Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ Ebook หน่วยที่ 2

คู่มือ Ebook หน่วยที่ 2

Published by tanaporn, 2021-09-11 08:58:24

Description: คู่มือ Ebook หน่วยที่ 2

Search

Read the Text Version

2

ใบความรู้ หน่วยท่ี 2 ธาตทุ างทศั นศลิ ป์ ความเป็นมาของทัศนศลิ ป์ ความเป็นมาของคำว่า “ทัศนศิลป์” เกิดจากแนวความคิดของศิลปิน เบาเฮาส์ ใน เยอรมนี ซึ่งก็ตัง สถาบัน “เบาเฮาส์” นขี้ ึน้ ในปี ค.ศ. 1919 และกอ่ ตงั้ ได้ไมน่ านก็แยกยา้ ยไปในประเทศต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิง่ ย้ายไปอยู่ ประเทศสหรัฐอเมริกามากท่สี ดุ และไดต้ ้ังสถาบันศิลปะแหง่ ใหม่ขนึ้ มาท่ีนครชิคาโก ชอ่ื Institute of Design โดย โมโฮ ลี นาจ (Mr.Moholy Nagy) และพยายามทบทวนจุดยืนทางศิลปะขึ้นใหม่ตามแนวทางทางศิลปะมีลักษณะทาง วิทยาศาสตร์มายิ่งขึ้นเมื้อผู้สำเร็จการศึกษาจากสถาบันนี้มากขึ้นจึงได้คิดค้นคำใหม่ที่เหมาะสมรัดกุมจึงได้ใช้คำ ว่า Visual Art แต่ความเข้าใจและความหมายของคำตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอจึงสงผลต่อการรับรู้ถึง ความหมายและขอบข่ายของ Visual Art ดังน้ันจึงได้มีการทบทวนใหม่ โดยสถาบัน “เบาเฮาส์” ในเยอรมนี ซึ่งได้ร่วม ขอบค่ายของศิลปะ 3 สาขาคือ สถาปัตยกรรม จิตกรรม และ ประติมากรรม เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเป็น Visual Art ซ่ึงในภาษาไทยเรียกว่า ทศั นศลิ ป์ หมายถึงผลงานมนุษยส์ ร้างขน้ึ ใหเ้ หน็ รูปทรง 2 มิติและ 3 มติ ิ มีเน้ือที่ปริมาตร และเนื้อที่ บริเวณว่างตามปริมาตร ของการรับรู้ที่มีลักษณะเป็น 2 มิติและ 3 มิติ และที่สำคัญต้องสามารถมองเห็น ไดน้ ่ันเอง รูปที่ 2.1 งานทศั นศลิ ป์ ประเภทของทศั นศลิ ป์ ประเภทของงานศลิ ป์ โดยการจำแนกตามรูปแบบ ทัศนศิลป์ประเภท 2 มิติ ผลงานทัศนศิลป์ที่ปรากฏบนพื้นระนาบ ทั้งที่ขรุขระและเรียบทั้งนี้ปรากฏใน ลักษณะที่เป็นเส้น สี แสงเงาหรือลักษณะพื้นผิวใดๆที่ปรากฎบนพื้นระนาบ สร้างมิติสร้างรองรับเป็น 2 มิติ ส่วน 3 มติ ิ คือดา้ นลึกหรือหนาเปน็ มิตลิ วงเกดิ ขนึ้ โดยความรู้สึกของผดู้ ู เช่น ภาพวาด ภาพเขยี น ภาพพิมพ์ ภาพถา่ ย ฯลฯ ทศั นศลิ ปป์ ระเภท 3 มิติ คือลกั ษณะจริงของมิตทิ ้ัง 3 ประการ มีความกวา้ ง มีความยาว มคี วามลึก มีความ เป็นจริงของสภาวะของมัน จงึ แบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภทใหญๆ่ คอื ประติมากรรม สถาปัตยกรรมและศิลปะสือ่ ผสม ทัศนศิลป์ประเภทอื่นๆ คือผลงานทัศนศิลป์ที่ไม่สามารถจัดอยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้อย่างชัดเจน เนื่องด้วย ทัศนศิลป์กลุ่มนี้ได้ผสมผสานรูปแบบและวิธีแสดงออกทางศิลป์ที่มีความแปลกใหม่ อาทิเช่น ศิลปะการจัด

วาง (Installation Art), มโนทัศนศิลป์ (Conceptual Art) ศิลปะสื่อแสดง (Performance Art) , แฮปแพน นิ่ง อารต์ (Happenings Art) รูปที่ 2.1 ประเภทของทัศนศิลป์ ลักษณะรปู แบบทศั นศลิ ป์ (Visual Art Sty) รปู แบบทแ่ี สดงความเปน็ จริง(Realisc Form) คอื รปู แบบทศี่ ิลป์ถา่ ยทอดเร่อื งราวต่าง ๆ ตามสภาวะจรงิ ความ เปน็ จริงของสง่ิ น้ัน รูปแบบที่แสดงเนื้อความเป็นจริง (Surrealistic Form) คือรูปแบบที่ศิลปินได้ถ่ายทอดเรื่องราวหรือ ปรากฎการณต์ า่ งๆ โดยไมย่ ดึ ถอื กฎเกณฑห์ รอื ความถกู ตอ้ งตามความเป็นจรงิ จากสภาวะส่งิ นนั้ ๆ รูปแบบปราศจากเนื้อหา (Non Figurative) คือ ลกั ษณะรปู แบบของงานศิลป์ ประกอบไปด้วย 3 สว่ นสำคัญ คอื รปู แบบ เนื้อหาและวิธี ทศั นศิลปร์ ูปแบบน้ีมีวฒั นาการตั้งแตป่ ี ค.ศ.1910 โดย วาสิลี แคนดนิ สกี ศลิ ปนิ ชาวรัสเซีย ผู้ มาสร้างสรรคผ์ ลงานในเยอรมนีได้สรา้ งสรรค์ผลงานของตนขึ้น โดยสลดั เน้อื หาของผลงานทิ้งไปจนหมดสิ้น กล่าวคือ ไม่ มเี น้อื หาใด ๆ ในผลงานเลยและเรียกผลงายของตนว่า Adstract Art กลวิธีทัศนศิลป์ (Visual Art Technique) หมายถึง กระบวนการสร้างงานทัศนศิลป์ซึ่งประกอบไปด้วย 3 สว่ นประกอบ คือ วสั ดุ อปุ กรณ์ และวิธกี าร โครสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ เปน็ องคป์ ระกอบหลกั ทส่ี ำคญั อย่างหน่ึง ส่ิงตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็นสง่ิ ท่ีเกย่ี วกบั ธรรมชาติหรอื สิ่งแวดล้อม แต่ละสิ่ง ลว้ นประกอบจากส่วนประกอบยอ่ ย ๆ ซึง่ จะตอ้ งรวมตวั กนั เปน็ กลุ่มเกดิ จากการประกอบกันของมนุษยใ์ นการสร้างสรรค์ เป็นผลงาน แต่องค์ประกอบทั้ง 2 ลักษณะต่างมีความสัมพันธ์กันทางธรรมชาติ เช่น องค์ประกอบของมนุษย์จะเป็น อวัยวะเป็นสว่ นตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ศีรษะ ลำตวั แขนขา ฯลฯ สว่ นคอนกรตี ประกอบไปด้วย ซีเมนต์ ทราย กรวด และนำ้ ท่ีผสม กนั ตามอตั ราส่วน ซึ่งเป็นการประกอบกนั ของมนษุ ย์

เนื่องจากมนุษย์ได้รับความงามจากธรรมชาติไม่เพียงพอ หรือมนุษย์อยากจะเอาชนะธรรมชาติ หรืออยาก กลอกเลียนแบบความงามของธรรมชาติ มนุษย์จึงไดค้ ิดสร้างสรรค์ผลงานขึ้นมาใหม่ โดยเอาส่ิงต่างๆ ที่ อยู่ในธรรมชาติ เช่น สี แสง เงา พื้นผิว ฯลฯ มาประกอบกันแล้วจัดรูปแบบเสียใหม่ให้เป็นไปตามที่มนุษย์ต้องการ เพื่อสนองความ ต้องการของตนเองและ เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน สิ่งที่มนุษย์นำมาจากธรรมชาติแล้วจัดทำใหม่นี้เอง คือองค์ประกอบศิลป์ และเมื่อประกอบเสรจ็ สมบรูณ์ มีความกลมกลนื สวยงาม และอาจนำไปใช้สอยให้เกิดประโยชน์ อนั นเี้ รียกว่างานศิลปะ สำหรับการสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ มจี ุดมุ่งหมายเพือ่ สรา้ งความรูส้ ึกของมนุษย์ ในด้านความงามและเร่ืองราว ซึ่งความหมายและเรอื่ งราวท่ีจะนำมาสรา้ งสอ่ื ของความหมายทางทัศนศลิ ป์เพื่อสรา้ งอยู่รอบตวั ศิลปิน ส่งิ ทพ่ี บและเห็นท่ี คุ้นเคยในชีวติ ประจำวนั เป็นวัตถุดบิ ทีน่ ำมารวบรวมเป็นความคิดและจิตนาการ ถา่ ยทอดสรา้ งสรรค์ ออกมาเป็นผลงาน ทัศนศิลป์โดยทัศนศิลป์มีองค์ประกอบของสิ่งที่สามารถสัมผัสได้ด้วยตาในลักษณะการมองเห็นได้แก่ การรับรู้ทางการ มองเหน็ มิติ แขนงจติ กรรม สถาปตั ยกรรม งานทศั นศลิ ป์ท่ปี รากฏให้เห็นสามารถแบ่งได้ 2 ชนดิ คอื 1. ทัศนศลิ ป์ 2 มิติ ไดแ้ ก่ ผลงานการเขียนภาพ ระบายสี 2.ทัศนศลิ ป์ 3 มติ ไิ ดแ้ ก่ ผลงานประติมากรรม สถาปัตยกรรม ทัศนศลิ ป์แบง่ ตามประเภท - การวาดเส้น - จติ กรรม บางคร้งั จะแบ่งตามขบวนการทางทัศนศิลป์ เช่น Renaissance, Impressionism, Post- impressionism , Modern Art - การทำภาพพิมพ์ เชน่ Old master print , Woodblock painting -การถา่ ยภาพ และการสรา้ งภาพยนตร์ -ศิลปะคอมพวิ เตอร์ - ศลิ ปะทรงรูป (Plastic Arts) เชน่ ประติมากรรม ความหมายของทัศนธาตุ ทัศนธาตุ ทศั นธาตุ หมายถึง ส่วนสำคัญท่รี วมกนั เป็นรูปร่างของสิ่งทั้งหลายตามท่ีมองเหน็ ได้แก่ จดุ เสน้ สี แสงเงา สี น้ำหนกั บรเิ วณว่าง และลักษณะพืน้ ผิวทศั นธาตุ เป็นสว่ นประกอบสำคัญได้แก่ศลิ ปะท่ีสามารถนำมาจัดให้ประสาร กลมกลืน เกดิ เป็นผลงานศิลปะทีม่ ีคุณค่าทางความงาม และ สอ่ื ถงึ ความหมายตามความคิดของผ้สู ร้างสรรค์ได้ ทัศนธาตุ เกิดขึน้ จากการนำเอาธาตใุ ดธาตุหน่งึ มาสรา้ งเปน็ รูปรา่ งของบรเิ วณวา่ งขน้ึ เม่ือใช้สีระบายลงบนรูปทรงทัศนธาตจุ ะ

ปรากฎข้ึนท้ังเส้นสี และลักษณะผิว ฉะนนั้ การรจู้ กั สังเกตธรรมชาตทิ ี่อยู่รอบๆ ตัวและการรู้จกั เลือกสรา้ งสรรคง์ าน ศิลปะทัศนธาตุ ประกอบดว้ ย -จดุ (Dot) -เสน้ (Line) -สี (Color) -รูปร่างและรปู ทรง (Shape and Form) -นำ้ หนัก (Value) -บริเวณวา่ ง (Space) -ลักษณะผวิ (Texture) 1.จุด (Dot) จุด หมายถึง รอยหรือแต้มท่ีมลี ักษณะกลมๆ ปรากฏทีผ่ วิ พืน้ ไม่มีขนาด ความกวา้ ง ความ ยาว ความหนา เปน็ สิ่งทเ่ี ลก็ ท่ีสุดและเปน็ ธาตุเร่ิมแรกทท่ี ำใหเ้ กดิ ธาตุอื่นๆขนึ้ รูปภาพท่ี 2.2 ภาพจุด 2.เสน้ (Line) เส้น คือจุดหลายๆจุดต่อกันเป็นสาย เปน็ แนวแถวไปทางทศิ ใดทิศหนึ่งเปน็ ทางยาวหรอื จดุ ทีเ่ คลอื่ นทีไ่ ปในทศิ ทางใดทิศทางหนึ่งด้วยแรงผลักดันหรือรอยขดู เขียนของวตั ถเุ ปน็ รอยยาวเสน้ แบ่งเปน็ ลอยขดู เขยี นของเปน็ วตั ถุยาวๆ เส้นแบง่ มี 2 ลกั ษณะใหญ่ๆ ดงั้ นี้ 1.เส้นตรง 1.1 เส้นดิ่ง คอื เสน้ ตรงที่ต้ังฉากกบั พน้ื ระดับมันคง แขง็ แรง สงา่ รุ่งเรือง สมดลุ พุ่งข้นึ

รูปที่ 2.3 ภาพลักษณะเสน้ ดิง่ 1.2 เสน้ นอน คือเส้นตรงทน่ี อนราบไปกบั พ้นื ระดบั ให้ความร้สู ึกกว้างขวางสงบเงียบ เยือกเย็น ผ่อน คลาย รูปที่ 2.4 ภาพลักษณะเสน้ นอนราบ 1.3 เส้นเฉยี ง คือ เสน้ ท่ีไมต่ ้งั ฉากกบั ระดับใหค้ วามรู้สึกไม่มนั่ คง 1.4 เสน้ ฟนั ปลา คือเสน้ ตรงหลายเสน้ ตอ่ กันสลับขน้ึ ลงระยะเท่ากนั ใหค้ วามรสู้ ึก รุนแรง กระแทก ตน่ื เต้น อันตราย ขัดแย้ง 1.5 เส้นประ คือ เส้นที่ขาดเป็นชว่ งๆมรี ะยะเทา่ กนั ให้ความรสู้ กึ ต่อเนื่อง 2.เส้นโคง้ 2.1 เส้นโค้ง เปน็ เส้นที่เป็นทอ้ งกระทะคลา้ ยเชอื กหยอ่ นให้ความรู้สกึ อ่อนโยน

รปู ท่ี 2.5 ภาพลกั ษณะเส้นโคง้ ลง 2.2 เสน้ โคง้ ข้นึ คอื เสน้ ที่โคง้ เป็นหลังเต่าใหค้ วามรสู้ กึ แข็งแกร่ ง รูปที่ 2.6 ภาพลกั ษณะโคง้ ขน้ึ

3. เส้นคด คือ เสน้ โค้งขึน้ โค้งลงต่อเนื้องคลา้ ยคลื่นทะเลให้ความร้สู กึ เลื่อนไหล ตอ่ เน่ือง ออ่ นชอ้ ย นุ่มนวล รูปที่ 2.7 ภาพลกั ษณะเส้นคด 4.เสน้ ก้นห้อย คือ เสน้ โค้งตอ่ เนอ่ื ง ก้นวนเขาลกึ เลก็ ลงเปน็ จุดคลา้ ยกน้ ห้อย ให้ความรู้สกึ อึดอัด เคล่อื นไหวคล่ีคลาย รูปที่ 2.8 ภาพลกั ษณะโคง้ ข้นึ 3.สี (Colour) สหี มายถึง ลกั ษณะของแสงสว่างปรากฏแกต่ าใหเ้ หน็ เป็นสีขาว ดำ แดง เขียว น้ำเงิน เหลอื ง เป็นต้น 1.สีทีเ่ ป็นวตั ถุ (Pigment) สีทเ่ี ป็นรงค์วัตถุสีผงหรอื ธาตใุ นรา่ งกายทำให้คนมาสีต่างๆ สีท่ีเกิดจากวัตถุ ธาตุจาก พืช สัตว์ แรธ่ าตเุ ป็นตน ซึ่งเปน็ สที ี่ใชใ้ นงานศิลปะ

รปู ที่ 2.9 สีที่เป็นวัตถุ 1.สที ่ีเปน็ วตั ถุ (Pigment) สีทเ่ี ปน็ รงคว์ ตั ถุสีผงหรอื ธาตใุ นรา่ งกายทำให้คนมีสตี า่ ง ๆ สที ี่เกดิ จาก วัตถธุ าตุ รูปที่ 2.10 ภาพลักษณะสที ีเ่ ป็นแสง แมส่ ี Primary Colour เดิมมอี ยู่ 2 ชนิดคือ 1. แม่สีของแสง เกิดจากการหักเหของแสงผ่านแท่งแก้ว มี 3 สีคือ สีแดง สีเหลือง สีนำเงิน อยู่ในรูป แสงรงั สี ซ่งึ เปน็ พลงั งานชนดิ เดียวทมี่ ีสี คณุ สมบตั ิของแสงสามารถนำมาใช้ในการถ่ายภาพโทรทัศน์ การจดั แสงสีใน การแสดงต่างๆ เปน็ ต้น 2. แม่สีวัตถุธาตุ เป็นสีได้มาจากธรรมชาติและการสังเคราะหโ์ ดยกระบวนการทางเคมี มี 3 สี คือ สีแดง สีเหลอื ง สีนำเงนิ แม่สวี ตั ถธุ าตเุ ปน็ แม่สีที่นำมาใชง้ านกนั อยา่ งกว้างขวาง ในวงการศิลปะ วงการอุตสาหกรรม ฯลฯ แม่สวี ตั ถุธาตุ เม่ือนำมาผสมกันตามหลักเกณฑ์ จะทำให้เกิดวงจรสีซงึ่ เป็นวงสีธรรมชาติ เกิดจากการ ผสมกนั ของแมส่ ีวัตถุธาตุ เปน็ สีหลกั ที่ใช้งานกนั ท่ัวไปในวงสี วงจรสธี รรมชาติ วงจรสี เกดิ จากการนำเอาแมส่ ีมาผสมกันเปน็ 3 ขน้ั มี 12 สี คอื เหลือง เหลืองเขยี ว เขยี ว เขียวนำ้ เงนิ นำ้ เงิน นำ้ เงนิ ม่วง มว่ ง มว่ งแดง แดง แดงสม้ สม้ เหลอื งส้ม หรอื เรียกว่าวงล้อของสี 1. สขี ั้นที่ 1 คอื สที ่ีไม่มสี ีใดสามารถผสมใหไ้ ด้สนี ้นั ไดแ้ ก่ สีแดง สีเหลอื ง สีน้ำเงิน

รูปที่ 2.11 ภาพลักษณะสขี ้นั 1 2. สขี น้ั ท่ี 2 (Secondary Colours) สีขนั้ ท่ี 2 เกิดจาการนำเอาแม่สีที่เป็นวัตถุทัง้ 3 สี มาผสมกนั เกิดสี ใหม่ขึน้ มาอีก 3 สี ไดแ้ ก่ สสี ม้ สเี ขียว สีม่วง รูปที่ 2.12 ภาพลกั ษณะสขี นั ท่ี 2

3. สีข้ันที่ 3 (Tertiory Colours) คือ เกิดจากการนำเอาสขี ัน้ ที่ 1 กับ 2 มาผสมกนั ทีละคู่ท่อี ยู่ติดกัน จะ ไดส้ ีเพ่มิ ข้ึนอีก 6 สี รูปที่ 2.13 ภาพลักษณะสีขนั้ 3 สแี ดง = ต่ืนเต้น เรา้ ใจ อนั ตราย พลงั อำนาจ รัก สีสม้ = ตน่ื ตวั ตนื่ เตน้ เร้าใจ สนกุ สนาน สีเหลือง = สดใส รา่ เรงิ ฉลาด เปร้ียว สีเขยี วอ่อน = สดชน่ื ร่าเรงิ เบกิ บาน สีเขียวแก่ = สะอาด ปลอดภยั สดช่นื ธรรมชาติ ชรา สีน้ำเงิน = สภุ าพ เชอื่ มัน่ หนักแน่น ถ่อมตัว ผู้ชาย สีฟ้า = ราบรื่น สวา่ ง วัยรุน่ ทนั สมัย สมี ว่ ง = ฟุ่มเฟือย ลกึ ลับ ข้ีเหงา สชี มพู = ความรกั ผูห้ ญิง อ่อนหวาน นมุ่ นวล หอม สีขาว = ความบรสิ ุทธ์ิ สะอาด ปลอดภัย เดก็ ทารก สดี ำ = ทุกข์ ลกึ ลบั สืบสวน หนักแนน่ สเี ทา = สุภาพ ขรมึ สีนำ้ ตาล = อนุรกั ษ์ โบราณ ธรรมชาติ สมี ว่ ง = รำ่ รวย โออ่ า่ งอกงาม

นำ้ หนักสี ( Tone ) หรือวรรณะของสี หมายถึง ระดบั ความเข้มท่ีแตกต่างกันของสีหรอื คา่ ความอ่อน แกข่ องสี ไลร่ ะดับกันไป เชน่ ดำ – เทาเขม้ – เทากลาง – เทาอ่อน – ขาว โทนก็มผี ลตอ่ ความรู้สึกคล้ายกับสี น่นั เอง เพยี งแตจ่ ะละเอียดอ่อนมากข้ึน มีคา่ ความแตกต่างกันเล็กน้อย แตม่ ผี ลต่อความรสู้ ึก นึกคดิ ของมนุษย์ เช่น รูปท่ี 2.14 ภาพลักษณะนำ้ หนักของสี 1. วรรณะสีรอ้ น ( Warm Tone ) ประกอบด้วยสเี หลอื ง สีส้มเหลอื ง สสี ้ม สสี ้มแดง สีมว่ งแดง และสีมว่ ง สีใน วรรณะร้อนนจ้ี ะเปน็ สที คี่ ่อนข้างไปทางสแี ดงหรือสสี ้มถา้ สใี ดสหี น่งึ ค่อนข้างไปทางสแี ดงหรือสสี ม้ เชน่ สีนำ้ ตาล สี เทาอมแดง ก็ใหถ้ ือวา่ เป็นสวี รรณะร้อน ให้ความรสู้ ึกร้อนแรง รูปท่ี 2.15 ภาพลักษณะสีวรรณะร้อน

2. วรรณะสเี ย็น ( Cold Tone ) ประกอบดว้ ย สีเหลือง สีเขยี วเหลือง สเี ขียว สีเขียวนำ้ เงนิ สี น้ำเงิน สมี ว่ งน้ำเงนิ และสมี ่วง สว่ นสอี ืน่ ๆ ถ้าหนกั ไปทางสีน้ำเงนิ และสีเขยี วกเ็ ป็นสวี รรณะเย็น ดังเชน่ สีเทา สี ดำ สีเขียวแก่ เหล่าน้เี ปน็ ต้น ใหค้ วามร้สู กึ เยน็ สบาย รูปที่ 2.16 ภาพลกั ษณะวรรณะสเี ย็น 4.รูปร่างและรูปทรง (Shape and Form) รูปร่าง (Shape) หมายถงึ การล้อมรอบ หรอื การบรรจบกัน ของเส้น บนพื้นทว่ี า่ ง มรี ูปลกั ษณะ แบน ราบเป็น 2 มิติ รปู ท่ี 2.17 แสดงรปู ร่าง

รูปทรง (Form) จะมคี วามสัมพนั ธ์ กันอย่างใกล้ชิดกบั รปู รา่ ง แตร่ ปู ทรง มีความแตกตา่ ง อย่างเหน็ ไดช้ ดั เจนท่สี ุดก็คอื รปู ทรงมลี ักษณะเป็น 3 มิติ รูปที่ 2.18 แสดงรูปทรง 5. น้ำหนัก (Value) รูปร่าง (Shape) หมายถึง เส้นรอบนอกของ วัตถุ คน สตั ว์ สิ่งของ มีลกั ษณะเปน็ 2 มิติ (กวา้ ง ยาว) รปู ที่ 2.19 แสดงค่านำ้ หนกั ของแสงและเงา แสงและเงา (Light & Shade) แสงและเงา เป็นองค์ประกอบที่อยูค่ ู่กัน แสง เม่ือสอ่ งกระทบกับวัตถุ จะทำให้เกิดเงา แสงและเงา เปน็ ตัวกำหนดระดับของค่าน้ำหนกั ความเข้มของเงาจะขนึ้ อยู่กับความเข้มของแสง ในท่ที ี่มแี สง สวา่ งมาก แสงและเงา เป็นองค์ประกอบท่ีอย่คู ู่กนั แสง เม่ือสอ่ งกระทบกบั วตั ถุ จะทำให้เกิดเงา แสงและเงา เป็นตวั กำหนดระดบั ของค่านำ้ หนัก ความเขม้ ของเงาจะขึ้นอยู่กบั ความเข้มของแสง ในทท่ี ่ีมแี สง สว่างมาก รปู ที่ 2.20 แสงและเงา

รปู ที่ 2.21 อากาศโอบรล้อมรูปทรง 6. บรเิ วณว่าง (Space) บริเวณว่าง หรอื ช่องไฟ คือ 1. อากาศทโ่ี อบลอ้ มรปู ทรง 2. ระยะหา่ งระหว่างรปู ทรง รปู ท่ี 2.22 ระยะหางระว่างรูปทรง

รปู ที่ 2.23 บริเวณในรูปทรง 3. บริเวณภายในรปู ทรงทมี่ ีลกั ษณะกลวงหรือทะลเุ ป็นชอ่ งที่มีอากาศผ่านเข้าไปได้ 4. บริเวณวา่ งของภาพเขียนหรือภาพที่มองดเู ปน็ ช่องลกึ เขา้ ไปในภาพ เรยี กวา่ บรเิ วณว่างลวงตา รูปที่ 2.24 บริเวณว่างลวงตา 7. ลกั ษณะผิว (Texture) ลักษณะผวิ หมายถงึ ลักษณะภายนอกของวตั ถทุ ม่ี องเห็นและสัมผัสพ้ืนผิวได้ แสดงความร้สู ึกหยาบ ละเอยี ด ขรุขระ มัน ด้านเปน็ เส้น เปน็ จดุ จับดแู ลว้ สะดดุ มอื หรือสัมผสั ได้จากความร้สู ึกผิวเป็นทัศนธาตุท่ีนำมาประกอบใน การสร้างงานศลิ ปะ ลกั ษณะผิวทแ่ี ตกต่างกันจะทำใหเ้ กดิ ความรู้สึกแตกต่างกัน

รูปท่ี 2.25 พน้ื ผวิ โดยสรุป ทัศนธาตุ ในทางทัศนศลิ ป์ หมายถงึ สว่ นประกอบท่ีมองเห็นได้ ประกอบด้วยจุด เสน้ รูปรา่ ง รปู ทรง พ้นื ผวิ แสง-เงา และสี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook