Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ RT 61 (สมบูรณ์)

คู่มือ RT 61 (สมบูรณ์)

Published by Sirijanya Jiwnongpho, 2019-04-10 04:09:54

Description: คู่มือ RT 61 (สมบูรณ์)

Search

Read the Text Version

คำนำ การศึกษาเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีคุณภาพอันนาไปสู่ การพัฒนาประเทศ ให้มีความเข้มแข็งในทุกด้าน การปูพื้นฐานในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานโดยเฉพาะ ระดับช้ันประถมศึกษา จึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ประเทศที่เจริญแล้ว และมีความก้าวหน้าอย่างมั่นคง ในทุกด้าน ให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยเฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาในช่วงชั้นแรก รัฐบาลจึงกาหนดเป็นนโยบาย โดยคณะกรรมการพัฒนานโยบายและพัฒนาการศึกษา ว่าในระยะเร่งด่วน ปีการศึกษา 2558 เด็กที่จบช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ต้องอา่ นออกเขยี นได้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน จงึ ได้จัดทายทุ ธศาสตร์ปฏิรปู การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปกี ารศึกษา 2558 ขึน้ โดยกาหนดเปน็ นโยบาย เร่งด่วน “เด็กจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ต้องอ่านออกเขียนได้ และต้องมีระบบการประเมินท่ีเป็นรูปธรรม” ส า นั ก ท ด ส อ บ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า จึ ง ไ ด้ จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร อ่ า น ข อ ง นั ก เ รี ย น ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2561 คู่มือประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เป็นการชี้แจงแนวทาง การดาเนินการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน โดยมกี ารปรับแก้และเพิ่มเติมเนื้อหาบางสว่ น จากเอกสาร คู่มือในปีการศึกษาท่ีผ่านมา เพื่อให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับแนวทางการบรหิ ารจัดการในปจั จบุ ันให้มากย่งิ ขึน้ โดยเน้ือหาสาระของคู่มือฉบับน้ีจะประกอบไปด้วย เหตุผลและความสาคัญ วัตถุประสงค์ นิยามศัพท์เฉพาะ กลุ่มเป้าหมาย ตารางการประเมิน การประกาศผลการประเมิน โครงสร้างและเคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมิน การแปลความหมายของผลการประเมิน กรอบแนวคิดในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน การบริหาร การจัดสอบระดับศูนย์สอบ การบริหารจัดสอบระดับสนามสอบ เอกสารในการจัดสอบ การรายงานผล การสอบ เพื่อให้การดาเนินการทดสอบเป็นไปในแนวทางเดียวกัน มีมาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศ ผลการทดสอบมีความนา่ เช่ือถือ ถูกต้อง ตรงตามความสามารถท่ีแท้จริงของนักเรียน สามารถนาข้อมูลที่ได้ ไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนาความสามารถพื้นฐานของนักเรียนท้ังในระดับรายบุคคล โรงเรียน สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา/ศูนย์สอบ และรายสังกดั สานักทดสอบทางการศึกษา ขอขอบคุณ คณะกรรมการระดับศูนย์สอบ และระดับสนามสอบ ที่ให้ความร่วมมือในการดาเนินการจัดสอบ โดยยึดแนวทางตามคู่มือการประเมินความสามารถ ด้านการอ่านของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ทาให้เช่ือมั่นได้ว่าผลการประเมิน ให้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงตามความสามารถท่ีแท้จริงของนักเรียน สามารถนาไปวางแผนปรับปรุง และพัฒนา ไดอ้ ย่างดีต่อไป สำนกั ทดสอบทำงกำรศกึ ษำ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พ้ืนฐำน



สำรบญั เรือ่ ง หน้ำ คำนำ .......................................................................................................................................ก สำรบญั .......................................................................................................................................ค ตอนท่ี 1 บทนำ.................................................................................................................................... 1 1.1 เหตผุ ลและความสาคัญ.......................................................................................................1 1.2 วตั ถุประสงค์ .......................................................................................................................2 1.3 นยิ ามศัพท์เฉพาะ................................................................................................................2 1.4 กล่มุ เป้าหมาย .....................................................................................................................2 1.5 ตารางการประเมิน ..............................................................................................................3 1.6 ประกาศผลการประเมนิ ......................................................................................................3 1.7 โครงสรา้ งและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมนิ .........................................................................3 1.8 การแปลความหมายของผลการประเมนิ ..............................................................................5 1.9 กาหนดการบริหารจัดการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รียน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2561...............................................................................................................6 1.10 การนาผลการประเมินไปใช้ในการวนิ จิ ฉัยนักเรียน.................................................................7 1.11 การวเิ คราะหผ์ ลในภาพรวมของโรงเรียน...............................................................................7 ตอนที่ 2 กรอบแนวคดิ ในกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำน ........................................................ 9 2.1 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย9 2.2 ตัวช้ีวดั ที่เก่ยี วข้องกบั การประเมนิ การอ่าน ........................................................................10 2.3 ความหมายของการอา่ น....................................................................................................13 2.4 แนวคดิ เก่ียวกับการกระจายอานาจในการบรหิ ารจดั การ (Decentralization)..................13 2.5 แนวคดิ เกี่ยวกับความโปร่งใสในการจดั สอบ (Transparency) ..........................................15 ตอนท่ี 3 กำรบรหิ ำรกำรจัดสอบระดับศูนยส์ อบ .................................................................................17 3.1 ภารกิจระดบั ศูนย์สอบ.......................................................................................................17 3.2 บทบาทของคณะกรรมการระดับศนู ยส์ อบ ........................................................................17 ตอนท่ี 4 กำรบรหิ ำรกำรจัดสอบระดับสนำมสอบ ...............................................................................21 4.1 ภารกจิ ของสนามสอบ .......................................................................................................21 4.2 คณะกรรมการระดับสนามสอบ.........................................................................................22 4.3 คุณสมบตั ิของกรรมการระดับสนามสอบ...........................................................................22 4.4 บทบาทของคณะกรรมการระดับสนามสอบ ......................................................................22 4.5 แนวปฏบิ ัตใิ นการบรหิ ารจัดการสอบ.................................................................................26

สำรบัญ (ต่อ) เรือ่ ง หน้ำ ตอนที่ 5 เอกสำรกำรจดั สอบ ............................................................................................................31 5.1 เอกสารท่จี ดั ส่งไปยงั สนามสอบ.......................................................................................... 31 5.2 การรบั -สง่ แบบทดสอบ...................................................................................................... 35 ตอนท่ี 6 กำรรำยงำนผลกำรสอบ.......................................................................................................37 6.1 การรายงานระดบั บคุ คล ................................................................................................... 37 6.2 การรายงานระดบั โรงเรยี น................................................................................................ 37 6.3 การรายงานระดบั ศนู ยส์ อบหรือเขตพน้ื ที่การศึกษา .......................................................... 37 6.4 การรายงานระดบั จังหวดั หรอื ศึกษาธิการจงั หวดั .............................................................. 38 6.5 การรายงานระดบั หนว่ ยงานต้นสังกดั ............................................................................... 38 ตอนท่ี 7 กำรจัดสอบสำหรับเด็กท่มี ีควำมตอ้ งกำรจำเป็นพเิ ศษ.........................................................39 7.1 แนวทางการจดั สอบสาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ.......................................... 39 7.2 ข้อปฏิบัติสาหรบั การจดั สอบเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ........................................ 42 7.3 หลักฐานท่ีใช้แนบประกอบสาหรับเดก็ ท่มี ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ................................ 42 ภำคผนวก ก รปู แบบข้อสอบ เฉลย และเกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ............................................................43 ภำคผนวก ข ตัวอย่ำงแบบรำยงำนผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน (รำยบุคคล) ..................57 ภำคผนวก ค ตวั อยำ่ งแบบรำยงำนผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำน (รำยโรงเรยี น)............61 ภำคผนวก ง ตัวอยำ่ งแบบรำยงำนผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ น รำยเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำ (ศนู ยส์ อบ)................................................................................65 ภำคผนวก จ เอกสำรธรุ กำรประจำสนำมสอบ....................................................................................69 ภำคผนวก ฉ ระเบียบกระทรวงศกึ ษำธกิ ำรวำ่ ด้วยกำรปฏิบัตขิ องผเู้ ขำ้ สอบ .......................................83 คณะผจู้ ัดทำ .....................................................................................................................................89

คูม่ อื การประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่าน ปกี ารศึกษา 2561 | 1 ตอนท่ี 1 บทนำ 1.1 เหตผุ ลและควำมสำคัญ การศึกษาเป็นปัจจัยพ้ืนฐานสาคัญในการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีคุณภาพ อนั จะนาไปสู่การพัฒนาประเทศให้มีความเข้มแข็งในทุกดา้ น กระทรวงศกึ ษาธิการจึงกาหนดให้มีการปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) โดยกาหนดจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนท่ีคลอบคลุมท้ัง ด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สาหรับใช้เป็นกลไกขับเคล่ือน เพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียน ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตั้งแต่วัยเริ่มต้น และการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะ ระดับช้ันประถมศึกษา ในปีการศึกษา 2558 ได้กาหนดนโยบาย “ปีการศึกษา 2558 เป็นปีปลอดนักเรียน อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้” และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 เมื่อจบช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ต้องอ่านออก เขียนได้ และมีมาตรการการประเมินผลที่เป็นรูปธรรม ดังน้ัน จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องเน้นให้ ผเู้ รยี นมีความสามารถในการอ่านและการเขียนตามเกณฑม์ าตรฐาน รัฐบาลได้กาหนดการแก้ไขปัญหาการอ่านและการเขียนให้เป็นนโยบายในระยะเร่งด่วน เน้นปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสอนแบบแจกลูกสะกดคา โดยใช้แนวการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการสมอง (BBL) เป็นต้น และได้กาหนดเป้าหมาย คุณภาพผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ต้องอ่านออกเขียนได้ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ข้ึนไปต้องอ่านคล่อง เขยี นคล่อง ตามยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร 6 จุดเนน้ โดยเฉพาะจดุ เน้นด้านหลักสูตรและกระบวนการ เรียนรู้ ข้อท่ี 2 ผู้เรียนมีสมรรถนะที่สาคัญสู่มาตรฐานสากล ข้อย่อย 2.2 ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 อา่ นออกเขยี นได้ ข้อย่อย 2.3 ผเู้ รียนต้ังแต่ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 ขึน้ ไป อ่านคล่องเขียนคลอ่ ง การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง ต้ังแต่วัยเริ่มต้น จะเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น และใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงนับเป็นการพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนประการหนึ่ง และเป็นการวางรากฐาน ท่มี น่ั คงของการศึกษาชาตติ อ่ ไป ในปีการศึกษา 2561 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสานักทดสอบ ทางการศึกษา ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการสร้างเคร่ืองมือประเมินความสามารถ ด้านการอ่านของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ซึ่งคณะผู้ดาเนินการสร้างเครื่องมือประเมิน ประกอบด้วย กลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญและผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ างด้านจติ วทิ ยาพัฒนาการ จติ วิทยาการเรียนรู้ ครูผ้สู อนที่มปี ระสบการณ์ การสอนภาษาไทยมากกว่า 5 ปีข้ึนไป ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล โดยพิจารณากรอบแนวทาง ในการสร้างเคร่ืองมือจากการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามระดับชั้น ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 การวิเคราะห์ระดับพัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียน และการวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ภาษาไทยที่ถูกต้องตามหลักภาษาและใช้ กรอบคาศัพท์ในบัญชีคาพื้นฐาน เพ่ือเป็นตัวชี้วัดผลสาเร็จในการดาเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการ สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

2 | คู่มอื การประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น ปกี ารศึกษา 2561 กระทรวงศึกษาธิการ จดุ เนน้ ยุทธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และจดุ เนน้ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน อันจะนาไปสู่การกาหนดนโยบายการศึกษา การนาไปใช้วินิจฉัยข้อบกพร่องความสามารถ ดา้ นการอ่านของผูเ้ รยี นได้อย่างตรงประเดน็ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน จงึ ไดจ้ ัดทาคู่มือ ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ขึ้น เพื่อให้ หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งดาเนินการเป็นไปในทศิ ทางและมาตรฐานเดียวกัน และผลที่ไดจ้ ากการประเมินจะเป็น ข้อมูลสาคัญท่ีจะสะท้อนคุณภาพผู้เรียน คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของสานักงาน เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา รวมท้งั เปน็ เครื่องบ่งชีค้ ุณภาพผู้เรยี นในระดบั ประเทศต่อไป 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือประเมินเชิงวินิจฉัยความสามารถด้านการอ่าน (การอ่านออกเสียง และอ่านรู้เรื่อง) ของผู้เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 1.3 นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ การดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 ไดก้ าหนดนิยามไว้ ดังน้ี อ่ำนออกเสียง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ท่ีเป็นคาในวงคาศัพท์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ท้ังท่ีเป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมายโดยนัย ท่ีใช้ใน ชวี ิตประจาวนั โดยวิธีการอ่านออกเสยี ง อ่ำนรู้เรื่อง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ที่เป็นคาในวงคาศัพท์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ทั้งท่ีเป็นคาท่ีมีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมายโดยนัย ท่ีใช้ใน ชีวิตประจาวัน โดยสามารถบอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สาหรับเด็ก (เป็นข้อความง่าย ๆ) จับใจความจากเร่ืองท่ีอ่าน ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของเคร่ืองหมายสัญลักษณ์ท่ีสาคัญ ท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวนั คาดคะเนจากเรื่องท่ีอ่าน สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องท่ีอ่านได้อย่างสมเหตุสมผล แปลความและสรา้ งสรรค์จากภาพ 1.4 กลมุ่ เป้ำหมำย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดาเนินการจัดสอบให้กับผู้เรียนที่กาลัง ศึกษาอย่ใู นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ในปกี ารศกึ ษา 2561 ทกุ คนของโรงเรียนจากทกุ สังกดั ดงั นี้ 1. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 2. สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน 3. สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา 4. กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน สังกดั สานกั งานตารวจแห่งชาติ 5. กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถน่ิ สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

คมู่ อื การประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน ปีการศึกษา 2561 | 3 6. สานกั การศกึ ษากรุงเทพมหานคร 7. สานักการศกึ ษาเมืองพทั ยา 1.5 ตำรำงกำรประเมิน ดาเนินการประเมินในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ระหว่างวันที่ 11 – 15 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมตี ารางการประเมิน ดงั น้ี 09.00 – 10.30 น. 11.00 – 12.00 น. 12.00 – 13.00 น. 13.00 – 15.00 น. ฉบบั ท่ี 1 ฉบับที่ 2 พักกลางวัน ฉบับที่ 2 การอา่ นรู้เร่ือง การอ่านออกเสียง การอา่ นออกเสียง (ต่อ) 1.6 ประกำศผลกำรประเมนิ ประกาศผลการประเมินวันที่ 18 มนี าคม 2562 1.7 โครงสร้ำงและเครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นกำรประเมิน 1.7.1 โครงสร้างที่ใช้ในการประเมิน โครงสร้างท่ีใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 เป็นการประเมินด้านการอ่านออกเสียง และอ่านรู้เร่ือง ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวช้ีวัดตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย มีรายละเอียดตามกรอบโครงสรา้ ง ดงั น้ี สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

4 | คมู่ ือการประเมินความสามารถด้านการอา่ น ปกี ารศกึ ษา 2561 องค์ รปู แบบขอ้ สอบ (จำนวนข้อ) รวม (ข้อ) ประกอบ (คะแนน) มำตรฐำนและตัวชีว้ ดั จบั คู่ เลอื ก เขยี น ปฏิบัติ ตอบ ตอบส้ัน จริง 20 (10 คะแนน) สมรรถนะ 1. กำรอำ่ นออกเสยี ง 10 ท 1.1 ป.1/1 อา่ นออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง ขอ้ ความสั้น ๆ คำ 20 (20 คะแนน) (คาท่มี ีรูปวรรณยกุ ต์ และไม่มีรปู วรรณยุกต์ คาท่ีมีตัวสะกด 20 คา ตรงมาตรา และไม่ตรงมาตรา คาที่มีพยัญชนะควบกล้า คาที่ 1 (20 คะแนน) มีอกั ษรนา) ประโยค 10 ประโยค 10 (50 คา) ข้อควำม 1 ข้อความ 1 8 ประโยค ( 48 คา ) รวม 31 31 (50 คะแนน) สมรรถนะ 2. กำรอำ่ นรู้เรือ่ ง ท ๑.๑ ป.1/2 บอกความหมายของคาและขอ้ ความทอ่ี า่ น คำ 10 10 ท ๑.๑ ป.๑/๓ ตอบคาถามเก่ยี วกบั เร่อื งทอ่ี า่ น 10 คา (10 คะแนน) ท ๑.๑ ป.๑/๔ เลา่ เรอ่ื งย่อจากเรอ่ื งที่อา่ น ท ๑.๑ ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรอ่ื งท่ีอ่าน ประโยค 5 ท ๑.๑ ป.๑/๗ บอกความหมายของเครอ่ื งหมาย สัญลักษณ์ สาคัญที่มกั พบเจอในชีวติ ประจาวัน เล่าเร่ืองจากภาพ 5 (10 คะแนน) ท ๒.๑ ป.๑/๒ เขียนสือ่ สารดว้ ยคาและประโยคตา่ ง ๆ ท 3.1 ป.1/2 ตอบคาถามและเลา่ เรื่องท่ฟี ังและดูทัง้ ทเ่ี ป็น 5 ภาพ ความรแู้ ละความบนั เทิง ท ๔.๑ ป.๑/๓ เรยี บเรยี งคาเป็นประโยคง่าย ๆ ประโยค 10 10 ท ๕.๑ ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ไดจ้ ากการอา่ นหรือฟัง 10 ประโยค (20 คะแนน) วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรบั เด็ก ข้อควำม 5 5 รวม 3 – 5 ข้อความ (10 คะแนน) ขอบขำ่ ยสำระ (ส่ิงเร้ำ) 10 15 5 30 (50 คะแนน) เปน็ คา ประโยค ขอ้ ความ หรอื บทรอ้ ยกรองง่าย ๆ ที่มีวง คาศัพท์ทเ่ี ป็นคาประสมด้วยพยัญชนะและสระประกอบดว้ ย อกั ษรสงู ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห คาคลอ้ งจอง ขอ้ ความส้นั ๆ (คาที่มีรูปวรรณยกุ ต์ และไมม่ ี รูปวรรณยุกต์ คาท่ีมีตัวสะกดตรงมาตรา และไม่ตรงมาตรา อักษรกลำง ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ คาที่มีพยัญชนะควบกลา้ คาทีม่ ีอักษรนา) อกั ษรตำ่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ สระเสยี งส้ัน-ยำวท่ีเป็นสระเด่ียวจำนวน 18 ตัว ประกอบดว้ ยสระอะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม 6 ตัว ประกอบด้วยสระ เอยี ะ เอยี อัวะ อวั เออื ะ เอือ และสระเกิน 4 ตัวประกอบดว้ ย สระอา ใอ ไอ เอา สระลดรปู สระเปลยี่ นรูป (ทัง้ มีและไมม่ ีรูปวรรณยุกต์) สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

คมู่ ือการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน ปกี ารศึกษา 2561 | 5 1.7.2 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมิน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 มีทัง้ หมด 2 ฉบบั ไดแ้ ก่ ฉบบั ที่ 1 การอา่ นรู้เรอ่ื ง เปน็ การประเมนิ โดยใช้แบบทดสอบ ประกอบดว้ ย ตอนที่ 1 การอ่านรู้เรื่องเป็นคา เป็นข้อสอบแบบจับคู่แบบลากเส้นโยงคามี 10 คา คะแนนเตม็ 10 คะแนน ตอนที่ 2 การอา่ นรเู้ รอ่ื งเป็นประโยคมี 15 ขอ้ ประกอบดว้ ย - ข้อสอบแบบเขียนประโยคเล่าเรื่องจากภาพมี 5 ภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน - ข้อสอบแบบเลือกตอบมี 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 20 คะแนน ตอนท่ี 3 การอ่านรู้เรือ่ งเป็นข้อความ เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบมี 5 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ฉบบั ที่ 2 การอ่านออกเสยี ง เป็นการประเมินภาคปฏิบัติ ประกอบด้วย ตอนที่ 1 การอ่านออกเสยี งเปน็ คามี 20 คา คะแนนเตม็ 10 คะแนน ตอนท่ี 2 การอา่ นออกเสียงประโยคมี 10 ประโยค คะแนนเตม็ 20 คะแนน ตอนท่ี 3 การอา่ นออกเสยี งข้อความมี 1 ขอ้ ความ คะแนนเตม็ 20 คะแนน 1.8 กำรแปลควำมหมำยของผลกำรประเมนิ ผลการประเมินในรายองค์ประกอบ รายสมรรถนะและภาพรวม สามารถแปลความหมายได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ควำมหมำยในภำพรวม ระดับควำมสำมำรถ ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียง อา่ นรู้เรื่อง คา ประโยค และ ดมี ำก ขอ้ ความในวงคาศัพทท์ กี่ าหนดได้ถูกตอ้ ง ตง้ั แต่ร้อยละ 75 ขนึ้ ไป ดี ความสามารถของนักเรยี นในการอ่านออกเสียง อา่ นรู้เร่ือง คา ประโยค และ ขอ้ ความในวงคาศัพทท์ กี่ าหนดได้ถูกต้อง ต้ังแต่ร้อยละ 50 ขนึ้ ไปแต่น้อยกว่ำ พอใช้ ร้อยละ 75 ปรับปรุง ความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียง อา่ นรู้เรื่อง คา ประโยค และ ขอ้ ความในวงคาศัพทท์ ่กี าหนดได้ถูกต้อง ตัง้ แตร่ ้อยละ 25 ขึน้ ไปแต่นอ้ ยกวำ่ ร้อยละ 50 ความสามารถของนักเรยี นในการอ่านออกเสยี ง อ่านรู้เรื่อง คา ประโยค และ ขอ้ ความในวงคาศัพทท์ ่ีกาหนดไดถ้ ูกต้อง ต่ากวา่ ร้อยละ 25 สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

6 | คู่มือการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น ปกี ารศึกษา 2561 1.9 กำหนดกำรบริหำรจัดกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษำปีที่ 1 ปีกำรศกึ ษำ 2561 ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลำ ผูร้ บั ผิดชอบ 1 สร้างแบบทดสอบการอา่ นและกาหนดเกณฑ์การประเมนิ เม.ย. 61 – ม.ค. 62 สพฐ. 2 แต่งต้ังคณะกรรมการอานวยการทดสอบการอา่ นระดบั สพฐ. ต.ค. 61 สพฐ. 3 ประชุมคณะกรรมการอานวยการทดสอบการอ่านระดับ สพฐ. 11 ต.ค. 61 สพฐ. 4 ประชุมช้ีแจงผู้แทนศูนยส์ อบของ สพฐ. และผู้แทนสังกัดอ่ืน ๆ รุ่นที่ 1 (28 - 30 ต.ค 61) สพฐ. เกย่ี วกับแนวทางการจัดสอบการอา่ น รนุ่ ท่ี 2 (31 ต.ค. – 2 พ.ย. 61) 5 ศนู ยส์ อบนาเข้าและตรวจสอบขอ้ มูลสถานศึกษาท่ีมีสิทธ์ิสอบ 5 – 11 พ.ย. 61 ศูนยส์ อบ ผ่านระบบ NT Access 6 สถานศกึ ษานาเขา้ ขอ้ มลู นกั เรยี นทมี่ สี ทิ ธ์สิ อบผา่ นระบบNTAccess 12 - 30 พ.ย. 61 สถานศึกษา 7 ศนู ย์สอบตรวจสอบข้อมลู และจดั สนามสอบ 1 – 4 ธ.ค. 61 ศูนย์สอบ 8 สนามสอบตรวจสอบและแก้ไขข้อมลู หอ้ งสอบ 5 – 9 ธ.ค. 61 สนามสอบ 9 สถานศกึ ษาตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลนักเรียนทีม่ สี ิทธส์ิ อบ 10 – 17 ธ.ค. 61 สถานศึกษา ผ่านระบบ NT Access (ครงั้ สดุ ทา้ ย) 10 ศนู ยส์ อบตรวจสอบและแก้ไขขอ้ มลู การจดั สอบ ผา่ นระบบ 10 – 24 ธ.ค. 61 ศนู ยส์ อบ NT Access (ครง้ั สดุ ทา้ ย) 11 สพฐ. ตรวจสอบการจัดสนามและออกเลขทน่ี ่งั สอบ 25 ธ.ค. 61 – 15 ม.ค. 62 สพฐ. 12 ศนู ย์สอบแต่งต้งั คณะกรรมการจัดสอบระดบั ศนู ย์สอบและสนามสอบ 16 - 25 ม.ค. 62 ศูนย์สอบ 13 จัดส่งคมู่ อื และเอกสารธรุ การประจาสนามสอบไปยังศูนยส์ อบ 21 ม.ค – 24 ม.ค. 62 สพฐ. 14 สพฐ. จัดจ้างพมิ พ์ขอ้ สอบและกระดาษคาตอบ 21 ม.ค. – 3 ก.พ. 62 สพฐ. 15 ศูนยส์ อบประชุมชแ้ี จงคณะกรรมการจัดการสอบระดับ 4 – 8 ก.พ. 62 ศนู ยส์ อบ ศูนย์สอบ และสนามสอบ เก่ียวกับการบรหิ ารจัดการสอบ 16 จดั ส่งข้อสอบและกระดาษคาตอบไปยังศูนยส์ อบ 4 – 7 ก.พ. 62 สพฐ. 17 ศูนยส์ อบดาเนนิ การจัดสอบ 11 - 15 ก.พ. 62 ศนู ย์สอบ 18 สพฐ. และศนู ยส์ อบ ตรวจเยย่ี มสนามสอบ 11 - 15 ก.พ. 62 สพฐ.ร่วมกบั ศนู ย์สอบ 19 สนามสอบนาเข้าผลการทดสอบรายบุคคล 13 ก.พ. – 3 ม.ี ค. 62 ศนู ยส์ อบรว่ มกับ สนามสอบ 20 ประมวลผลคะแนนการทดสอบ 4 – 17 มี.ค. 62 สพฐ. 21 ประกาศผลการทดสอบ 18 ม.ี ค. 62 สพฐ. สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

ค่มู ือการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่าน ปีการศกึ ษา 2561 | 7 1.10 กำรนำผลกำรประเมนิ ไปใช้ในกำรวินิจฉัยนักเรยี น ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียน ครูผู้สอน สามารถนาผลการประเมินไปใช้ในการวางแผนพัฒนาผู้เรียนท้ังในภาพรวม จากแบบรายงานผล ค่าสถิติพื้นฐานรายโรงเรียน (R-Local 05) และผู้เรียนรายบุคคล จากแบบสรุปรายงานผลการประเมิน ของนักเรียน (R-Student 01) แบบรายงานผลการประเมินนักเรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละสมรรถนะ (R-School 03) และแบบรายงานผลการประเมินนักเรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละองค์ประกอบ (R-School 04) ซึ่งผลการประเมินจากแบบรายงานดังกล่าวจะช่วยให้ครูผู้สอนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ทราบปัญหา จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนาของผู้เรียนรายบุคคล รวมถึงสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับผู้เรียน เช่น พบว่านักเรียนส่วนใหญ่อ่านผิดซ้า ๆ ที่คาเดียวกัน แสดงว่า คาน้ัน เป็นคายากสาหรับนักเรียนในชั้นเรียนน้ัน ครูควรต้องปรับกระบวนการสอน ทาความเข้าใจกับนักเรียน และฝกึ ใหม้ ากข้ึน เป็นตน้ สาหรับครูที่สอนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 สามารถนาผลการวิเคราะห์การประเมิ น เป็นรายบุคคลนี้มาศึกษา จะทาให้ครูทราบพื้นฐานของผู้เรียนแต่ละคน เพื่อจะได้แก้ไขและพัฒนาได้ ตรงประเด็น โดยใหค้ รพู ิจารณาผลการประเมนิ ในแตล่ ะด้าน ว่านกั เรยี นแต่ละคนมคี ะแนนในระดับปรับปรุง องคป์ ระกอบย่อยในเรอื่ งใด อาทิ เร่อื งคา เรื่องประโยค หรือเร่ืองขอ้ ความ 1.11 กำรวิเครำะห์ผลในภำพรวมของโรงเรียน ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน สามารถนาผลการประเมินจากแบบสรุปรายงานผลการประเมินของโรงเรียน (R-School 01) แบบรายงาน ค่าสถิติพื้นฐานผลการประเมินของโรงเรียน (R-School 02) รวมถึงแบบรายงานผลการประเมินนักเรียน จาแนกรายบคุ คลในแตล่ ะสมรรถนะ (R-School 03) แบบรายงานผลการประเมนิ นักเรยี นจาแนกรายบุคคล ในแต่ละองค์ประกอบ (R-School 04) และแบบรายงานผลค่าสถติ ิพ้ืนฐานจาแนกรายโรงเรียน (R-School 05) ไปวิเคราะห์ และหาจุดบกพร่องของการเรียนการสอนในภาพรวม เช่น พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่อ่าน-เขียน คาท่ีใช้วรรณยุกต์ไม่ถูกต้องในกลุ่มพยัญชนะเสียงสูง โรงเรียนควรส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาชุดฝึกให้ นักเรียนได้ฝึกอ่าน-เขียน คาท่ีใช้วรรณยุกต์ โดยให้ทาซ้า ๆ จนคล่อง ก็จะเป็นการแก้ปัญหาท่ีตรงจุด เป็นต้น ทั้งน้ี สิ่งท่ีโรงเรียนวิเคราะห์ได้จากผลการประเมินจะช่วยให้ครูค้นหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกบั นักเรียน หรือปรบั เปลย่ี นวธิ ีการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ แก้ไขปัญหาการอ่านเขียนของนักเรียนทุกคน และช่วยกนั เสริมสร้างพ้ืนฐานการอ่านเขียนของนักเรียนใหเ้ ข้มแข็ง จนเป็นเคร่ืองมอื การเรียนรู้ของนกั เรียน ในชั้นเรยี นถดั ไปไดเ้ ปน็ อย่างดี สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน



คูม่ ือการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ น ปีการศึกษา 2561 | 9 ตอนที่ 2 กรอบแนวคดิ ในกำรประเมินควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ น แ น ว คิ ด ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร อ่ า น ข อ ง ผู้ เ รี ย น ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2561 น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คานึงถึง ความสาคัญ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอานาจในการบริหารจัดการ (Decentralization) และแนวคิดเกี่ยวกับ ความโปร่งใสในการจดั สอบ (Transparency) โดยมีรายละเอยี ด ดังตอ่ ไปน้ี 2.1 หลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 กลุม่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ควำมสำคัญ ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้าง ความเข้าใจและความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุรการงานและดารงชีวิตรว่ มกันในสังคม ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มี ความม่ันคงทางสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากน้ี ยังเป็นสื่อท่ีแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี ชีวทัศน์ โลกทัศน์ และสุนทรียภาพ โดยบันทึกไวเ้ ป็นวรรณคดีและวรรณกรรมอันล้าคา่ ภาษาไทย จงึ เป็นสมบัติของชาติท่คี วรคา่ แก่การเรยี นรู้ เพอื่ อนรุ ักษ์และสบื สานใหค้ งอยู่คูช่ าตไิ ทยตลอดไป คณุ ภำพของผู้เรยี น เมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วผู้เรียนต้องมีความรู้ ความสามารถและคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ดังนี้ 1. สามารถใชภ้ าษาสือ่ สารไดอ้ ยา่ งดี 2. สามารถอ่าน เขยี น ฟัง ดู และพดู ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 3. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ คดิ อย่างมีเหตผุ ลและคดิ เปน็ ระบบ 4. มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาในการพัฒนาตน และสร้างสรรค์ งานอาชพี 5. ตระหนกั ในวัฒนธรรมการใชภ้ าษาและความเปน็ ไทยภูมิใจและชื่นชมในวรรณคดีและวรรณกรรม ซ่ึงเปน็ ภมู ิปญั ญาของคนไทย 6. สามารถนาทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง ตามกาลเทศะ และบุคคล สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

10 | ค่มู อื การประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น ปีการศกึ ษา 2561 7. มมี นุษยสัมพันธท์ ่ดี ี และสรา้ งความสามคั คใี นความเป็นชาติไทย 8. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มวี สิ ยั ทศั น์ โลกทศั นท์ ก่ี ว้างไกลและลึกซ้งึ เมอ่ื จบแตล่ ะช่วงชน้ั ผเู้ รียนตอ้ งมีความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม ดังนี้ ช่วงช้นั ที่ 1 ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี 1 - 3 1. สามารถอา่ นได้คลอ่ งและอา่ นได้เร็ว 2. เข้าใจความหมายและหนา้ ทีข่ องคา 3. นาความรู้ทไี่ ด้จาการอา่ นมาคิด คาดคะเนเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ และกาหนดแนวทางการปฏิบตั ิได้ 4. เลอื กอ่านหนงั สอื ท่ีเปน็ ประโยชน์ทง้ั ความรู้ และความบนั เทิง 5. ดูและเขียนแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ ึก ความตอ้ งการและจินตนาการ 6. จดบันทึกความรู้ ประสบการณ์ และเรอื่ งราวในชวี ติ ประจาวนั 7. จับใจความสาคัญ ตั้งคาถาม ตอบคาถาม สนทนา แสดงความคิดเห็นเล่าเร่ือง ถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรสู้ ึก และประสบการณ์จากเร่อื งทฟ่ี งั ทด่ี ูได้ 8. เขา้ ใจวา่ ภาษาไทยมที ง้ั ภาษาไทยกลางและภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ 9. ใชค้ าคล้องจองแตง่ บทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ 10.ท่องจาบทร้อยกรองทีไ่ พเราะ และนาไปใช้ในการพูดและการเขียน 11.นาปรศิ นาคาทายและบทรอ้ งเลน่ ในทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ นการเรียนและเล่น 12.ใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือการเรียน การแสวงหาความรู้ และใช้ได้เหมาะสมกับบุคคลและ สถานการณ์ 13.นาความรู้ท่ีได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไปใช้ในชีวิตมีมารยาทการอ่าน การเขียน การฟงั การดู และการพูด 14.มีนสิ ยั รักการอา่ นและการเขยี น 2.2 ตวั ชวี้ ัดท่ีเก่ียวข้องกบั กำรประเมินกำรอ่ำน การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2561 สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กาหนดให้มีการประเมิน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้มาตรฐาน และตัวช้ีวัดท่ีเก่ียวข้อง ดังน้ี สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

คมู่ ือการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ปีการศึกษา 2561 | 11 สำระท่ี 1 กำรอ่ำน มำตรฐำน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมนี ิสยั รักการอา่ น ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง ป.1 - อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง และ การอา่ นออกเสียงและบอกความหมายของคา ขอ้ ความสั้น ๆ คาคลอ้ งจอง และข้อความที่ประกอบดว้ ย - บอกความหมายของคา และข้อความ คาพนื้ ฐาน คือ คาที่ใชใ้ นชวี ิตประจาวันไม่น้อย ทอี่ า่ น กวา่ 600 คา รวมทั้งคาที่ใช้เรียนรใู้ นกลุม่ สาระ การเรยี นรู้อน่ื ประกอบดว้ ย - คาทม่ี ีรูปวรรณยกุ ต์และไมม่ ีรูปวรรณยกุ ต์ - คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - คาทีม่ พี ยัญชนะควบกล้า - คาที่มีอักษรนา - ตอบคาถามเกี่ยวกับเรอ่ื งทอี่ ่าน การอ่านจบั ใจความจากสอื่ ตา่ ง ๆ เช่น - เล่าเรอ่ื งยอ่ จากเร่อื งทอ่ี า่ น - นิทาน - คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่อี า่ น - เรอื่ งสั้น ๆ - บทร้องเลน่ และบทเพลง - เรอื่ งราวจากบทเรยี นในกลุม่ สาระ การเรยี นรภู้ าษาไทยและกลุม่ สาระ การเรียนรู้อ่ืน - บอกความหมายของเคร่ืองหมาย การอา่ นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ หรือสัญลกั ษณ์สาคญั ที่มกั พบเหน็ ใน ประกอบด้วย ชีวติ ประจาวนั - เครอื่ งหมายสัญลักษณต์ ่าง ๆ ทพ่ี บเหน็ ในชวี ติ ประจาวัน - เครอื่ งหมายแสดงความปลอดภยั และแสดง อันตราย สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

12 | คูม่ อื การประเมินความสามารถด้านการอา่ น ปีการศกึ ษา 2561 สำระท่ี 2 กำรเขียน มำตรฐำน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นส่อื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่อื งราวใน รูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ชน้ั ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง ป.1 - เขียนส่ือสารด้วยคาและประโยคง่าย ๆ การเขยี นส่อื สาร - คาทใ่ี ช้ในชีวติ ประจาวนั - คาพนื้ ฐานในบทเรียน - คาคล้องจอง - ประโยคง่าย ๆ สำระที่ 4 หลักกำรใชภ้ ำษำไทย มำตรฐำน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ ชนั้ ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง ป.1 - เขียนสะกดคาและบอกความหมาย การสะกดคา การแจกลกู และการอา่ นเป็นคา ของคา มาตราตวั สะกดท่ตี รงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา การผนั คา ความหมายของคา - เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ การแต่งประโยค สำระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มำตรฐำน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ นามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จริง ชนั้ ตวั ชีว้ ดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง ป.1 - บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรอื การฟัง วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก เช่น วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรอง - นิทาน สาหรับเดก็ - เร่อื งสนั้ ง่าย ๆ - ปริศนาคาทาย - บทรอ้ งเลน่ - บทอาขยาน - บทรอ้ ยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี น สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

คู่มอื การประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่าน ปีการศึกษา 2561 | 13 2.3 ควำมหมำยของกำรอำ่ น การดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ได้กาหนดนิยามความหมายไว้ ดังน้ี 1. การอ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความส้ันๆ ที่เป็นคาใน วงคาศัพท์ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ทั้งที่เป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาท่ีมีความหมายโดยนัย ท่ใี ช้ในชวี ิตประจาวัน โดยวธิ กี ารอา่ นออกเสยี ง 2. การอ่านรเู้ รอื่ ง หมายถึง การอา่ นคา ประโยค หรอื ข้อความสั้นๆ ทเ่ี ป็นคาในวงคาศัพท์ ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท้ังที่เป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมายโดยนัยท่ีใช้ใน ชวี ติ ประจาวัน โดยสามารถบอกข้อคดิ ที่ไดจ้ ากการอา่ นร้อยแก้ว ร้อยกรอง สาหรบั เด็ก (เปน็ ขอ้ ความง่าย ๆ) จับใจความจากเร่ืองที่อ่าน ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ท่ีสาคัญ ที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน คาดคะเนจากเร่ืองท่ีอ่าน สรุปความรู้ข้อคิดจากเร่ืองท่ีอ่านได้อย่างสมเหตุสมผล แปลความและสรา้ งสรรคจ์ ากภาพ 2.4 แนวคดิ เก่ียวกบั กำรกระจำยอำนำจในกำรบรหิ ำรจัดกำร (Decentralization) การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดหลักการกระจายอานาจการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบ ทุกแห่ง เร่ิมต้ังแต่การวางแผน การดาเนินงานบริหารจัดการ การตัดสินใจ และความรับผิดชอบ โดยมี แนวคิดสาคญั ดังต่อไปน้ี ควำมหมำยของกำรกระจำยอำนำจ การกระจายอานาจ คือ การถา่ ยโอนอานาจการตดั สนิ ใจ ทรพั ยากร และภารกิจ จากภาครฐั ส่วนกลาง ให้แก่องค์กรอ่ืนใด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐส่วนภูมิภาค องค์กรอิสระ องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน โดยเฉพาะภาคประชาชน ไปดาเนินการแทน ซ่ึงการถ่ายโอนดังกล่าว อาจจะมีลักษณะเป็นการถ่ายโอน เฉพาะภารกิจ ซ่ึงเป็นการแบ่งภารกิจ ให้แก่องค์กรท่ีได้รับการกระจายอานาจดาเนินการ หรือ เป็นการ ถา่ ยโอนโดยยดึ พ้นื ท่เี ปน็ หลกั ซ่งึ เปน็ การแบ่งพ้ืนท่ีเปน็ หน่วยงานยอ่ ยในการดาเนนิ การ แนวคิดพนื้ ฐำนเกย่ี วกบั กำรกระจำย การกระจายอานาจสู่ส่วนภูมิภาค เป็นยุทธศาสตร์หน่ึงในการบริหารจัดการบ้านเมืองของรัฐ ในระบบ ประชาธิปไตย โดยมุ่งลดบทบาทของรัฐส่วนกลาง (Decentralize) ลงเหลือภารกิจหลักเท่าท่ีต้องทา เท่าท่ีจาเป็น และให้ประชาชนได้มีส่วนในการบรหิ ารงานชุมชนส่วนภูมิภาค ตามเจตนารมณ์ของประชาชน มากข้ึน การกระจายอานาจสู่ส่วนภูมิภาค จึงเป็นการจัดความสัมพันธ์ทางอานาจหน้าที่ใหม่ ระหว่าง ส่วนกลางกับส่วนส่วนภูมิภาค ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์บ้านเมือง ท่ีเปลี่ยนแปลงไปในสภาวะที่สังคม มีกลุ่มที่หลากหลาย มีความต้องการ และความคาดหวังจากรัฐที่เพิ่มขึ้น และแตกต่างกัน ขัดแย้งกัน ในขณะท่ี รัฐเองก็มีขีดความสามารถ และทรัพยากรที่จากัด ในการตอบสนองปัญหา ความต้องการที่เกิดข้ึนในแต่ละ สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

14 | คมู่ อื การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ปีการศกึ ษา 2561 ส่วนภูมิภาคได้ทันต่อเหตุการณ์ และตรงกับความต้องการของส่วนภูมิภาค โดยการกระจายอานาจจาก ส่วนกลางไปยงั สว่ นภมู ิภาค จะดาเนนิ การกระจายในส่ิง ตอ่ ไปน้ี 1) การกระจายหน้าท่ี เป็นกระจายภารกิจหน้าที่จากส่วนกลางที่เป็นประโยชน์โดยตรงกับ ส่วนภมู ิภาค ให้ส่วนภมู ิภาครบั ผิดชอบดาเนนิ การเอง 2) การกระจายอานาจการตัดสินใจ เป็นการกระจายอานาจการตัดสินใจดาเนินการตามหน้าที่ ท่สี ว่ นกลางกระจายไปใหส้ ่วนภมู ิภาคดาเนินการ 3) การกระจายทรัพยากรการบรหิ าร เปน็ การกระจายบุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยี ที่เหมาะสม ใหก้ บั สว่ นภูมิภาค 4) การกระจายความรับผดิ ชอบ เป็นการกระจายความรับผิดชอบต่อภารกิจ หนา้ ท่ี ที่รัฐกบั ผูบ้ ริหาร ส่วนภมู ิภาค และประชาชน รว่ มกนั รบั ผดิ ชอบ 5) การกระจายความพร้อม เป็นการกระจายความพร้อม ที่มีอยู่ในส่วนกลางให้กับส่วนภูมิภาค เพื่อสร้างขีดความสามารถให้แก่ส่วนภูมิภาค เป็นการทาให้ส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็ง สามารถบริหาร จัดการสว่ นภูมภิ าคไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2561 มุ่งเน้นการกระจายอานาจในการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบท่ีเป็นหน่วยงานจากสังกัดต่าง ๆ เพื่อให้การบริหารจัดการสอบสามารถดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความรวดเร็ว โดยมีการ กาหนดศูนยส์ อบในการบริหารจัดการสอบให้สถานศึกษาในสงั กดั ตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี ศนู ย์สอบและสถำนศึกษำที่เขำ้ ร่วมสอบในศูนยส์ อบ สำนกั งำนเขตพืน้ ที่ สำนกั งำน สำนักกำรศึกษำ สำนัก สำนกั งำน กำรศกึ ษำ สง่ เสรมิ กำร กรงุ เทพมหำนคร กำรศกึ ษำ คณะกรรมกำร ปกครอง เมืองพัทยำ สง่ เสริมกำรศึกษำ ประถมศึกษำ(สพป.) ท้องถิ่นจังหวดั เอกชน ร.ร.สพป. ร.ร.อบต. ร.ร.กทม. ร.ร.เมอื งพทั ยา ร.ร.เอกชน ร.ร.สพม. ร.ร.เทศบาล ในกรงุ เทพมหานคร ร.ร.เอกชน ร.ร.อบจ ร.ร.ตชด. ร.ร.สาธติ มหาวทิ ยาลัย ร.ร.ราชประชานุเคราะห์ ร.ร.การศึกษาพเิ ศษ Home school สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

คู่มอื การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ปกี ารศึกษา 2561 | 15 2.5 แนวคดิ เกย่ี วกับควำมโปร่งใสในกำรจดั สอบ (Transparency) การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 จาเป็นต้องมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน อันจะทาให้ผลท่ีได้จากการประเมินมีความน่าเชื่อ และเป็นท่ี ยอมรับจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการประเมินครั้งน้ีสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้ กาหนดแนวปฏบิ ตั เิ พอื่ ความโปร่งใสในการบริหารจดั การสอบ ดงั ต่อไปน้ี 1) กำรจัดสนำมสอบ การจัดสนามสอบ ให้ศูนย์สอบแต่ละแห่งกาหนดให้ทุกโรงเรียนเป็นสนามสอบ หรือ ศูนย์สอบบริหารจัดการตามความเหมาะสม และทุกสนามสอบในแต่ละศูนย์สอบจะต้องดาเนินการจัดสอบ พร้อมกันในวันเดียวกนั ทง้ั นี้ ศูนย์สอบต้องคานงึ ถงึ ความโปรง่ ใสและยุตธิ รรมในการสอบเป็นสาคัญ 2) กำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรระดับสนำมสอบ ศูนย์สอบแต่งต้ังคณะกรรมการระดับสนามสอบ ประกอบด้วย ประธานสนามสอบ กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน กรรมการบันทึกคะแนน นักการภารโรง และกรรมการอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ โดยต้องคานึงถึง ความโปรง่ ใสและยุตธิ รรมในการสอบ 3) กำรรบั แบบทดสอบ การรบั แบบทดสอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานจะมีระบบการขนส่ง เอกสารทม่ี ีความเครง่ ครดั และปลอดภัยสงู 3.1) ในการรับแบบทดสอบทุกศูนย์สอบ จะต้องให้ผู้ประสานงานระดับศูนย์สอบเป็น ผู้ลงนามทุกคร้ัง และศูนย์สอบต้องเก็บรักษากล่องแบบทดสอบไว้ในห้องม่ันคงหรือห้องท่ีปิดมิดชิด มีผู้ท่ี คอยดูแลตลอดเวลา 3.2) ศูนย์สอบส่งมอบแบบทดสอบ พร้อมเอกสารประกอบการสอบ ให้กับประธาน สนามสอบหรือตวั แทน ในตอนเชา้ ของวันสอบ 3.3) หลังจากเสร็จส้ินการสอบ ให้แต่ละสนามสอบเก็บรักษาแบบทดสอบไว้ที่สนามสอบ เพอ่ื นาไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป 4) กล่องบรรจแุ บบทดสอบ การบรรจุแบบทดสอบ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะบรรจุแบบทดสอบ ใส่กล่องแยกเป็นรายห้องสอบ โดยกล่องบรรจุแบบทดสอบต้องแข็งแรงและปิดผนึกด้วยเทปกาว อนุญาตให้ ประธานสนามสอบเปดิ กล่องบรรจุแบบทดสอบไดไ้ มเ่ กนิ 1 ช่ัวโมงกอ่ นถงึ เวลาสอบต่อหน้าตวั แทนกรรมการ คมุ สอบ สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

16 | ค่มู ือการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน ปีการศึกษา 2561 5) กำรติดตำมกำรบริหำรกำรทดสอบ 5.1) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศึกษา ร่วมกับสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาท่ีเข้าร่วมการทดสอบ ทาการติดตามตรวจเยี่ยม การบรหิ ารการทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบ โดยคณะกรรมการจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน จะสมุ่ ตรวจเยย่ี มศูนยส์ อบและสนามสอบ ในช่วงกอ่ นวนั สอบ วนั สอบ และหลงั วันสอบ 5.2) ศนู ย์สอบตรวจเย่ยี มสนามสอบในชว่ งก่อนวันสอบ วนั สอบ และหลงั วันสอบ 6) กำรรบั แจ้งเร่ืองรอ้ งเรียนเก่ยี วกับควำมไม่โปร่งใสในกำรสอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เปิดช่องทางรับแจ้งเรื่องร้องเรียน ในความไม่โปร่งใสในการสอบ 4 ชอ่ งทาง ได้แก่ - ศูนยส์ อบที่ดาเนนิ การจัดสอบ - โทรศัพทห์ มายเลข 0-2288-5783 และ 0-2288-5787 - E-mail: [email protected] - facebook ของ กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน 7) ระเบยี บกระทรวงศกึ ษำธิกำรว่ำดว้ ยกำรปฏิบัติของผกู้ ำกับกำรสอบ พ.ศ. 2548 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ขอใหบ้ ุคลากรประจาสนามสอบทุกท่าน ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการปฏิบัติของผู้กากับการสอบ พ.ศ. 2548 อย่างเคร่งครัด เพ่อี ใหก้ ารทดสอบเปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยและเป็นมาตรฐานเดียวกนั ท่วั ประเทศ (ภาคผนวก ฉ) สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

ค่มู อื การประเมินความสามารถด้านการอา่ น ปีการศกึ ษา 2561 | 17 ตอนที่ 3 กำรบริหำรกำรจัดสอบระดบั ศนู ย์สอบ การบริหารจัดการสอบระดับศูนย์สอบ ในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ในส่วนน้ีเป็นการนาเสนอเกี่ยวกับภารกิจของ ศูนย์สอบ คณะกรรมการระดับศูนย์สอบ และบทบาทของคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ โดยมีรายละเอยี ด ดงั ต่อไปน้ี 3.1 ภำรกจิ ระดับศูนย์สอบ ศูนย์สอบมีภาระหน้าท่ีและบทบาทที่สาคัญท่ีสุดในการบริหารการจัดสอบให้เป็นไปตาม มาตรฐานการบริหารการทดสอบ ซ่ึงได้รับการกระจายอานาจการบริหารจัดการมาจากสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ทัง้ ในเรื่องของการวางแผนการจดั สอบ การตดั สินใจ การบริหารจัดการ และความรับผิดชอบ เพ่ือให้การดาเนินงานการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 มีประสิทธิภาพและมาตรฐานเดียวกัน โดยมีภารกิจสาคัญ ดังตอ่ ไปน้ี 3.1.1 ประสานความรว่ มมือและวางแผนกับหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องในการบริหารการจัดสอบ 3.1.2 ดาเนินการจดั สอบใหเ้ ป็นไปตามแผนการดาเนนิ งาน 3.1.3 กากบั ติดตามการดาเนนิ การสอบ 3.1.4 รายงานผลการทดสอบ และเผยแพร่ 3.2 บทบำทของคณะกรรมกำรระดบั ศนู ยส์ อบ 3.2.1 ประธานศูนย์สอบ ได้แก่ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ทเี่ ปน็ ศูนยส์ อบ หรอื ผูท้ ีไ่ ด้รับมอบหมาย หรอื ผบู้ ังคบั บัญชาของหนว่ ยงานทเี่ ป็นศนู ยส์ อบ มหี น้าท่ี ดังนี้ 1) ดาเนินการตามแนวปฏิบัติที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนด โดยบรหิ ารการจดั สอบให้เป็นไปตามมาตรฐานการบรหิ ารการทดสอบ 2) แต่งตั้งคณะกรรมการระดับศนู ย์สอบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ 3) ควบคุม กากับ ติดตามให้การดาเนินการบริหารการจัดสอบ ระดับศูนย์สอบ และสนามสอบเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย 4) พิจารณาตรวจสอบ สั่งการ ติดตามกรณีที่เกิดปัญหาในการบริหารการจัดสอบ ท้งั ระดบั ศนู ยส์ อบ และระดับสนามสอบ 3.2.2 คณะกรรมการดาเนนิ การทดสอบ คณะกรรมการดาเนินการทดสอบ ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบงานวัดและ ประเมินผล หรือผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมายจากประธานศูนยส์ อบ มีหนา้ ท่ี ดงั นี้ สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

18 | คมู่ ือการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่าน ปกี ารศกึ ษา 2561 1) ประสานงานการจัดสอบในด้านต่าง ๆ ระหว่างสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ศนู ย์สอบและสนามสอบ 2) กากับ และติดตาม ให้สถานศึกษาส่งข้อมูลห้องสอบ และข้อมูลนักเรียน ในระบบ NT Access (http://nt.obec.go.th) ให้ครบถ้วนและถูกต้อง ภายในวันและเวลาท่ีสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน กาหนด 3) ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมลู ห้องสอบ และขอ้ มูลนกั เรยี น 4) ดาเนินการจัดสนามสอบในระบบ NT Access 5) ตรวจสอบและแกไ้ ขข้อมลู นักเรยี นทม่ี สี ิทธิ์สอบผา่ นระบบ NT Access 6) ดแู ลและประสานงานเรอื่ งการนาส่งขอ้ มลู ผมู้ สิ ิทธิส์ อบในกรณตี ่าง ๆ 7) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการระดบั ศูนยส์ อบ และสนามสอบ 8) จัดประชุมช้ีแจงคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการสอบ ท้ังระดับศูนย์สอบและ ระดบั สนามสอบ 9) ประสานงานการรับ-ส่งแบบทดสอบ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน ตามวนั และเวลาที่กาหนด 10) บริหารการจัดสอบใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย 11) รับแบบบันทึกคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 (แบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2) และเอกสาร ธรุ การประจาสอบจากสนามสอบ 12) ศูนย์สอบตรวจสอบคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 แต่ละสนามสอบให้ถูกต้องตามแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึก คะแนน 2 ทโ่ี รงเรยี นส่งมาใหศ้ ูนย์สอบ และยนื ยันข้อมลู สง่ ในระบบ NT Access 13) จัดทารายงานผลการทดสอบ ระดบั ศนู ยส์ อบ 3.2.3 คณะกรรมการรับ-ส่งแบบทดสอบ เก็บรักษาแบบทดสอบ และเอกสารประกอบ การสอบ มหี นา้ ที่ ดังนี้ 1) จัดเตรียมห้องมั่นคงหรือสถานที่ที่มีความเหมาะสม เพื่อใช้ในการเก็บรักษา แบบทดสอบ 2) ดแู ล รกั ษาแบบทดสอบท่ีเกบ็ รักษาไวใ้ นท่ปี ลอดภยั 3) ควบคมุ ดแู ล กากับการขนสง่ แบบทดสอบจากศูนยส์ อบไปยงั สนามสอบ สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

คู่มือการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น ปกี ารศึกษา 2561 | 19 3.2.4 คณะกรรมการตรวจเยยี่ มสนามสอบ มีหน้าที่ ดังนี้ มีหน้าท่ี กากับ ติดตาม และตรวจเย่ียม การดาเนินการจดั สอบ ของคณะกรรมการ ระดับสนามสอบในระหว่างวันที่ 11 - 15 กุมภาพันธ์ 2562 เพ่ือให้การดาเนินการจัดสอบเป็นไปตาม แนวปฏบิ ัติการจดั สอบและมาตรฐานการทดสอบ สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน



คู่มอื การประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ น ปกี ารศึกษา 2561 | 21 ตอนที่ 4 กำรบริหำรกำรจดั สอบระดบั สนำมสอบ การบริหารจัดการสอบระดับสนามสอบในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรยี น ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ในสว่ นนีเ้ ป็นการนาเสนอเกี่ยวกับภารกจิ ของสนามสอบ คณะกรรมการระดับสนามสอบ คุณสมบัติของกรรมการระดับสนามสอบ บทบาทของคณะกรรมการ ระดับสนามสอบ และแนวปฏบิ ัติในการบริหารจัดการสอบ โดยมรี ายละเอยี ด ดังต่อไปน้ี 4.1 ภำรกจิ ของสนำมสอบ ภารกจิ ของสนามสอบมีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ตัง้ แตก่ ่อนการสอบ ระหว่างการสอบ และหลังการสอบ โดยมรี ายละเอียด ดงั ต่อไปนี้ 1) กอ่ นกำรสอบ 1.1) ประสานงานกบั ศนู ยส์ อบ และดาเนนิ การตามคมู่ ือการจดั สอบอยา่ งเคร่งครัด 1.2) เตรียมความพร้อมก่อนการจัดสอบในส่วนของสถานท่ีสอบ ติดประกาศรายช่ือ ผู้เขา้ สอบ 1.3) ประสานงานกับศนู ยส์ อบในกรณีมีผู้เขา้ สอบกรณีพิเศษ 1.4) ดาวน์โหลดแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 จากระบบ NT Access (ไฟล์ excel) 1.5) พิมพ์แบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 เพ่ือเตรียมส่งมอบให้ กรรมการคมุ สอบ 1.6) รับแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอา่ นจากศนู ย์สอบในเชา้ วันสอบ 2) ระหวำ่ งกำรสอบ ดาเนินการจัดสอบภายในสนามสอบให้มีประสิทธิภาพ มีความยุติธรรม โปร่งใสและ เป็นไปตามแนวปฏิบัติในคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 3) หลังกำรสอบ 3.1) ให้สนามสอบเกบ็ แบบทดสอบไว้ทโี่ รงเรียนตนเอง เพื่อนาไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป 3.2) บันทึกคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนช้นั ประถมศึกษา ปีท่ี 1 ลงในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 เมื่อบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน ทัง้ 2 ฉบบั แล้ว ให้กรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน ลงลายมอื ช่อื แล้วมอบใหส้ นามสอบ ทาสาเนา 1 ชดุ จากน้ัน กรรมการคุมสอบลงลายมือชื่อรับรองสาเนา เพื่อเก็บรักษาไว้ท่ีสนามสอบ ส่วนแบบบันทึกคะแนนฉบับจริง ทั้ง 2 ฉบบั ใหส้ นามสอบนาส่งศนู ยส์ อบภายในวนั สอบ ตามเวลาทก่ี าหนด สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

22 | ค่มู ือการประเมินความสามารถด้านการอา่ น ปีการศึกษา 2561 3.3) นาคะแนนจากแบบบันทึกคะแนนฉบับสาเนาท่ีสนามสอบเก็บไว้ไปบันทึกใน แบบฟอร์มบันทึกคะแนนที่ดาวน์โหลดจากระบบ NT Access ไว้ให้ถูกต้อง หลังจากนั้นให้นาเข้าไฟล์ข้อมลู เข้าสู่ระบบ NT Access พร้อมตรวจสอบความถกู ต้องของคะแนนนกั เรียนรายบุคคลอีกคร้ังหน่งึ 4.2 คณะกรรมกำรระดับสนำมสอบ คณะกรรมการระดบั สนามสอบ ประกอบด้วย 1) ประธานสนามสอบ ได้แก่ ผ้อู านวยการโรงเรยี นของโรงเรียนท่เี ป็นสนามสอบ 2) กรรมการคมุ สอบและตรวจให้คะแนน ได้แก่ ข้าราชการครู หรือบุคลากรทางการศึกษา หรือครอู ตั ราจา้ ง หรอื พนักงานราชการ โดยกาหนดใหม้ กี รรมการคุมสอบ 2 คน ต่อ 1 หอ้ งสอบ ดังนี้ - กรรมการคุมสอบคนที่ 1 เป็นครูผู้สอนวิขาภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ของโรงเรยี นตนเอง - กรรมการคุมสอบคนที่ 2 เปน็ ครูผสู้ อนที่มีความรู้ ความสามารถในด้านการอ่านออกเสียง และอา่ นรูเ้ รือ่ ง ที่มาจากตา่ งโรงเรียน 3) กรรมการบันทึกคะแนน ได้แก่ ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีความสามารถในการ ใชโ้ ปรแกรม Excel 4) นักการภารโรง ได้แก่ นักการภารโรงของโรงเรยี นท่ีเป็นสนามสอบ 5) กรรมการอ่ืน ๆ ตามที่คณะกรรมการอานวยการระดับศูนย์สอบสามารถพิจารณาแต่งตั้ง กรรมการเพิ่มเติมไดต้ ามความเหมาะสม 4.3 คุณสมบัตขิ องกรรมกำรระดบั สนำมสอบ 1) เป็นข้าราชการครู หรือบุคลากรทางการศึกษา หรือพนักงานราชการ หรือครูอัตราจ้าง ท่ีปฏิบตั หิ นา้ ทีใ่ นโรงเรยี น 2) มคี วามรู้ ความสามารถในดา้ นการอา่ นออกเสยี ง และอ่านร้เู รื่อง 3) มีความรบั ผิดชอบ 4) ตรงตอ่ เวลา 5) เกบ็ รกั ษาความลบั ไดเ้ ปน็ อย่างดี 6) ปฏิบัติหน้าท่ีตามคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 อยา่ งเคร่งครดั 4.4 บทบำทของคณะกรรมกำรระดับสนำมสอบ 1) ประธำนสนำมสอบ มหี น้าท่ี ดังนี้ 1.1) ประสานงานกับศูนย์สอบและดาเนินการตามคู่มือการประเมินความสามารถ ดา้ นการอา่ นของผู้เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 อย่างเครง่ ครดั สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

คู่มอื การประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น ปกี ารศกึ ษา 2561 | 23 1.2) ประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบก่อนสอบ เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการจัดสอบและข้ันตอนการดาเนินงานของกรรมการคมุ สอบ 1.3) เตรียมความพร้อมสถานที่สอบ กากับการจัดห้องสอบ ติดรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ และเอกสารการสอบอน่ื ๆ ท่ีป้ายประชาสมั พนั ธข์ องสนามสอบ และหน้าห้องสอบ 1.4) รบั -สง่ แบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบ ระหวา่ งศูนยส์ อบ และสนามสอบ (ในกรณีที่ไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ ให้มอบหมายผู้แทน โดยใช้บันทึกมอบหมายผู้แทน เพื่อให้ศูนย์สอบ เก็บไวเ้ ป็นหลักฐาน) 1.5) เปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบในวันสอบ ไม่เกิน 1 ชั่วโมงก่อนเวลาสอบ ต่อหน้า ตัวแทนกรรมการคุมสอบ 1.6) อนุมัติผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ที่ไม่มีเลขท่ีนั่งสอบ แล้วบันทึกใน แบบ สพฐ.5 นักเรียน 1 คน ตอ่ 1 ฉบบั เพอื่ รายงานใหศ้ ูนยส์ อบทราบ 1.7) กากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วย ความเรียบรอ้ ย มีประสิทธภิ าพ มคี วามยตุ ิธรรม โปร่งใส และเปน็ ไปตามค่มู ือการประเมินความสามารถด้าน การอ่านของผู้เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 1.8) ส่ังพักการปฏิบัติหน้าท่ีในกรณีที่คณะกรรมการคุมสอบหรือเจ้าหน้าที่ในสนามสอบ บกพร่องตอ่ หน้าทีห่ รอื ประพฤติปฏิบตั ติ นไมเ่ หมาะสมและรายงานใหศ้ นู ยส์ อบทราบ 1.9) ตรวจสอบคะแนนในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 ร่วมกับ กรรมการคุมสอบใหถ้ กู ต้อง ครบถ้วนกอ่ นนาส่งข้อมูลเขา้ ส่รู ะบบ NT Access 1.10) หลังเสรจ็ สน้ิ การสอบ ใหน้ าส่งเอกสารประกอบการสอบกบั ศนู ยส์ อบ โดยจะต้อง นาส่งในวนั สอบ ดังน้ี - แบบ สพฐ.2 ใบเซน็ ชอ่ื ผเู้ ข้าสอบในแตล่ ะหอ้ งสอบ - แบบ สพฐ.3 ใบเซน็ ชอ่ื ผเู้ ข้าสอบกรณีพเิ ศษ (Walk in) - แบบ สพฐ.5 แบบฟอร์มสาหรับผู้ปฏบิ ัติผดิ ระเบยี บการสอบ - แบบ สพฐ.6 แบบคาขอแกไ้ ขข้อมูล - แบบบนั ทกึ คะแนนการอ่านรู้เรอ่ื ง (แบบบนั ทกึ คะแนน 1) ฉบับจรงิ - แบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบนั ทึกคะแนน 2) ฉบบั จริง 2) กรรมกำรคมุ สอบและตรวจให้คะแนน 2.1) ปฏิบัติตามคู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้ เรียน ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2561 2.2) กากับการสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส และยุติธรรม ท้ังภายใน หอ้ งสอบและบรเิ วณใกลเ้ คียง สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

24 | ค่มู ือการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น ปกี ารศึกษา 2561 2.3) รับแบบทดสอบจากประธานสนามสอบ ตรวจนับแบบทดสอบให้ถูกต้องและ ครบถ้วน แล้วลงลายมือชือ่ ในแบบ RT 1 2.4) ปฏิบัติการประเมินความสามารถด้านการอา่ นขผู้นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 ดังน้ี 2.4.1 การทดสอบการอา่ นรู้เรอื่ ง - กรรมการคุมสอบแจกแบบทดสอบตามลาดับเลขท่ีน่ังสอบจากน้อย ไปหามาก - กรรมการคุมสอบดาเนินการตามคาชี้แจงในแบบทดสอบ การอา่ นรู้เรอื่ ง - กรรมการเก็บแบบทดสอบหลังจากหมดเวลาสอบเรียงตามลาดับ เลขที่นงั่ สอบจากนอ้ ยไปหามาก - กรรมการคุมสอบท้งั 2 คน ตรวจให้คะแนนตามเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน - กรรมการคุมสอบบันทึกคะแนนของนักเรียนแต่ละคน ลงในแบบบันทึก คะแนนการอ่านรู้เร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 1) พร้อมลงลายมือช่ือกรรมการคุมสอบท้ัง 2 คน ในแบบบันทกึ คะแนนให้เรียบรอ้ ย - กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง (ไม่ต้องปิดผนึกซอง) สง่ คืนประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบนั ทึกคะแนนร่วมกบั ประธานสนามสอบให้ถกู ตอ้ ง - สนามสอบทาสาเนาแบบบนั ทึกคะแนนการอา่ นรู้เรื่อง (แบบบนั ทึกคะแนน 1) จานวน 1 ชุด แลว้ ให้กรรมการคมุ สอบลงลายช่ือรบั รองสาเนาถกู ต้อง เก็บไว้ทส่ี นามสอบ 2.4.2 การทดสอบการอา่ นออกเสียง กรรมกำรคุมสอบคนที่ 1 (กรรมกำรท่ีมำจำกโรงเรียนท่ีเป็นสนำมสอบ) ปฏบิ ัติ ดงั นี้ - ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนในแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทกึ คะแนน 2) แลว้ เตรียมนกั เรียนให้เข้าสอบตามลาดับเลขทใี่ นแบบบันทึกคะแนน 2 - สรุปคะแนนจากแบบทดสอบฉบับนักเรียนที่กรรมการคนท่ี 2 ดาเนินการสอบเรยี บร้อยแลว้ จากนัน้ บันทึกคะแนนลงในแบบบนั ทึกคะแนนการอา่ นออกเสยี ง (แบบบันทึก คะแนน 2) - ตรวจสอบการบันทึกคะแนนของนักเรียนให้ครบทุกคน แลว้ ลงลายมือช่ือ กรรมการคมุ สอบทง้ั 2 คน ในแบบบันทกึ คะแนน - กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง (ไม่ต้องปิดผนึกซอง) สง่ คืนประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบันทึกคะแนนร่วมกับประธานสนามสอบให้ถูกตอ้ ง สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

คมู่ อื การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ปีการศกึ ษา 2561 | 25 - สนามสอบทาสาเนาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึก คะแนน 2) จานวน 1 ชดุ แล้วให้กรรมการคุมสอบลงลายชอ่ื รบั รองสาเนาถกู ต้อง เกบ็ ไวท้ ่สี นามสอบ กรรมกำรคุมสอบคนที่ 2 (กรรมกำรท่ีมำจำกตำ่ งโรงเรยี น) ปฏิบตั ิ ดงั น้ี - ให้นักเรียนทดสอบการอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียน อา่ นทลี ะคน ในหอ้ งสอบที่แยกเฉพาะ - ใหก้ รรมการคุมสอบอ่านคาชแ้ี จงใหน้ ักเรยี นฟงั ก่อนอา่ นออกเสียง - เม่ือนักเรียนเร่ิมอ่านออกเสียงให้กรรมการทาเคร่ืองหมาย  ในช่อง ของคาที่นักเรียนอา่ นออกเสยี งถูกต้อง และทาเครือ่ งหมาย X ในชอ่ งคาทีน่ ักเรยี นอา่ นออกเสยี งผิด - ให้นักเรียนอ่านออกเสียงท้ัง 3 ตอน คนละไม่เกิน 10 นาที ถ้านักเรียน อ่านยังไม่เสร็จให้นกั เรียนหยุดอ่านทันที (กรณีนักเรียนอ่านไม่ได้ กรรมการคุมสอบสามารถบอกให้นักเรียน ข้ามไปอา่ นคาตอ่ ไปก่อน แล้วสามารถยอ้ นกลบั มาอ่านคาเดมิ ไดภ้ ายในชว่ งเวลาท่ีกาหนด) - ส่งแบบทดสอบฉบับกรรมการที่ประเมินแล้ว ให้กรรมการคนท่ี 1 บนั ทึกคะแนนลงในแบบบนั ทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบนั ทกึ คะแนน 2) - เรียกนักเรียนคนถัดไปเข้ามาสอบต่อ โดยดาเนินการวิธีการสอบ อ่านออกเสยี งข้างต้น จนครบทกุ คน - กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง (ไม่ต้องปิดผนึกซอง) ส่งคนื ประธานสนามสอบ และตรวจสอบการบนั ทกึ คะแนนร่วมกบั ประธานสนามสอบใหถ้ ูกตอ้ ง - สนามสอบทาสาเนาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึก คะแนน 2) จานวน 1 ชุด แล้วใหก้ รรมการคมุ สอบลงลายชื่อรบั รองสาเนาถูกตอ้ ง เก็บไวท้ ่สี นามสอบ 2.5) ควบคุมมิให้ผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบหรือกระทาการทุจริตในระหว่าง การสอบ 2.6) รายงานประธานสนามสอบ กรณีสงสัยว่าจะมีการทุจริตเกิดข้ึน และ หา้ มบคุ คลท่ีไม่เกยี่ วขอ้ งเขา้ บรเิ วณหอ้ งสอบ 2.7) รักษาความลบั ของแบบทดสอบ ดว้ ยการไม่ให้กรรมการหรือบคุ คลอ่ืนดูหรือ ถา่ ยรูปแบบทดสอบเพ่อื เผยแพร่ 3) กรรมกำรบันทกึ คะแนน 3.1) นาแบบบันทึกคะแนนการอ่านรู้เรื่อง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึก คะแนนการอา่ นออกเสยี ง (แบบบันทึกคะแนน 2) ฉบบั สาเนา ไปบันทึกคะแนนในแบบฟอร์มบนั ทึกคะแนน (ไฟล์ Excel) ทด่ี าวน์โหลดมาแล้ว 3.2) นาไฟล์ Excel ที่บันทึกคะแนนแล้ว เข้าสู่ระบบ NT Access พร้อมตรวจสอบ ความถูกตอ้ งของคะแนนนักเรียนรายบุคคลในระบบ NT Access อกี ครงั้ หนึ่ง สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

26 | คมู่ อื การประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น ปีการศึกษา 2561 4) นกั กำรภำรโรง 4.1) อานวยความสะดวกแก่กรรมการคุมสอบ โดยดาเนินการต่าง ๆ ตามท่ีได้รับ การรอ้ งขอ 4.2) จัดเตรียมสถานท่ีในการจัดการสอบ ติดเอกสารประชาสัมพันธ์ และเอกสาร ท่ีเกย่ี วข้องกบั การสอบ ก่อนวันสอบใหเ้ รียบรอ้ ย 4.3) ปฏบิ ัตงิ านอ่ืนตามทไ่ี ด้รับมอบหมายจากประธานสนามสอบ 4.5 แนวปฏบิ ัติในกำรบรหิ ำรจดั กำรสอบ 4.5.1 กำรจัดสนำมสอบและหอ้ งสอบ 1) กำรจัดสนำมสอบ ให้ทุกโรงเรียนเป็นสนามสอบ สาหรับโรงเรียนทีมีนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ต่ากว่า 10 คน สามารถสอบร่วมกับโรงเรยี นใกล้เคียง โดยใหค้ านึงถึงความปลอดภยั ของนักเรยี นเปน็ หลกั 2) กำรจดั ห้องสอบ 2.1) การจัดหอ้ งสอบการอ่านรเู้ รอื่ ง กาหนดห้องสอบในแต่ละสนามสอบเป็น 3 ประเภท คือ 1) ห้องสอบปกติ (ห้องเด็กปกติ ที่ใช้ข้อสอบปกติ) 2) ห้องสอบพิเศษ 1 (ห้องเด็กพิเศษท่ีใช้ข้อสอบปกติ) 3) ห้องสอบพิเศษ 2 (หอ้ งเด็กพเิ ศษทใี่ ชข้ ้อสอบพิเศษ เชน่ อกั ษรเบรลล์ และขอ้ สอบอักษรขยาย) โดยลักษณะการจัดเรียงห้องสอบ จะจัดเรียงตามลาดับ ดังนี้ ห้องปกติห้องแรก จนถึง ห้องปกติสุดทา้ ย ตามดว้ ยห้องพิเศษ 1 และหอ้ งพิเศษ 2 ตามลาดับ หอ้ งปกติ ห้องปกติ หอ้ งพิเศษ หอ้ งพเิ ศษ หอ้ งท่ี 1 หอ้ งสดุ ทำ้ ย 1 2 หมำยเหตุ การจัดห้องสอบของสนามสอบท่ีมีห้องพิเศษ 1 (เด็กพิเศษท่ีใช้ข้อสอบปกติ) เพ่ือมิให้เด็กพิเศษ เกิดความรู้สึกว่าตนเองแตกต่างจากเพื่อน ๆ ศูนย์สอบ/สนามสอบสามารถบริหารจัดให้นักเรียน สอบร่วมกบั เด็กปกติได้ โดยนาโต๊ะของเด็กพิเศษมาวางไวใ้ นห้องเด็กปกติ และดาเนินการจัดสอบ ตามปกติ แต่ตอนบรรจแุ บบบนั ทึกคะแนนกลับให้แยกตามซองท่ี สพฐ. สง่ ไป สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

คูม่ ือการประเมินความสามารถด้านการอา่ น ปีการศึกษา 2561 | 27 2.2) การจดั ห้องสอบการอา่ นออกเสียง ขอ้ สอบ ติดโต๊ะ แบบบันทึก ข้อสอบสำหรบั คะแนน กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร คนท่ี 1 คนท่ี 2 3) จำนวนนกั เรยี นในหอ้ งสอบ ศูนย์สอบต้องกาหนดสนามสอบ ผ่านระบบ NT Access ภายในช่วงเวลาที่สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด โดยโปรแกรม NT Access จะทาการกาหนดห้องสอบในแต่ละ สนามสอบโดยอัตโนมัติ กาหนดจานวนผู้เข้าสอบห้องละ 25 คน (ยกเว้นห้องสุดท้ายสามารถมีจานวน นักเรียนได้สูงสุด 30 คน) โดยการจัดห้องสอบจะจัดนักเรียนเข้าห้องสอบทีละโรงเรียน เร่ิมต้นท่ีนักเรียน ในโรงเรียนท่ีเป็นสนามสอบก่อน หลังจากนั้นจะเรียงตามตัวอักษรของชื่อโรงเรียนจากน้อยไปหามาก และ การเรียงลาดับเลขที่นั่งของนักเรียนในแต่ละโรงเรียนจะจัดเรียงตามท่ีโรงเรียนส่งข้อมูลเข้าโปรแกรม NT Access ตัวอย่างเช่น ถ้าโรงเรียนกบินทร์วิทยาเป็นสนามสอบ มีโรงเรียนมาเข้าสอบ 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นกบินทร์วิทยา (รหัส 10003) มนี กั เรยี น 20 คน โรงเรียนนารศี ึกษา (รหสั 10007) มีนกั เรียน 10 คน และโรงเรียนชนาธิปวิทยา (รหัส 10009) มีจานวนนักเรียน 20 คน การจัดห้องสอบจะเป็น ดงั ต่อไปนี้ 3.1) มีจานวนเด็กที่เขา้ สอบทง้ั หมด 50 คน ดงั นั้นจะต้องมหี ้องสอบทัง้ สิ้น 2 หอ้ ง 3.2) จัดเรียงนกั เรียนเข้าห้องสอบ โดยเรียงตามตวั อักษรของชื่อโรงเรยี น ในท่นี ้ี คือ กบินทร์วิทยา คนที่ 1-20 ชนาธิปวิทยาคนที่ 1-20 และนารีศึกษา คนที่ 1-10 ตามลาดับ ดังภาพ สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

28 | คมู่ อื การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ปีการศกึ ษา 2561 3.3) จัดนักเรียนเข้าห้องสอบ โดยจัดห้องสอบให้มีโต๊ะสอบทั้งหมด 5 แถว ๆ ละ 5 ตัว ถ้านกั เรียนครบ 25 คน คนท่ี 26 ให้จดั นักเรียนเข้าสอบในห้องถัดไป 3.4) ติดสต๊ิกเกอร์ข้อมูลผู้เข้าสอบที่โต๊ะนักเรียน โดย เรียงลาดับเลขท่ีน่ังสอบ ตามประกาศ สพฐ.2 ดังภาพต่อไปนี้ ห้องสอบที่ 1 ห้องสอบที่ 2 กรรมการคนท่ี 1 กรรมการคนที่ 1 1 10 11 20 21 1 10 11 20 21 11 2 9 12 19 22 3 81 13 18 23 2 9 12 19 22 4 7 14 17 24 5 6 15 16 25 3 8 13 18 23 4 7 14 17 24 5 6 15 16 25 กรรมการคนที่ 2 กรรมการคนที่ 2 กบินทร์วทิ ยำ ชนำธิปวิทยำ นำรศี ึกษำ 4.5.1 แนวทำงปฏบิ ตั ิในกำรสอบอำ่ นออกเสยี ง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานขอกาหนดแนวทางปฏิบัติสาหรับกรรมการที่ ควบคมุ การสอบอา่ นออกเสียง เพื่อใหก้ ารบรหิ ารจดั การสอบมีความชดั เจนไปในทศิ ทางเดยี วกัน ดังน้ี 1) ก่อนกำรดำเนินกำรสอบ 1.1) กรรมการคุมสอบท้ัง 2 ท่าน ศึกษาคู่มือ แบบทดสอบ และเกณฑ์การให้คะแนนอย่าง ละเอียด 1.2) กรรมการคุมสอบตกลงและทาความเขา้ ใจรว่ มกนั เก่ียวกบั บทบาทหน้าท่ใี นการทดสอบ และแนวทางการสรปุ ผลการประเมินของผเู้ ขา้ สอบ 1.3) กรรมการคุมสอบตรวจสอบจานวนผู้เข้าสอบและรายช่ือของผู้เข้าสอบ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงผู้เข้าสอบที่ขาดสอบ และผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) เพ่ือไม่ให้เกิดความคาดเคล่ือนในการ กรอกคะแนน สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

คมู่ ือการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ น ปีการศกึ ษา 2561 | 29 1.4) จัดห้องแยกออกเป็น 2 ห้อง คือ ห้องสอบอ่านออกเสียง และห้องพักนักเรียนที่รอเข้า สอบอ่านออกเสียง โดยหอ้ งท้งั สองตอ้ งเปน็ ห้องทีเ่ ก็บเสียง และไม่สามารถยนิ เสียงจากอกี ห้องหนึ่งได้ 2) ระหวำ่ งดำเนินกำรสอบ 2.1) กรรมการคุมสอบพูดคุยทักทายกับผู้เข้าสอบอย่างเป็นกันเอง เพื่อให้ผู้เข้าสอบไม่เกิด ความเครยี ดหรือความกดดัน 2.2) ช้แี จงใหผ้ เู้ ขา้ สอบเกยี่ วกับแนวทางการอ่านของผเู้ ข้าสอบ ดงั น้ี 2.2.1) เวลาท่ีใช้ในการทดสอบ 10 นาที ผู้เข้าสอบคนใดท่ีอ่านได้ครบถ้วน เสร็จก่อนเวลา กส็ ามารถยุติการทดสอบได้ 2.2.2) การสอบอ่านในแต่ละข้อ ถ้านักเรียนไม่สามารถอ่านได้ อนุญาตให้ผู้เข้าสอบ ขา้ มไปสอบขอ้ ถัดไปก่อนได้ และถา้ ยงั มีเวลาเหลอื สามารถยอ้ นกลับไปอ่านขอ้ เดิมที่ขา้ มได้ 2.3) ดาเนินการสอบการอ่านออกเสียงนกั เรียนทีล่ ะคนตามจานวนในแตล่ ะหอ้ งสอบ 3) หลงั กำรดำเนนิ กำรสอบ 3.1) กรรมการคุมสอบทั้ง 2 ท่าน ตรวจสอบคะแนนของเด็กแต่ละคนแต่ละคนให้ถูกต้อง และนามาบันทกึ ลงในแบบบนั ทึกคะแนนการสอบอา่ นออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 2) ในกรณที ่มี ีนกั เรียน ขาดสอบ ให้ขีดเส้นด้วยหมกึ สีแดง ใหข้ ดั เจน 3.2) นาแบบบันทึกคะแนนการอ่านรู้เร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึกคะแนน อ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 2) บรรจุลงในซองแบบทดสอบ เพ่ือเตรียมนาผลบันทึกลงในโปรแกรม NT access 4.5.2 กรณีผู้เข้ำสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ได้แก่ ผู้ท่ีไม่มีรายช่ือในใบเซ็นช่ือผู้เข้าสอบ (แบบ สพฐ.2) ซ่ึงนักเรยี นจะเขา้ สอบได้ กต็ ่อเม่อื ได้รับอนญุ าตจากประธานสนามสอบแลว้ โดยตอ้ งปฏิบัติ ดงั นี้ 1) ให้ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) เข้าสอบในห้องสอบสุดท้าย โดยน่ังต่อจากเลขที่น่ังสอบ สดุ ท้ายของหอ้ งสอบปกตหิ อ้ งสดุ ท้าย ในสนามสอบน้ัน ๆ 2) ให้ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ใช้แบบทดสอบสารอง สาหรับเลขท่ีนั่งสอบให้ใช้เลขท่ี นงั่ สอบตอ่ จากเลขทส่ี ดุ ท้ายของหอ้ งสอบปกตหิ ้องสุดท้าย ในสนามสอบนน้ั ๆ 3) ใหผ้ ู้เขา้ สอบกรณพี ิเศษ (Walk in) ลงชือ่ ในใบเซ็นช่ือผ้เู ข้าสอบกรณีพเิ ศษ (แบบ สพฐ.3) 4) ให้สนามสอบเพ่ิมชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (walk in) ในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึก คะแนน 2 โดยเขยี นชือ่ ต่อจากคนสุดทา้ ยของห้องสอบท่ีเขา้ สอบ 5) กรอกข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน และบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน 1 และ แบบบันทึกคะแนน 2 ในระบบ NT Access (ซึ่งเป็นไฟล์ Excel) ให้ครบถ้วน โดยเพ่ิมเป็นคนสุดท้ายใน หอ้ งสอบที่เข้าสอบ สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

30 | คมู่ อื การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ปกี ารศกึ ษา 2561 4.5.3 กรณเี ดก็ ขำดสอบ 1) ให้กรรมการคมุ สอบ ระบุวา่ “ขำดสอบ” ด้วยหมึกสแี ดง ในใบเซ็นชือ่ ผูเ้ ขา้ สอบ สพฐ.2 2) ให้กรรมการคุมสอบขีดฆ่าชื่อนักเรียนที่ขาดสอบ และระบุว่าขาดสอบ ด้วยหมึกสีแดง ในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทกึ คะแนน 2 3) ใหก้ รรมการบนั ทกึ คะแนน เลอื กสถานะเปน็ “ขำดสอบ” ในระบบ NT Access 4.5.4 กำรสง่ เฉลยขอ้ สอบกำรอำ่ นรเู้ รือ่ ง กรณที ่ี 1 ส่งไปพร้อมกบั ข้อสอบ สานักทดสอบทางการศึกษาจะบรรจุเฉลยใส่ซองแนบไปพร้อมกับซองข้อสอบการอ่านรู้เร่ือง จานวน 1 ซอง ต่อ 1 หอ้ งสอบ กรณที ่ี 2 ส่งผำ่ นระบบ NT Access สานกั ทดสอบทางการศึกษาจะสง่ เฉลยผ่านระบบ NT Access ใหศ้ ูนยส์ อบในวันที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 โดยใหศ้ นู ยส์ อบดาเนนิ การ ดังนี้ 1) ดาวนโ์ หลดเฉลยจากโปรแกรม NT Access ตามภาพ 2) ศูนย์สอบจัดทาสาเนาแจกให้กับสนามสอบในวันสอบ โดยจะต้องดาเนินการในลักษณะ ทเ่ี ปน็ ความลับทางราชการ และห้ามเปดิ เผยเฉลยผ่านโซเชียลมีเดีย เช่น เฟสบุค๊ ไลน์ หรอื ทางเวป็ ไซต์ของ หน่วยงาน เป็นต้น สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

คู่มอื การประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น ปกี ารศึกษา 2561 | 31 ตอนที่ 5 เอกสำรกำรจดั สอบ เอกสารการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ในส่วนน้ีเป็นการนาเสนอเกี่ยวกับเอกสารที่จัดส่งไปยังสนามสอบ การรับ-ส่งข้อสอบ และเฉลย โดยมีรายละเอยี ด ดังต่อไปนี้ 5.1 เอกสำรท่ีจดั สง่ ไปยงั สนำมสอบ 1) คู่มือกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนของผู้เรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2561 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจัดส่งคู่มือการประเมินความสามารถ ด้านการอา่ นของผเู้ รียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 ไปศนู ยส์ อบละ 20 เลม่ และสนามสอบละ 1 เล่ม 2) แบบทดสอบ ในการจัดสอบครัง้ น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จะบรรจุ ลงในกลอ่ งใหแ้ ต่ละสนามสอบ โดยภายในกลอ่ งจะบรรจซุ องแบบทดสอบมัดรวมกันเปน็ รายห้องสอบ ดังนี้ 2.1) ซองแบบทดสอบการอา่ นรู้เรื่องพร้อมเฉลย 2.2) ซองแบบทดสอบการอ่านออกเสยี งมีแบบทดสอบฉบับนักเรียน และฉบับกรรมการ กลอ่ งข้อสอบ ห้องสอบที่ 1 หอ้ งสอบที่ 2 สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

32 | ค่มู อื การประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น ปีการศึกษา 2561 โดยซองแบบทดสอบแต่ละซอง (แต่ละวิชา) จะมีใบปิดสีแตกต่างกัน เพื่อให้กรรมการ ระดับสนามสอบสังเกตได้ง่าย ได้แก่ ใบปิดสีขาว คือ ซองแบบทดสอบอ่านรู้เรื่อง และใบปิดสีฟ้า คือ ซองแบบทดสอบอา่ นออกเสียง ตามลาดบั ดังภาพ โดยในซองแบบทดสอบแต่ละซอง (แต่ละวิชา) ด้านหลังปิดผนึกซอง และปิดทับด้วย Security Seal เพ่อื ป้องกนั การเปิดกอ่ นถงึ กาหนด ซ่ึงในแต่ละซองแบบทดสอบแต่ละวิชา จะมีเอกสารบรรจอุ ยู่ภายในแตกต่างกัน ตามรูปแบบ วธิ ีการในการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รียนดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ซองแบบทดสอบอา่ นร้เู รอ่ื ง (ใบปดิ สขี าว) ภายในซองประกอบด้วย (1.1) แบบทดสอบ มีจานวนเทา่ กบั จานวนนักเรยี นทเ่ี ขา้ สอบแตล่ ะหอ้ ง (1.2) แบบบันทกึ คะแนน จานวน 1 ฉบบั (1.3) ใบเซนต์ชอ่ื ผเู้ ขา้ สอบ (สพฐ.2) จานวน 1 ฉบบั ดังภาพ สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

คู่มือการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน ปีการศกึ ษา 2561 | 33 เขา้ สอบแตล่ ะหอ้ ง (2) ซองแบบทดสอบอา่ นออกเสียง (ใบปิดสฟี ้า) ภายในซองประกอบด้วย (2.1) แบบทดสอบอ่านออกเสยี ง (ฉบบั นักเรยี น) จานวน 1 ฉบบั (2.2) แบบทดสอบอ่านออกเสียง (ฉบับกรรรมการ) มีจานวนเท่ากับจานวนนักเรียนที่ (2.3) แบบบนั ทึกคะแนน จานวน 1 ฉบับ (2.4) ใบเซนต์ช่ือผเู้ ขา้ สอบ (สพฐ.2) จานวน 1 ฉบบั ดงั ภาพ สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

34 | คมู่ ือการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น ปีการศกึ ษา 2561 โดยแบบทดสอบท่ีใช้ในการทดสอบคร้ังนี้ พิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์ขนาด 8.85 x 11.80 น้ิว ซง่ึ แบบทดสอบแตล่ ะฉบับจะมสี ีของตวั อักษรแตกต่างกันอย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดเก็บ ดงั นี้ ชุดที่ 1 แบบสอบดา้ นการอ่านรู้เรอ่ื ง(สมี ่วง) ชดุ ที่ 2 แบบสอบดา้ นการอ่านออกเสียง (ฉบบั นักเรียน) (สเี ขยี ว) ชุดท่ี 3 แบบสอบด้านการอา่ นออกเสยี ง (ฉบบั กรรมการ) (สีฟ้า) ดังภาพ นอกจากน้ีแบบทดสอบสารองจะถูกส่งไปยังสนามสอบจานวนร้อยละ 5 ของ แบบทดสอบทั้งหมด หรืออย่างนอ้ ย 1 ฉบบั /ห้องสอบ โดยจะถกู บรรจุอยูก่ ล่องแรกของแต่ละสนามสอบ 3) แบบบันทึกคะแนนสอบ แบบบันทึกคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่าน แย่งออกเป็น 2 ฉบับ คือ แบบบันทึกคะแนนการประเมินการอ่านรู้เร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบ บนั ทึกคะแนนการประเมนิ การอ่านออกเสยี ง (แบบบันทึกคะแนน 2) ดงั ภาพ สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

คูม่ อื การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ปกี ารศกึ ษา 2561 | 35 4) เอกสำรธุรกำรประจำสนำมสอบ ในการจัดสอบครั้งนี้ จะบรรจุเอกสารธุรการ ประจาสนามสอบใสล่ งในซองแยกออกจากกล่องแบบทดสอบ โดยมเี อกสารธรุ การ ดังน้ี 4.1) รายช่ือตดิ บอร์ดประชาสัมพันธ์ 4.2) รายช่อื ติดหนา้ ห้องสอบแตล่ ะหอ้ งสอบ 4.3) แบบ สพฐ.2 แบบเซ็นช่ือผูเ้ ขา้ สอบในแต่ละห้องสอบ 4.4) แบบ สพฐ.3 แบบเซน็ ชื่อผู้เขา้ สอบกรณีพเิ ศษ (Walk in) 4.5) แบบ สพฐ.5 แบบฟอร์มสาหรับผู้ปฏบิ ัติผดิ ระเบยี บการสอบ 4.6) แบบ สพฐ.6 แบบคาขอแก้ไขขอ้ มลู 4.7) แบบบนั ทกึ คะแนน 1 แบบบนั ทกึ คะแนนแบบทดสอบการอา่ นรเู้ รื่อง 4.8) แบบบันทกึ คะแนน 2 แบบบันทกึ คะแนนแบบทดสอบการอา่ นออกเสยี ง 4.9) RT1 บัญชีรับส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบระหว่างประธานสนามสอบ/ กรรมการกลางกับกรรมการคุมสอบ 4.10) RT2 บัญชีจานวนแบบทดสอบและเอกสารอื่น ๆ จากประธานสนามสอบ ถึงศนู ยส์ อบ 4.11) ซองใส่แบบบนั ทึกคะแนนและเอกสารอืน่ ๆ จากสนามสอบ 4.12) สต๊ิกเกอรข์ ้อมูลผูเ้ ขา้ สอบ (สาหรับติดโตะ๊ ผู้เขา้ สอบ) หมำยเหตุ: ตวั อย่างแบบฟอร์มเอกสารธุรการประจาสนามสอบ อยู่ในภาคผนวก 5.2 กำรรบั -ส่งแบบทดสอบ การรับส่งแบบทดสอบ การประเมินความสามารถในด้านการอ่านของผู้เรียน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ดาเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) สพฐ.จะส่งซองเอกสารธุรการประจาสนาม พร้อมคู่มือไปยังศูนย์สอบ ในวันที่ 21 - 24 มกราคม 2562 โดยใหผ้ แู้ ทนศนู ยส์ อบเซ็นรับเอกสาร ตามวนั เวลาทนี่ ดั หมาย สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

36 | ค่มู ือการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน ปีการศึกษา 2561 2) สพฐ.จะส่งกล่องแบบทดสอบ ระหว่างวันท่ี 4 - 7 กุมภาพันธ์ 2562 โดยให้ผู้แทน ศูนยส์ อบเซน็ รับเอกสาร ตามวันเวลาท่นี ดั หมาย 3) สนามสอบมารบั แบบทดสอบท่ีศูนยส์ อบเช้าวันสอบ 4) แบบทดสอบสารอง (ร้อยละ 5) และกระดาษคาตอบสารอง (ร้อยละ5) จะถูกส่งไปยัง สนามสอบทุกแหง่ โดยจะถกู บรรจไุ ว้ในกล่องแรกของทุกสนามสอบ 5) แบบทดสอบฉบับจริงทใ่ี ช้สอบ แบบทดสอบสารอง (ทไ่ี ม่ไดใ้ ช้) และกระดาษคาตอบสารอง (ท่ไี ม่ได้ใช้) เม่ือสอบเสรจ็ แล้วแจกจา่ ยใหโ้ รงเรยี นทเ่ี ข้ารว่ มสอบในสนามตา่ ง ๆ สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

คูม่ อื การประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน ปีการศกึ ษา 2561 | 37 ตอนท่ี 6 กำรรำยงำนผลกำรสอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะรายงานผลการประเมินให้กับนักเรียน ผู้เข้าสอบ โรงเรียน ศูนย์สอบหรือสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และประเทศ ผ่านระบบ NT Access โดยแบบรายงานผลการสอบจะแสดงรายละเอียดข้อมูลท่ัวไป ค่าสถิติผลการสอบ รายด้าน และภาพรวม ได้แก่ คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน จาแนก เปรียบเทยี บตามระดับตา่ ง ๆ คะแนนสอบรายองค์ประกอบและระดบั คณุ ภาพรายสมรรถนะ เปน็ ตน้ 6.1 กำรรำยงำนระดบั บคุ คล นักเรียนสามารถเข้าดูผลการประเมินโดยการพิมพ์เลขประจาตัวประชาชน จะแสดง แบบรายงาน ได้แก่ R-Student 01: แบบสรุปรายงานผลการทดสอบของนกั เรียน 6.2 กำรรำยงำนระดับโรงเรยี น โรงเรยี นสามารถเข้าดูผลการประเมินโดยรหสั ผ้เู ข้าใช้และรหสั ผ่านของโรงเรียน ประกอบด้วย แบบรายงาน ดงั นี้ R-School 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมินของโรงเรียน R-School 02: แบบรายงานค่าสถติ ิพนื้ ฐานผลการประเมินของโรงเรยี น R-School 03: แบบรายงานผลการประเมินนักเรียนจาแนกรายบคุ คลในแต่ละสมรรถนะ R-School 04: แบบรายงานผลการประเมินนักเรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละ องค์ประกอบ R-School 05: แบบรายงานผลคา่ สถติ พิ น้ื ฐานจาแนกนกั เรียนรายคน 6.3 กำรรำยงำนระดบั ศูนยส์ อบหรอื เขตพื้นทก่ี ำรศึกษำ ศูนย์สอบสามารถเขา้ ดูผลการประเมินโดยรหัสผู้เขา้ ใช้และรหสั ผ่านของศนู ย์สอบ ประกอบด้วย ข้อมูลแบบรายงาน ดังน้ี R-Local 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมนิ ของสงั กัดยอ่ ย (เขตพนื้ ท่)ี R-Local 02: แบบรายงานค่าสถติ ิพ้ืนฐานผลการประเมนิ ของสงั กัดย่อย (เขตพืน้ ท่ี) R-Local 03: แบบรายงานผลการประเมนิ จาแนกรายโรงเรียนในแตล่ ะสมรรถนะ R-Local 04: แบบรายงานผลจาแนกรายโรงเรยี นในแตล่ ะองค์ประกอบ R-Local 05: แบบรายงานผลคา่ สถิตพิ ้ืนฐานจาแนกรายโรงเรียน สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

38 | คู่มือการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น ปีการศกึ ษา 2561 6.4 กำรรำยงำนระดับจงั หวัดหรือศกึ ษำธกิ ำรจงั หวัด ศูนย์สอบสามารถเข้าดูผลการประเมนิ โดยรหสั ผู้เข้าใชแ้ ละรหัสผ่านของศนู ยส์ อบ ประกอบดว้ ย ข้อมูลแบบรายงาน ดงั น้ี R-Province 01: แบบสรปุ รายงานผลการประเมนิ ของจงั หวดั R- Province 02: แบบรายงานคา่ สถิติพ้ืนฐานผลการประเมินของจงั หวดั R- Province 03: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายโรงเรียน(ทุกสังกัดภายใน จงั หวัด) ในแตล่ ะสมรรถนะ R- Province 04: แบบรายงานผลจาแนกรายโรงเรียน (ทกุ สงั กัดภายในจังหวัด) ในแต่ละ องคป์ ระกอบ R- Province 05: แบบรายงานผลค่าสถิติพ้ืนฐานจาแนกรายโรงเรียน (ทุกสังกัดภายใน จังหวัด) 6.5 กำรรำยงำนระดบั หน่วยงำนต้นสังกัด ต้นสังกัดสามารถเข้าดูผลการประเมินโดยรหัสผู้เข้าใช้และรหัสผ่านของต้นสังกัด ประกอบดว้ ยข้อมูลแบบรายงาน ดังนี้ R-Central 01: แบบรายงานผลการประเมนิ ของตน้ สงั กดั R-Central 02: แบบรายงานค่าสถิติพ้นื ฐานผลการประเมินของต้นสังกดั R-Central 03: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายสังกัดย่อย (เขตพื้นท่ี) ในแต่ละ สมรรถนะ R-Central 04: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายสังกัดย่อย (เขตพ้ืนที่) ในแต่ละ องคป์ ระกอบ R-Central 05: แบบรายงานผลคา่ สถิตพิ ้นื ฐานจาแนกรายสงั กดั ยอ่ ย สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

ค่มู อื การประเมินความสามารถด้านการอา่ น ปีการศึกษา 2561 | 39 ตอนที่ 7 กำรจดั สอบสำหรบั เดก็ ท่มี ีควำมตอ้ งกำรจำเป็นพิเศษ เด็กที่มีควำมต้องกำรจำเป็นพิเศษ หมายถึง ผู้เข้าสอบท่ีมีความต้องการพิเศษเก่ียวกับ วิธีการ กระบวนการ เครื่องมือหรือบริการอ่ืนใดที่ใช้ในการจัดสอบแตกต่างไปจากเด็กท่ัวไป เพ่ือให้ เขาเหล่าน้ันสามารถแสดงความสามารถในการทาขอ้ สอบได้อย่างเต็มศักยภาพ 7.1 แนวทำงกำรจัดสอบสำหรบั เดก็ ทม่ี ีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พเิ ศษ การดาเนินการสอบสาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ 9 ประเภท โดยแต่ละประเภท อาจมีแนวทางการจัดสอบ ดงั นี้ 1) เด็กท่ีมีควำมบกพร่องทำงกำรเห็น หมายถึง คนที่สูญเสียการเห็นตั้งแต่ระดับ เลก็ นอ้ ยจนถงึ ตาบอดสนทิ อาจแบง่ ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1) ตำบอด หมายถึง คนกลุ่มนี้ไม่สามารถใช้การมองเห็นจากประสาทตาได้เลย ต้องใช้อักษรเบลล์ ช่วยในการอ่านและทาความเข้าใจข้อสอบ ในการดาเนินการผู้จัดสอบแจกข้อสอบ ฉบับอักษรเบลล์ให้นักเรียนแต่ละคน โดยแยกออกมาให้สอบในห้องเฉพาะและให้มีกรรมการคุมสอบ ที่มาจากโรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งนั้น ๆ เป็นกรรมการคุมสอบช่วยในการคุมสอบและช่วยเหลือ เท่าที่จาเป็น โดยกรรมการคุมสอบจะเป็นผู้ระบายคาตอบในกระดาษคาตอบให้นักเรียนแต่ละคนในช่วงท้าย ของเวลาในการคุมสอบโดยอาจให้กรรมการ 1 คน ช่วยนักเรียนประมาณ 3 - 5 คน แต่เด็กบางคนอาจให้ กรรมการคมุ สอบเป็นผอู้ ่านข้อสอบให้ฟัง โดยใชข้ ้อสอบปกติ ให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพอื่ ไมเ่ ป็นการรบกวนสมาธผิ ู้อื่น ครอู า่ นขอ้ สอบให้ฟังและนักเรียนจะทามือแสดงสัญลักษณ์คาตอบแล้วให้ กรรมการคุมสอบช่วยระบายคาตอบในกระดาษคาตอบก็ได้ โดยให้เวลาเพ่ิมข้ึนร้อยละ 30 จากเวลา ทกี่ าหนด 1.2) สำยตำเลือนลำง หมายถึง คนกลุ่มน้ียังสามารถใช้การมองเห็นจากประสาทตา ท่ีหลงเหลอื ได้ เดก็ กลมุ่ นี้อาจจะตอ้ งการใหจ้ ัดทาขอ้ สอบท่มี ีอกั ษรขนาดขยายเพ่ิมกวา่ ปกติ ฟอนด์ขนาด 20 พอยด์ (โดยประมาณ) เพ่ือสามารถอ่านข้อสอบด้วยตนเองได้ และอาจจะมีความยากลาบากในการระบาย กระดาษคาตอบ เน่ืองจากมีพ้ืนท่ีกาหนดให้ระบายกระดาษคาตอบในแต่ละข้อขนาดเล็กมาก อาจต้องให้ กรรมการคุมสอบช่วยอนุเคราะห์ระบายคาตอบให้ โดยเด็กทาคาตอบไว้ก่อนระหว่างทาข้อสอบและค่อยอ่าน ให้กรรมการคุมสอบช่วยระบายคาตอบหรือเขียนคาตอบให้ภายหลัง หรือเด็กอาจให้กรรมการคุมสอบ อ่านข้อสอบให้ฟังและช่วยระบายคาตอบให้นักเรียนคนน้ัน ๆ ตามที่นักเรียนบอกคาตอบก็ได้หรือกรรมการ คมุ สอบ 1 คน ตอ่ เดก็ 3 - 5 คน โดยให้เวลาในการทาข้อสอบเพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 30 จากเวลาท่กี าหนด สานักทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

40 | คู่มอื การประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น ปีการศึกษา 2561 2) เด็กท่ีมีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน หมำยถึง คนท่ีสูญเสียกำรได้ยินต้ังแต่ระดับ รุนแรงถงึ ระดับนอ้ ย อาจแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 2.1) หูตึง คนกลมุ่ น้ีสามารถรับรู้การได้ยินผ่านระบบประสาทหูได้ แต่มรี ะดับการได้ยิน น้อยกว่าปกติทั่วไป และอาจพูดส่ือสารได้ไม่ชัดเจน มักจะใส่เครื่องช่วยฟังเพ่ือช่วยในการได้ยินให้ดีข้ึน เด็กกลุ่มนี้สามารถทาแบบทดสอบได้ด้วยตนเอง โดยอาจไม่ต้องการความช่วยเหลือใด ๆ เป็นกรณีพเิ ศษ 2.2) หูหนวก เด็กกลุ่มนี้ไม่สามารถรับรู้การได้ยินผ่านทางประสาทหูได้แม้จะใส่ เครือ่ งชว่ ยฟงั ชว่ ยการไดย้ ินแลว้ ก็ตาม และต้องใช้ภาษามอื ในการส่ือสารแทนการใช้เสยี งพดู แม้เด็กกลุ่มน้ี มีลักษณะภายนอกคล้ายเด็กท่ัวไป แต่เขาเหล่านี้จะมีพัฒนาการทางภาษาด้อยกว่าเด็กท่ัวไปที่อายุ อยู่ในระดับเดียวกัน การดาเนินการสอบควรจัดให้มีล่ามภาษามือจากโรงเรียนโสตศึกษาในจังหวัดน้ัน ช่วยในการแปลรายละเอียดข้อสอบ เพ่ือช่วยให้เด็กหูหนวกท่ีเข้าสอบมีความเข้าใจที่ชัดเจนและสามารถ แสดงศักยภาพในการทาข้อสอบได้ถูกต้อง และควรให้เวลาในการทาข้อสอบเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 จากเวลา ทก่ี าหนด 3) เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงสติปัญญำ หมายถึง คนท่ีมีพัฒนาการช้ากว่าคนท่ัวไป เม่ือวัดระดับเชาว์ปัญญา กรณีน้ีเด็กจะมีความสามารถทางสติปัญญาต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยและมีข้อจากัด ในการปรับตัว แต่หากเป็นเด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาท่ีเรียนร่วมกับเด็กท่ัวไป จะมีความสามารถ ในการเรียนได้ในระดับประถมศึกษาอยู่แล้ว อาจเปิดโอกาสให้เด็กกลุ่มน้ีได้เข้าสอบด้วย โดยอาจเพิ่มเวลา ในการทาข้อสอบได้แตไ่ มเ่ กินร้อยละ 30 ของเวลาทก่ี าหนด 4) เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงร่ำงกำยหรือสุขภำพ หมายถึง คนท่ีมีอวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใดส่วนหน่ึงหรือหลายส่วนขาดหายไป กระดูกและกล้ามเนื้อพิการ เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรง มีความพิการของระบบประสาท มีความลาบากในการเคลื่อนไหวซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในสภาพปกติ แบ่งเป็น 4.1) เด็กมีควำมบกพร่องทำงร่ำงกำยหรือกำรเคลื่อนไหว เช่น คนมีอวัยวะไม่สมส่วน หรอื ขาดหายไปโดยเฉพาะแขนขาดหรือกล้ามเน้ือแขนลีบผิดปกติ ทาใหม้ ีอุปสรรคในการเขียนคาตอบหรือ ระบายคาตอบในกระดาษคาตอบ แต่เด็กกลุ่มนี้มีความสามารถทางสมองและสติปัญญาอยู่ในระดับปกติ ในการทาข้อสอบ ให้จัดให้เด็กเหล่าน้ีสอบในห้องเฉพาะและให้มีกรรมการอานวยความสะดวกในการ ระบายคาตอบหรือเขียนคาตอบให้นักเรียน โดยให้นักเรียนแต่ละคนอ่านข้อสอบด้วยตนเองและบอก คาตอบใหก้ รรมการช่วยเขียนคาตอบให้ และให้เวลาทาข้อสอบเพิ่มข้ึนร้อยละ 30 จากเวลาท่กี าหนด แต่หาก เด็กสามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องการความช่วยเหลือใดเป็นพิเศษ ให้เด็กคนนั้นสอบรวมกับ เด็กทั่วไป อนึ่งควรจัดสนามสอบสาหรับเด็กกลุ่มน้ีให้เหมาะสม เช่น ควรจัดอยู่ช้ันล่างของอาคารเพ่ือ ความสะดวกในการใชเ้ ก้าอร้ี ถเข็น 4.2) เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงสุขภำพ ได้แก่ คนท่ีมีความเจ็บป่วยเร้ือรังหรือมี โรคประจาตวั และตอ้ งไดร้ บั การรักษาอย่างต่อเนือ่ ง เดก็ เหล่านหี้ ากสามารถทาขอ้ สอบได้ดว้ ยตนเอง ให้ทา สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

คูม่ อื การประเมินความสามารถด้านการอา่ น ปกี ารศึกษา 2561 | 41 ข้อสอบด้วยตนเอง หากไม่สามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเอง ให้กรรมการคุมสอบช่วยเขียนคาตอบให้ โดยเด็กเป็นผู้บอกคาตอบ ให้กรรมการเขียน โดยเพ่ิมเวลาในการทาข้อสอบให้ได้ตามความจาเป็นแต่ไม่เกิน รอ้ ยละ 30 จากเวลาท่ีกาหนด 5) เด็กที่มีปัญหำทำงกำรเรียนรู้ หมายถึง เด็กท่ีมีความบกพร่องอย่างใดอย่างหน่ึง หรือ หลายอย่าง เกี่ยวกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษา อาจเป็นภาษาพูดหรือภาษาเขียน เด็กเหล่านี้ส่วนใหญ่ กระจายอยู่ในโรงเรียนทั่ว ๆ ไป ในการจัดสอบต้องเปิดโอกาสให้เด็กเหล่าน้ีมีโอกาสในการทาข้อสอบ ร่วมกับเด็กท่ัวไปด้วย โดยอาจจัดให้มีกรรมการคุมสอบ เพื่อช่วยควบคุมและอานวยความสะดวกเป็นการเฉพาะ เพราะเด็กเหล่านี้ สามารถพูดคาตอบท่ีถูกต้องได้ แต่อาจไม่สามารถแสดงศักยภาพของตนเองด้านการเขียน คาตอบได้ กรรมการคุมสอบควรอนุเคราะห์เขียนหรือระบายคาตอบให้เด็กเหล่านี้ด้วย เพราะเด็กเหล่าน้ี สามารถพูดคาตอบได้ อน่ึงหากเด็กสามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเอง ก็ให้นักเรียนคนน้ันทาข้อสอบด้วย ตนเอง การเพิม่ เวลาอาจพจิ ารณาตามความเหมาะสมแต่ไม่เกินรอ้ ยละ 30 ของเวลาทก่ี าหนด 6) เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงกำรพูดและภำษำ หมายถึง คนท่ีมีความบกพร่องในเร่ือง ของการเปล่งเสียงพูด เช่น เสียงผิดปกติ อัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติ หรือคนท่ีมี ความบกพร่องในเรื่องความเจ้าใจหรือการใช้ภาษาพูด การเขียน และหรือระบบสัญลักษณ์อื่นท่ีใช้ใน การติดต่อส่ือสาร ซึ่งอาจเกี่ยวกับรูปแบบของภาษา เน้ือหาของภาษาและหน้าที่ของภาษา กรณีนี้ ให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่ือไม่เป็นการรบกวนสมาธผิ ู้อื่น และเพ่ิมเวลาในการทาข้อสอบ ใหต้ ามแต่กรณีโดยไม่เกินรอ้ ยละ 30 ของเวลาท่ีกาหนด 7) เด็กทมี่ ปี ญั หำทำงพฤติกรรมหรืออำรมณ์ หมายถึง คนทม่ี ีพฤตกิ รรมเบ่ยี งเบนไปจาก ปกติเป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมน้ันเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่เป็นที่ยอมรับทางสังคม กรณีน้ี ให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อื่น และเพ่ิมเวลาในการทาข้อสอบ ให้ตามแต่กรณโี ดยไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 30 ของเวลาทกี่ าหนด 8) เด็กออทิสติก หมายถึง คนท่ีมีความบกพร่องทางพัฒนาการด้านสังคม ภาษาและ การส่ือความหมาย พฤติกรรม อารมณ์ และจินตนาการ เด็กเหล่านี้มีความผิดปกติของระบบการทางาน ของสมองบางส่วน ทาให้เด็กเหล่านี้มีความบกพร่องของพัฒนาการด้านภาษา ด้านสังคม และการปฏิสัมพันธ์ ทางสังคม มีความสนใจเฉพาะเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง เด็กเหล่าน้ีอาจไม่มีสมาธิในการทาข้อสอบได้ตลอดการสอบ และหากเด็กสามารถควบคุมสมาธิของตนเองให้ทาข้อสอบได้ ควรเปิดโอกาสให้เด็กเหล่านี้มีโอกาสในการ ทาข้อสอบได้ตามศักยภาพที่เขามี โดยให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่ือไม่เป็นการรบกวน สมาธิผู้อ่ืน และเพ่ิมเวลาในการทาข้อสอบให้ตามแต่กรณีโดยไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาท่ีกาหนด หากเด็ก มศี กั ยภาพในการทาข้อสอบไดเ้ พียงใด ใหถ้ ือวา่ คอื ศกั ยภาพในการทาข้อสอบของเด็กคนน้ันแล้ว 9) บุคคลพิกำรซ้อน หมายถึง คนท่ีมีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่า หนึ่งประเภทในบุคคลเดียวกัน เช่น คนปัญญาอ่อนท่ีสูญเสียการได้ยิน เป็นต้น กรณีนี้ให้กรรมการคุมสอบ แยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่ือไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อื่น และเพ่ิมเวลาในการทาข้อสอบให้ตามแต่กรณี สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

42 | คูม่ อื การประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน ปีการศึกษา 2561 โดยไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาทีก่ าหนด (การพจิ ารณาให้เด็กท่ีมีความพิการซ้อนเข้าสอบนั้น ใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินิจ ของผู้บริหารโรงเรยี นว่าควรใหน้ กั เรียนเขา้ สอบไดห้ รอื ไม่) 7.2 ขอ้ ปฏบิ ตั สิ ำหรับกำรจดั สอบเดก็ ทม่ี ีควำมต้องกำรจำเปน็ พิเศษ กรณีท่ีสนามสอบมีเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้แก่ เด็กที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยิน เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหว หรอื สุขภาพ เด็กท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ และเดก็ ออทสิ ตกิ ขอให้ดาเนนิ การ ดงั นี้ 7.2.1 เด็กทีม่ ีความต้องการจาเป็นพิเศษ รายงานตวั ท่ีห้องอานวยการสอบประจาสนามสอบ เพื่อสอบถามข้อมูลเก่ยี วกับหอ้ งสอบ (กรณไี ม่ทราบข้อมูล) 7.2.2 ให้กรรมการคุมสอบรับรายงานตัวผู้เข้าสอบที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ โดยอานวยความสะดวกในการแจ้งห้องสอบและแจ้งรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการสอบ เช่น ระเบียบการ เข้าสอบ ตารางสอบใหก้ ับผูเ้ ข้าสอบ เปน็ ตน้ 7.2.3 ให้สนามสอบอานวยความสะดวกให้กับนักเรียนกลุ่มดงั กลา่ ว ตามความเหมาะสม 7.3 หลักฐำนทใ่ี ช้แนบประกอบสำหรับเดก็ ทีม่ คี วำมต้องกำรจำเป็นพิเศษ กรณีโรงเรียนที่มีนักเรียนเป็นเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ต้องการเข้าร่วมประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ให้แนบหลักฐานยืนยันสถานภาพของ นักเรียนไปยังศูนย์สอบ ภายในวันท่ี 20 ธันวาคม 2561 เพื่อทาการตรวจสอบ โดยมีหลักฐาน คือ สำเนำใบรับรองแพทย์หรือสำเนำบัตรประจำตัวคนพิกำรเท่ำนั้น (เน่ืองจากนักเรียนในระดับ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ยังไม่มกี ารคดั กรองเด็กท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ) สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

คู่มือการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ น ปกี ารศกึ ษา 2561 | 43 ภำคผนวก ก รปู แบบขอ้ สอบ เฉลย และเกณฑ์กำรใหค้ ะแนน สานกั ทดสอบทางการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน



คมู่ ือการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ น ปีการศึกษา 2561 | 45 ตวั อย่างรปู แบบขอ้ สอบของแบบทดสอบการอา่ นรู้เรื่อง ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 รูปแบบข้อสอบการอ่านร้เู รอ่ื ง รปู แบบข้อสอบการอา่ นรเู้ รื่อง มีทงั้ หมด 3 ตอน ตอนที่ 1 การอ่านรู้เรื่องเปน็ คามี 15 ข้อ ประกอบดว้ ย - ข้อสอบจับคู่แบบลากเสน้ โยงคา มี 10 คา คะแนนเตม็ 10 คะแนน (คาละ 1 คะแนน) - ข้อสอบแบบเขียนประโยคจากภาพ มี 5 ภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน (ภาพละ 2 คะแนน) ตอนท่ี 2 การอ่านรู้เรื่องเป็นประโยค เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก มี 10 ข้อ คะแนนเต็ม 20 คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน) ตอนที่ 3 การอ่านรู้เร่ืองเป็นข้อความ เป็นข้อสอบแบบเลือ กตอบ 3 ตัวเลือก มี 5 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน (ขอ้ ละ 2 คะแนน) สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook