Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IB421

IB421

Published by Chular Chattrakoonsri, 2020-12-01 13:37:36

Description: IB421

Search

Read the Text Version

1

2

คาํ นํา รายงานเล่มน้ีจดั ทาํ ข้ึนเพือ่ เป็นส่วนหน่ึงของวชิ า IB421 (International Business Management ) ช้นั ปี ท่ี3 เพอื่ ใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรู้ในเรื่องธุรกิจการคา้ ขายในประเทศเยอรมนั และเรียนรู้เก่ียวกบั นโยบาย ทางการคา้ มาตรการการนาํ เขา้ ส่งออกสินคา้ ไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจเพอ่ื เป็นประโยชนก์ บั การเรียน ผจู้ ดั ทาํ หวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กบั ผอู้ ่าน หรือนกั เรียน นกั ศึกษา ท่ีกาํ ลงั หาขอ้ มูลเรื่องน้ี อยหู่ ากมีขอ้ แนะนาํ หรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาํ ขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทาํ 3

เร่ือง สารบญั หน้า 1.นโยบายทางการค้าระหวางประเทศ 5 2.มาตราการการนําเข้าส่งออกของเยอรมัน 8 3.สินค้านาํ เข้าและส่งออกในประเทศเยอรมนั 11 4.ธุรกจิ การค้าออนไลน์ในประเทศเยอรมนี 15 5.GIZ 18 6.แหล่งอ้างองิ 21 4

นโยบายการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศ คือ นโยบายท่ีแต่ละประเทศใชใ้ นการนาํ สินคา้ เขา้ และส่ง สินคา้ ออก ซ่ึงอาจแบ่งออกไดเ้ ป็น นโยบายแบบเสรี และ นโยบายแบบคุม้ กนั ความเป็ นมา ของ EU ความคิดในการรวมยโุ รปมีวตั ถุประสงคเ์ ร่ิมแรกเพื่อรักษาสนั ติภาพแตห่ ลงั จากสงครามโลกคร้ังที่สองยโุ รป ไดแ้ บ่งแยกออกเป็นยโุ รปเสรี (ยโุ รปตะวนั ออก) ความกดดนั จากสภาพสงั คมโลกในช่วงน้นั ทาํ ใหย้ โุ รปตอ้ งรวมตวั กนั เพือ่ เพิ่มบทบาททางเศรษฐกิจใหม้ าก ข้ึนใกลเ้ คียงกบั สหรัฐอเมริกาและสาภาพโซเวยี ตรัสเซีย นโยบายการค้าแบบเสรี เป็ นนโยบายที่จะส่งเสริมให้ประเทศต่างๆ นําสินคา้ มาทาํ การคา้ ขายระหว่างกันอย่างเสรี โดย ปราศจากขอ้ จาํ กดั ใดๆ ประเทศที่จะถือนโยบายการคา้ โดยเสรีจะตอ้ งอยใู่ นเงื่อนไข ดงั น้ี 1. ตอ้ งดาํ เนินการผลิตตามหลกั การแบ่งงาน คือ ทุกประเภทจะตอ้ งเลือกผลิตเฉพาะที่มีประสิทธิภาพการผลิต สูง 2. ตอ้ งไม่มีการเกบ็ ภาษี หรือมีการเกบ็ ภาษีแต่นอ้ ย โดยไม่มีจุดมุ่งหมายใหเ้ กิดความไดเ้ ปรียบเสียเปรียบ 3. ตอ้ งไม่มีการให้สิทธิพิเศษและไม่มีขอ้ จาํ กดั ทางการคา้ กบั ประเทศต่างๆ หากถือตามเงื่อนไขน้ีแลว้ ใน ปัจจุบนั ไม่มีประเทศใดที่จะมีนโยบายการคา้ โดยเสรีไดอ้ ยา่ งเป็นทางการเพราะนโยบายลกั ษณะน้ีประเทศที่ กาํ ลงั พฒั นาจะเสียเปรียบประเทศที่พฒั นาแลว้ เป็นอยา่ งมาก แต่บางประเทศมีการตกลงร่วมกนั อยบู่ า้ ง เช่น กลุม่ สหภาพยโุ รป เป็นตน้ 5

กล่มุ สหภาพยโุ รป (EU) ใชน้ โยบายการคา้ แบบเสรีกบั ประเทศในสมาชิก นโยบายการค้าแบบคุ้มกนั เป็ นนโยบายที่มุ่งสนับสนุนภาพการผลิตในประเทศ มีหลกั การตรงกนั ขา้ มกบั นโยบาย การคา้ โดยเสรี คือรัฐบาลจะใช้เคร่ืองมือต่างๆ เพื่อจาํ กดั การนาํ เขา้ และส่งเสริมการส่งออก วตั ถุประสงค์ของ นโยบายการคา้ แบบคุม้ กนั พอสรุปไดด้ งั น้ี 1. เพื่อให้ประเทศช่วยตนเองไดเ้ ม่ือเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น เม่ือเกิดสงครามข้ึน อาจจะไม่ มีสินคา้ ท่ีจาํ เป็ น บางอยา่ งใช้ เพราะไม่สามารถนาํ เขา้ มาตามปกติได้ ในยามปกติจึงควรเตรียม การผลิตสินคา้ ที่จาํ เป็นสาํ รอง ไว้ 2. เพื่อคุม้ ครองอุตสาหกรรมภายใน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เพิ่งเกิดใหม่ ถา้ รัฐบาล ไม่ห้ามสินคา้ จาก ต่างประเทศเขา้ มาตีตลาด อุตสาหกรรมภายในจะตอ้ งเลิกลม้ กิจการ 3. เพ่ือป้องกนั การทุ่มตลาด การทุ่มตลาด ไดแ้ ก่ การส่งสินคา้ ไปขายประเทศอื่น ในราคาท่ีต่าํ กวา่ ตน้ ทุนเพื่อ ทาํ ลายคู่แข่งขนั ในตลาดต่างประเทศ และเม่ือทุ่มตลาดสาํ เร็จไดค้ รองตลาดแห่งน้นั แลว้ ก็จะเพ่ิมราคาสินคา้ ใหส้ ูงข้ึนในเวลาต่อมา 4. เพ่ือแกป้ ัญหาการขาดดุลการคา้ การขาดดุลการคา้ คือ มูลค่าสินคา้ ที่ส่งไปขายต่างประเทศนอ้ ยกวา่ มูลค่า สินคา้ ที่นาํ เขา้ มา ทาํ ให้ตอ้ งเสียงเงินตราต่างประเทศออกไป จาํ นวนมาก จึงตอ้ งแกไ้ ขโดยจาํ กดั การนาํ เขา้ และส่งออกใหม้ ากข้ึน เครื่องมือที่ใช้ในการดาํ เนินนโยบายการค้าคุ้มกัน จะมุ่งส่งเสริมการส่งสินค้าออกและกดี กนั การนําสินค้าเข้า คือ 1.การต้ังกาํ แพงภาษี ( Tariff Wall ) จะใชว้ ิธีการจดั เกบ็ ภาษีศุลกากรจากสินคา้ นาํ เขา้ หลายอตั รา คือ จดั เกบ็ ภาษีศุลกากรต้งั แต่ 2 อตั ราข้ึนไปในสินคา้ ชนิดเดียวกนั และเลือกใชอ้ ตั ราสูงแก่สินคา้ ที่ตอ้ งการจะกีดกนั ไม่ใหน้ าํ เขา้ ซ่ึงเป็นมาตรการทางออ้ ม 2.การควบคุมสินค้า อาจเป็นการหา้ มโดยเดด็ ขาดหรือกาํ หนดโควตา้ ( Quota ) ใหน้ าํ เขา้ หรือส่งออก 3.การให้การอดุ หนุน ( Subsidies ) เช่น การจ่ายเงินอุดหนุนใหแ้ ก่ผผู้ ลิต ลดภาษีบางอยา่ งให้ เป็นตน้ 4.การทุ่มตลาด ( Dumping ) คือ การส่งสิ นค้าออกไปขายต่างประเทศในราคาที่ต่ํากว่าราคาขาย ภายในประเทศ และดว้ ยราคาท่ีต่าํ กวา่ ตน้ ทุนการผลิต ซ่ึงมี 3 กรณี คือ 1.) การทุ่มตลาดเฉพาะกิจ เพ่ือลา้ งสินคา้ เก่าที่คา้ งสต๊อก หรือเป็ นสินคา้ ที่ลา้ สมยั หรือเป็ นสินคา้ ที่ไม่ขาย ภายในประเทศ เพือ่ รักษาระดบั ราคาสินคา้ น้นั ในตลาดภายในไว้ 2.) การทุ่มตลาดเป็ นการช่ัวคราว เป็ นนโยบายที่จะส่งสินค้าไปขายต่างประเทศในราคาต่าํ กว่าตลาด ภายในประเทศเป็นการชว่ั คราว และบางคร้ังตอ้ งขายต่าํ กวา่ ทุน โดยมีเหตุผลดงั น้ี คือ 6

- แสวงหาตลาดใหม่ในต่างประเทศ - กาํ จดั คู่แข่งขนั ซ่ึงมีประสิทธิภาพในการผลิต - กีดกนั ไม่ใหค้ ูแ่ ข่งขนั เขา้ มาแยง่ ตลาดท่ีครองอยู่ - ตอบแทนการกระทาํ ของผอู้ ื่น 3.) การทุ่มตลาดเป็นการถาวร เป็นการทุ่มตลาดระยะยาว ซ่ึงปกติจะไม่ทุ่มขายในราคาที่ต่าํ กวา่ ตน้ ทุนการ ผลิต และที่สามารถดาํ เนินการทุ่มตลาดไดเ้ น่ืองจากการผลิตภายในประเทศขยายตวั สูงข้ึน และรัฐบาลใหเ้ งิน อุดหนุน โดยทว่ั ไปการส่งสินคา้ ไปทุ่มตลาดต่างประเทศมกั กระทาํ เป็นการชว่ั คราวเพ่ือจาํ กดั คู่แข่ง และเมื่อ สามารถผกู ขาดตลาดไดแ้ ลว้ กจ็ ะข้ึนราคาสินคา้ เพ่ือชดเชยภายหลงั อตุ สาหกรรมรถยนตข์ องญ่ีป่ ุนไดเ้ ขา้ มาทุ่มตลาดรถยนตข์ องอเมริกาในช่วงระยะหลงั น้ี จนทาํ ใหบ้ ริษทั รถยนตข์ องอเมริกาหลายบริษทั แบลค็ ลิส (Backlist) ออกไป 5. ข้อตกลงทางการค้า นบั เป็นเครื่องมืออยา่ งหน่ึงในการดาํ เนินนโยบายการคา้ คุม้ กนั เพื่อใหส้ ิทธิหรือฐานะ ทางการคา้ เป็นพเิ ศษแก่ประเทศคู่สญั ญา 6. การควบคุมเงินตราต่างประเทศ ธนาคารกลางจะควบคุมอตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ รวมท้งั อุป สงคแ์ ละอุปทานของเงิน เพื่อสกดั ก้นั การไหลออกของเงิน และพยายามดูดเงินตราต่างประเทศเขา้ มาใหม้ าก ท่ีสุดเท่าท่ีจะทาํ ได้ ** ปัจจุบนั การคา้ ระหว่างประเทศของไทยก็ใช้นโยบายการคา้ คุม้ กนั เช่นเดียวกบั ประเทศต่าง ๆ แต่ก็ ส่งเสริมให้เอกชนทําการค้าเสรี และไม่สนับสนุนให้มีการค้าโดยรัฐมากเกินไปซ่ึงนโยบายการค้า ต่างประเทศของไทยพอสรุปไดด้ งั น้ี 1. ถือระบบการคา้ เอกชน 2. ถือระบบภาษีศุลกากรอตั ราเดียว 3. มีขอ้ จาํ กดั ทางการคา้ อยา่ งแผว่ เบา 7

มาตรการนําเข้าส่งออก ไทย-เยอรมนั นโยบายทางการคา้ ของเยอรมนั ส่วนหน่ึงจะดาํ เนินการตามกฎเกณฑท์ ่ีสหภาพยโุ รปกาํ หนดไว้ และ ในอีกส่วนหน่ึงเยอรมนั พยายามส่งเสริมใหเ้ ป็นการคา้ การประกอบกิจการทางธุรกิจท่ีมีเสรีภาพ มีการ แข่งขนั ที่ใหเ้ กิดความยตุ ิธรรมมากที่สุด โดยรัฐบาลจะกาํ หนดขอบเขตของการควบคุมอยา่ งกวา้ ง ๆ และเขา้ แทรกแซง การดาํ เนินการบางอยา่ ง เม่ือเกิดความจาํ เป็น เพอื่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่สาํ คญั ๆ คือ 1. การควบคุมราคาของสินคา้ ใหม้ ีเสถีรภาพ 2. ใหอ้ ตั ราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีเหมาะสม 3. ใหม้ ี ดุลการชาํ ระเงินที่มีความสมดุลย์ การหา้ มนาํ เขา้ เยอรมนั มีขอ้ หา้ ม ขอ้ กาํ หนดกบั สินคา้ บางรายการเพื่อ ป้องกนั สุขภาพและความปลอดภยั ของผบู้ ริโภค ดว้ ยเหตุผลดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม การป้องกนั ทรัพยากรธรรมชาติ มิใหส้ ิ้นเปลืองวตั ถุดิบ หากสินคา้ นาํ เขา้ ไม่เป็นไปตามขอ้ กาํ หนดกจ็ ะไม่อนุญาตใหน้ าํ เขา้ ขอ้ กาํ หนดต่าง ๆ สาํ หรับสินคา้ แต่ละชนิด ท่ีสาํ คญั ๆ ไดแ้ ก่สินคา้ อาหารสาํ เร็จรูป ตอ้ งปราศจากเช้ือโรค เช้ือรา และสารพิษ ตกคา้ งต่าง ๆ นอกจากน้ีแลว้ ตอ้ งมีการปิ ดฉลากแจง้ รายละเอียดต่าง ๆ ตามที่กาํ หนดในกฎหมายการปิ ดฉลาก เช่น ขนาดบรรจุ ส่วนประกอบ วนั หมดอายุ ช่ือและที่อยขู่ องผผู้ ลิตหรือผนู้ าํ เขา้ สินคา้ เครื่องใชไ้ ฟฟ้าและ เครื่องจกั รกล ตอ้ งไม่ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายกบั ผใู้ ชต้ ามขอ้ กาํ หนดในดา้ นมาตรฐาน สินคา้ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าและ เครื่องจกั รสตั วป์ ่ าและของป่ า เพื่อป้องกนั มิใหส้ ตั วป์ ่ าสูญพนั ธ์หรือเป็นการทาํ ลายป่ าไม้ หากเป็นสินคา้ ตอ้ งหา้ มตามรายการในสญั ญาวอชิงตนั จะไม่อนุญาตใหน้ าํ เขา้ เคมีภณั ฑ์ สารพษิ ตา่ ง ๆ ป๋ ุยและยาฆ่าแมลง เมื่อมีสารพิษเจือปนเกินอตั ราท่ีกาํ หนดเอาไว้ หรือเป็นสารพิษที่ไม่อนุญาตใหใ้ ช้ เช่น ดี.ดี.ที. เป็นตน้ จะไม่ อนุญาตใหน้ าํ เขา้ วตั ถุดิบต่าง ๆ รวมท้งั สี ที่นาํ มาใชใ้ นการผลิตจะตอ้ งไม่เป็นพิษหรือตกคา้ งในสินคา้ เกินกวา่ ปริมาณ ท่ีกาํ หนดใหม้ ีตกคา้ งได้ มาตรการดา้ นภาษี ภาษีมูลค่าเพิ่ม ต้งั แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2541 เยอรมนั ได้ ปรับอตั ราภาษีมูลคา่ เพิ่มข้ึนอีก 1% เป็นร้อยละ 16 การเพิม่ อตั ราภาษีคร้ังน้ี โดยเฉลี่ยทาํ ใหร้ าคาของสินคา้ เพม่ิ สูงข้ึนอีกประมาณร้อยละ 0.4-0.7 ภาษีนาํ เขา้ สหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมนั ใชร้ ะบบจาํ แนกพกิ ดั สินคา้ ตาม ระบบ ฮาร์โนไนซ์ (H.S.Code) การเรียกเกบ็ ภาษีจะเรียกเกบ็ ในอตั ราเดียวกนั กบั ท่ีสหภาพยโุ รปกาํ หนดเอาไว้ ตามชนิดของสินคา้ โดยทว่ั ไปแบ่งการเกบ็ ออกเป็น 3 ประเภทตามอตั ราการเกบ็ ดงั น้ี 1. สินคา้ จากประเทศ อุตสาหกรรม เรียกเกบ็ เตม็ อตั รา 2. สินคา้ จากประเทศกาํ ลงั พฒั นาเสียในอตั ราต่าํ กวา่ อตั ราปกติ 3. สินคา้ จาก ประเทศดอ้ ยพฒั นา เสียในอตั ราต่าํ กวา่ อตั ราสาํ หรับประเทศกาํ ลงั พฒั นา 8

อตั ราภาษีนําเข้าของเยอรมนั แบ่งแยกตามประเภทของสินค้าจะมีการเรียกเกบ็ ภาษีโดยประมาณ ดงั นี้ 1. สินคา้ ประเภทวตั ถุดิบจะเสียภาษีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 4 2. สินคา้ ข้นั ปฐมต่าง ๆ อตั ราสูงสุดไม่เกินร้อยละ 20 3. สินคา้ อุตสาหกรรม สาํ เร็จรูปต่าง ๆ ส่วนใหญ่ ไม่เสียภาษี บางชนิดมีการกาํ หนดโควตา้ นาํ เขา้ ได้ โดยไม่ตอ้ งเสียภาษี ส่วนท่ีเกินจะตอ้ งเสียภาษีในอตั ราปกติ ไดแ้ ก่ สิ่งทอ เคร่ืองหนงั ผลิตภณั ฑพ์ ลาสติก เป็น ตน้ ซ่ึงมีอตั ราภาษีนาํ เขา้ สูงสุด กฏเกณฑใ์ หม่ ๆ สาํ หรับสินคา้ ความปลอดภยั ของผบู้ ริโภคในดา้ นสุขภาพ การป้องกนั ส่ิงแวดลอ้ ม และการสงวนทรัพยากรธรรมชาติมีความสาํ คญั ต่อการคา้ เพม่ิ มากข้ึนตามลาํ ดบั ดว้ ยเหตนุ ้ีจึงมีการกาํ หนด กฏระเบียบต่าง ๆเพิ่มมากข้นึ เพ่อื ใหบ้ รรลุถึงจุดประสงคต์ ่าง ๆ เหลา่ น้ี เยอรมนั ใหค้ วามสาํ คญั ในเร่ืองเช่นน้ี มากท่ีสุดมาตราการและคาํ แนะนาํ ในส่วนที่เก่ียวขอ้ งน้ี ส่วนใหญ่จะเป็นความผดิ และความตอ้ งการของ เยอรมนั กฏเกณฑส์ าํ คญั ๆ ท่ีมีการรับรอง และใชใ้ นสหภาพยโุ รป ไดแ้ ก่ ตรา CE เป็นสญั ลกั ษณ์รับรอง คุณภาพของสินคา้ ท่ีผลิตข้ึนมาตามขอ้ กาํ หนดในดา้ นความปลอดภยั ของผบู้ ริโภคไม่เป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพ หรือเป็นการทาํ ลายส่ิงแวดลอ้ ม สินคา้ ท่ีใชต้ รา CE แลว้ ในปัจจุบนั ไดแ้ ก่ ของเดก็ เลน่ เคร่ืองจกั รกล อปุ กรณ์ ก่อสร้าง อุปกรณ์ใชแ้ ก๊ส เครื่องใชไ้ ฟฟ้า เป็นตน้ ดงั น้นั สินคา้ ไทยท่ีจะเขา้ สู่ตลาดเยอรมนั ควรจะพิจารณา เปล่ียนแปลงใชว้ ตั ถุดิบในการผลิตท่ีตรงตามวตั ถุประสงคด์ งั กลา่ วขา้ งตน้ ใหม้ ากข้ึน กจ็ ะช่วยส่งเสริมให้ สินคา้ ของไทยไดร้ ับความสนใจมากข้ึนหากไม่รีบแกไ้ ข ในระยะยาวกจ็ ะทาํ ใหต้ ลาดไม่ยอมรับสินคา้ จาก ไทย การรับผดิ ชอบต่อสินคา้ สินคา้ ทุกชนิดท่ีนาํ เขา้ สู่ตลาดมีขอ้ กาํ หนดตามกฏหมายระบุไวว้ า่ เม่ือสินคา้ น้นั เป็นตน้ เหตุก่อใหเ้ กิดความเสียหายต่อผบู้ ริโภคไม่วา่ จะในดา้ นสุขภาพอนามยั ของผใู้ ช้ หรือต่อสิ่งแวดลอ้ ม ผผู้ ลิตจะตอ้ งรับผดิ ชอบต่อความเสียหายท่ีเกิดข้ึนภายในวงเงินไม่เกิน 160 ลา้ นมาร์คหากเป็นสินคา้ นาํ เขา้ ผนู้ าํ เขา้ จะเป็นผรู้ ับผดิ ชอบต่อความเสียหายที่เกิดข้ึนจากสินคา้ น้นั ยกเวน้ สินคา้ เกษตรท่ียงั มิไดแ้ ปรสภาพ ดว้ ยเหตุน้ีสินคา้ ที่ผนู้ าํ เขา้ เยอรมนั จะนาํ เขา้ จึงตอ้ งเป็นสินคา้ ท่ีมีคุณภาพเชื่อถือได้ และเป็นท่ีแน่ใจไดว้ า่ จะไม่ ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายกบั ผบู้ ริโภคการผลิตสินคา้ ของไทยจึงตอ้ งคาํ นึงถึงขอ้ น้ีใหม้ าก เพราะความรับผดิ ชอบ ดงั กลา่ วเป็นเรื่องเยอรมนั ใหค้ วามสาํ คญั มาก การนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ (Recycling) เพอ่ื เป็นการสงวนวตั ถุดิบ และทรัพยากรธรรมชาติมีการกาํ หนดใหม้ ีการนาํ วสั ดุบรรจุสินคา้ หีบห่อต่าง ๆ กลบั มาใชใ้ หม่ดว้ ยการ Recycling ปัจจุบนั มีการกาํ หนดอตั รานาํ กลบั มาใชใ้ หม่สหภาพยโุ รปในระหวา่ งร้อยละ 25-45 แต่ในเยอรมนั มีอตั ราสูงถึงกวา่ ร้อยละ 50 การใชว้ ตั ถุดิบบรรจุสินคา้ ของไทย จึงตอ้ งคาํ นึงถึงขอ้ น้ีใหม้ าก และควรจะใช้ วสั ดุท่ีสามารถนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ใหม้ ากข้ึน เพ่อื ส่งเสริมใหส้ ินคา้ ไทยเป็นที่นิยมมากข้ึนของผนู้ าํ เขา้ เยอรมนั ระบบ HCCP ระบบควบคุมการผลิตสินคา้ ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาํ หนดไวท้ ุกข้นั ตอนจากสภาพที่เป็น 9

วตั ถุดิบไปจนถึงผลิตภณั ฑส์ าํ เร็จรูปน้นั ในส่วนของเยอรมนั จะนาํ มาใชต้ ามที่สหภาพยโุ รปกาํ หนด ซ่ึง โดยทวั่ ไปแลว้ การผลิตสินคา้ อาหารเพอื่ การบริโภคน้ี ในส่วนของเยอรมนั มี Food law และขอ้ กาํ หนดอื่นๆ ท่ี เขม้ งวดและรัดกมุ อยแู่ ลว้ จึงไม่ก่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงมากมายกบั อุตสาหกรรมแขนงน้ี 10

การนําเข้าส่งออกประเทศเยอรมัน สหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany Bundesrepublik Deutschland) เป็นประเทศ ที่มีทาํ เลที่ต้งั เหมาะสม อยกู่ ่ึงกลางทวีปยโุ รป มีโครงสร้างการคมนาคมการส่ือสารทีดีมาก สามารถเป็นประตู การคา้ ไปสู่ประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวนั ออกไดอ้ ยา่ งดี ท้งั ยงั เป็ นประเทศที่มีเสรี อนุญาตให้ทาํ การคา้ และ การลงทุนในสาขาต่างๆ ไดโ้ ดยไม่มีขอ้ จาํ กดั โดยเฉพาะใดๆ สาํ หรับชาวต่างชาติ กฎ ขอ้ บงั คบั และระเบียบ ต่างๆ จะตอ้ งถือปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัดเช่นเดียวกบั คนเยอรมนั แต่เน่ืองจากระเบียบเขม้ งวดรัดกุมมาก และ ส่วนใหญ่ยงั ใช้ภาษาเยอรมันเพื่อการส่ือสาร จึงเป็ นข้อจาํ กัดสําคัญที่ทาํ ให้การค้าการลงทุนและการ ดาํ เนินการต่างๆ ไม่สะดวกเท่าท่ีควร โดยที่ผ่านมายงั คงมีการก่อต้งั กิจการจาํ นวนมากข้ึนโดยส่วนใหญ่เป็ นธุรกิจการให้บริการ ซ่ึงปัจจุบนั กิจการประเภทน้ีมีส่วนแบ่งประมาณร้อยละ 70 ของจาํ นวนผปู้ ระกอบการท้งั สิ้นในเยอรมนี หรือประมาณ กวา่ 2 ลา้ นกิจการ สาํ หรับธุรกิจอื่นๆ ท่ียงั คงสามารถก่อต้งั ดาํ เนินการในเยอรมนีได้ อาทิ กิจการดา้ นสุขภาพ เสริมความงามการขนส่ง การท่องเท่ียว ข้อมูลการค้า-การลงทุน เยอรมนีมีระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีที่ใหค้ วามสาํ คญั กบั มิติดา้ นสงั คม เป็นประเทศอตุ สาหกรรมที่มี บทบาททางเศรษฐกิจท่ีสาํ คญั และขนาดใหญ่เป็นอนั ดบั ที่ 4 ของโลก (รองจากสหรัฐฯ จีน และญ่ีป่ ุน) และ เป็ นผูส้ ่งออกใหญ่เป็ นอนั ดบั ท่ี 3 ของโลก (รองจากจีนและสหรัฐอเมริกา) เยอรมนีเป็ นฐานการผลิตของ สินคา้ เชิงอุตสาหกรรมหนกั จากบริษทั ขนาดกลางท่ีมกั มีราคาแพง แต่มีมาตรฐานเชิงคุณภาพสูง อาทิ รถยนต์ เครื่องจกั ร เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า และเคมีภณั ฑ์ นอกจากน้ี ในปี 2554 เยอรมนีไดร้ ับการจดั อนั ดบั ใหเ้ ป็นประเทศที่ มีขีดความสามารถในการแข่งขันโดย International Institute for Management Development (IMD) เป็ น อนั ดบั ท่ี 10 ของโลก และผลิตภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศอย่ทู ่ี 2.645 ลา้ นลา้ นยโู ร หรือประมาณ 3.404 ลา้ นลา้ นดอลลาร์สหรัฐ และอตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจท่ีร้อยละ 0.7 มูลค่าการส่งออก 1.097 ลา้ นลา้ นยู โร ส่วนมูลค่าการนาํ เขา้ อยทู่ ี่ 0.909 ลา้ นลา้ นยโู ร เยอรมนีเป็ นคู่คา้ ลาํ ดบั ท่ี 15 ของไทย โดยเป็ นคู่คา้ อนั ดบั ท่ี 1 ของไทยจากสหภาพยุโรป มูลค่าการคา้ รวม 9,585 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐฯ โดยไทยส่งออกมูลค่า 3,609 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐฯ นาํ เขา้ มูลค่า 5,976 ลา้ น ดอลลาร์สหรัฐฯ ไทยเสียเปรียบดุลการคา้ มูลค่า 2,367 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ 11

สินคา้ สาํ คญั ที่ไทยส่งออกไปเยอรมนี ไดแ้ ก่ อญั มณีและเครื่องประดบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ อุปกรณ์และ ส่วนประกอบ ผลิตภณั ฑย์ าง แผงวงจรไฟฟ้า เคร่ืองนุ่งห่ม รถยนต์ อปุ กรณ์และส่วนประกอบ กอ๊ ก วาวลแ์ ละ ส่วนประกอบ เคร่ืองจกั รกลและส่วนประกอบของเคร่ืองจกั รกล ส่วนสินคา้ นาํ เขา้ ที่สําคญั ของไทยจาก เยอรมนี ไดแ้ ก่ เคร่ืองจกั รกลและส่วนประกอบ เคมีภณั ฑ์ เคร่ืองจกั รไฟฟ้าและส่วนประกอบ ส่วนประกอบ และอุปกรณ์ยานยนต์ เครื่องมือเคร่ืองใชเ้ กี่ยวกบั วิทยาศาสตร์การแพทย์ รถยนตน์ ง่ั ผลิตภณั ฑเ์ วชกรรมและ เภสชั กรรม แผงวงจรไฟฟ้า การส่ งออก ขอ้ มูลของ GDS/L ระบุว่า ในปี 2562 เยอรมนีส่งออกรองเทา้ รวมท้ังหมด 340.9 ลา้ นคู่ รวม มูลค่า 7.6 พนั ลา้ นยูโร เมื่อเทียบกบั ปี 2561 ปริมาณการส่งออกเพิ่มข้ึนร้อยละ 10.2 และมูลค่าการ ส่งออกเพิ่มข้ึนร้อยละ 9.9 เพิ่มข้ึนจากปี 2561 ที่ 6.9 พนั ลา้ นยูโร เป็ น 7.6 พนั ลา้ นยูโร ราคาเฉลี่ยของ รองเทา้ ท่ีส่งออกอยู่ที่ 22.27 ยูโรต่อคู่ ลดลงร้อยละ 0.3 โปแลนด์เป็ นตลาดส่งออกหลกั ของเยอรมนี ในปี 2561 ถึงปี 2562 ปริมาณการส่งออกรองเทา้ จากเยอรมนีไปยงั โปแลนด์เพิ่มข้ึนร้อยละ 25.6 จาก 47.3 ลา้ นคู่ เป็ น 59.5 ลา้ นคู่ ฝรั่งเศสเป็ นตลาดส่งออกอนั ดบั สอง ในปี 2561 ถึงปี 2562 ปริมาณ การส่งออกรองเทา้ จากเยอรมนีไปฝร่ังเศสเพ่ิมข้ึนร้อยละ 10.2 มีจาํ นวน 40.3 ลา้ นคู่ โดยมีสัดส่วนการ ส่งออกร้อยละ 11.8 ของการส่งออกรองเทา้ ของเยอรมนั ตลาดสาํ คญั อ่ืนท่ีการส่งออกเพ่ิมข้ึน ได้แก่ สโลวาเกีย จาํ นวน 26.3 ลา้ นคู่ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 10.3 เนเธอร์แลนด์ จาํ นวน 25.5 ลา้ นคู่ เพิ่มข้ึนร้อยละ 3.1 และอิตาลี จาํ นวน 23.0 ลา้ นคู่ เพิ่มข้ึนร้อยละ 6.4 ในขณะที่การส่งออกไปยงั สาธารณรัฐเช็ก มีการส่งออกอย่างกา้ วกระโดดเมื่อเทียบกบั ปี 2561 โดยใน ปี 2562 เยอรมนีส่งออกรองเทา้ ไปยงั สาธารณรัฐเช็กจาํ นวน 19.2 ลา้ นคู่ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 46.8% การ ส่งออกรองเทา้ จากเยอรมนีไปยงั ตลาดองั กฤษมีสัดส่วนลดลงจากร้อยละ 6.6 ในปี 2561 เหลือร้อยละ 5.6 ในปี 2562 หรือปริมาณ 18.9 ลา้ นคู่ ลดลงจาก 20.5 ลา้ นคู่ ในปี 2562 สัดส่วนการส่งออกรองเทา้ ของเยอรมนีไปยงั ประเทศต่าง ๆ ในสหภาพยุโรปคิด เป็ นร้อยละ 86.7 ในปี 2561 การส่งออกรองเทา้ ไปยงั ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปมีปริมาณ 263.5 12

ลา้ นคู่ ขณะที่การส่งออกในปี 2562 เพิ่มข้ึนเป็ น 296.3 ลา้ นคู่ หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 12.4 ประเภทของ รองเทา้ ที่มีการส่งออกมาที่สุด คือ รองเทา้ ผา้ ใบโดยหน่ึงในสามของรองเทา้ ที่ส่งออกในปี 2562 เป็ น รองเทา้ ผา้ ใบ ปริมาณการส่งออกรองเทา้ ผา้ ใบเพิ่มข้ึนร้อยละ 10.4 หรือเพิ่มข้ึนจาก 112.5 ลา้ นคู่ เป็ น 124.2 ลา้ นคู่ นอกจากรองเทา้ ผา้ ใบแลว้ รองเทา้ แตะมีการส่งออกมากถึง 57.8 ลา้ นคู่ในปี 2562 ซ่ึง เพิ่มข้ึนร้อยละ 11.9 เมื่อเทียบกับปี 2561 แสดงให้เห็นว่าความตอ้ งการรองเทา้ แตะยงั คงเพิ่มข้ึนอย่าง ต่อเนื่อง ส่งผลให้ปี ที่ผ่านมาการส่งออกรองเทา้ แตะมีอตั ราการเติบโตสูง โดยรองเทา้ แตะหนัง เพิ่มข้ึนร้อยละ 16.5 ปริมาณ 15.6 ลา้ นคู่ และรองเทา้ แตะพลาสติก เพิ่มข้ึนร้อยละ 13.1 ปริมาณ 44.2 ลา้ นคู่ มูลค่าส่งออก $1.434 ลา้ นลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (ปมก.2017)[8] สินคา้ ส่งออก ยานยนต,์ เครื่องจกั รกล, เคมีภณั ฑ,์ คอมพิวเตอร์และวงจรไฟฟ้า, เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า, เวชภณั ฑ,์ โลหะ, อุปกรณ์คมนาคม, อาหาร, ส่ิงทอ, ยางและผลิตภณั ฑพ์ ลาสติก ประเทศส่งออก • สหภาพยโุ รป 58% หลกั • สหรัฐ 8.8% • จีน 6.4% • สวติ เซอร์แลนด์ 4.1% • ตุรกี 1.9% • ชาติอื่น 20.8%[9] มูลคา่ นาํ เขา้ $1.135 ลา้ นลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (ปมก.2017)[8] สินคา้ นาํ เขา้ เคร่ืองจกั รกล, อุปกรณ์ประมวลผล, พาหนะ, เคมีภณั ฑ,์ น้าํ มนั และแกส๊ , โลหะ, เครื่องใชไ้ ฟฟ้า, เวชภณั ฑ,์ อาหาร, ผลผลิตทางการเกษตร ประเทศนาํ เขา้ • สหภาพยโุ รป 57.6% หลกั • จีน 9.9% • สหรัฐ 6.2% • สวิตเซอร์แลนด์ 4.7% • รัสเซีย 2.8% • ชาติอื่น 18.8%[9] FDI 1.653 ลา้ นลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (ธ.ค. 2017) หน้ีต่างประเทศ 5.084 ลา้ นลา้ นดอลลาร์ 13

การนําเข้า ในปี 2562 เยอรมนีมีการนาํ เขา้ รองเทา้ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบกับปี 2561 ปริมาณการ นาํ เขา้ เพ่ิมข้ึนจาก 712.1 ลา้ นคู่ เป็ น 734.4 ลา้ นคู่ ในขณะเดียวกนั มูลค่าการนาํ เขา้ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 5.5 จาก 10.1 พนั ลา้ นยูโร เป็ น 10.7 พนั ลา้ นยูโร ราคาเฉล่ียของรองเทา้ นาํ เขา้ คือ 14.59 ยูโร เม่ือเทียบกบั ปี 2561 ราคาเฉล่ียของรองเทา้ นาํ เขา้ อยู่ที่ 14.27 ยูโร เพ่ิมข้ึนร้อยละ 2.2 เยอรมนั มีการนาํ เขา้ รองเทา้ จากประเทศจีนลดลงทุกปี ต้งั แต่ปี 2552 ยกเวน้ ปี 2561 แต่ในปี 2562 สัดส่วนการนาํ เขา้ รองเทา้ ใน ประเทศจีนลดลงจากร้อยละ 47.1 เป็ นร้อยละ 46.5 ถึงแมว้ ่าสัดส่วนการนาํ เขา้ รองเทา้ จากจีนจะลดลง แต่ปริมาณการนาํ เขา้ เพ่ิมข้ึนมีการเพ่ิมข้ึนร้อยละ 1.9 โดยเพ่ิมข้ึนจาก 335.1 ลา้ นคู่ เป็ น 341.4 ลา้ นคู่ ในขณะท่ีการนาํ เขา้ จากประเทศเหล่าน้ีมีปริมาณเพ่ิมข้ึน เช่น เวียดนาม จาํ นวน 112.5 ลา้ นคู่ เพ่ิมข้ึน ร้อยละ 6.9 อินโดนีเซีย จาํ นวน 38.4 ลา้ นคู่ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 10.4 และอินเดีย จาํ นวน 21.3 ลา้ นคู่ เพ่ิมข้ึน ร้อยละ 6.4 การนาํ เขา้ รองเทา้ จากกมั พูชาเพ่ิมข้ึนอย่างมากในปี 2562 เมื่อเทียบกับปี 2561 โดย เพ่ิมข้ึนร้อยละ 10.7 ในในปี 2561 มีปริมาณการนาํ เขา้ จาํ นวน 16.5 ลา้ นคู่ เพ่ิมข้ึนเป็ น 18.3 ลา้ นคู่ในปี 2562 การนาํ เขา้ รองเทา้ จากอิตาลี เพ่ิมข้ึนร้อยละ 1.5 ปริมาณ 32.1 ลา้ นคู่ โปแลนด์ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 26.2 ปริมาณ 13.9 ลา้ นคู่ และสเปน เพิ่มข้ึนร้อยละ 3.2 ปริมาณ 10.8 ลา้ นคู่ ในขณะท่ีการนาํ เขา้ รองเทา้ จากเนเธอร์แลนด์ ลดลงร้อยละ 10.1 ปริมาณ 21.2 ลา้ นคู่ โปรตุเกส ลดลงร้อยละ 8.5 ปริมาณ 1 ลา้ นคู่ และฝร่ังเศส ลดลงร้อยละ 0.2 ปริมาณ 10.9 ลา้ นคู่ รองเทา้ ท่ีมีการนาํ เขา้ มากท่ีสุด ไดแ้ ก่ รองเทา้ ผา้ ใบ ในปี 2562 สัดส่วนการนาํ เขา้ รองเทา้ ผา้ ใบมีมากถึงร้อยละ 40 ของรองเทา้ ที่นาํ เขา้ ท้งั หมด ในปี 2561 ถึงปี 2562 ปริมาณการนาํ เขา้ รองเทา้ ผา้ ใบเพ่ิมข้ึนร้อยละ 2.7 หรือเพ่ิมข้ึนจาก 288.7 ลา้ นคู่ เป็ น 296.4 ลา้ นคู่ นอกจากน้ีรองเทา้ แตะหนังมีปริมาณการนาํ เขา้ เพ่ิมข้ึนเช่นกนั โดยนาํ เขา้ เพ่ิมข้ึน 189.8 ลา้ นคู่ หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 2.9 ตวั เลขดงั กล่าวสะทอ้ นถึงความตอ้ งการรองเทา้ แตะหนังท่ีเพ่ิมข้ึน ในปี 2561 ถึงปี 2562 ปริมาณการนาํ เขา้ รองเทา้ แตะหนังเพ่ิมข้ึนร้อยละ 7.7 หรือเพ่ิมข้ึนจาก 20.8 ลา้ นคู่ เป็ น 22.5 ลา้ นคู่ 14

ธุรกจิ การค้าออนไลน์ในประเทศเยอรมนี ธุรกจิ ออนไลน์ในช่วงปี 2014-2015 ธุรกิจการคา้ ในช่องทางออนไลน์หรือ e-commerce เป็นที่นิยมมากในปัจจุบนั และยงั มีแนวโนม้ ท่ีจะเติบโตอยา่ ง ต่อเน่ือง เม่ือปี 2014 สํานักงาน Ecommerce Europe แห่ง สหภาพยโุ รปไดร้ ายงานวา่ มูลค่ารวมจากการคา้ ผา่ นช่องทาง ออนไลน์ทว่ั โลกเท่ากบั 1,938 พนั ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึง เพิม่ ข้ึนร้อยละ 24 และยงั ไดป้ ระมาณการณ์วา่ ในปี 2015 จะมี มูลค่าพุ่งสูงข้ึนถึง 2,251 พนั ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ โดยยโุ รปเป็นตลาดธุรกิจการคา้ ออนไลน์ที่ใหญ่เป็นอนั ดบั 2 ของโลก ดว้ ยมูลค่าตลาดท่ีสูงถึง 562 พนั ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงเยอรมนีเป็ นประเทศที่จาํ หน่ายสินคา้ ออนไลน์เป็นอนั ดบั ท่ี 5 ของโลก รองลงมาจากจีน สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจกั ร และญี่ป่ ุน สมาคมคา้ ปลีก Handelsverband Deutchland (HDE) ไดค้ าดการณ์ไวว้ า่ ปี 2015 การคา้ ออนไลน์ของ เยอรมนีจะมียอดจาํ หน่ายสูงถึง 41.7 พนั ลา้ นยโู ร หรือมากถึง 1.67 ลา้ นลา้ นบาท(ในอตั ราแลกเปล่ียน 1 ยโู ร เท่ากบั 40 บาท) เพ่ิมข้ึนร้อยละ 12.4 เม่ือเทียบกบั ปี 2014 ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ผลสาํ รวจของสถาบนั วิจยั หลาย แห่งท่ีไดส้ รุปแนวโนม้ พฤติกรรมผูบ้ ริโภคชาวเยอรมนั ท่ีเปลี่ยนแปลงไป เน่ืองมาจากอิทธิพลของการใช้ อินเตอร์เน็ตโดยเฉพาะการใชบ้ ริการดา้ นขอ้ มูลบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีเพิ่มข้ึน เช่น โทรศพั ท์ tablet หรือคอมพวิ เตอร์ เป็นตน้ ผลสํารวจของสมาพนั ธ์สมาคมเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสารและส่ือใหม่(BITKOM) พบว่า ร้อยละ 90 ของผูใ้ ช้อินเตอร์เน็ตจะใช้บริการสั่งซ้ือออนไลน์ และร้อยละ 75 ของผูใ้ ชอ้ ินเตอร์เน็ตจะอ่าน ความคิดเห็นของลูกค้ารายอ่ืนๆก่อนตดั สินใจซ้ือ ซ่ึงไปสอดคล้องกับผลวิจยั ของ McKinsey ซ่ึงพบว่า แนวโนม้ ใหม่ของกลุ่มผูบ้ ริโภคผ่านช่องทางออนไลน์ไดป้ รับเปลี่ยนพฤติกรรมผูบ้ ริโภคจากเดิมที่ทีเพียง ผบู้ ริโภคจากผบู้ ริโภค(consumer) แต่พอไดม้ าผนวกกบั วิวฒั นาการดา้ นเทคโนโลยไี ดเ้ ปล่ียนบทบาทมาเป็น ผสู้ ่งเสริมการบริโภค(prosumer) ตลาดธุรกจิ ออนไลน์ในเยอรมนี การเติบโตทางเศรษฐกิจของเยอรมนีส่งผลให้เศรษฐกิจทุกภาคส่วนรวมถึงภาคคา้ ปลีกขยายตวั เพ่ิมข้ึนอยา่ งรวดเร็ว แต่ในขณะเดียวกนั บทบาทของอินเตอร์เน็ตก็เพ่ิมข้ึนตามไปดว้ ย ทาํ ใหเ้ กิดการคา้ ปลีก ผา่ นอินเตอร์เน็ตหรือตลาดคา้ ปลีกออนไลน(์ E-tailing market) 15

ในอดีตการสั่งซ้ือสินค้าออนไลน์จะได้ผลกับสินค้าเพียงแค่ 2 กลุ่ม คือ สินค้าแบรนด์เนม เน่ืองมาจากวา่ ผบู้ ริโภครู้คุณภาพของสินคา้ แน่ชดั อยแู่ ลว้ กบั อีกกลุ่มคือผทู้ ี่ตอ้ งการสินคา้ ราคาถูกและหาซ้ือ ไดร้ วดเร็ว แต่ในปัจจุบนั น้ันเองผูบ้ ริโภคเร่ิมเชื่อมน่ั ในธุรกิจออนไลน์มากข้ึน เนื่องจากสินคา้ หากไม่ดี หรือไม่ถูกใจก็ยงั สามารถเปล่ียนคืนไดเ้ งินเวลาท่ีรวดเร็วและยงั ไดร้ ับเงินคืนดว้ ย อีกท้งั บริษทั ท่ีอยใู่ นวงการ การคา้ ออนไลนน์ ้นั ผลิตสินคา้ ที่เนน้ คุณภาพเพ่มิ มากข้ึน รวมไปถึงจดั หาสินคา้ ใหม่ๆที่หายากในตลาด ทาํ ให้ การซ้ือขายผา่ นช่องทางออนไลน์เขา้ มามีบทบาทในชีวิตประจาํ วนั มากข้ึน แต่ขณะเดียวกนั ตวั แทนจาํ หน่าย ในร้านคา้ ปลีกทวั่ ไปตอ้ งต่อสู้ท้งั กบั การแข่งขนั การลดราคา และยงั มีภาระค่าใชจ้ ่ายในการเช่าร้าน การจา้ ง งาน เป็นเหตุส่งผลใหย้ อดขายลดลง แต่การซ้ือขายออนไลน์ยงั คงเติบโตเร่ือยๆ สัดส่ วนผู้ใช้ บริการการค้าขายออนไลน์ ในปี 2015 เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80.8 ลา้ นคน และมีประชากรท่ีเขา้ ถึงอินเตอร์เน็ต 60.6 ลา้ น คน ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 86 ของประชากรท้งั หมด และเป็นประชากรที่สัง่ ซ้ือสินคา้ ผา่ นช่องทางออนไลน์ 48.5 ลา้ นคน ซ่ึงคิดไดเ้ ป็ นร้อยละ 76 จากการสํารวจของ AGOF – Working Group for Online Media Research ไดแ้ สดงช่วงอายขุ องผบู้ ริโภคผา่ นช่องทางออนไลน์ ดงั น้ี - กลุม่ วยั ทาํ งานหรือช่วงอายุ 30-39 ปี คิดเป็นร้อยละ 80 - กลุ่มนกั ศึกษาและกลุ่มวยั เริ่มทาํ งานหรือช่วงอายุ 20-29 ปี คิดเป็นร้อยละ 75 - กลุม่ ผใู้ หญห่ รือช่วงอายุ 40-49 ปี คิดเป็นร้อยละ 72 - กลุ่มเด็กและวยั รุ่นหรือช่วงอายุ 14-19 ปี คิดเป็ นร้อยละ 58 - กลุ่มผสู้ ูงอายหุ รืออายตุ ้งั แต่ 60 ปี ข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ 63 จากสัดส่วนของผลสาํ รวจน้ีจะเห็นไดว้ า่ กลุ่มผบู้ ริโภคที่มีสัดส่วนมากที่สุดคือกลุ่มคนวยั ทาํ งานซ่ึง มากถึงร้อยละ 80 แต่สิ่งที่น่าสนใจมากไปกว่าน้นั คือปริมาณผูส้ ูงอายทุ ี่บริโภคผ่านช่องทางออนไลน์น้นั มี มากถึงร้อยละ 63 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มผูส้ ูงอายุในปัจจุบนั น้นั ให้ความสนใจกบั การใช้บริการซ้ือขายผ่าน ช่องทางออนไลน์มากข้ึน ซ่ึงกลุ่มผสู้ ูงอายนุ ้นั เป็นกลุม่ ผซู้ ้ือท่ีมีศกั ยภาพและมีกาํ ลงั ซ้ือสูง สินค้าไทยทม่ี ีการจําหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ในประเทศเยอรมนี ผนู้ าํ เขา้ เยอรมนั เร่ิมปรับรูปแบบการดาํ เนินธุรกิจของตน โดยนอกจากจะนาํ เขา้ สินคา้ โดยตรงอยา่ ง เดียวแลว้ น้ัน ยงั ไดห้ ันมาใชช้ ่องทางออนไลน์ในการขายดว้ ยเพ่ือเป็ นการขยายช่องทางตลาดให้ผูบ้ ริโภค สามารถเขา้ ถึงไดง้ ่ายข้ึน 16

ตวั อยา่ งผปู้ ระกอบการที่ประสบความสาํ เร็จ : บริษทั YuanFa Asia Markt ท่ีดาํ เนินธุรกิจนาํ เขา้ สินคา้ อาหาร ไทยท้งั ในรูปแบบของสดและของแหง้ เช่น ผกั ขา้ ว ซอสปรุงรส เป็น ตน้ ซ่ึงบริษทั ไดเ้ พ่ิมช่องทางจดั จาํ หน่ายผ่านเวบ็ ไซต์ shop.yuanfa.de นอกเหนือจากการจดั จาํ หน่ายในร้านขายของชาํ เอเชียท่ีต้งั อยใู่ นเมือง ใหญ่อย่าง Frankfurt, Mainz และ Wiesbaden ซ่ึงช่องทางออนไลน์น้ี ไดร้ ับการตอบรับจากลูกคา้ เป็นอยา่ งดี บ ริ ษัท Tropical Food Europe เ ป็ น บริษทั นาํ เขา้ ผลไมส้ ดจากไทยซ่ึงบริษทั เองไม่ มีหน้าร้าน โดยได้จัดจําหน่ายสิ นค้าผ่าน ช่องทางออนไลน์อย่างเดียวโดยผ่านเวบ็ ไซต์ tropenkost-shop.de ท้ังน้ี สํานักงานส่งเสริ ม การคา้ ระหว่างประเทศ ณ นครแฟรงก์เฟิ ร์ต ไดด้ าํ เนินโครงการส่งเสริมการจาํ หน่ายผกั และผลไมไ้ ทยผ่านช่องทางออนไลน์ร่วมกบั บริษทั ในระหว่าง วนั ที่ 23 กรกฎาคม ถึง 17 สิงหาคม 2558 เพื่อส่งเสริมนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลกและเพิ่มช่องทางการคา้ ใหม่ๆนอกเหนือจากการคา้ ผ่านซุปเปอร์มาร์เก็ตและร้านขายของชาํ เอเชีย นอกจากส่งผลให้ผกั ผลไมไ้ ทย ขยายตวั ในตลาดแลว้ น้นั ยงั ช่วยใหไ้ ดป้ ระชาสัมพนั ธ์และรักษาตลาดสินคา้ ผกั และผลไมส้ ดไทยในเยอรมนี และในภูมิภาคยโุ รปอีกดว้ ย บริ ษัท Kosmetik-Vertrieb Reimar Oelsner ได้ ใ ช้ ช่ อ ง ท า ง อ อ น ไ ล น์ ผ่ า น ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ panpuriboutique.de เพ่ือจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์เสริ ม ความงามและผลิตภณั ฑ์สปาในระดบั hi-end ซ่ึงเป็ น ผลิตภณั ฑจ์ ากแบรนด์ PAÑPURI ของบริษทั ปุริ จาํ กดั ซ่ึงเป็ นแบรนด์ของคนไทยท่ีก่อต้งั โดย คุณวรวิทย์ ศิริ พากย์ ซ่ึงค่านิยมหลกั ของแบรนด์คือ Purity, Pleasure และ Results 17

Germany International Cooperation (GIZ) ข้อมูลองค์กร GIZ คือองคก์ รความร่วมมือระหวา่ งประเทศของรัฐบาลเยอรมนั ท่ีไมแ่ สวงหาผลกาํ ไร ได้ ดาํ เนินการคร้ังแรกเม่ือวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ.2554 หลงั จากท่ีรัฐบาลเยอรมนั รวม 3 หน่วยงานดา้ นการพฒั นา ไดแ้ ก่ สาํ นกั งานบริการดา้ นการพฒั นา (DED) สาํ นกั งานความร่วมมือทางวิชาการ (GTZ) และสาํ นกั งาน พฒั นาศกั ยภาพระหวา่ งประเทศ (InWEnt) เขา้ ดว้ ยกนั และใชช้ ื่อวา่ องคก์ รความร่วมมือระหวา่ งประเทศของ เยอรมนั หรือ GIZ นนั่ เอง โดยดาํ เนินงานกบั หลากหลายประเทศเพ่อื การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื โดยท่ี GIZ เองก็ ไดร้ ่วมมือกบั ประเทศไทยดาํ เนินโครงการดา้ นการพฒั นาถึง 7 สาขา ไดแ้ ก่ - ดา้ นการเกษตรและความปลอดภยั ดา้ นอาหาร - ดา้ นการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ - ดา้ นการใชพ้ ลงั งานอยา่ งมีประสิทธิภาพและการใชพ้ ลงั งานทดแทน - ดา้ นการพฒั นาเศรษฐกิจและการจา้ งงาน - ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ - ดา้ นการพฒั นาเมืองและอตุ สาหกรรม - ดา้ นธรรมาภิบาล ซ่ึงแหลง่ เงินทนุ ที่ GIZ นาํ มาช่วยในการดาํ เนินงานขององคก์ รน้นั ไดม้ าจากกระทรวงเพื่อความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจและการพฒั นาของประเทศเยอรมนี กระทรวงส่ิงแวดลอ้ ม คุม้ ครองธรรมชาติ การก่อสร้างและ ความปลอดภยั ทางปรมาณูของประเทศเยอรมนี กระทรวงเศรษฐกิจและพลงั งานของประเทศเยอรมนี จาก สหภาพยโุ รป จากรัฐบาลไทย และจากพนั ธมิตรระหวา่ งภาครัฐและเอกชน 18

GIZ Training Bangkok เน่ืองจาก GIZ เป็นองคก์ รความร่วมมือระหวา่ งประเทศ จึงไดจ้ ดั ต้งั สาํ นกั งานยอ่ ยอยทู่ ี่กรุงเทพฯ ซ่ึง มีแผนกบริการฝึกอบรมท่ีเกิดข้ึนจากความตอ้ งการการบริการฝึกอบรมท่ีมีคุณภาพในเอเชีย ซ่ึงเราเป็นส่วน หน่ึงของสภาบนั เพือ่ ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ(AIZ) และยงั เป็นศนู ยก์ ลางในการพฒั นาหลกั สูตรและ บริการต่างๆ โดยรวบรวมความรู้และประสบการณ์ของเยอรมนี และของภูมิภาคเอเชียไวด้ ว้ ยกนั เพอ่ื ที่จะ สามารถนาํ มาถ่ายทอดใหก้ บั บุคคลทวั่ ไปได้ การฝึกอบรมการเป็นช่างแอร์มืออาชีพของกรมแรงงานและ GIZ โครงการพฒั นาขา้ วของ GIZ และกรมการขา้ ว บริการของ AIZ มีการจดั ฝึกอบรมและสมั มนา การศึกษาดูงาน การใหค้ าํ ปรึกษาเก่ียวกบั การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร และองคก์ ร และสนบั สนุนการจดั ประชุมและสมั มนา ซ่ึงมี 2 สาขา คือ สาขาความเช่ียวชาญเฉพาะทางและ สาขาตามสมรรถนะบุคลากร ซ่ึงแต่ละสาขามีแยกยอ่ ยออกไปอีก ดงั น้ี สาขาความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและการคา้ - เกษตรกรรมและอาหาร - พลงั งาน ส่ิงแวดลอ้ ม และการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ - ธรรมาภิบาล - การเงิน การบริหาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศ - สหวิทยาการและประเดน็ อุบตั ิใหม่ต่างๆ สาขาตามสมรรถนะบุคลากร - การส่ือสารและการเป็นผนู้ าํ - การบริหารจดั การและการใหค้ าํ ปรึกษา - ความร่วมมือในระดบั นานาชาติ - ทกั ษะทางสงั คม 19

หลกั การของ AIZ การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรน้นั เป็นพ้ืนฐานสาํ คญั ท่ีจะช่วยส่งเสริมใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงเชิงบวก ในระดบั องคก์ ร เครือขา่ ย และสงั คม จึงไดพ้ ฒั นาหลกั สูตรต่างๆออกมาเพื่อส่งเสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมี ประสิทธิภาพดว้ ยวิธีและเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม 20

แหล่งอ้างองิ กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ กระทรวงพาณิชย,์ มาตราการนาํ เขา้ สินคา้ .(2553) สืบคน้ 22 พฤศจิกายน 2563, จาก http://www.thaifta.com/trade/aseu/ftatheu_doc1.pdf สาํ นกั งานส่งเสริมการคา้ ระหวา่ งประเทศ ณ นครแฟรงกเ์ ฟิ ร์ต, ธุรกิจการคา้ ออนไลนใ์ นประเทศเยอรมนั . (2558) สืบคน้ 20 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.ditp.go.th/contents_Attach/ 139901/139901.pdf อิสเรศ วงศเ์ สถียรโสภณ, สินคา้ ท่ีนาํ เขา้ ส่งออกเยอรมนั .(2563) สืบคน้ 20 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.thaitextile.org/th/insign/detail.1669.1.0.html GIZ, องคก์ รความร่วมมือระหวา่ งประเทศของเยอรมนั . สืบคน้ 25 พฤศจิกายน 2563, จาก http://www.thai-german-cooperation.info/admin/uploads/factsheet/f52281a3b9cb2b 327c4485c7b898070ath.pdf GIZ, GIZ ประเทศไทย.(2558), สืบคน้ 25 พฤศจิกายน 2563, จาก http://www.thai-german-cooperation.info/admin/uploads/factsheet/209c4a27a8ac5 Kru nut, นโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศ.(2551) สืบคน้ 19 พฤศจิกายน 2563, จาก https://sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/international-economic WP, บริษทั ปุริ จาํ กดั หรือแบรนด์ Panpuri.(2562) สืบคน้ 22 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.marketingoops.com/exclusive/business-case/panpuri-key-success-story/ 8216fec0ff432e8d61cth.pdf 21


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook