Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore biography-ajahn-mun-bhuridatto-mutothai-pathipatipujsha

biography-ajahn-mun-bhuridatto-mutothai-pathipatipujsha

Published by กฤษณะ ใจบุญ, 2021-09-09 01:14:36

Description: มุตโตทัย และ
ปฏิปัตติปุจฉาวิสานา

Search

Read the Text Version

ใหเรงทางปญญาวิปสสนาญาณ องคแกพรรษากวาครั้นปฏิบัติตาม ทำความพากเพยี รประโยคพยายามอยู มิชา มนิ านกไ็ ดสำเรจ็ เปน พระอร หันตข ีณาสวะบุคคลในพระพทุ ธศาสนาดวยประการฉะน้ี O อปรา ยงั เร่อื งอืน่ อกี มเี นือ้ ความอยางเดยี วกนั แตนมิ ิตตางกนั คือใหเนรมิตชางสารซับมันตัวรายกาจวิ่งเขามาหา หลงรูปเนรมิตของ ตนเอง เกิดความสะดุง ตกใจกลัวเตรยี มตัววิง่ หนี เพือ่ นสหธรรมมกิ ผูไ ป ชวยเหลือไดฉุดเอาไว และกลา วตักเตอื นส่ังสอนโดยนยั หนหลงั จงึ หยุด ยง้ั ใจไดแ ละปฏิบัตติ ามคำสงั่ สอนของสหธรรมมิกผชู ว ยเหลอื นน้ั ไมนาน ก็ไดสำเร็จเปนพระอรหันตขีณาสวะบุคคลในพระบวรพุทธศาสนาเชน เดียวกัน แมเรื่องนี้ก็พึงถือเอาเปนทิฏฐานุคติ เชนเดียวกับเรื่องกอน นัน้ แล O นี้เปนนิทานที่เปนคติสำหรับผูปฏิบัติจะพึงอนุวัติตามคือ ผูเปน สหธรรมกิ ประพฤติธรรมรวมกนั ทกุ คน จงมาเปนสหายกันในกจิ ท่ีชอบ ทั้งที่เปนกิจภายใน ทั้งที่เปนกิจภายนอกยังประโยชนของกันและกันให สำเรจ็ ดวยดีเถิด ๑๖. เร่อื ง อณุ หัสสวชิ ัยสูตร O ผใู ดมาถงึ พระพทุ ธเจา พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะทพ่ี ่ึงแลว ผูน ้ันยอ มชนะไดซึ่งความรอน O อุณหสั ส คือความรอนอันเกิดแกต น มีทั้งภายในและภายนอก ภายนอกมเี สือสางคางแดง ภูตผปี ศาจ เปนตน ภายในคือกิเลส วชิ ยั คือ ความชนะ ผทู มี่ านอ มเอาสรณะทั้งสามนี้เปนท่พี งึ่ แลว ยอ มจะชนะความ รอนเหลา นั้นไปไดห มดทกุ อยา งทเ่ี รยี กวา อณุ หัสสวิชัย 51

O อณุ หสฺสวชิ ดย ธมฺโม โลเก อนตุ ตฺ โร พระธรรมเปน ของยง่ิ ในโลก ท้ังสาม สามารถชนะซึ่งความรอ นอกรอ นใจอันเกดิ แตภยั ตา งๆ ปริวชเฺ ช ราชทนเฺ ฑ พยคฺเฆ นาเค วีเส ภเู ต อกาลมรเณน จ สพฺพสฺม มรณา มตุ ฺโต จะเวนหางจากอันตรายทั้งหลายคือ อาชญาของพระราชา เสือสาง นาค ยาพษิ ภูตผี ปศ าจ หากวา ยงั ไมถ ึงคราวถงึ กาลท่จี กั ตายแลว ก็จกั พนไปไดจ ากความตายดวยอำนาจ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ทีต่ น นอ มเอาเปนสรณะท่ีพ่งึ ท่นี บั ถือนนั้ ความขอ นี้มีพระบาลสี าธกดงั จะยก มาอางอิงในสมัยเมื่อสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาพรอมดวยพระอรหันต หนมุ ๕๐๐ รูป ประทบั อยูในราวปา มหาวนั ใกลกรุงกบลิ พัสดุ เทวดาทัง้ หลายพากันมาดู แลวกลา วคาถาข้ึนวา เยเกจิ พุทธฺ ํ สรณํ คตา เส น เต คมสิ ฺ สนฺติ อปายภูมิ ปหาย มานสุ ํ เทหํ เทวกายํ ปรปิ เู รสสฺ นตฺ ิ แปล ความวา บคุ คลบางพวกหรอื บคุ คลไรๆ มาถึงพระพทุ ธเจาเปนสรณะท่ี พึง่ แลว บุคคลเหลา น้นั ยอ มไมไ ปสอู บายภูมิทั้ง ๔ มนี รกเปนตน เมอ่ื ละ รางกายอนั เปนของมนษุ ยนี้แลว จกั ไปเปน หมแู หงเทพดาทงั้ หลายดังน้ี O สรณะทั้ง ๓ คอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ มิไดเสอื่ มสูญ อันตรธานไปไหน ยังปรากฏอยแู กผ ูปฏบิ ตั เิ ขาถงึ อยเู สมอ ผูใดมายึดถอื เปน ท่ีพึง่ ของตนแลว ผูน้นั จะอยกู ลางปา หรือเรอื นวา งก็ตาม สรณะทงั้ สามก็ปรากฏแกเ ราอยทู กุ เมือ่ จงึ วาเปนท่พี งึ่ แกบคุ คลจริง เม่อื ปฏิบัติ ตามสรณะทงั้ สามจรงิ ๆ แลว จะคลาดแคลวจากภัยท้งั หลาย อนั กอให เกิดความรอนอกรอนใจไดแ นนอนทีเดียว 52

ปฏปิ ตติปุจฉาวิสัชนา พระธรรมเจดยี  : ถามวา ผูปฏิบตั ิศาสนาโดยมากปฏบิ ตั อิ ยแู คไ หน ? พระอาจารยม่นั : ปฏบิ ัติอยูภูมกิ ามาพจารกศุ ลโดยมาก พระธรรมเจดีย : ทำไมจงึ ปฏิบตั อิ ยูเพยี งนน้ั ? พระอาจารยม ัน่ : อัธยาศัยของคนโดยมากยังกำหนัดอยูในกาม เห็นวากามารมณที่ดี เปน สุข สว นท่ีไมดีเหน็ วา เปนทุกข จึงไดปฏิบัติในบญุ กรยิ าวัตถุ มีการฟง ธรรม ใหท าน รักษาศีล เปน ตน หรอื ภาวนาบางเลก็ นอ ย เพราะความ มุง เพือ่ จะไดสวรรคสมบัติ มนษุ ยสมบตั ิ เปน ตน ก็คงเปน ภูมิกามาพจร กศุ ลอยูน่ันเอง เบือ้ งหนา แตกายแตกตายไปแลว ยอมถงึ สุคติบาง ไมถึง บา ง แลวแตวิบากจะซัดไป เพราะไมใชน ิยตบุคคล คอื ยงั ไมปดอบาย เพราะยงั ไมไดบรรลุโสดาปต ติผล พระธรรมเจดีย : ก็ทา นผูปฏบิ ัติท่ดี กี วานไี้ มมหี รือ ? 53

พระอาจารยมนั่ : มี แตว า นอ ย พระธรรมเจดีย : นอ ยเพราะเหตไุ ร ? พระอาจารยมั่น : นอยเพราะกามทั้งหลายเทากับเลือดในอกของสัตว ยากที่จะละความ ยนิ ดีในกามได เพราะการปฏิบัติธรรมละเอียด ตองอาศัยกายวเิ วก จิตต วิเวก จงึ จะเปนไปเพ่ืออปุ ธิวเิ วก เพราะเหตนุ ้แี ลจงึ ทำไดด ว ยยาก แตไม เหลือวสิ ัย ตองเปน ผูเ หน็ ทกุ ขจรงิ ๆ จึงจะปฏบิ ตั ไิ ด พระธรรมเจดีย : ถา ปฏิบตั ิเพียงภมู ิกามาพจรกุศล ดไู มแ ปลกอะไร เพราะเกิดเปน มนุษยก ็ เปน ภมู ิกามาพจรกุศลอยแู ลว สว นการปฏิบตั จิ ะใหดกี วาเกา ก็จะตองให เล่ือนชนั้ เปนภูมิรูปาวจรหรืออรูปาวจรแลโลกอุดร จะไดแปลกจากเกา ? พระอาจารยม่ัน : ถูกแลว ถาคิดดูคนนอกพทุ ธกาล ทานก็ไดบรรลฌุ าณชนั้ สงู ๆกม็ ี คนใน พุทธกาล ทานก็ไดบรรลุมรรคแลผล มพี ระโสดาบนั แลพระอรหนั ต โดย มากนเี่ รากไ็ มไ ดบรรลฌุ าณเปน อนั สูค นนอกพทุ ธกาลไมไ ด แลไมไดบรรลุ มรรคผลเปน อันสคู นในพทุ ธกาลไมได 54

พระธรรมเจดีย : เมื่อเปนเชนนีจ้ ักทำอยา งไรดี ? พระอาจารยม ่ัน : ตองทำในใจใหเ ห็นตามพระพุทธภาษิตทีว่ า มตตฺ าสขุ ปริจจฺ าคา ปสเฺ ส เจ วิปุลํ สุขํ ถาวาบุคคลเห็นซึ่งสุขอันไพบูลย เพราะบริจาคซึ่งสุขมี ประมาณนอ ยเสียไซร จเช มตตฺ าสขุ ํ ธีโร สมปฺ สฺสํ วิปลุ ํ สขุ ํ บคุ คลผูมี ปญญาเครื่องทรงไว เมื่อเล็งเห็นซึ่งสุขอันไพบูลย พึงละเสียซึ่งสุขมี ประมาณนอย พระธรรมเจดยี  : สขุ มีประมาณนอ ยไดแ กสขุ ชนิดไหน ? พระอาจายม น่ั : ไดแกสุขซึ่งเกิดแตความยินดีในกามที่เรียกวา อามิสสุข นี่แหละสุขมี ประมาณนอ ย พระธรรมเจดีย : กส็ ขุ อันไพบลู ยไดแ กสุขชนดิ ไหน ? พระอาจารยม ่ัน : ไดแ กฌ าณ วปิ สสนา มรรค ผล นิพพาน ทเี่ รยี กวานิรามสิ สขุ ไมเ จือดวย 55

กาม น่ีแหละสขุ อันไพบูลย พระธรรมเจดยี  : จะปฏิบัตใิ หถ งึ สุขอนั ไพบูลยจะดำเนินทางไหนดี ? พระอาจารยมนั่ : กต็ อ งดำเนนิ ทางองคมรรค 8 พระธรรมเจดยี  : องคมรรค 8 ใครๆกร็ ู ทำไมถงึ เดินกันไมใครจ ะถกู ? พระอาจารยม ่นั : เพราะองคมรรคท้ัง 8 ไมม ใี ครเคยเดนิ จงึ เดนิ ไมใ ครถ ูก พอถูกกเ็ ปนพระ อริยเจา พระธรรมเจดยี  : ที่เดนิ ไมถ ูกเพราะเหตอุ ะไร ? พระอาจารยมน่ั : เพราะชอบเดินทางเกา ซงึ่ เปน ทางชำนาญ พระธรรมเจดยี  : ทางเกา นน้ั คืออะไร ? 56

พระอาจารยม่นั : ไดแ กก ามสขุ ลั ลกิ านโุ ยคแลอัตตกิลมถานุโยค พระธรรมเจดีย : กามสุขัลลกิ านุโยคนน้ั คืออะไร ? พระอาจารยม ัน่ : ความทำตนใหเปนผูหมดมุนติดอยูในกามสุขนี้แล ชื่อวากามสุขัลลิกานุ โยค พระธรรมเจดีย : อัตตกลิ มถานโุ ยคไดแ กทางไหน ? พระอาจารยม น่ั : ไดแกผ ปู ฏบิ ตั ิผดิ แมประพฤตเิ ครง ครดั ทำตนใหลำบากสกั เพียงไร ก็ไม สำเร็จประโยชนซ ึง่ มรรค, ผล, นิพพาน, น่ีแหละเรียกวาอัตตกิลมถานุ โยค พระธรรมเจดยี  : ถาเชนน้ันทางทั้ง 2 น้ี เห็นจะมคี นเดนิ มากกวา มัชฌิมาปฏิปทาหลารอย เทา ? 57

พระอาจารยม น่ั : แนท เี ดยี ว พระพุทธเจา แรกตรัสรู จงึ ไดแ สดงกอ นธรรมอยางอ่นื ๆ ที่มา แลว ในธมั มจักกปั ปวตั ตนสตู ร เพื่อใหสาวกเขาใจ จะไดไมด ำเนินในทาง ทั้ง 2 มาดำเนนิ ในทางมัชฌมิ าปฏิปทา พระธรรมเจดยี  : องคมรรค 8 ทำไมจงึ ยกสมั มาทิฎฐิ ซ่งึ เปนกองปญ ญขนึ แสดงกอ น สว น การปฏิบัตขิ องผูด ำเนนิ ทางมรรค ตองทำศลี ไปกอ น แลวจงึ ทำสมาธิ แล ปญ ญา ซ่ึงเรียกวา สกิ ขาท้งั 3 ? พระอาจารยม ัน่ : ตามความเห็นของขา พเจาวาจะเปน 2 ตอน ตอนแรกสวนโลกียกุศลตอ ง ทำศลี สมาธิ ปญ ญา เปนลำดับไป ปญ ญาทเ่ี กิดขน้ึ ยังไมเ ห็นอริยสัจทัง้ 4 สงั โยชน 3 ยังละไมได ขดี ของใจเพยี งนเี้ ปน โลกยี  ตอนท่ีเห็นอรยิ สัจ แลวละสงั โยชน 3 ได ตอนนีเ้ ปนโลกตุ ตร พระธรรมเจดยี  : ศีลจะเอาศีลชนิดไหน ? พระอาจารยมั่น : ศีลมหี ลายอยา ง ศีล 5 ศลี 8 ศีล 10 ศลี 227 แตในท่นี ป้ี ระสงคศ ีลท่ี เรียกวา สมมฺ าวาจา สมมฺ ากมฺมนโฺ ต สมมฺ าอาชโี ว แตตอ งทำใหบ ริบูรณ 58

พระธรรมเจดยี  : สมมฺ าวาจา คอื อะไร ? พระอาจารยมน่ั : มสุ าวาทา เวรมณี เวน จากพดู เทจ็ ปสุณาย วาจาย เวรมณี เวนจากพดู คำหยาบ สมผฺ ปฺปลาปา เวรมณี เวนจากพดู โปรยประโยชน พระธรรมเจดยี  : สมฺมากมมฺ นโฺ ต การงานชอบน้ันมกี อี่ ยาง ? พระอาจารยม ่นั : มี 3 อยาง คือ ปาณาติปาตา เวรมณี เวนจากฆา สัตว อทนิ นาทานา เวรมณี เวน จากการลักทรพั ย อพฺรหฺมจรยิ า เวรมณี เวน จากอสัทธรรม ไมใชพ รหมจรรย พระธรรมเจดีย : สมฺมากมมฺ นโฺ ต ในทีอ่ ่นื ๆโดยมาเวน อพรฺ หฺม สว นในมหาสติปฏ ฐานทำไม จึงเวนกาเมสุมิจฉาจาร ? พระอาจารยมัน่ : ความเหน็ ของขาพเจา วาท่ีทรงแสดงศีล อพฺรหฺม เหน็ จะเปน ดว ยรบั สั่งแก ภิกษุ เพราะวาภกิ ษเุ ปน พรหมจารบี ุคคลน้นั สว นในมหาสตปิ ฏฐาน 4 ก็รับสั่งแกภิกษุเหมือนกัน แตวาเวลานั้นพระองคเสด็จประทับอยูในหมู 59

ชนชาวกุรุ พวกชาวบา นเหน็ จะฟงอยูม าก ทานจึงสอนใหเวน กามมิจฉา จาร เพราะชาวบานมกั เปนคนมีคู พระธรรมเจดยี  : สมมฺ าอาชีโว เลีย้ งชีวิตชอบ เวน จากมจิ ฉาชพี นนั้ เปน อยา งไร ? พระอาจารยม่นั : บางแหง ทา นก็อธิบายไวว า ขายสรุ ายาพษิ ศสั ตราวธุ หรอื ขายสัตวม ี ชีวติ ตองเอาไปฆา เปนตน เหลานีแ้ หละเปน มจิ ฉาชีพ พระธรรมเจดยี  : ถาคนทไ่ี มไดข ายของเหลา น้ีก็เปนสมมฺ าอาชีโว อยางน้ันหรอื ? พระอาจารยม ั่น : ยังเปนไปไมไ ด เพราะวิธีโกงของคนมีหลายอยา งนัก เชน คา ขายโดยไม เชอื่ มกี ารโกงตาชัง่ ตาเต็ง หรอื เอารัดเอาเปรียบอยางใดอยา งหนงึ่ ใน เวลาที่ผูชื้อเผลอหรือเขาไวใจ รวมความพูดวาอัธยาศัยของคนที่ไมซื่อ คดิ เอารดั เอาเปรยี บผอู ่ืน เห็นแตจะไดสุดแตจะมีโอกาส จะเปน เงนิ หรือ ของกด็ ี ถงึ แมไมชอบธรรม สดุ แตจะได เปนเอาท้ังน้ัน ขา พเจาเหน็ วา อาการเหลานี้ก็เปนมิจฉาชีพทั้งสิ้น สมฺมาอาชีโว จะตองเวนทุกอยาง เพราะเปนสิ่งที่คดคอ มไดม าโดยไมชอบธรรม พระธรรมเจดยี  : 60

สมมฺ าวายาโม ความเพยี รชอบนน้ั คือเพยี รอยา งไร ? พระอาจารยมั่น : สงั วรปธาน เพียรระวังอกศุ ลวิตก 3 ทีย่ ังไมเกดิ ไมใ หเกดิ ขึ้น ปหานปธาน เพยี ร ละอกศุ ลวิตก 3 ทเี่ กดิ ขึน้ แลว ใหหายไป ภาวนาปธาน เพียรเจรญิ กุศลที่ยังไมเ กดิ ข้นึ แลวใหห ายไป ภาวนาปธาน เพียรเจริญกุศลที่ยงั ไม เกิดใหเ กดิ ขนึ้ อนรุ กั ขนาปธาน เพียรรักษากศุ ลที่เกิดแลวไวใหส มบูรณ พระธรรมเจดีย : สมฺมาสติ ระลึกชอบน้ันระลึกอยา งไร ? พระอาจารยม ่ัน : ระลกึ อยูในสตปิ ฎ ฐาน 4 คอื กายานปุ สฺสนา ระลึกถงึ กาย เวทนานปุ สฺ สนา ระลึกถงึ เวทนา จติ ตฺ านปุ สฺสนา ระลกึ ถงึ จิต ธมฺมานุปสฺสนา ระลกึ ถงึ ธรรม พระธรรมเจดยี  : สมฺมาสมาธิ ความตั้งใจไวชอบ คือตั้งใจไวอยางไร จึงจะเปนสมฺมา สมาธิ ? พระอาจารยม ่ัน : คอื ตัง้ ไวใ นองคฌาณท้งั 4 ทเ่ี รยี กวา ปฐมฌาณ ทตุ ิยฌาณ ตตยิ ฌาณ จตุตถฌาณ เหลา นแี้ หละ เปน สมฺมาสมาธิ 61

พระธรรมเจดยี  : สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป ความดำริชอบน้ันดำรอิ ยางไร ? พระอาจารยมนั่ : เนกขฺ มฺมสงกฺ ปฺโป ดำรอิ อกจากกาม อพยฺ าปาทสงกฺ ปฺโป ดำริไมพยาบาท อวหิ สึ าสงฺกปโฺ ป ดำรใิ นความไมเบยี ดเบียน พระธรรมเจดีย : สมมฺ าวายาโม ก็ละอกศุ ลวติ ก 3 แลว สมฺมาสงฺกปฺโป ทำไมจงึ ตอ งดำรอิ กี เลา ? พระอาจารยมนั่ : ตางกันเพราะ สมฺมาวายาโมน้นั เปนแตเปล่ียนอารมณ เชน จติ ท่ฟี งุ ซาน หรือเปนอกุศลก็เลิกนึกเรื่องเกาเสีย มามีสติระลึกอยูในอารมณที่เปน กุศลจึงสงเคราะหเขาในกองสมาธิ สวนสมฺมาสงฺกปฺโป มีปญญา พิจารณาเห็นโทษของกาม เหน็ อานสิ งสข องเนกขัมมะ จงึ ไดคดิ ออกจาก กามดวยอาการที่เห็นโทษหรือเห็นโทษของพยาบาทวิหิงสา เห็น อานสิ งสของเมตตากรณุ า จงึ ไดคาดละพยาบาทวหิ ิงสา การเห็นโทษแล เห็นอานิสงสเชน นีแ้ หละจึงผดิ กบั สมมฺ าวายาโม ทา นจงึ สงเคราะหเ ขา ไว ในกองปญ ญา พระธรรมเจดยี  : 62

สมมฺ าทิฐ€ ิ ความเหน็ ชอบนัน้ คือเหน็ อยางไร ? พระอาจารยม ่ัน : คือ เห็นทุกข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค ทเี่ รยี กวา อรยิ สจั 4 ความเห็นชอบ อยางน้แี หละชือ่ วา สมมฺ าทิ ฐ€ ิ พระธรรมเจดีย : อริยสจั 4 น้นั มกี จิ จะตอ งทำอะไรบาง ? พระอาจารยมนั่ : ตามแบบทม่ี ีมาในธรรมจักร มกี ิจ 3 อยาง ใน 4 อริยสัจ รวมเปน 12 คือ สัจญาณ รูวา ทุกข กจิ ญาณ รูวาจะตอ งกำหนด กตญาณ รูวา กำหนด เสร็จแลว แลรูวาทุกขสมุทัยจะตองละ แลไดละเสร็จแลว และรูวา ทกุ ขนโิ รธจะตองทำใหเจง แลไดทำใหแจง เสร็จแลว แลรูวา ทกุ ขนโิ รธคามี นีปฏปิ ทา จะตอ งเจรญิ แลไดเจริญแลว นแ่ี หละเรียกวา กิจในอรยิ สัจทัง้ 4 พระธรรมเจดยี  : ทกุ ขน น้ั ไดแ กสิ่งอะไร ? พระอาจารยม น่ั : ขันธ 5 อายตนะ 6 ธาตุ 6 นามรปู เหลานเ้ี ปนประเภททุกขสัจ 63

พระธรรมเจดยี  : ทุกขม ีหลายอยา งนักจะกำหนดอยา งไรถูก ? พระอาจารยม นั่ : กำหนดอยา งเดยี วก็ได จะเปนขันธ 5 หรือ อายตนะ 6 หรือธาตุ 6 นาม รปู อยา งใดอยา งหนึง่ ก็ได ไมใ ชว าจะตอ งกำหนดทลี ะหลายอยา ง แตวา ผู ปฏิบัติควรจะรูไวเพราะธรรมทงั้ หลายเหลาน้ี เปนอารมณของวปิ ส สนา พระธรรมเจดี ย : การทจี่ ะเหน็ อรยิ สจั กต็ อ งทำวปิ สสนาดว ยหรอื ? พระอาจารยม นั่ : ไมเ จริญวปิ สนา ปญญาจะเกดิ อยา งไรได เม่ือปญญาไมม จี ะเหน็ อริยสจั ทั้ง 4 อยา งไรได แตท เี่ จรญิ วิปส สนากนั อยู ผูท่อี นิ ทรียอ อ นยังไมเห็น อริยสัจท้ัง 4 เลย พระธรรมเจดยี  : ขนั ธ 5 ใครๆก็รทู ำไมจึงกำหนดทกุ ขไ มถ กู ? พระอาจารยมนั่ : รแู ตช อ่ื ไมร ูอาการขันธต ามความเปน จริง เพราะฉะนั้นขันธ 5 เกดิ ขึ้นก็ ไมร ูวาเกิด ขนั ธ 5 ดับไปกไ็ มรูวาดับ แลขันธมอี าการสนิ้ ไปเส่อื มไปตาม ความเปน จรงิ อยา งไรก็ไมท ราบทัง้ นั้น จงึ เปนผหู ลงประกอบดว ยวปิ ลาส 64

คือไมเ ท่ียงก็เห็นวา เท่ียง เปนทกุ ขก ็เหน็ วา เปนสุข เปน อนตั ตาก็เห็นวา เปนอัตตาตัวตน เปนอสุภไมงามก็เห็นวาเปนสุภะงาม เพราะฉะนั้น พระพุทธเจา จงึ ทรงสั่งสอนสาวก ท่มี าแลว ในมหาสตปิ ฎ ฐานสูตร ใหร ูจ กั ขนั ธ 5 แลอายตนะ 6 ตามความเปนจรงิ จะไดกำหนดถกู พระธรรมเจดีย : ขันธ 5 คอื รูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณน้ันมลี กั ษณะอยางไร เม่อื เวลาเกดิ ข้นึ แลดบั ไปจะไดร ู ? พระอาจารยมน่ั : รูปคือ ธาตุดนิ 19 น้ำ 12 ลม 6 ไฟ 4 ชื่อวามหาภตู รปู เปน รูปใหญแ ล อุปาทายรูป 24 เปนรปู ท่ลี ะเอียด ซง่ึ อาศัยอยูใ นมหาภูตรูป 4 เหลานี้ ชอ่ื วา รูป แตจ ะแจงใหล ะเอียดกม็ ากมาย เมอ่ื อยากทราบใหล ะเอียด ก็จง ไปดเู อาในแบบเถดิ พระธรรมเจดีย : กเ็ วทนานัน้ ไดแกส ่ิงอะไร ? พระอาจารยม่นั : ความเสวยอารมณ ซ่งึ เกดิ ประจำอยูในรูปน้ีแหละ คอื บางคราวกเ็ สวย อารมณเ ปน สุข บางคราวก็เสวยอารมณก็เปนทกุ ข บางคราวก็ไมทกุ ข ไมสขุ น่ีแหละเรยี กวา เวทนา 3 ถาเติมโสมนัสโทมนสั ก็เปน เวทนา 5 65

พระธรรมเจดีย : โสมนัสโทมนัสเวทนา ดเู ปนชื่อของกเิ ลส ทำไมจึงเปน ขนั ธ ? พระอาจารยมน่ั : เวทนามี 2 อยา ง คอื กายิกะเวทนาๆ ซ่ึงเกดิ ทางกาย 1 เจตสกิ เวทนาๆ ซ่ึงเกดิ ทางใจ 1 สขุ เวทนาเสวยอารมณเปน สุข ทกุ ขเวทนาเสวยอารมณ เปนทกุ ข 2 อยางน้เี กิดทางกาย โสมนสั โทมนสั อทุกขมสขุ เวทนา 3 อยา งนเ้ี กดิ ทางใจ ไชกเิ ลส คือเชน กับบางคราวอยูดีๆกม็ ีความสบายใจ โดยไมไดอาศัยความรักความชอบก็มี หรือบางคราวไมอาศัยโทสะหรือ ปฏฆิ ะ ไมส บายใจข้นึ เอง เชนคนเปน โรคหัวใจหรือโรคเสน ประสาทกม็ ี อยา งน้เี ปน ขันธแ ท ตองกำหนดรวู า เปนทกุ ข เมอื่ เวทนาอยางใดอยา ง หนึ่งปรากฎขึน้ นัน่ แหละเปนความเกิดข้นึ แหงเวทนา เมอื่ เวทนาเหลา นัน้ ดบั หายไป เปน ความดบั ไปแหง เวทนา น่แี หละเปนขันธแท เปนประเภท ทกุ ขสจั พระธรรมเจดยี  : เวทนานน้ั อาศัยอะไรจึงเกิดขึ้น ? พระอาจารยม น่ั : อาศยั อายตนะภายใน 6 ภายนอก 6 วญิ ญาณ 6 กระทบกันเขา ชื่อวา ผสั สะ เปนทเี่ กิดแหง เวทนา พระธรรมเจดยี  : 66

อายตนะภายใน 6 ภายนอก 6 วญิ ญาณ 6 ผสั สะ 6 เวทนาท่ีเกิดแต ผัสสะ 6 กไ็ มใชก ิเลส เปน ประเภททุกขท้ังนัน้ ไมใ ชห รอื ? พระอาจารยมั่น : ถกู แลว พระธรรมเจดีย : แตท ำไมคนเราเมื่อเวลาตาเหน็ รูป หไู ดยินเสียง จมูกไดดมกล่ิน ลิ้นไดล มิ้ รสหรือถกู ตองโผฏฐัพพะดว ยกาย รูร บั อารมณดว ยใจ ก็ยอมไดเ วทนา อยางใดอยางหนึ่งไมใชหรือ ก็อายตนะแลผัสสเวทนาก็ไมใชกิเลส แต ทำไมคนเราจึงเกดิ กิเลสและความอยากขน้ึ ไดเลา ? พระอาจารยม ่นั : เพราะไมร ูวา เปนขันธแลอายตนะ แลผสั สเวทนา สำคัญวาเปน ผเู ปนคน เปนจริงเปน จัง จึงไดเ กิดกิเลสและความอยาก เพราะฉะนน้ั พระพุทธเจา จงึ ทรงแสดงไวในฉักกะสตู รวา บคุ คลเมื่อสุขเวทนาเกดิ ข้ึน กป็ ลอ ยใหร า นุสยั ตามนอน ทกุ ขเวทนาเกดิ ขึ้น กป็ ลอ ยใหปฏฆิ านุสัยตามนอน อทุ ก ขมสขุ เวทนาเกิดขึ้น ก็ปลอ ยใหอ วิชชานุสยั ตามนอน การทำท่สี ุดแหง ทุกขใ นชาตินี้ ไมใชฐ านะท่ีจะมไี ดเ ปน ได ถา บุคคลเมือ่ เวทนาท้งั 3 เกดิ ข้ึนกไ็ มปลอยใหอ นสุ ยั ท้งั 3 ตามนอน การทำที่สุดแหง ทกุ ขใ นชาตนิ มี้ ี ฐานะทม่ี ีไดเปน ได นก่ี ็เทากับตรัสไวเปน คำตายตวั อยแู ลว พระธรรมเจดยี  : 67

จะปฏบิ ตั ิอยา งไรจงึ จะไมใหอ นุสยั ทั้ง 3 ตามนอน ? พระอาจารยม ่นั : ก็ตองมีสติทำความรูสึกตัวไว แลมีสัมปชัญญะ ความรูรอบคอบใน อายตนะ แลผสั สเวทนาตามความเปนจริงอยางไร อนุสัยท้งั 3 จึงจะไม ตามนอน สมดวยพระพุทธภาษิตในโสฬสปญหาท่ี 1 ตรสั ตอบอชติ ะ มานพวา สติ เตสํ นิวารณํ สตเิ ปน ทดจุ ทำนบเครือ่ งปด กระแสเหลาน้ัน ปฺญา เยเตปถ ยิ ยฺ เร กระแสเหลาน้ันอนั ผปู ฏบิ ตั จิ ะละเสยี ไดดวยปญญา แตใ นท่ีนัน้ ทานประสงคละตัณหา แตอ นุสัยกับตณั หาหเปน กเิ ลสประเภท เดียวกัน พระธรรมเจดยี  : เวทนาเปนขันธแ ทเ ปนทุกขสจั ไมใชก เิ ลส แตใ นปฏจิ จสมุปบาท ทำไมจงึ มี เวทนาปจฺจยตณฺหา เพราะเหตุอะไร ? พระอาจารยม่นั : เพราะไมรจู กั เวทนาตามความเปน จริง เมื่อเวทนาอยางใดอยางหน่ึงเกดิ ขึ้น เวทนาที่เปน สขุ ก็ชอบเพลิดเพลนิ อยากได หรือใหคงอยูไมใหห ายไป เสีย เวทนาท่ีเปนทกุ ขไ มด ีมมี า กไ็ มชอบประกอบดว ยปฏฆิ ะอยากผลักไส ไลข บั ใหหายไปเสีย หรอื อทขุ มสุขเทนา ทม่ี ีมาก็ไมรู อวชิ ชานสุ ัยจึงตาม นอน สมดวยพระพุทธภาษติ ในโสฬสปญ หาที่ 13 ท่อี ุทยะมานพทูลถาม วา กถํ สตสสฺ จรโตวิญญาณํ อปุ รุชฺฌติ เม่ือบุคคลประพฤติมีสตอิ ยางไร ปฏิสนธิ วญิ ญานจึงจะดบั ตรสั ตอบวา อชฺฌตฺตจฺ พหทิ ธฺ า จ เวทนํ นา 68

พนิ นฺทโต เมื่อบุคคลไมเ พลดิ เพลนิ ยง่ิ ซงึ่ เวทนาทัง้ ภายในแลภายนอก อวํ สตสฺส จรโต วิญญาณํ อุปรชุ ฌฺ ติ ประพฤตมิ ีสตอิ ยอู ยา งนี้ ปฏิสนธิ วญิ ญาณจึงจะดบั พระธรรมเจดีย : เวทนาอยางไรชื่อวาเวทนาภายนอก เวทนาอยางไรชื่อวาเวทนา ภายใน ? พระอาจารยมั่น : เวทนาท่ีเกิดแตจักขุสัมผัส โสตะสมั ผสั ฆานะสัมผสั ชวิ หาสัมผัส กาย สัมผัส 5 อยา ง น้ชี ื่อวา เวทนาที่เปน ภายนอก เวทนาท่เี กดิ ในฌาณ เชน ปต ิหรือสุขเปน ตน ช่อื วาเวทนาภายในเกิดแตมโนสัมผัส พระธรรมเจดยี  : ปต แิ ลสุขก็เปน เวทนาดวยหรอื ? พระอาจารยมัน่ : ปต ิแลสุขนน้ั เกิดขึน้ เพราะความสงบ อาศยั ความเพยี รของผปู ฏิบตั ิ ในคิริ มานนทสตู ร อานาปานสติ หมวดที่ 5 กับท่ี 6 ทา นสงเคราะหเ ขา ในเวท นานุปส สนาสตปิ ฎ ฐาน เพราะฉะนั้นปต ิแลสุขจงึ จดั เปนเวทนาภายในได พระธรรมเจดยี  : ทีเ่ รยี กวา นริ ามสิ เวทนา เสวยเวทนาไมม อี ามสิ คือไมเ จือกามคณุ เหน็ จะ 69

เปนเวทนาทีเ่ กิดขน้ึ จากจติ ท่ีสงบนีเ้ อง แตถ าเชนนนั้ ความยนิ ดใี น รูป, เสียง, กลิน่ , รส, โผฎฐัพพะ ที่เรยี กวากามคุณ 5 เวทนาท่เี กดิ คราวนั้น ก็ เปนอามสิ เวทนา ถูกไหม ? พระอาจารยม ั่น : ถูกแลว พระธรรมเจดีย : สว นเวทนาขา พเจา เขา ใจดแี ลว แตสว นสัญญาขนั ธ ความจำรปู จำเสียง จำกลิน่ จำรส จำโผฏฐพั พะ จำธมั มารมณ 6 อยา งน้ี มัลักษณะอยางไร เมื่อรูป สญั ญาความจำรปู เกดิ ขนึ้ นัน้ มอี าการเชน ไร แลเวลาที่ความจำ รปู ดับไป มีอาการเชน ไร ขาพเจา อยากทราบ เพื่อจะไดก ำหนดถกู ? พระอาจารยมั่น : คือเราไดเหน็ รูปคน หรือรปู ของอยางใดอยา งหนึ่งแลวมานกึ ข้ึน รูปคน หรือรปู ของเหลา นนั้ กม็ าปรากฎขึน้ ในใจ เหมอื นอยางไดเห็นจรงิ ๆนเี่ รียก วา ความจำรูป พระธรรมเจดยี  : ยงั ไมเขาใจดี ขอใหช ้ตี วั อยางใหขาวอกี สกั หนอ ย ? พระอาจารยม่ัน : เชนกับเมื่อเชานี้เราไดพบกับคนที่รูจักกันหรือไดพูดกัน ครั้นคนนั้นไป 70

จากเราแลว เม่ือเรานกึ ถึงคนนน้ั รูปรางคนนัน้ ก็ปรากฎชัดเจนเหมือน เวลาทพ่ี บกัน หรอื ไดเ หน็ ของส่ิงใดสิ่งหน่ึงไว เม่ือเวลานกึ ขนึ้ กเ็ หน็ สง่ิ นั้น ชดั เจน เหมอื นอยา งเวลาที่เห็นรวมเปน รปู 2 อยา ง คอื อุปาทนิ นกรปู รูปที่มีวญิ ญาณ เชน รปู คน หรอื รูปสัตว อนปุ าทนิ นกรปู รูปที่ไมม ี วญิ ญาณครอง ไดแ กสิ่งของตางๆ หรือตน ไมด นิ หนิ กรวด พระธรรมเจดยี  : ถาเชนนั้นคนเปนก็เปนรูปที่มีวิญญาณ คนตายก็เปนรูปที่ไมมีวิญญาณ อยา งน้ันหรือ ? พระอาจารยมั่น : ถูกแลว นาสลดใจ ชาตเิ ดยี วเปนได 2 อยา ง พระธรรมเจดยี  : ถา เชน นน้ั สญั ญาก็เปนเร่อื งของอดตี ทัง้ นน้ั ไมใชปจจุบนั ? พระอาจารยม น่ั : อารมณนัน้ เปนอดีต แตเมอื่ ความจำปรากฎขึ้นในใจ เปน สัญญาปจจบุ นั นี่แหละเรียกวา สัญญาขันธ พระธรรมเจดีย : ถาไมรูจักสัญญา เวลาที่ความจำรูปคนมาปรากฎขึ้นในใจ ก็ไมรูวา สัญญาของตัวเอง สำคัญวาเปน คนจริงๆ หรอื ความจำรปู ทไ่ี มม วี ิญญาณ 71

มาปรากฎขนึ้ ในใจ ก็ไมร วู า สญั ญา สำคญั วา เปน ส่ิงเปน ของจรงิ ๆ เม่อื เปนเชน นีจ้ ะมโี ทษอยา งไรบาง ขอทานจงอธิบายใหขาพเจาเขา ใจ ? พระอาจารยม่นั : มีโทษมาก เชนนึกถึงคนที่รัก รูปรางของคนที่รักก็มาปรากฎกับใจ กามวิตกท่ยี ังไมเกิด ก็จะเกิดขึ้น ทเี่ กิดขึน้ แลว ก็จะงอกงาม หรอื นกึ ถึงคน ทีโ่ กรธกัน รูปรางของคนทโี่ กรธกันนั้นก็มาปรากฎชัดเจนเหมือนไดเ หน็ จริงๆ พยาบาทวิตกที่ยังไมเกิดก็จะเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็จะงอกงาม หรือนึกถงึ สิ่งของท่ีสวยๆ งามๆ รูปรางส่ิงของเหลา นัน้ กม็ าปรากฎในใจ เกิดความชอบใจบา ง แหละอยาไดบ าง เพราะไมรูวา สัญญาขนั ธข องตัว เอง สญั ญาวาสง่ิ ทั้งปวงเปนจรงิ เปน จังไปหมด ทแ่ี ทกเ็ หลวท้งั นั้น พระธรรมเจดยี  : กค็ วามเกดิ ขึ้นแหงสัญญามีลกั ษณะอยา งไร ? พระอาจารยมั่น : เมื่อความจำรูปอยางใดอยางหนึ่งมาปรากฎในใจ เปนความเกิดขึ้นแหง ความจำรูป เมอื่ ความจำรปู เหลานั้นดับหายไปจากใจ เปน ความดับไป แหง ความจำรูป พระธรรมเจดยี  : ความจำเสียงน้นั มีลักษณะอยา งไร ? 72

พระอาจารยม่ัน : เชนเวลาเราฟงเทศน เมื่อพระเทศนจบแลวเรานึกขึ้นไดวาทานแสดงวา อยางน้ันๆ หรือมคี นมาพดู เลาเรือ่ งอะไรๆ ใหเ ราฟง เม่ือเขาพูดเสร็จแลว เรานกึ ขึน้ จำถอ ยคำน้ันได น่เี ปน ลักษณะของความจำเสยี ง เมอื่ ความจำ เสียงปรากฎขึ้นในใจ เปนความเกิดขึ้นแหงความจำเสียง เมื่อความจำ เสยี งเหลานัน้ ดับหายไปจากใจ เปนความดบั ไปแหงสัททสัญญา พระธรรมเจดีย : คันธสัญญาความจำกลิ่นมลี กั ษณะอยา งไร ? พระอาจารยม ่นั : เชนกับเราเคยไดกลิ่นหอมดอกไมหรือน้ำอบ หรือกลิ่นเหม็นอยางใด อยา งหน่งึ ไว เมอ่ื นกึ ขึ้นก็จำกล่นิ หอมกล่นิ เหม็นเหลา นน้ั ได นเี่ ปน ความ เกิดขน้ึ ของความจำกล่ิน เมอ่ื ความจำกลนิ่ เหลาน้นั หายไปจากใจ เปน ความดับไปแหงคนั ธสัญญา พระธรรมเจดีย : รสสญั ญาความจำรสนนั้ มลี กั ษณะอยา งไร ? พระอาจารยมั่น : ความจำรสนั้น เม่อื เรารบั ประทานอาหารมีรสเปรยี้ ว หวาน จดื เคม็ หรือขมเปน ตน เมื่อรบั ประทานอาหารเสรจ็ แลว นึกขึ้นกจ็ ำรสเหลานั้น ได อยางนี้เรยี กวา ความจำรส เมื่อความจำรสปรากฎข้นึ ใจใน เปน ความ 73

เกิดขึ้นแหงรสสัญญา เมื่อความจำรสเหลานั้นดับหายไปจากใจ เปน ความดบั ไปแหง รสสญั ญา พระธรรมเจดยี  : โผฎฐัพพะสญั ญามีลักษณะอยางไร ? พระอาจารยม น่ั : ความจำเครื่องกระทบทางกาย เชนเราเดินไปเหยียบหนาม ถูกหนาม ยอก หรือถูกตอ งเยน็ รอนออ นแขง็ อยางใดอยางหน่ึง เมื่อนึกขนึ้ จำความ ถูกตองกระทบกายเหลานัน้ ได ชอื่ วา โผฏฐัพพะสัญญา พระธรรมเจดยี  : เชน เม่อื กลางวนั นีเ้ ราเดินไปถูกแดดรอนจัด ครนั้ กลบั มาถึงบาน นึกถงึ ที่ ไปถูกแดดมานัน้ ก็จำไดวา วันนัน้ เราไปถูกแดดมานั้น ก็จดั ไดวา วันนน้ั เรา ไปถูกแดดรอน อยางน้เี ปนโผฏฐัพพะสญั ญาถกู ไหม ? พระอาจารยม น่ั : ถูกแลว สิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบถูกตองทางกาย เมื่อเราคิดถึงอารมณ เหลา นน้ั จำไดเปนโผฏฐพั พะสัญญาทัง้ น้ัน เมือ่ ความจำโผฏฐพั พะเกิดขน้ึ ในใจ มคี วามเกิดข้ึนแหง โผฏฐพั พะสัญญา เมอื่ ความจำเหลาน้นั ดบั หาย ไปจากใจ เปน ความดบั ไปแหง โผฏฐพั พสัญญา พระธรรมเจดยี  : 74

ธมั มสัญญามีลักษณะอยางไร ? พระอาจารยมัน่ : ธัมมสัญญาความจำธัมมารมณน นั้ ละเอียดยงิ่ กวาสญั ญา 5 ท่ไี ดอ ธบิ าย มาแลว พระธรรมเจดีย : ธมั มารมณน ้นั ไดแกสิ่งอะไร ? พระอาจารยม่ัน : เวทนาขันธ สัญญาขนั ธ สงั ขารขนั ธ 3 อยางนี้ ชือ่ วาธัมมารมณ เชนเรา ไดเสวยเวทนาที่เปนสุขหรือที่เปนทุกขไว แลเวทนาเหลานั้นดับไปแลว นกึ ขึ้นจำไดอยา งนี้ ช่ือวา ความจำเวทนา หรอื เคยทอ งบน อะไรๆ จะจำได มากก็ตามหรือจำไดนอยตาม เมื่อความจำเหลานั้นดับไปพอนึกขึ้นถึง ความจำเกาก็มาเปนสัญญาปจจุบันขึ้น อยางนี้เรียกวาความจำสัญญา หรือเราคิดนกึ เรอื่ งอะไรๆขน้ึ เองดวยใจ เมือ่ ความคดิ เหลา นน้ั ดับไป พอ เรานกึ ถึงเรื่องท่ีเคยคดิ เอาไวนน้ั ก็จำเร่ืองนน้ั ได น่ีเรยี กวา ความจำสัขาร ขันธ ความจำเร่ืองราวของเวทนา สญั ญา สังขารเหลา นแี้ หละชือ่ ธมั ม สญั ญา ความจำธมั มารมณ เม่อื ความจำธัมมารมณม าปรากฎขนึ้ ในใจ เปนความเกิดข้ึนแหงธัมมสัญญา เมอ่ื ความจำธมั มรมณเ หลา น้ันดบั หาย ไปจากใจ เปน ความดบั ไปแหงธัมมสญั ญา พระธรรมเจดีย : 75

แหมชางซบั ซอ นกนั จริงๆ จะสังเกตอยา งไรถูก ? พระอาจารยม ั่น : ถายังไมรูจักอาการขันธ ก็สังเกตไมถูก ถารูจักแลว ก็สังเกตไดงาย เหมอื นคนท่ีรจู กั ตัวแลรูจกั ช่ือกัน ถึงจะพบหรอื เหน็ กันมากๆ คนกร็ จู กั ได ทกุ ๆคน ถาคนที่ไมค ยรจู ักตัวหรือรูจกั ชื่อกนั มาแตค นเดียวก็ไมร จู กั วา ผู น้นั คือใคร สมดวยพระพทุธภาษติ ในคุหัฏฐกสูตรหนา 395 ท่วี า สฺญํ ปริ ยฺ า วิตเรยยฺ โอฆํ สาธชุ นมากำหนดรอบรสู ญั ญาแลว จะพึงขา มโอฆ ะ พระธรรมเจดยี  : สังขารขันธคืออะไร ? พระอาจารยม ่นั : สังขารขนั ธคอื ความคดิ ความนกึ พระธรรมเจดยี  : สงั ขารขนั ธเ ปน ทุกขสัจหรอื เปนสมทุ ัย ? พระอาจารยม่นั : เปน ทกุ ขสจั ไมใชสมทุ ยั พระธรรมเจดยี  : 76

กส็ ังขารขนั ธตามแบบอภิธมั มสังคะ ทานแจกไวว า มีบาปธรรม 14 โสภณเจตสกิ 25 อญั ญสมนา 13 รวมเปน เจตสกิ 52 ดวงนั้น ดูมีท้ังบญุ ท้ังบาป และไมใชบ ญุ ไมใ ชบ าปปนกนั ทำไมจงึ เปน ทกุ ขสัจอยางเดยี ว ขา พเจา ฉงนนัก ? พระอาจารยมนั่ : อัญญสมนา 13 ยกเวทนาสัญญาออกเสีย 2 ขันธ เหลืออยู 11 นีแ่ หละ เปน สังขารขันธแ ท จะตองกำหนดรวู าเปนทกุ ข สว นบาปธรรม 14 นน้ั เปนสมุทัยอาศัยสังขารขันธเกิดขึ้น เปนสวนปหาตัพพธรรมจะตองละ สวนโสภณเจตสิก 25 นน้ั เปน ภาเวตพั พธรรมจะตองเจริญ เพราะฉะนนั้ บาปธรรม 14 กับโสภณเจตสิก 25 ไมใชสังขารแท เปน แตอ าศยั สงั ขาร ขนั ธเ กดิ ขึน้ จึงมหี นา ท่จี ะตอ งละแลตองเจริญความคดิ ความนกึ อะไรๆ ท่ี มาปรากฎขึ้นในใจ เปนความเกิดแหงสังขารขันธ ความคิดความนกึ เหลา นั้นดับหายไปจากใจ กเ็ ปน ความดบั ไปแหงสัขารขนั ธ พระธรรมเจดยี  : วิญญาณขันธท ี่รทู างตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ 6 อยางน้ี มีลกั ษณะอยา งไรและเวลาทเ่ี กิดขนึ้ แลดบั ไปมีอาการอยางไร ? พระอาจารยม่ัน : คอื ตา 1 รปู 1 กระทบกันเขา เกดิ ความรทู างตา เชนกับเราไดเ หน็ คน หรอื สงของอะไรๆ ก็รูไ ดคนนนั้ คนน้ี หรอื สงิ่ นั้นส่ิงนี้ ชอื่ วาจักขุวิญญาณ เมื่อรูปมาปรากฎกับตา เกิดความรูทางตาเปนความเกิดขึ้นแหงจักขุ 77

วิญญาณ เมือ่ ความรูทางตาดบั หายไปเปน ความดบั ไปแหงจกั ขวุ ญิ ญาณ หรอื ความรูทางหู รกู ลิ่นทางจมกู รูรสทางลิ้น รูโผฎฐัพพะทางกายมา ปรากฎขึ้น ก็เปนความเกิดแหงโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา วญิ ญาณ กายวิญญาณ เมอ่ื ความรูทางหู จมูก ล้นิ กาย หายไป กเ็ ปน ความดับไปแหงโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กาย วิญญาณ เมอ่ื ใจกับธัมมารมณมากระทบกันเขาเกิดความรทู างใจเรยี กวา มโนวญิ ญาณ พระธรรมเจดีย : ใจนั้นไดแ กส่งิ อะไร ? พระอาจารยมัน่ : ใจนั้นเปนเครื่องรับธัมมารมณใหเกิดความรูทางใจ เหมือนอยางตาเปน เครื่องรบั รูปใหเกดิ ความรทู างตา พระธรรมเจดยี  : รเู วทนา รูสัญญา รูส งั ขารนัน้ รอู ยา งไร ? พระอาจารยม ัน่ : รูเวทนานั้น เชน สุขเวทนาเปนปจจุบันเกิดขึ้น ก็รูวาเปนสุข หรือ ทุกขเวทนาเกดิ ขนึ้ ก็รูวาเปน ทุกข อยา งแลรเู วทนา หรอื สัญญาใดมา ปรากฎข้ึนในใจ จะเปนความจำรูปหรอื ความจำเสียงก็ดี ก็รสู ญั ญานั้น อยางนี้เรียกวารูสัญญาหรือความคิดเรื่องอะไรๆขึ้น ก็รูไปในเรื่องนั้น 78

อยางนี้ รูสังขาร ความรูเวทนา สัญญา สงั ขาร 3 อยา งน้ี ตองรทู างใจ เรียกวามโนวิญญาณ พระธรรมเจดยี  : มโนวิญญาณความรูทางใจก็เหมือนกันกับธรรมสัญญา ความจำธัมมา รมณอยางนน้ั หรือ เพราะน่ีกร็ วู า เวทนา สัญญา สังขาร นน่ั ก็จำเวทนา สญั ญา สังขาร ? พระอาจารยมน่ั : ตางกัน เพราะสัญญานั้นจำอารมณที่ลวงแลว แตตัวสัญญาเองเปน สญั ญาปจ จบุ นั สวนมโนวิญญาณนนั้ รเู วทนา สัญญา สังขาร ทเ่ี ปน อารมณป จจบุ ัน เม่ือความรเู วทนา สญั ญา สงั ขาร มาปรากฎขน้ึ ในใจ เปน ความเกดิ ข้นึ แหง มโนวิญญาณ เม่ือความรู เวทนา สญั ญา สังขาร ดับ หายไปจากใจ เปน ความดบั ไปแหง มโนวิญญาณ พระธรรมเจดยี  : เชนผงเขาตา รวู าเคอื งตา เปน รูทางตาใชไ หม ? พระอาจารยม ั่น : ไมใช เพราะรูทางตานั้น หมายถึงรูปที่มากระทบกับตาเกิดความรูขึ้น สว นผงเขาตาน้นั เปนกายสมั ผสั ตอ งเรียกวารโู ผฏฐัพพะ เพราะตานั้น เปนกาย ผงนัน้ เปน โผฏฐพั พะ เกดิ ความรูขน้ึ ชอ่ื วารทู างกาย ถาผงเขา ตาคนอืน่ เขาวานเราไปดู เมือ่ เราไดเ หน็ ผงเกิดความรูข้ึน ช่อื วารทู างตา 79

พระธรรมเจดยี  : สาธุ ขาพเจาเขา ใจไดค วามในเรื่องนี้ชดั เจนดแี ลว แตขันธ 5 นัน้ ยังไมไ ด ความวา จะเกิดขนึ้ ที่ละอยางสองอยาง หรอื วา ตอ งเกดิ พรอ มกันทงั้ 5 ขนั ธ พระอาจารยมัน่ : ตองเกดิ ขนึ้ พรอมกันทั้ง 5 ขันธ พระธรรมเจดีย : ขันธ 5 ท่ีเกดิ พรอมกันนั้น มีลกั ษณะอยางไร ? และความดับไปมอี าการ อยางไร ? ขอใหช ี้ตวั อยา งใหข าวสกั หนอย พระอาจารยม ัน่ : เชนเวลาเรานึกถึงรูปคนหรือรูปสิ่งของอยางใดอยางหนึ่ง อาการที่นึก ขึน้ นัน้ เปน ลักษณะของสังขารขันธ รปู รา งหรอื สงิ่ ของเหลาน้ันมาปรากฎ ขึ้นในใจนี่เปนลักษณะของรูปสัญญา ความรูที่เกิดขึ้นในเวลานั้นนี่เปน ลักษณะของมโนวิญญาณ สุขหรอื ทกุ ขห รืออเุ บกขาทเี่ กดิ ขน้ึ ในคราวนน้ั น่เี ปนลกั ษณะของเวทนา มหาภตู รปู หรอื อุปาทายรปู ทป่ี รากฎอยูนั้น เปน ลักษณะของรปู อยา งน้เี รยี กวาความเกดิ ขน้ึ แหงขันธพ รอ มกนั ทง้ั 5 เมือ่ อาการ 5 อยางเหลานัน้ ดบั ไป เปน ความดับไปแหงขนั ธท ั้ง 5 พระธรรมเจดยี  : 80

สวนนามทงั้ 4 เกิดขึน้ และดบั ไปพอจะเหน็ ดวย แตท ว่ี า รปู ดบั ไปนน้ั ยงั ไม เขาใจ ? พระอาจารยม น่ั : สวนรูปนั้นมีความแปรปรวนอยูเสมอเชนของเกาเสื่อมไป ของใหมเกิด แทนแตทวาไมเ ห็นเองเพราะรปู สนั ตติ รปู ท่ตี ิดตอเน่อื งกันบงั เสยี จึงแลไม เห็น แตก็ลองนึกดูถึงรูปตั้งแตเกิดมาจนถึงวันนี้เปลี่ยนไปแลวสักเทาไร ถา รปู ไมดับก็คงไมมีเวลาแกแ ลเวลาตาย พระธรรมเจดีย : ถา เราสงั เกตขนั ธ 5 วาเวลาเกดิ ข้นึ แลดับไปน้ัน จะสังเกตอยา งไรจึงจะ เห็นได แลทวี่ า ขันธส ิ้นไปเส่อื มไปนัน้ มลี ักษณะอยางไร เพราะวาเกิดขึ้น แลวกด็ บั ไป แลวก็เกิดขนึ้ ไดอกี ดูเปน ของคงท่ไี มเ ห็นมคี วามเส่ือม พระอาจารยม น่ั : พดู กบั คนท่ีไมเคยเหน็ ความจรงิ นั้น ชา งนา ขันเสยี เหลือเกิน วธิ สี ังเกต ขนั ธ 5 นนั้ ก็ตอ งศกึ ษาใหรูจ ักอาการขันธตามความเปนจริง แลว ก็มีสติ สงบความคิดอื่นเสยี หมดแลว จนเปน อารมณอ ันเดียวทเี่ รียกวาสมาธิ ใน เวลานัน้ ความคดิ อะไรๆไมม แี ลว สว นรปู นนั้ หมายลมหายใจ สว นเวทนาก็ มแี ตป ตหิ รือสุข สว นสญั ญากเ็ ปน ธรรมสญั ญาอยา งเดียว สวนสงั ขาร เวลานั้นเปนสติกับสมาธิ หรือวิตกวิจารณอยู สวนวิญญาณก็เปนแต ความรูอยูใ นเร่ืองที่สงบนน้ั ในเวลานัน้ ขันธ 5 เขาไปรวมอยูเ ปนอารมณ เดียว ในเวลานัน้ ตอ งสังเกตอารมณปจจุบนั ทีป่ รากฎอยเู ปน ความเกดิ 81

ขึ้นแหงขันธ พออารมณปจจุบันนั้นดับไปเปนความดับไปแหงนามขันธ สวนรปู นัน้ เชน ลมหายใจออกมาแลว พอหายใจกลับเขาไป ลมหายใจ ออกน้นั กด็ ับไปแลว ครนั้ กลับมาหายใจออกอีก ลมหายใจเขากด็ ับไป แลว นี่แหละเปน ความดับไปแหงขนั ธท งั้ 5 แลวปรากฏขนึ้ มาอกี กเ็ ปน ความเกดิ ขนึ้ ทกุ ๆอามรมณแ ลขันธ 5 ที่เกดิ ขน้ึ ดบั ไป ไมใ ชด ับไปเปลา ๆ รปู ชวี ิตินทรยี ความเปน อยูของนามขนั ธท ัง้ 5 เม่ืออารมณด ับไปครงั้ หน่งึ ชีวิตแลอายขุ องขันธทงั้ 5 สิ้นไปหมดทุกๆ อารมณ พระธรรมเจดยี  : วิธีสังเกตอาการขนั ธที่สิ้นไปเสื่อมไปน้นั หมายเอาหรอื คดิ เอา ? พระอาจารยมั่น : หมายเอาก็เปน สญั ญา คดิ เอาก็เปนเจตนา เพราะฉะน้ันไมใ ชห มายไมใ ช คดิ ตอ งเขาไปเห็นความจริงท่ปี รากฎเฉพาะหนา จึงจะเปนปญญาได พระธรรมเจดีย : ถา เชนนน้ั จะดคู วามส้ินไปเสือ่ มไปของขนั ธท งั้ 5 มิตองตง้ั พธิ ที ำใจใหเปน สมาธิทกุ คราวไปหรอื ? พระอาจารยม ัน่ : ถา ยงั ไมเ คยเหน็ ความจริง กต็ องตงั้ พิธเี ชนนี้ร่ำไป ถา เคยเห็นความจริง เสียแลวก็ไมตองตั้งพิธีทำใจใหเปนสมาธิทุกคราวก็ได แตพอมีสติขึ้น ความจริงก็ปรากฎเพราะเคยเหน็ แลรจู ักความจริงเสยี แลว เม่อื มสี ตริ ตู ัว 82

ขน้ึ มาเวลาใด กเ็ ปนสมถวปิ ส สนากำกบั กันไปทกุ คราว พระธรรมเจดยี  : ทวี่ าชวี ิตแลอายขุ นั ธส ิ้นไปเสอ่ื มไปนั้นคอื ส้นิ ไปเสือ่ มไปอยา งไร ? พระอาจารยมั่น : เชน เราจะมีลมหายใจอยไู ดส ัก 100 หน ก็จะตาย ถาหายใจเสียหนหนงึ่ แลว กค็ งเหลอื อีก 99 หน หรือเราจะคิดจะนึกอะไรไดส กั 100 หน เมอ่ื คดิ นึกเสยี หนหนึ่งแลว คงเหลอื อีก 99 หน ถา เปนคนอายุยนื ก็หายใจอยู ไดมากหน หรือคิดนึกอะไรๆอยูไดมากหน ถาเปนคนอายุสั้น ก็มีลม หายใจและคดิ นึกอะไรๆอยูไ ดน อยหน ทส่ี ุดกห็ มดลงวันหนงึ่ เพราะจะ ตองตายเปนธรรมดา พระธรรมเจดยี  : ถา เราจะหมายจะคิดอยูในเร่อื งความจรงิ ของขันธอยางน้ี จะเปน ปญญา ไหม ? พระอาจารยม น่ั : ถาคิดเอาหมายเอา กเ็ ปนสมถะ ที่เรยี กวา มรณัสสติ เพราะปญ ญานั้น ไมใชเรื่องหมายหรือเรื่องคิด เปนเรื่องของความเห็นอารมณปจจุบันที่ ปรากฎเฉพาะหนา ราวกับตาเหน็ รปู จึงจะเปน ปญ ญา พระธรรมเจดยี  : 83

เม่ือจิตสงบแลว กค็ อยสังเกตดอู าการขันธทเ่ี ปน อารมณป จจบุ นั เพ่อื จะ ใหเหน็ ความจรงิ น่นั เปน เจตนาใชไหม ? พระอาจารยมนั่ : เวลาน้นั เปน เจตนาจริงอยู แตความจริงก็ยังไมป รากฎ เวลาที่ความจริง ปรากฎขน้ึ น้ันพน เจตนาทเี ดียว ไมเจตนาเลย เปนความเหน็ ท่ีเกิดข้ึนเปน พเิ ศษตอ จากจิตท่สี งบแลว พระธรรมเจดีย : จิตคูก ับเจตสกิ ใจคูก ับธัมมารมณ มโนธาตุคูกับธรรมธาตุ 3 คนู ี้เหมือน กันหรอื ตา งกัน ? พระอาจารยม่ัน : เหมือนกัน เพราะวาจิตกับมโนธาตุกับใจนั้นอยางเดียวกัน สวนใจนั้น เปนภาษาไทย ภาษาบาลีทานเรียกวามโน เจตสิกนั้นก็ไดแกเวทนา สญั ญา สงั ขาร ธมั มารมณน น้ั กค็ อื เวทนา สัญญา สงั ขาร ธรรมธาตนุ ้นั กค็ ือ เวทนา สัญญา สงั ขาร พระธรรมเจดยี  : ใจนัน้ ทำไมจึงไมใ ครป รากฎ เวลาท่ีสังเกตดกู เ็ ห็นแตเหลาธัมมารมณ คือ เวทนาบาง สญั ญาบาง สังขารบา ง มโนวิญญาณความรทู างใจบา ง เพราะเหตไุ ร ใจจึงไมปรากฏเหมือนเหลาธัมมารมณ กับมโนวญิ ญาณ ? 84

พระอาจารยม่ัน : ใจนน้ั เปนของละเอยี ด เหน็ ไดยาก พอพวกเจตสิกธรรมท่เี ปนเหลา ธัมมา รมณมากระทบเขากเ็ กิดมโนวิญญาณ ถูกผสมเปน มโนสัมผสั เสียทเี ดียว จึงแลไมเ หน็ มโนธาตไุ ด พระธรรมเจดยี  : อุเบกขาในจตตุ ถฌาณ เปนอทกุ ขมสขุ เวทนา ใชหรอื ไม ? พระอาจารยม น่ั : ไมใช อทกุ ขมสุขเวทนานน้ั เปน เจตสิกธรรม สว นอเุ บกขาในจตตุ ถฌาณ นน้ั เปน จิต พระธรรมเจดยี  : สงั โยชน 10 นัน้ คือ สักกายทฎิ ฐิ วิจกิ จิ ฉา สลี ัพตปรามาส กามราคะ พยาบาท รปู ราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวชิ ชา ที่แบง เปน สังโยชนเ บื้องต่ำ 5 เบ้ืองบน 5 นนั้ กส็ ว นสกั กายทิฎฐิทท่ี านแจกไว ตาม แบบขันธล ะ 4 รวม 5 ขันธ เปน 20 ทีว่ า ยอ มเห็นรูปโดยความเปนตัว ตนบาง ยอมเห็นตวั ตนวามรี ปู บา ง ยอ มเหน็ รปู ในตัวตนบาง ยอ มเหน็ ตวั ตนในรูปบา ง ยอ มเหน็ เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณโดยความเปนตัว ตนบา ง ยอมเหน็ ตัวตนวามี เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณบาง ยอ ม เห็น เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณในตวั ตนบา ง ยอ มเหน็ ตัวตนใน เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณบาง ถาฟง ดูทา นทลี่ ะสกั กายทฎิ ฐิไดแลว ดูไมเ ปนตัวเปนตน แตท ำไมพระโสดาบันกล็ ะสกั กายทิฎฐิไดแลว สังโยชน 85

ยงั อยูอีกถงึ 7 ขา พเจาฉงนนัก ? พระอาจารยมนั่ : สกั กายทฎิ ฐิ ทท่ี านแปลไวต ามแบบ ใครๆ ฟงก็ไมใครเขาั ใจ เพราะทา น แตก อน ทา นพูดภาษามคธกัน ทา นเขาใจไดค วามกันดี สว นเราเปนไทย ถึงแปลแลวก็จะไมเขา ใจของทา น จึงลงความเห็นวาไมเปนตวั เปนตนเสีย ดูออกจะแรงมากไป ควรจะนึกถึงพระโกณฑญั ญะ ในธัมมจกั รทานไดเ ปน โสดาบนั กอ นคนอน่ื ทา ไดความเห็นวา ยงกฺ ิฺจิ สมทุ ยธมมฺ ํ สพพฺ นฺตํ นิ โรธธมฺมํ สง่ิ ใดส่งิ หนง่ึ มคี วามเกิดขึน้ เปนธรรมดา ส่ิงนั้นลว นมคี วามดับ เปนธรรมดา และพระสารีบุตรพบพระอสั สชิ ไดฟง อริยสัจยอ วา เย ธมฺ มา เหตุปปฺ ภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสฺจ โย นโิ รโธ จ เอววํ าที มหา สมโณ \"ธรรมเหลา ใดเกิดแตเ หตุ พระตถาคตเจาทรงแสดงเหตุของธรรม เหลานน้ั และความดบั ของธรรมเหลานนั้ พระมหาสมณะมีปกตกิ ลา ว อยางน\"้ี ทา นกไ็ ดด วงตาเหน็ ธรรม ละสักกายทิฎฐไิ ด พระธรรมเจดยี  : ถา เชน นั้นทา นก็เหน็ ความจริงของปญ จขันธ ถายความเห็นผดิ คอื ทิฎฐิ วปิ ลาสเสียได สวนสลี พั พัตกับวิจิกิจฉา 2 อยา งน้ัน ทำไมจึงหมดไป ดว ย ? พระอาจารยม่ัน : สักกายทิฎฐินน้ั เปน เรอ่ื งของความเหน็ ผิด ถึงสลี พั พตั ก็เก่ยี วกับความ เหน็ วา สิง่ ทศี่ ักดส์ิ ิทธิต์ า งๆทมี่ อี ยใู นโลกจะใหด ใี หช ่วั ได วิจิกจิ ฉานัน้ เมอ่ื ผู 86

ทีย่ ังไมเ คยเห็นความจริง ก็ตองสงสัยเปน ธรรมดา เพราะฉะนน้ั ทา นท่ีได ดวงตาเห็นธรรม คือ เหน็ ความจริงของสังขารทง้ั ปวง สวนสีลพั พตั นัน้ เพราะความเห็นของทานตรงแลวจึงเปนอจลสัทธา ไมเห็นไปวาสิ่งอื่น นอกจากรรมที่เปน กุศลและอกุศล จะใหดใี หชัว่ ได จึงเปนอนั ละสีลัพพตั อยเู อง เพราะสังโยชน 3 เปนกิเลสประเภทเดียวกนั พระธรรมเจดยี  : ถา ตอบสงั โยชน 3 อยา งนีแ้ ลว มขิ ัดกันกับสักกายทิฎฐิตามแบบที่วา ไม เปน ตัวเปนตนหรือ ? พระอาจารยม ัน่ : คำท่ีวา ไมเ ปนตวั เปน ตนนัน้ เปน เรื่องท่เี ขาใจเอาเองตา งหาก เชน กับ พระโกณฑญั ญะเมอื่ ฟงธรรมจักร ทา นก็ละสกั กายทิฎฐไิ ดแลว ทำไมจงึ ตอ งฟง อนัตตลกั ขณะสตู รอีกเลา นกี่ ส็ อใหเ ห็นไดว า ทา นผูทล่ี ะสกั กาย ทฎิ ฐิไดน ัน้ คงไมใชเ ห็นวา ไมเ ปน ตวั เปนตน พระธรรมเจดยี  : ถาเชนนน้ั ทีว่ า เหน็ อนตั ตา กค็ ือเห็นวาไมใ ชต ัวไมใชตนอยา งนน้ั หรือ ? พระอาจารยมนั่ : อนตั ตาในอนตั ตะลักขณะสูตร ทพ่ี ระพุทธเจาทรงซกั พระปญจวคั คีย มี เนือ้ ความวาขนั ธ 5 ไมเ ปน ไปในอำนาจ สิ่งทไี่ มเปน ไปในอำนาจบังคับไม ได จงึ ชื่อวาเปนอนัตตา ถาขนั ธ 5 เปนอัตตาแลวกค็ งจะบังคับได เพราะ 87

ฉะนนั้ เราจงึ ควรเอาความวาขนั ธ 5 ทีไ่ มอยใู นอำนาจ จงึ เปน อนตั ตา เพราะเหตทุ บ่ี ังคบั ไมไ ด ถา ขนั ธ 5 เปนอตั ตาตัวตนก็คงจะบงั คับได พระธรรมเจดีย : ถาเชนนนั้ เหน็ อยา งไรเลา จงึ เปน สักกายทฎิ ฐิ ? พระอาจารยม ่นั : ตามความเหน็ ของขาพเจา วา ไมร จู ักขนั ธ 5 ตามความเปนจรงิ เห็น ปญ จขนั ธวา เปน ตน และเท่ยี งสุข เปน ตวั ตนแกน สาร และเลยเหน็ ไปวา เปน สุภะความงามดวย ที่เรียกวา ทฎิ ฐิวปิ ลาส น่ีแหละเปนสักกายทฎิ ฐิ เพราะฉะนนั้ จึงเปน คูปรับกับ ยงฺกิ ฺจิ สมทุ ยธมมฺ ํ สพพฺ นตฺ ํ นโิ รธธมฺมํ ซ่ึงเปน ความเหน็ ถกู ความเหน็ ชอบ จึงถา ยความเห็นผดิ เหลานั้นได พระธรรมเจดีย : ถา เชนน้นั ทานที่ละสักกายทฎิ ฐิไดแลว อนจิ ฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา จะเปน อัธยาศัยไดไ หม ? พระอาจารยม่ัน : ถาฟง ดูตามแบบทา นเหน็ ยงกฺ ิฺจิ สมุทยธมมฺ ํ สพฺพนตฺ ํ นิโรธธมฺมํ ชดั เจน อนิจจฺ ํ คงเปนอัธยาศัย สว นทกุ ขํ กับอนตตฺ า ถงึ จะเห็นกไ็ มเปน อัธยาศัย เขาใจวาถาเห็นปญจขันธ เปนทุกขมากเขา กามราคะ พยาบาทก็คงนอย ถาเห็นปญจขันธเปนอนัตตามากเขา กามราคะ พยาบาทกค็ งหมด ถา เหน็ วา สพฺเพ ธมฺมา อนตตฺ า ชัดเจนเขา สงั โยชน 88

เบ้ืองบนกค็ งหมด นี่เปน สว นความเขา ใจ แตตามแบบทานก็ไมไดอธบิ าย ไว พระธรรมเจดีย : ที่วาพระสกิทาคามี ทำการราคะพยาบาทใหนอยนั้น ดูมัวไมชัดเจน เพราะไมทราบวานอยแคไหน ไมแตกหักเหมือนพระโสดาบัน พระ อนาคามแี ละพระอรหนั ต ? พระอาจารยมั่น : แตกหกั หรอื ไมแ ตกหกั กใ็ ครจะไปรูข องทาน เพราะวาเปน ของเฉพาะตวั พระธรรมเจดยี  : ถาจะสันนิษฐานไปตามแนวพระปริยัติก็จะชี้ตัวอยางใหเขาใจบางหรือ ไม ? พระอาจารยมน่ั : การสนั นษิ ฐานนนั้ เปน ของไมแ น ไมเ หมือนอยา งไดรเู องเหน็ เอง พระธรรมเจดีย : แนหรือไมแนก ็เอาเถิด ขาพเจา อยากฟง ? พระอาจารยม ั่น : ถา เชน นนั้ ขาพเจาเห็นวาทานที่ไดเปน โสดาบนั เสร็จแลว มีอัธยาศยั ใจคอ 89

ซึ่งตางกับปุถุชน ทานไดละกามราคะพยาบาทสวนหยาบถึงกับลวง ทจุ รติ ซงึ่ เปน ฝายอบายคามไี ด คงเหลือแตอ ยางกลาง อยา งละเอียดอกี 2 สว น ภายหลงั ทานเจริญสมถวิปส สนามากข้ึน กล็ ะกามราคะปฏิฆะ สังโยชนอยา งกลางไดอ ีกสว นหน่งึ ขาพเจาเห็นวา นแ่ี หละเปน มรรคท่ี 2 ตอมาทานประพฤติปฏิบัติละเอียดเขา ก็ละกามราคะพยาบาทที่เปน อยา งละเอยี ดไดขาด ชอ่ื วา พระอนาคามี พระธรรมเจดีย : กามราคะพยาบาทอยา งหยาบถงึ กับลว งทุจริต หมายทจุ รติ อยา งไหน ? พระอาจารยมน่ั : หมายเอาอกศุ ลกรรมบถ 10 วาเปน ทจุ ริตอยา งหยาบ พระธรรมเจดีย : ถา เชนนั้นพระโสดาบันทา นกล็ ะอกศุ ลกรรมบถ 10 ได เปนสมุจเฉท หรือ ? พระอาจารยม่นั : ตามความเห็นของขา พเจา เห็นวา กายทจุ ริต 3 คอื ปาณา อทนิ นา กาเมสมุ จิ ฉาจาร มโนทจุ รติ 3 อภชิ ฌา พยาบาท มิจฉาทฎิ ฐินีล้ ะขาดได เปน สมจุ เฉท สว นวจกี รรมที่ 4 คือ มุสาวาทกล็ ะไดข าด สว นวจกี รรมอีก 3 ตวั คอื ปส ุณาวาจา ผรุสวาจา สมั ผัปปลาป ละไดแตส ว นหยาบที่ ปุถชุ นกลาวอยู แตสว นละเอยี ดยงั ละไมไ ดต อ งอาศยั สงั วรความระวังไว 90

พระธรรมเจดยี  : ท่ีตองสำรวมวจีกรรม 3 เพราะเหตุอะไร ทำไมจึงไมข าดอยา งมสุ าวาท ? พระอาจารยม ัน่ : เปน ดว ยกามราคะ กับปฏิฆะ สงั โยชนท งั้ 2 ยงั ละไมไ ด พระธรรมเจดยี  : วจีกรรม 3 มาเก่ียวอะไรกับสงั โยชนท ั้ง 2 ดวยเลา ? พระอาจารยมัน่ : บางคาบบางสมยั เปนตนวา มเี รื่องท่จี ำเปนเกดิ ขน้ึ ในคนรกั ของทา นกับ คนอีกคนหนง่ึ ซง่ึ เขาทำความไมด อี ยางใดอยางหน่ึง จำเปนท่จี ะตอ งพูด ครั้นพูดไปแลวเปนเหตุใหเขาหางจากคนนั้น จึงตองระวัง สวนปสุณา วาจา บางคราวความโกรธเกดิ ขนึ้ ทสี่ ุดจะพดู ออกไป ดวยกำลงั ใจที่โกรธ วา พอมหาจำเริญแมม หาจำเริญ ทีเ่ รียกวา ประชดทาน ก็สงเคราะหเขา ใจ ผรสุ วาจา เพราะเหตนุ ั้นจงึ ตองสำรวม สวนสมั ผปั ปลาปนั้น ดิรจั ฉาน กถาตา งๆมมี าก ถาสมัยทเี่ ผลอสติมคี นมาพูด กอ็ าจจะพลอยพูดไปดวย ได เพราะเหตุน้ันจงึ ตอ งสำรวม พระธรรมเจดยี  : ออพระโสดาบันยังมเี วลาเผลอสติอยูหรอื ? 91

พระอาจารยม ัน่ : ทำไมทาจะไมเผลอ สงั โยชนยงั อยูอีกถึง 7 ทา นไมใชพ ระอรหันตจ ะได บรบิ รู ณด ว ยสติ พระธรรมเจดยี  : กามราคะ พยาบาท อยา งกลางหมายความเอาแคไหน เมือ่ เกดิ ขน้ึ จะได รู ? พระอาจารยมน่ั : ความรกั แลความโกรธที่ปรากฎขึ้น มเี วลาส้ันหายเรว็ ไมถึงกับลว งทจุ รติ นี่แหละเปนอยา งกลาง พระธรรมเจดีย : ก็กามราคะ พยาบาท อยางละเอียดนั้นหมายเอาแคไ หน แลเรยี กวา พยาบาทดหู ยาบมาก เพราะเปน ชอ่ื ของอกศุ ล ? พระอาจารยม ัน่ : บางแหงทา นกเ็ รยี กวา ปฏฆิ ะสงั โยชนกม็ ี แตความเหน็ ของขา พเจา วา ไม ควรเรยี กพยาบาท ควรจะเรยี กปฏิฆะสงั โยชนด เู หมาะดี พระธรรมเจดยี  : ก็ปฏฆิ ะกบั กามราคะทอ่ี ยา งละเอยี ดนัน้ จะไดแ กอาการของจติ เชนใด ? 92

พระอาจารยม่นั : ความกำหนัดที่อยางละเอียด พอปรากฎขึ้นไมทันคิดออกไปก็หายทันที สวนปฏิฆะนัน้ เชนคนที่มสี าเหตุโกรธกันมาแตก อ น ครน้ั นานมาความ โกรธน้ันกห็ ายไปแลว และไมไดนึกถงึ เสยี เลย ครน้ั ไปในท่ปี ระชมุ แหงใด แหง หนง่ึ ไปพบคนนั้นเขามอี าการสะดดุ ใจ ไมสนทิ สนมหรือเกอเขิน ผดิ กับคนธรรมดา ซึง่ ไมเ คยมสี าเหตกุ ัน ขา พเจาเหน็ วาอาการเหลา นีเ้ ปน อยางละเอียด ควรจะเรียกปฏิฆะสังโยชนได แตตามแบบทานก็ไมได อธิบายไว พระธรรมเจดีย : สังโยชนท ง้ั 2 น้ี เหน็ จะเกดิ จากคนโดยตรง ไมใชเกดิ จากสงิ่ ของทรัพย สมบตั อิ ืน่ ๆ ? พระอาจารยม น่ั : ถกู แลว เชนวิสาขะอบุ าสกเปนพระอนาคามี ไดย ินวาหลีกจากนางธัมม ทินนา ไมไดห ลีกจากส่ิงของทรพั ยสมบตั สิ ว นอ่นื ๆ สวนความโกรธหรือ ปฏิฆะที่เกิดขึ้น ก็เปนเรื่องของคนทั้งนั้น ถึงแมจะเปนเรื่องสิ่งของก็ เกีย่ วขอ งกบั คน ตกลงโกรธคนน่นั เอง พระธรรมเจดีย : สวนสังโยชนเบื้องต่ำนั้น ก็ไดรับความอธิบายมามากแลว แตสวน สงั โยชนเบอ้ื งบน 5 ตามแบบอธบิ ายไววา รปู ราคะ คอื ยนิ ดีในรปู ฌาณ อรปู ราคะยินดใี นอรูปฌาณ ถา เชนน้นั คนที่ไมไดบรรลฌุ าณสมาบัติ 8 93

สงั โยชนท้งั สองกไ็ มม ีโอกาสจะเกดิ ได เม่ือเปน เชน น้ีสงั โยชนส องอยา งนี้ ไมมหี รือ ? พระอาจารยมัน่ : มี ไมเกิดในฌาณ ก็ไปเกิดในเรอ่ื งอ่นื พระธรรมเจดยี  : เกดิ ในเร่ืองไหนบา ง ขอทา นจงอธิบายใหขา พเจา เขาใจ ? พระอาจารยม นั่ : ความยนิ ดใี นรปู ขันธ หรอื ความยินดใี นรูป เสยี ง กลนิ่ รส โผฎฐัพพะ นน้ั ชือ่ วารปู ราคะ ความยนิ ดีในเวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ หรอื ยินดี ในสมถวิปส สนา หรือยินดใี นสวนมรรคผล ทีไ่ ดบ รรลเุ สขคณุ แลว เหลา น้ี ก็เปน อรปู ราคะได พระธรรมเจดีย : ก็ความยนิ ดใี นกาม 5 พระอนาคามีละไดแลว ไมใ ชห รอื ทำไมจึงมาเก่ียว กับสังโยชนเบอ้ื งบนอีกเลา ? พระอาจารยมั่น : กามมี 2 ชน้ั ไมใ ชช้นั เดียว ทีพ่ ระอนาคามลี ะไดน ั้น เปนสว นกำหนัดใน เมถุน ซงึ่ เปน คกู ับพยาบาท สว นความยนิ ดีในรูป เสยี ง กลนิ่ รส โผฎฐัพ พะ ทีไ่ มไดเ กย่ี วกบั เมถุน จึงเปนสังโยชนเ บ้ืองบน คอื รูปราคะ สวนความ 94

ยนิ ดีในนามขันธท ัง้ 4 หรอื สมถวปิ สสนาหรอื มรรคผลชั้นตน ๆ เหลา นี้ ชื่อวาอรูปราคะ ซึ่งตรงกับความยินดีในธัมมารมณ เพราะฉะนั้นพระ อรหนั ตท ั้งหลายเบื่อหนายในรูปขันธ หรอื รปู เสียง กล่ิน รส โผฎฐพั พะ เปนภายนอก จึงไดสน้ิ ไปแหง รูปราคะสังโยชน และทา นเบื่อในเวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ และสมถหรือวิปสสนาะทอี่ าศยั ขันธ เกดิ ขนึ้ เมื่อทานสิ้นความยินดีในนามขันธแลว แมธรรมทั้งหลายอาศัยขันธเกิด ขึ้นทานก็ไมยินดี ไดชื่อวาละความยินดีในธัมมารมณซึ่งคูกับความ ยินรา ย เพราะความยินดยี นิ รา ยในนามรูปหมดแลว ทา นจึงเปน ผพู น แลว จากความยินดยี ินรายในอารมณ 6 จึงถึงพรอมดว ยคณุ คือ ฉะลัง คเุ บกขา พระธรรมเจดีย : แปลกมากยังไมเ คยไดยินใครอธิบายอยา งนี้ สวนมานะสังโยชนน้ัน มี อาการอยา งไร ? พระอาจารยมั่น : มานะสังโยชนนน้ั มีอาการใหวดั เชนกับนึกถึงตวั ของตวั ก็รสู ึกวา เปนเรา สว นคนอน่ื ก็เห็นวา เปน เขา แลเหน็ วา เราเสมอกบั เขา หรือเราสงู กวาเขา หรือเราตำ่ กวา เขา อาการทีว่ ดั ชนดิ นีแ้ หละเปน มานะสงั โยชน ซ่ึงเปนคู ปรบั กบั อนัตตา หรอื สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ า พระธรรมเจดีย : ก็อุทธัจจสังโยชนนั้นมีลักษณะอยางไร เชน พระอนาคามีละสังโยชน 95

เบอ้ื งตำ่ ไดหมดแลว สวนอุทธัจจสงั โยชนจะฟงุ ไปทางไหน ? พระอาจารยมนั่ : ตามแบบทานอธิบายไวว า ฟงุ ไปในธรรม เพราะทานยังไมเ สร็จกจิ จึงได ฝกใฝอ ยูใ นธรรม พระธรรมเจดยี  : อวชิ ชาสังโยชนน้นั ไมรูอะไร ? พระอาจารยม่นั : ตามแบบทา นอธบิ ายไวว า ไมร ูขนั ธทีเ่ ปน อดตี 1 อนาคต 1 ปจ จุบนั 1 อริยสจั 4 ปฏจิ จสมปุ าท 1 ความไมร ูใ นท่ี 8 อยา งน้ีแหละชอื่ วาอวิชชา พระธรรมเจดยี  : พระเสขบคุ คลทา นก็รูอ ริยสัจ 4 ดว ยกันทงั้ นนั้ ทำไมอวิชชาสงั โยชนจึง ยงั อยู ? พระอาจารยมัน่ : อวิชชามหี ลายชน้ั เพราะฉะนนั้ วิชชาก็หลายช้ัน สว นพระเสขบคุ คล มรรคแลผลชัน้ ใดทท่ี า นไดบรรลแุ ลว ทา นกร็ เู ปน วิชชาขึน้ ชั้นใดยังไมร ู ก็ยังเปนอวิชชาอยู เพราะฉะน้ันจงึ หมดในข้นั ท่ีสดุ คือพระอรหนั ต พระธรรมเจดีย : 96

พระเสขบุคคลทา นเหน็ อริยสจั แตละตัณหาไมไ ด มไิ มไ ดทำกจิ ในอริยสัจ หรอื ? พระอาจารยม ัน่ : ทานกท็ ำทุกช้นั นั้นแหละ แตก็ทำตามกำลงั พระธรรมเจดยี  : ทว่ี า ทำตามชัน้ นนั้ ทำอยา งไร ? พระอาจารยม น่ั : เชน พระโสดาบันไดเ หน็ ปญ จขนั ธเกดิ ขึ้นดบั ไป กช็ ือ่ วาไดกำหนดรูท ุกข และไดละสังโยชน 3 หรอื ทจุ รติ สวนหยาบๆ กเ็ ปนอนั ละสมทุ ยั ความท่ี สงั โยชน 3 สนิ้ ไปเปน สว นนิโรธตามชั้นของทาน สว นมรรคทา นกไ็ ด เจริญมีกำลงั พอละสังโยชน 3 ได แลทานปด อบายได ชอ่ื วาทานทำภพ คือทุคติใหห มดไปท่ตี ามแบบเรียกวา ขีณนิรโย มนี รกสิ้นแลว สว นพระ สกทิ าคามี กไ็ ดกำหนดทกุ ข คือ ปญจขนั ธแลวละกามราคะ พยาบาท อยา งกลาง ไดช ื่อวา ละสมุทยั ขอที่ กามราคะ พยาบาท อยา งกลางหมด ไป จึงเปน นโิ รธของทา น สวนมรรคน้ันก็เจริญมาไดเ พียงละกามราคะ พยาบาทอยางกลางนี่แหละ จึงไดทำภพชาติใหนอยลง สวนพระ อนาคามที ุกขไ ดกำหนดแลว ละกามราคะพยาบาทสว นละเอยี ดหมด ได ชื่อวาละสมุทัยกามราคะพยาบาทอยางละเอียดนี่หมดไปจึงเปนนิโรธ ของทา น สว นมรรคน้ันกเ็ จริญมาเพยี งละสงั โยชน 5 ไดหมด แลไดส ิน้ ภพ คอื กามธาตุ 97

พระธรรมเจดยี  : ศลี สมาธิ ปญญา ท่ีเปน โลกยี กับโลกุตตรน้นั ตางกนั อยางไร ? พระอาจารยมั่น : ศีล สมาธิ ปญ ญา ของผปู ฏบิ ตั ใิ นภมู ิกามาพจร รูปาพจร อรูปาพจร น่ี แหละเปน โลกยี ท ี่เรียกวาวฏั ฏคามีกศุ ล เปนกุศลทว่ี นอยูใ นโลก สวนศีล สมาธิ ปญ ญา ของทานผูปฏบิ ัติต้ังแตโสดาบันแลวไป เรยี กวา วิวัฎฎคามี กุศล เปน เครอื่ งขามข้นึ จากโลก น่แี หละเปน โลกตุ ตร พระธรรมเจดีย : ทานท่บี รรลฌุ าณถึงอรปู สมาบัตแิ ลว ก็ยังเปนโลกยี อยู ถา เชนน้ันเราจะ ปฏิบัตใิ หเ ปน โลกุตตรกเ็ ห็นจะเหลอื วิสัย ? พระอาจารยมนั่ : ไมเ หลอื วิสัย พระพทุ ธเจาทานจึงทรงแสดงธรรมสง่ั สอน ถา เหลือวิสยั พระองคก ค็ งไมทรงแสดง พระธรรมเจดยี  : ถาเราไมไดบรรลุฌาณชั้นสูงๆจะเจริญปญญาเพื่อใหถึงซึ่งมรรคแลผลจะ ไดไ หม ? พระอาจารยม ั่น : ไดเพราะวธิ ที ี่เจรญิ ปญญาก็ตอ งอาศยั สมาธิจริงอยู แตไมตองถามถงึ กบั 98

ฌาณ อาศยั สงบจติ ท่พี น นวิ รณ กพ็ อเปนบาทของวปิ สสนาได พระธรรมเจดยี  : ความสงัดจากกามจากอกุศลของผทู ี่บรรลฌุ าณโลกีย กับความสงัดจาก กาม จากอกศุ ลของพระอนาคามีตางกนั อยา งไร ? พระอาจารยม ัน่ : ตางกนั มาก ตรงกันขามทเี ดยี ว พระธรรมเจดีย : ทำไจึงไดตา งกันถึงกบั ตรงกนั ขามทเี ดยี ว ? พระอาจารยม น่ั : ฌาณที่เปน โลกีย ตอ งอาศัยความเพยี ร มสี ตคิ อยระวงั ละอกุศล และ ความเจริญกุศลใหเกดิ ข้นึ มฌี าณเปนตน และยงั ตอ งทำกจิ ทคี่ อยรักษา ฌาณนั้นไวไมใหเสื่อม ถึงแมวาจะเปนอรูปฌาณที่วาไมเสื่อมในชาตินี้ ชาติหนาตอๆไปก็อาจจะเส่อื มได เพราะเปนกปุ ปธรรม พระธรรมเจดยี  : ถาเชนนั้น สวนความสงัดจากกามจากอกุศลของพระอนาคามีทานไมมี เวลาเสื่อมหรือ ? พระอาจารยม ั่น : 99

พระอนาคามี ทา นละกามราคะสังโยชนกบั ปฏคิ ะสังโยชนไ ดข าด เพราะ ฉะนั้นความสงัดจากการจากอกุศลของทานเปนอัธยาศัย ที่เปนเองอยู เสมอโดยไมตองอาศัยความเพียรเหมือนอยางฌาณที่เปนโลกีย สวน วิจิกิจฉาสังโยชนนั้นหมดมาตั้งแตเปนโสดาบันแลว เพราะฉะนั้นอุทธัจ จนิวรณที่ฟุงไปหากามและพยาบาทก็ไมมี ถึงถีนะมิทธนิวรณก็ไมมี เพราะเหตุนั้นความสงัดจากกามจากอกุศลของทานจึงไมเสื่อม เพราะ เปนเองไมใ ชท ำเอาเหมือนอยางฌาณโลกีย พระธรรมเจดยี  : ถา เชนน้ันผทู ไี่ ดบ รรลพุ ระอนาคามี ความสงัดจากกามจากอกศุ ล ทเ่ี ปน เองมิไมม ีหรือ ? พระอาจารยม ่ัน : ถานกึ ถึงพระสกทิ าคามี ท่วี า ทำสังโยชนทง้ั สองใหน อ ยเบาบาง นาจะมี ความสงดั จากการจากอกุศลทเ่ี ปน เองอยบู าง แตกค็ งจะออน พระธรรมเจดีย : ท่วี า พระอนาคามมี านเปน สมาธิบรปิ ูริการี บรบิ รู ณด ว ยสมาธิ เหน็ จะ เปนอยา งนเี้ อง ? พระอาจารยม ัน่ : ไมใ ชเปนสมาธิ เพราะวา สมาธนิ น้ั เปน มรรคตอ งอาศัยเจตนา เปน สว น ภาเวตัพพธรรมสวนของพระอนาคามีทานเปนเอง ไมมีเจตนาเปนสัจฉิ 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook