อาวธุ ยุทโธปกรณ์เป็นหลกั ค. เจา้ หน้าท่ีฝา่ ยปกครองทุกฝ่ายต้องรว่ มกนั ในการปฏิบัติงาน ง. การขา่ วกรอง, รัฐบาลมปี ระสทิ ธภิ าพ 20.แนวคดิ การรณรงคด์ ้วยการโจมตีข้อใดกลา่ วถูกต้องท่ีสุด ก.มุ่งกระทำต่อกำลงั กองโจรและฐานที่มนั่ เพื่อใหก้ องโจรต้องเคลือ่ นยา้ ยเสียความสมดลุ ย์ ข.ดำเนนิ การดว้ ยยุทธวธิ ีรกุ /รบั ค.เม่ือทำลายฐานที่มั่นไดแ้ ล้วกำลงั กองโจรจะถอนออกไปจากพื้นที่ ง.จะกระทำในพ้ืนที่มีอทิ ธพิ ล 21. ลกั ษณะของการรบด้วยวธิ รี ับ คอื ขอ้ ใด. ก. การใชเ้ ครือ่ งมือ และวิธีการทั้งมวลท่ีมอี ยู่เพื่อเขา้ ตีฝา่ ยข้าศกึ ข. การใช้เครอ่ื งมือ และวิธกี ารทั้งมวลท่ีมีอยู่เพอ่ื ป้องกันและตา้ นทานข้าศกึ ค. การใชก้ ำลัง และวธิ ีการท้งั มวลท่ีมีอยู่ เพื่อเพ่ือทำการรบหน่วงเวลา ง. การใช้การยงิ สนับสนนุ ทมี่ อี ยู่เพ่ือป้องกันและตา้ นทานขา้ ศึก
22. ข้อใดกลา่ วถึง ระดบั ของการตา้ นทาน ในการรบดว้ ยวิธีรับ ได้ถกู ต้อง. ก. การตั้งรับ – การรบหนว่ งเวลา - ฉากกำบัง ข. การต้ังรบั – การรบหน่วงเวลา - การร่นถอย ค. การระวงั ปอ้ งกนั – การรบหนว่ งเวลา - การถอย ง. การระวงั ปอ้ งกนั – การรบหนว่ งเวลา - ฉากกำบงั 23. ขอ้ ใดกลา่ วถึง การจดั เตรียมทมี่ ั่นในการต้งั รับ ได้ถูกตอ้ ง. ก. ทมี่ นั่ ยึดพืน้ ที่ และท่ีมัน่ คลอ่ งตัว ข. ทมี่ ัน่ ตัง้ รบั ประณตี และท่ีม่นั ตั้งรบั เร่งด่วน ค. ที่มนั่ ยดึ พื้นท่ี และท่ีมั่นตง้ั รบั ประณตี ง. ทีม่ ัน่ คล่องตวั และที่มัน่ ต้ังรบั เร่งด่วน 24. แนวขอบหนา้ พืน้ ทก่ี ารรบ ของหนว่ ย ท่ีแทจ้ ริง จะเกิดข้ึนเมือ่ ใด. ก. กำลังของ มว.ปล.ในแนวหนา้ ไดเ้ ข้าพน้ื ท่วี างตวั เรียบรอ้ ยแล้ว ข. กำลังของ มว.ปล.หนุน ไดเ้ ขา้ พ้นื ท่วี างตัวเรียบรอ้ ยแลว้ ค. เม่อื ผบ.มว.ไดส้ งั่ การให้กำลงั ของ แตล่ ะหมู่ เข้าพ้ืนที่วางตัวหลงั จากรับคำสัง่ เสร็จ ง. เมอื่ ผบ.รอ้ ย.ส่งั การ ผบ.มว.ปล.เสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ 25. พนื้ ทีก่ ารรบเปน็ พืน้ ทสี่ ่วนหนง่ึ ในการตัง้ รับ อยากทราบว่า ขอ้ ใดกล่าวถึง พ้ืนที่การรบได้ถูกต้อง. ก. พน้ื ทร่ี ะวงั ป้องกัน และพ้ืนที่การรบหลกั ( พื้นท่ีต้ังรับหนา้ ) ข. พืน้ ที่การรบหลัก ( พน้ื ท่ตี ั้งรับหน้า ) และพ้ืนที่กองหนุน ค. พ้ืนทร่ี ะวงั ปอ้ งกนั และพ้ืนที่กองหนุน ง. พื้นท่กี ารรบ และพน้ื ที่กองหนนุ 26. พน้ื ทท่ี ่ีไมม่ ีกำลงั เขา้ ยดึ ครอง และไม่อยใู่ นระยะยงิ หวังผลของอาวุธเบา คือ พื้นทใ่ี นข้อใด. ก. ความลึกของหน่วยในการต้ังรับ ข. ระยะเคยี งระหว่างหนว่ ยในการตั้งรบั ค. ช่องว่างระหวา่ งหนว่ ยในการต้ังรับ ง. กว้างดา้ นหน้าของหน่วยในการตง้ั รับ 27. พ้ืนท่ีท่ีไมม่ ีกำลังเขา้ ยึดครอง แต่อยูใ่ นระยะยงิ หวังผลของอาวธุ เบา คอื พ้นื ทใ่ี นขอ้ ใด. ก. ความลกึ ของหนว่ ยในการต้ังรบั ข. ระยะเคียงระหวา่ งหนว่ ยในการตง้ั รบั ค. ช่องวา่ งระหวา่ งหนว่ ยในการตั้งรบั ง. กวา้ งดา้ นหนา้ ของหน่วยในการต้ังรับ 28. กำลังในสว่ นตง้ั รับหน้า มีหนา้ ท่ีตามข้อใด. ก. ยับยัง้ ข้าศึก,ผลักดันขา้ ศึก ข. ยบั ยั้ง,ผลักดัน และขบั ไล่ขา้ ศึก ค. ยบั ยัง้ ,ขับไล่ และทำลายขา้ ศกึ ง. ค้นหา,ขับไล่ และทำลายขา้ ศึก 29. สว่ นระวงั ปอ้ งกนั ทจี่ ัดออกไปจากหมู่ ปล.โดยมี ผบ.รอ้ ย.เป็นผ้รู ับผดิ ชอบ คือ ส่วนระวงั ปอ้ งกนั ในข้อใด. ก. สว่ นระวงั ปอ้ งกันเฉพาะบรเิ วณ ข. ส่วนลาดตระเวน ค. ฉากกำบงั (กองรักษาดา่ นรบ) ง. กองรักษาดา่ นทัว่ ไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236