Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore O4 แผนพัฒนาสถานศึกษา ๒๕๖๓-๒๕๖๖

O4 แผนพัฒนาสถานศึกษา ๒๕๖๓-๒๕๖๖

Published by 1094300249 บ้านบางราพา, 2020-08-30 22:19:35

Description: O4 แผนพัฒนาสถานศึกษา ๒๕๖๓-๒๕๖๖

Search

Read the Text Version

คำนำ โรงเรียนบ้านบางราพา ได้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2563 – 2566 เพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นกรอบและแนวทางในการดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการศึกษาใน ระยะ 4 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2563 – 2566 โดยกระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหน่วยงาน คือ การ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก เพื่อหาโอกาสอุปสรรคและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน เพ่ือทราบ จุดอ่อน จุดแข็ง มาประเมินสถานภาพของโรงเรียน กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ประเด็นกลยุทธ์ และกลยทุ ธ์ จากความร่วมมอื ของทุกภาคส่วนทเี่ กยี่ วข้องกับการจดั การศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านบางราพา พ.ศ.2563 – 2566 ฉบับนี้ ประกอบด้วยข้อมูลพ้ืนฐาน ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของโรงเรียน สรุปผลการประเมินสถานภาพของ หน่วยงาน ทิศทางการจัดการศึกษา กลยุทธ์การพัฒนาการศึกษา โครงการ/กิจกรรมท่ีสนองกลยุทธ์ เป้าประสงคใ์ นระยะ 4 ปี และการบรหิ ารสู่การปฏบิ ัติ โดยพฒั นาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรียนบ้านบางราพา พ.ศ.2563 – 2566 ได้ผ่านความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในคราวการประชมุ คร้ังท่ี 2 วันท่ี 25 กรกฎาคม พ.ศ.25๖๓ เรียบร้อยแล้ว หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนบ้านบางราพา พ.ศ.2563 – 2566 จะเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการบริหารจัดการศึกษาให้มีความ ชดั เจน นานโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ไิ ดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมเกิดประโยชน์สงู สดุ ต่อการจดั การศกึ ษาต่อไป ในนามโรงเรียนบ้านบางราพาขอขอบคุณคณะครู บุคลากร คณะทางาน และผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย ที่ให้ความร่วมมือจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรียนบ้านบางราพา พ.ศ.2563 – 2566 จนสาเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี

สำรบญั 1 1 คำนำ ๔ บทท่ี 1 สภำพทวั่ ไป ๕ 5  ข้อมลู ทวั่ ไป ๗  ข้อมลู บุคลากรของสถานศกึ ษา ๘  ข้อมูลนักเรียน ๑๒  ขอ้ มูลการใชแ้ หล่งเรยี นร้ภู ายในและภายนอกโรงเรยี น ๑๖  ข้อมลู งบประมาณ ๒๕  ขอ้ มูลผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ๒๕  ผลการดาเนนิ งานในรอบปที ผ่ี ่านมา ๒๖  ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ๒๘ ๒๙ บทท่ี 2 กำรศกึ ษำสถำนภำพของโรงเรยี นบ้ำนบำงรำพำ ๓๑  ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก ๓๔  ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ๔๐  กราฟแสดงสถานภาพของหนว่ ยงาน บทท่ี 3 ทิศทำงกำรจดั กำรศกึ ษำ บทที่ 4 กลยุทธก์ ำรพัฒนำกำรศกึ ษำ ระยะ 4 ปี บทที่ 5 โครงกำร/งบประมำณ บทที่ 6 กำรบริหำรส่กู ำรปฏิบัติ ภำคผนวก คาสงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการดาเนนิ งาน

๑ บทที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไปของสถานศึกษา ๑. ข้อมูลทั่วไป ข้อมลู สถำนศกึ ษำ ช่ือสถานศึกษาโรงเรียนบ้านบางราพา ที่อยู่หมู่ท่ี ๕ ตาบลท่ากาชา อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ร หั ส ไป ร ษณีย์ ๙ ๔ ๑ ๗ ๐ โ ทร ศัพท์. . . . - . . . . . . . โ ทร ส าร . . . . . . . - . . . . . e-mail: [email protected] สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต ๑ เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลถึงระดับช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ ๖ มีเขตพื้นทบี่ ริการ ๑ หมูบ่ า้ น ไดแ้ ก่ หมู่ท่ี ๕ บา้ นบางราพา ตาบลท่ากาชา อาเภอ หนองจกิ จงั หวัดปตั ตานี ข้อมลู ด้ำนกำรบรหิ ำร ผู้บริหารสถานศึกษาชื่อ นางสาวปวีณ์กร คลังข้อง วุฒิการศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหาร การศึกษาดารงตาแหน่งนี้ทโ่ี รงเรยี นบ้านบางราพาตง้ั แต่ วันท่ี ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ๔ ปี ประวตั ิโรงเรียน โรงเรียนบ้านบางราพา ปัจจุบันตั้งอยู่ หมู่ท่ี ๕ ตาบลท่ากาชา อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี มี ประวตั เิ ร่มิ กอ่ ต้ังเมอ่ื วันท่ี ๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๘๐ โดยขุนชานาญภาษา นายอาเภอหนองจกิ และหมน่ื ตรวจวิถี พาล หัวหน้าสถานีตารวจภูธรอาเภอหนองจิกในขณะน้ัน ได้ร่วมกับกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และราษฎรบ้านบางรา พาสละทรัพย์และแรงงานก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราวขึ้นในบริเวณท่ีสาธารณะของหมู่บ้านเปิดทาการสอน ตามหลกั สตู รประถมศึกษาเรื่อยมาโดยไม่ปรากฏหลักฐานการจัดช้ันเรยี น การดารงตาแหน่งครูใหญ่ ครูผู้สอน และลูกจ้าง จนถึงวันท่ี ๑ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๐ มีนายจ้วน เรืองถนอม เป็นครูใหญ่และทาการเรียน การสอนตงั้ แต่ ชน้ั ป.๑ – ป.๔ ทุกช้นั วชิ า วันท่ี ๑ กันยายน ๒๕๑๑ นางก่ิมกี่ ทวีกาญจน์ ราษฎรบ้านบางราพาได้บริจาคท่ีดินเพ่ือทา การก่อสร้างอาคารเรยี นถาวรในปจั จบุ ันจานวน ๑ ไร่ ๔๘ ตารางวาคิดเปน็ เงนิ ๒,๐๐๐ บาท มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทศิ เหนอื จดทีด่ นิ ของนางกิม่ ก่ี ทวีกาญจน์ ทศิ ใต้ จดลาคลองสาธารณะ ทิศตะวันออก จดแนวถนนสาธารณะ ทิศตะวันตก จดลาคลองสาธารณะ

๒ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๑๑ โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ ป.๑ก พิเศษ ขนาด ๒ ห้องเรยี น เป็นเงนิ ๕๐,๐๐๐ บาท วันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๑๖ โรงเรยี นไดร้ ับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ ป.๑ก ตึกครึ่งไม้ ขนาด ๒ หอ้ งเรียน เปน็ เงนิ ๘๐,๐๐๐ บาท วันท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๒๔ โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ ป.๑ ก ตึก ขนาด ๒หอ้ งเรยี น เปน็ เงนิ ๑๕๐,๐๐๐ บาท วันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๒๖ นางก่ิมกี่ ทวีกาญจน์ ได้บริจาคท่ีดินทางทิศเหนือติดบริเวณ โรงเรียนเพ่มิ อกี จานวน ๑ ไร่ ๒ งาน ๒๕ ตารางวา รวมที่ดินท้งั หมดจานวน ๒ ไร่ ๒ งาน ๗๓ ตารางวา วันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๒๗ ได้งบประมาณก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์แบบ สปช ๒๐๒/๒๖ จานวน ๑ หลงั เปน็ เงิน ๒๘๐,๐๐๐ บาทวนั ที่ ๑๙ กมุ ภาพนธ์ ไดง้ บประมาณก่อสร้างถงั น้าซีเมนตแ์ บบ ฝ. ๓๐ พเิ ศษ จานวน ๑ ท่ี เป็นเงิน ๖๕,๐๐๐ บาทวันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๓๔ ได้งบประมาณก่อสร้างอาคารแบบ สปช. ๑๐๓/๒๖ ขนาด ๔ ห้องเรยี น เปน็ เงิน ๖๖๐,๐๐๐ บาท วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๓๔ ได้รับอนุมัติรื้อถอนอาคารเรียนแบบ ป.1ก พิเศษ ขนาด ๒ หอ้ งเรียน ซึ่งชารุดเนอื่ งจากใชง้ านนาน ได้รบั วสั ดทุ ีย่ ังใชไ้ ด้ก่อสรา้ งโรงอาหารและสหกรณ์ร้านคา้ โรงเรียน วันท่ี ๒๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ ได้งบประมาณก่อสร้างถังซีเมนต์แบบ ฝ. ๓๐ พิเศษ จานวน ๑ ท่ี เป็นเงิน ๗๐,๐๐๐ บาท วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๓๗ ได้รับงบประมาณปรับปรุงบรเิ วณสนามโรงเรียนเน่ืองจากประสบ ภัยธรรมชาติ ( น้าทว่ ม ) โดยการถมดิน เปน็ เงนิ ๓๐,๐๐๐ บาท วันท่ี ๒๘ มิถุนายน ๒๕๓๗ ได้รับบริจาคของคณะครูและลูกจ้างเพ่ือก่อสร้างเสาธงและฐาน แบบของเก่าซงึ่ ชารุดเน่อื งจากใชง้ านนาน เป็นเงนิ ๕,๐๐๐ บาท วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๓๙ โรงเรียนได้รับงบประมาณ ๙๙,๐๐๐ บาท ก่อสร้างส้วม แบบ สปช. ๖๐๑/๒๖ ขนาด ๔ ทีน่ ่งั วันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างรั้วกาแพงโรงเรียน แบบ มาตรฐานคอนกรตี บลอ็ ก ๙ ก้อน เป็นเงนิ ๒๘๐,๐๐๐ บาท วันท่ี ๒๒ เมษายน ๒๕๕๒ โรงเรียนได้รับงบประมาณจัดสรรคอมพิวเตอร์เพ่ือการเรียนการ สอน แบบ cl.๕ จานวน ๕ เครือ่ ง เป็นเงนิ ๑๘๑,๔๖๐ บาท วันท่ี ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๕๗ โรงเรียนไดร้ ับงบประมาณก่อสร้างส้วม สปช.๖๐๓/๒๙ จานวน ๑ หลัง ขนาด ๔ ที่นัง่ เป็นเงนิ ๒๓๕,๐๐๐ บาท วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ โรงเรียนได้รับงบประมาณปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน งานพ้ืน โดยปู กระเบอ้ื งหนา้ หอ้ งเรยี น เป็นเงนิ ๙๙,๙๐๐ บาท

๓ วันท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ ไดง้ บประมาณก่อสรา้ งอาคารเรียนแบบ สปช. ๑๐๓/๒๖ ขนาด ๓ หอ้ งเรยี น เป็นเงนิ ๑,๖๓๗,๐๐๐ บาท วันท่ี ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ได้รับอนุมัติร้ือถอนอาคารเรียนไม้ ๒ ห้องเรียน แบบ ป๑ ก และอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ แบบ ป๑ ก ชารุดเน่ืองจากใช้งานนาน ได้รับวัสดุที่ยังใช้ได้ก่อสร้างหลังคาท่ีจอดรถ หลังคาทน่ี ้าละหมาด หลังคาทลี่ ้างจานและศาลา วันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ สปช. ๑๐๕ ๒๙ ปรบั ปรงุ อาคารเรียน ๒ช้นั ๔ หอ้ งเรียนใต้ถุนโล่ง เปน็ จานวนเงนิ ๓,๙๘๗,๗๐๐ บาท โรงเรียนบ้านบางราพา ได้รับการพัฒนาโดยความร่วมมือของคณะครูและชุมชน มีการ ปรบั ปรุงโดยลาดบั อยา่ งสมา่ เสมอ ดังทีป่ รากฏในปัจจุบนั ปรัชญำกำรจัดกำรศกึ ษำ ลา้ เลิศคณุ ธรรม กา้ วนาการศึกษา ดเี ด่นการกฬี า พัฒนาจิตใจ ข้อเตือนใจ .............. เมื่อจะทางาน อย่าหยิบยกเอาความขาดแคลนเป็นขอ้ อา้ ง จงทางานท่ามกลางความขาดแคลนให้ บรรลุผล จงทาด้วยความตง้ั ใจและซ่อื สตั ย์.................. พระบรมราโชวาทรัชกาลท่ี ๙ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๘ ขอ้ มูลสภำพชุมชนโดยรวม สภาพชมุ ชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะชุมชนชนบท มปี ระชากรประมาณ ๕๙๘ คน บรเิ วณ ใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนได้แก่ พื้นที่ราบและแหล่งน้าอยู่ใกล้ทะเล มัสยิด ชุมชน อาชีพของชุมชนคือประมง ชายฝง่ั และรบั จ้าง ซ่ึงบางส่วนประกอบอาชีพต่างถ่ิน ( ประเทศมาเลเซีย ) เนอ่ื งจากสภาพชุมชนเหมาะแก่การ ประกอบอาชีพดังกล่าวและการดารงชีวิตอยู่แบบชนบท ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ประเพณี / ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีเป็นท่ีรู้จักโดยทั่วไป คือ การถือศิลอด วันละศีล-อด วันฮารีรายออีดิลอัฎฮา วันฮารีรา ยออดี ลิ ฟติ รี การกวนอาซูรอ ผู้ปกครองสว่ นใหญ่จบการศึกษาระดับ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ อาชพี หลักของผปู้ กครอง ( คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๐ ) ทาการประมงชายฝ่ัง ประกอบอาชีพรบั จา้ ง ( รอ้ ยละ ๒๐ ) สว่ นใหญ่นับถอื ศาสนาอิสลาม ( คิดเปน็ ร้อย ละ ๑๐๐ ) ฐานะทางเศรษฐกิจ / รายได้เฉล่ียต่อครอบครัวต่อปี ๔๐,๐๐๐ บาท จานวนคนเฉล่ียต่อครอบครัว ๖ คน

๔ โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียนบ้านบางราพาอยู่ใกล้มัสยิดและทะเล ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน จากชุมชนด้านการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ และให้ความรว่ มมือส่งลกู หลานเข้าเรียน ๑๐๐% ในเขตบรกิ าร ๒. ข้อมลู บุคลำกรของสถำนศึกษำ ๒.๑ จำนวนบคุ ลำกร บุคลำกร ผูอ้ ำนวยกำร รอง ครผู สู้ อน พนกั งำน ครูพี่ วิทยำกร เจ้ำหนำ้ ท่ี อสิ ลำม อนื่ ๆ ปกี ำรศกึ ษำ ผู้อำนวยกำร รำชกำร เลยี้ ง ๒๕๖๓ ๑ ๔ ๑ - ๙ ๓๑ ๒.๒ วฒุ ิกำรศกึ ษำสงู สดุ ของบุคลำกร วุฒิกำรศกึ ษำ ป.๔ ม.๓ ม.๖ ปริญญำ ประกำศนียบตั ร ปรญิ ญำ ปริญญำ ตรี บัณฑิต โท เอก ปกี ำรศึกษำ๒๕๖๓ ๑ ๑ ๑๕ - ๑ - ๒.๓ วิทยฐำนะ วทิ ยฐำนะ ครูผชู้ ว่ ย ครู คศ.๑ ครู คศ.๒ ครู คศ.๓ ครู คศ.๔ ครู คศ.๕ ๔๓๓ ปีกำรศกึ ษำ ๑- - ๒๕๖๓ ๒.๔ สำขำท่ีจบกำรศกึ ษำและภำระงำนสอน สำชำวิชำ จำนวน ภำระงำนสอนเฉลี่ยของครู ๑ คน (ชม./สปั ดำห)์ คอมพวิ เตอร์ ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์ คณติ ศาสตร์ ๑ ๒๐ คาบ / สปั ดาห์ วทิ ยาศาสตร์ ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์ บรรณารักษ์ ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์ ภาษาอังกฤษ ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์ วทิ ยาศาสตร์ ๑ ๒๐ คาบ / สปั ดาห์ ประถมศกึ ษา ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์ ภาษาไทย ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์ การประถมศึกษา ๑ ๒๐ คาบ / สปั ดาห์ เทคโนโลยี ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์ ศกึ ษาศาสตร์ ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์ ชีววทิ ยาประยุกต์ ๑ ๒๐ คาบ / สัปดาห์

๕ ธรุ กจิ การศกึ ษา ๑ อนบุ าล ๓ ๒๕ คาบ / สปั ดาห์ ปฐมวัย ๑ อนบุ าล ๒ ๒๕ คาบ / สปั ดาห์ ๑ อนุบาล ๑ ๒๕ คาบ / สปั ดาห์ คหกรรมศาสตร์ ๑ วิทยากร ๑๖ ๑๒ คาบ / สัปดาห์ รวม ๓. ข้อมูลนักเรยี น จานวนนักเรยี นปีการศึกษา ๒๕๖๓ รวม 1๕๒ คน ระดับชน้ั จำนวนห้อง เพศ รวม เฉล่ยี ต่อห้อง อ.๑ ๑ ชำย หญิง ๑๓ ๑ อ.๒ ๑ ๕๘ ๑๕ ๑ อ.๓ ๑ ๑๐ ๕ ๑๘ ๑ รวม ๓ ๘ ๑๐ 4๖ ๓ ป.๑ ๑ 2๓ ๒๓ ๑๖ ๑ ป.๒ ๑ ๙๗ ๑๘ ๑ ป.๓ ๑ ๘ 10 ๑๕ ๑ ป.๔ ๑ ๖๙ ๒๑ ๑ ป.๕ ๑ ๑๔ ๗ ๑๒ ๑ ป.๖ ๑ ๘๔ ๒๔ ๑ รวม ๖ ๑๒ ๑๒ ๑๐๖ ๖ รวมท้งั หมด ๙ ๕๗ ๔๙ 1๕๒ ๙ ๘๐ 7๒ ๔. ขอ้ มูลกำรใชแ้ หลง่ เรียนรู้ภำยในและภำยนอกโรงเรียน ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ ๔.๑ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญำท้องถนิ่ ๑) ห้องสมุดมีขนาด ๑๖ ตารางเมตร จานวนหนังสอื ในห้องสมุด ๑,๑๗๐ เล่ม การสืบค้น หนงั สือและการยืม – คนื ใชร้ ะบบธรรมดา คนละ ๒ เลม่ ภายใน ๓ วัน จานวน นกั เรยี นที่ใชห้ ้องสมุดในปี การศึกษาท่รี ายงานเฉลีย่ ๓๘ คนตอ่ วัน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๕.๖๗ ของนักเรยี นท้ังหมด ๒) ห้องปฏบิ ัตกิ าร - ห้องปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ จานวน ๑ หอ้ ง ๓) คอมพิวเตอร์ จานวน ๒๔ เครื่อง

๖ - ใช้เพ่อื การเรียนการสอน ๑๕ เครอ่ื ง - ใชเ้ พื่อสบื คน้ ข้อมูลทางอินเตอร์เนต็ ๑๘ เครอื่ ง จานวนนกั เรียนทส่ี บื ค้นข้อมลู ทางอินเตอรเ์ นต็ ในปกี ารศึกษาที่รายงานเฉล่ีย ๓๒ คนตอ่ วนั คิดเปน็ ร้อยละ ๒๑.๖๒ ของนกั เรยี นท้งั หมด - ใช้เพื่อการบรหิ ารจดั การ ๓ เครื่อง ๔) แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรยี น แหล่งเรยี นรูภ้ ายใน สถิติการใช้ จานวนคร้ัง/ปี ชือ่ แหล่งเรียนรู้ ๒๑๕ ๑. ห้องสมุด ๒๐๓ ๒. ห้องละหมำด ๔๔ ๓. ห้องพยำบำล ๕๙ ๔. สวนเกษตร ๑๖๐ ๕. หอ้ งเรยี น ๕๐ ๖. ต้นไมพ้ ดู ได้ ๑๕๐ ๗. หอ้ งครวั ๑๙๓ ๘. ห้องปฏบิ ตั กิ ำรคอมพิวเตอร์ ๑๙๕ ๙. สหกรณ์รำ้ นคำ้ โรงเรยี น ๕) แหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรียน สถิตกิ ารใช้ จานวนคร้งั /ปี แหล่งเรียนรูภ้ ายนอก ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ ๕๐ ๕ ๑. มัสยดิ ๑๐ ๒. ป่ำโกงกำง ๕ ๓. บริเวณชำยทะเลบำงรำพำ ๑ ๔. ภูมิปญั ญำชำวบำ้ นบำงรำพำ ๑ ๕. ดำ่ นพรมแดนวังประจนั อ.ควนโดน จ.สตลู ๑ ๖. อุทยำนแห่งชำตทิ ะเลบนั อ.ควนโดน จ.สตูล ๑ ๗. เมอื งสตูล ๘. ปำกบำรำ ต.ปำกนำ้ อ.ละงู จ.สตูล

๗ แหล่งเรยี นรู้ภายนอก สถติ ิการใช้ ชอ่ื แหล่งเรยี นรู้ จานวนครง้ั /ปี ๙. อทุ ยำนแห่งชำติหมเู่ กำะเภตรำ จ.สตลู ๑ ๑๐. หำ้ งสรรพสนิ คำ้ บกิ๊ ซี เอ๊กตรำ้ อ.หำดใหญ่ จ.สงขลำ ๑ ๑๑. Dionsaur Garden ด่ำนนอก อ.สะเดำ จ.สงขลำ ๑ ๑๒. ห้ำงสรรพสินค้ำ Central festival อ.หำดใหญ่ จ.สงขลำ ๑ ๑๓. หำ้ งสรรพสินคำ้ โลตสั อ.จะนะ จ.สงขลำ ๑ ๖) ปราชญช์ าวบา้ น / ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ / ผู้ทรงคุณวฒุ ทิ ี่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรยี น ในปกี ารศึกษาท่รี ายงาน ๖.๑ นายมะยา ปิ ให้ความรู้เรอื่ ง การทาแห อวน ยอ สถติ ิการให้ความรใู้ นโรงเรียน จานวน ๔ ครง้ั /ปี ๖.๒ นายอาลวู า แวสะมะแอ ใหค้ วามรเู้ รือ่ ง การทากรงนกกรงหัวจกุ สถติ ิการใหค้ วามรใู้ นโรงเรยี น จานวน ๘ คร้งั /ปี ๖.๓ นางสือเมาะ อาแว ให้ความรเู้ รือ่ ง การทากะปิ สถติ กิ ารให้ความรใู้ นโรงเรียน จานวน ๒ ครัง้ /ปี ๖.๔ นายกาเดร์ ลาเต๊ะ ให้ความรูเ้ ร่ือง การทาเครื่องมือดดั จับสตั ว์นา้ สถติ กิ ารให้ความรใู้ นโรงเรยี น จานวน ๔ ครงั้ /ปี ๕. ขอ้ มูลงบประมำณ งบประมาณเพอื่ การบริหารจัดการสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ แหล่งทไี่ ดร้ บั จานวน ( บาท ) - เงินงบประมำณ ๒๗๙,๖๐๐ - เงินนอกงบประมำณ - รวมงบประมำณทั้งหมดของโรงเรียน ๒๗๙,๖๐๐

๘ ปรชั ญำโรงเรยี นบำ้ นบำงรำพำ ลำ้ เลศิ คณุ ธรรม ก้ำวนำกำรศกึ ษำ ดีเดน่ กำรกฬี ำ พฒั นำจติ ใจ คำขวัญโรงเรียนบำ้ นบำงรำพำ โรงเรียนสะอำด มำรยำทดี มคี ณุ ธรรม น้อมนำหลกั ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี ง อัตลกั ษณข์ องสถำนศกึ ษำ วถิ ธี รรมนาชีวิต เอกลักษณข์ องสถำนศกึ ษำ แหลง่ เรยี นรู้ปำ่ ชำยเลน

๙ ๖. ผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรยี น ตำรำงท่ี 1 เปรียบเทียบผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เพื่อประกนั คุณภาพผเู้ รยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2561 และ 2562 โรงเรียนบ้านบางราพา สพป.ปัตตานี เขต 1 ควำมสำมำรถ คะแนน คำ่ พฒั นำ ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปี 2561 -2562 ควำมสำมำรถด้ำนภำษำ ควำมสำมำรถดำ้ นคำนวณ 37.90 34.25 -3.65 ควำมสำมำรถดำ้ นเหตุผล 48.00 47.41 คะแนนเฉลี่ย ท้ัง 3 ด้ำน 30.85 -0.59 38.92 - 40.83 - 1.91 กรำฟแสดงกำรเปรียบเทียบผลกำรประเมินคุณภำพกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน เพอ่ื ประกันคณุ ภำพผ้เู รยี นช้ันประถมศึกษำปที ี่ 3 ปีกำรศึกษำ 2557 และ 2558 60 50 48 47.41 40 37.9 38.9240.83 34.25 30.85 30 20 10 1.91 00 0 -10 -3.65 -0.59 ความสามารถด้านเหตผุ ล คะแนนเฉลยี่ ทงั ้ 3 ด้าน ความสามารถด้านภาษา ความสามารถด้านคานวณ 30.85 38.92 คะแนน ปีการศกึ ษา 2561 0 40.83 คะแนน ปีการศกึ ษา 2562 37.9 48 0 1.91 ค่าพฒั นา ปี 2561 -2562 34.25 47.41 -3.65 -0.59 คะแนน ปีการศกึ ษา 2561 คะแนน ปีการศกึ ษา 2562 ค่าพฒั นา ปี 2561 -2562

๑๐ จากตารางและกราฟ แสดงใหเ้ หน็ ว่าเมือ่ เปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานเพ่ือ ประกันคุณภาพผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 และ 2563 พบว่าคะแนนความรวม ความสามารถ 3 ด้านในปีการศึกษา 2562 สูงกว่าปีการศึกษา 2561 โดยมีค่าพัฒนาการ 1.91 พิจารณา รายทกั ษะความสามารถ พบว่าทกุ ทกั ษะมีคะแนนเฉลี่ยตา่ กวา่ ปีการศกึ ษา 2561 โดยความสามารถดา้ นภาษา มีผลตา่ งจากปีการศกึ ษา 2561 มากทีส่ ุด คอื -3.65 ตำรำงท่ี 2 เปรยี บเทียบคะแนนเฉลีย่ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O – NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2561 และ 2562 โรงเรียนบ้านบางราพา สพป.ปัตตานี เขต 1 รำยวชิ ำ คะแนน ค่ำพัฒนำ ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปี 2561 -2562 ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ 41.1 37.38 -3.92 วทิ ยำศำสตร์ 25.29 28.5 3.21 33.88 28.03 -5.85 อังกฤษ 31.32 30.25 -1.07 คะแนนเฉลีย่ ท้ัง 5 วิชำ 32.9 30.99 -1.91

๑๑ กรำฟแสดงกำรเปรียบเทียบผลกำรประเมินคุณภำพกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน เพือ่ ประกนั คณุ ภำพผูเ้ รียนชั้นประถมศกึ ษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2561 และ 2562 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน ปีการศกึ ษา 2561-2562 ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 -10.00 ภาษาไทย คณติ ศาสต วิทยาศาส ภาษาอังก คะแนน ร์ ตร์ ฤษ รวมเฉลีย่ 32.9 ปีการศึกษา 2561 41.1 25.29 33.88 31.32 30.99 ปกี ารศกึ ษา 2562 37.18 28.5 28.03 30.25 -1.91 ร้อยละผลตา่ งระหวา่ งปีการศึกษา -3.92 3.21 -5.85 -1.07 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 รอ้ ยละผลตา่ งระหว่างปกี ารศกึ ษา จากตารางและกราฟแสดงเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน พ้ืนฐาน (O – NET) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 และ 2562 พบว่าปีการศึกษา 2562 มี คะแนนรวมเฉลี่ยต่ากว่าปีการศึกษา 2561 ทั้ง 5 สาระวิชา โดยคะแนนเฉล่ียมีผลต่าง – 1.91 เมื่อพิจารณา สาระการเรียนรูป้ รากฏวา่ สาระการเรียนร้ทู ส่ี งู ท่ีสุด คือ คณิตศาสตร์ (ผลต่าง = 3.21)

๑๒ ๗. ผลกำรดำเนินงำนในรอบปีที่ผ่ำนมำ ๑) งำน / โครงกำร / กิจกรรมทีป่ ระสบควำมสำเรจ็ ชือ่ งำน / โครงกำร / กจิ กรรม หลักฐำนยืนยันควำมสำเร็จ ๑. โครงการระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา คาสั่ง ภาพถา่ ย โครงการ ๒. โครงการพัฒนาประสิทธิภาพงานบริหารงบประมาณ คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ ๓. โครงการนเิ ทศภายในเพ่อื พฒั นากระบวนการเรียนการสอน คาสัง่ ภาพถา่ ย โครงการ วจิ ยั ในชัน้ เรยี น ๔. โครงการประชมุ ปฏิบัตกิ ารจดั ทาแผนปฏบิ ัติการประจาปี คาสั่ง ภาพถ่าย โครงการ งบประมาณ ๕. โครงการพัฒนาบุคลากรและเสริมสรา้ งการปฏบิ ัตริ าชการ คาสั่ง ภาพถา่ ย โครงการ ๖. โครงการพฒั นาและส่งเสริมการฬช้ห้องสมดุ คาสั่ง ภาพถา่ ย โครงการ ๗. โครงการระบบสาธารณปู โภค คาสง่ั ภาพถ่าย โครงการ ๘. โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้อื ต่อการจัดการศกึ ษา คาสง่ั ภาพถ่าย โครงการ ๙. โครงการพฒั นานกั เรียนอ่านออก เขยี นได้ คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ ๑๐. โครงการพัฒนาทกั ษะทางวชิ าการสู่การยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิ คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ ทางการศึกษา ๑๑. โครงการการคา่ ยกลุ่มสาระการเรยี นรู้ คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ ๑๒. โครงการเสรมิ ทกั ษะและพัฒนาการเด็กปฐมวัย คาส่ัง ภาพถ่าย โครงการ ๑๓. โครงการอาหารกลางวนั คาสั่ง ภาพถ่าย โครงการ ๑๔. โครงการพฒั นาทกั ษะด้านกฬี า คาสั่ง ภาพถา่ ย โครงการ ๑๕. โครงการสง่ เสรมิ สุขภาพในโรงเรยี น คาสั่ง ภาพถา่ ย โครงการ ๑๖. โครงการจัดระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น คาสั่ง ภาพถ่าย โครงการ ๑๗. โครงการค่ายพักแรมลกู เสือ - เนตรนารี คาสั่ง ภาพถา่ ย โครงการ ๑๘. โครงการทัศนศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ คาสั่ง ภาพถา่ ย โครงการ ๑๙. โครงการเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรยี นการสอน คาสั่ง ภาพถ่าย โครงการ ๒๐. โครงการเศรษฐกิจพอเพียง คาสง่ั ภาพถ่าย โครงการ ๒๑. โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ มที่พึงประสงค์ คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ ๒๒. โครงการประชาธิปไตยในโรงเรียน ๒๓.โครงการวนั สาคัญ คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ ๒๔. โครงการโรงเรียนสขี าว คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ ๒๕. โครงการสรา้ งความสมั พันธร์ ะหว่างโรงเรยี นกับชุมชน คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ คาสง่ั ภาพถา่ ย โครงการ

๑๓ ๒) งำน / โครงกำร / กิจกรรมทค่ี วรปรับปรงุ สำเหตทุ ี่ไมบ่ รรลเุ ปำ้ หมำย ชอ่ื งำน / โครงกำร / กิจกรรม ๑. โครงการเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียน ๑. ขาดงบประมาณในการดาเนนิ การและขาดความรู้ การสอน ทางเทคโนโลยี สรปุ ผลกำรพฒั นำคุณภำพของสถำนศึกษำในภำพรวมและแนวทำงกำรพฒั นำ - จุดเดน่ ของสถำนศกึ ษำและปจั จยั ท่ีส่งผลต่อควำมสำเรจ็ รำยกำร ปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อควำมสำเรจ็ ด้านคุณภาพผูเ้ รยี น - โรงเรียนจัดกิจกรรมต่ำง ๆ เช่น กิจกรรมวันขึ้นปี ๑. นักเรยี นมีควำมกลำ้ แสดงออก ใหม่ วันเด็ก กีฬำสีประจำปี กิจกรรมส่งเสริมทักษะ ทำงวิชำกำรระดับโรงเรียนและระดับเขต ทัศนศึกษำ สู่แหล่งเรยี นรู้ ชุมชนต่ำง ๆ และงำนชุมชนสัมพนั ธ์ ๒. นักเรยี นมีสขุ ภำพกำยทแ่ี ขง็ แรง - สนับสนุนกิจกรรมกีฬำสีภำยในโรงเรียนและ กิจกรรมภำยนอก ๓. นักเรียนมีจริยธรรมและปฏบิ ัติตำมหลักศำสนำ - ส่งเสริมกิจกรรมวันสำคัญทำงศำสนำ กำรปฏิบัติ ท่ีตนเองนบั ถอื ศำสนกิจ/อบรมคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมและจริยธรรม ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน ครูมีคุณธรรม มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี ต่อผู้เรียน - ครูมคี วำมรับผิดชอบ ต่อหนำ้ ที่กำรงำน มีควำม ผู้ปกครองและชุมชน มีควำมมุ่งมั่นและอุทิศตน พำกเพยี ร แสวงหำควำมรู้ใหม่ ๆ อย่เู สมอ ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้นักเรียนคิดเป็น แกป้ ญั หำเป็นและอย่อู ยำ่ งมีควำมสุข ดา้ นการบริหารและการจดั การศึกษา ๑. สถำนศึกษำมีกำรจัดองค์กร/โครงสร้ำง - ผู้บริหำร มีวิสัยทัศน์ มีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำร กำรบริหำรงำนไว้อย่ำงชดั เจน มีกำรระบุ บริหำรจัดกำร ขอบข่ำยและภำรกิจของแต่ละฝ่ำยงำน - มกี ำรรว่ มประชมุ ปรึกษำหำรือระดมควำมคิดเพ่อื โ ด ย มี ค ำ สั่ ง แ ต่ ง ตั้ ง ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ อ ย่ ำ ง รว่ มกนั วำงแผน ชัดเจน

๑๔ รำยกำร ปจั จัยทส่ี ง่ ผลต่อควำมสำเรจ็ ๒. โรงเรียนได้จัดทำหลักสูตรสถำนศึกษำและมี - บคุ ลำกร มคี วำมรับผิดชอบ ตอ่ หนำ้ ท่ี ท่ไี ดร้ บั กำรปรับปรุงให้หลักสูตรมีควำมสอดคล้องกับ มอบหมำย ผู้เรียน กำรวัด ประเมินผลอย่ำงระบบ จัดให้มี กำรนิเทศภำยในอย่ำงต่อเน่ือง ส่งเสริมให้ครูใช้ - ครู มีกำรพัฒนำทำงด้ำนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียน แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียนสนับสนุนให้ กำรสอน โดยกำรศกึ ษำ อบรม อย่ำงสมำ่ เสมอ ครูไดท้ ำวจิ ยั ในชน้ั เรียน ๓. โรงเรียนจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนอย่ำง หลำกหลำย เพ่ือให้นักเรียนเป็นคนสมบูรณ์ทั้ง รำ่ งกำย อำรมณ์ สงั คม สตปิ ัญญำ และเป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม ๔. ชุมชนให้ควำมร่วมมือในกำรดำเนินกำร - โรงเรียนเข้ำร่วมกิจกรรมต่ำง ๆ ของชุมชนอย่ำง บริหำรจัดกำรของโรงเรียน ในทุกด้ำนโดยเฉพำะ สม่ำเสมอ และให้บริกำรด้ำนอำคำร สถำนท่ี วัสดุ กรรมกำรสถำนศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน อปุ กรณ์ เชน่ วนั อำซรู อสัมพนั ธ์ ดา้ นการพฒั นาชุมชนแห่งการเรยี นรู้ โรงเรียน ได้จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนท่ี - โรงเรียนได้จัดทำสำระท้องถิ่น โดยควำมร่วมมือ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีภูมิปัญญำท้องถ่ิน จำกผปู้ กครองและภูมปิ ัญญำทอ้ งถน่ิ เป็นวิทยำกร ในสำระกำรเรียนรตู้ ำ่ ง ๆ ท้ังในและ - โรงเรียนได้มีกำรแลกเปล่ียนแนวคิดในกำรจัดกำร นอกโรงเรยี น เรียนรู้ร่วมกันกับชุมชน

๑๕ - จุดทคี่ วรพฒั นำและแนวทำงกำรพัฒนำของสถำนศกึ ษำ รายการ แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา ๑. มีผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนต่ำ ในสำระกำร - นักเรียนอ่ำนไม่ออก เขียนไม่ได้ โรงเรียนได้จัด เรียนรู้ภำษำไทย คณิตศำสตร์ ส่งผลต่อกำร กจิ กรรมพัฒนำกำรอำ่ น ออก เขยี นได้ ในทุกชั้น เรยี นรูใ้ นสำระอืน่ ๆ เรียน ๒. กำรใชส้ ่อื และเทคโนโลยี - โรงเรียนได้จัดสรรงบประมำณ ในกิจกรรมส่ือ กำรเรยี นรทู้ ุกกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ เพือ่ ครูสำมำรถ ๓. นกั เรียนขำดทกั ษะกระบวนกำรคดิ วเิ ครำะห์ ทีจ่ ะนำไปใชใ้ นกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอน - คณะครู ได้จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนที่เน้น ทักษะกระบวนกำรคิด วิเครำะห์ ตำมมำตรฐำน กำรเรียนรใู้ นแตล่ ะสำระกำรเรยี นรู้ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑. กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน ควรเน้น - จดั กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน โดยใชน้ วัตกรรม กระบวนกำรคิด วิเครำะห์ สือ่ กำรสอน เทคโนโลยที ที ันสมยั ๒. ควรนำนวัตกรรม สื่อกำรสอน เทคโนโลยี - ครตู ้องศกึ ษำนกั เรยี นเป็นรำยบคุ คล มำจดั กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอน ดา้ นการบริหารและการจดั การศกึ ษา - มีกำรจัดทำรูปแบบและวำงแผนกำรควบคุม กำรควบคุม กำกับ ตดิ ตำม และกำรประเมินผล กำกับ ติดตำม ประเมินผลอย่ำงเป็นระบบในทุก ฝำ่ ยงำน กำรดำเนินงำนของแต่ละฝ่ำยงำน/โครงกำร/ กิจกรรม ควรดำเนินอย่ำงสม่ำเสมอและต่อเน่ือง เช่น มีแผนควบคุม/ติดตำม เครื่องมือกำรประเมิน และมีกำรจัดทำรำยงำนผลกำรดำเนินงำน เพื่อ กำรพัฒนำตอ่ ไป ดา้ นการพฒั นาชุมชนแหลง่ การเรียนรู้ ๑. จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน โดยมีภูมิ - จัดหำ งบประมำณ ค่ำตอบแทนกับภูมิปัญญำ ปญั ญำทอ้ งถน่ิ เป็นวิทยำกร ทอ้ งถ่ิน ๒. สร้ำงแหล่งเรียนรู้ภำยในโรงเรียน และนอก - ร่วมมือกับชุมชน ในกำรจัดทำหลักสูตรท้องถ่ิน โรงเรยี น ในทุกกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้

๑๖ ๘. ผลกำรประเมนิ คุณภำพภำยนอกรอบสำม (เมือ่ วันท่ี ๑๖,๑๗,๑๘ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗) ระดับกำรศึกษำปฐมวยั กลมุ่ ตัวบง่ ชี้ การศึกษาระดบั ปฐมวยั ระดบั คุณภาพ เพ่ือการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม น้ำหนัก คะแนน ระดับ คะแนน ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ กลุม่ ตัวบง่ ช้ีพ้นื ฐำน ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑ เด็กมีพัฒนาการดา้ น ร่างกายสมวัย ๕ ๔.๕๐ ดมี ำก ตวั บง่ ชที้ ี่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจติ ใจสมวัย ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓ เด็กมีพฒั นาการด้าน สังคมสมวัย ๕ ๔.๕๐ ดีมำก ตวั บ่งชี้ที่ ๔ เด็กมีพฒั นาการดา้ น สตปิ ัญญาสมวัย ๕ ๔.๕๐ ดีมำก ตวั บ่งชท้ี ่ี ๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาในขั้นตอ่ ไป ๑๐ ๘.๐๐ ดี ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๖ ประสิทธผิ ลการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ที ๑๐ ๘.๐๐ ดี เน้นเดก็ เปน็ สาคัญ ๓๕ ๓๑.๐๐ ดี ตัวบ่งชท้ี ่ี ๗ ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การและ การพฒั นาสถานศกึ ษา ๑๕ ๑๓.๐๐ ดี ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๘ ประสทิ ธิผลของระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน กลมุ่ ตวั บง่ ช้อี ตั ลักษณ์ ๕ ๔.๘๐ ดมี ำก ตวั บง่ ชี้ท่ี ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรชั ญา ปณิธาน ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดมี ำก พนั ธกิจ และวตั ถุประสงค์ของการจดั ต้ังสถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจุดเดน่ ท่ี ๒.๕๐ ๒.๐๐ ดี สง่ ผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา ๒.๕๐ ๒.๐๐ ดี กลมุ่ ตวั บ่งชี้มำตรกำรสง่ เสริม ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่ือเสริม ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมำก บทบาทของสถานศึกษา ตัวบ่งชที้ ่ี ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษา เพ่ือ ๑๐๐ ๘๗.๓๐ ดี ยกระดับ มาตรฐาน และพัฒนาสคู่ วามเป็นเลิศท่สี อดคลอ้ งกบั แนว ทางการปฏิรปู การศกึ ษา คะแนนรวม สรุป โรงเรยี นมีผลการประเมินระดบั การศึกษาปฐมวยั คะแนนท่ีได้ ๘๗.๓๐ ระดบั คุณภาพ ดี ผลการรบั รองมาตรฐาน  รับรอง  ไม่รบั รอง

๑๗ ระดับกำรศึกษำข้นั พืน้ ฐำน (ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๕๗) ระดับคุณภาพ กล่มุ ตวั บง่ ช้ี การศึกษาระดบั ขั้นพ้นื ฐาน เพอ่ื การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม น้ำหนัก คะแนน ระดับ คะแนน ที่ได้ คณุ ภาพ กลุม่ ตวั บง่ ชพี้ ้ืนฐาน ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑ ผเู้ รยี นมสี ุขภำพกำยและสขุ ภำพจิตทีด่ ี ๑๐ ๙.๖๒ ดมี ำก ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ำนยิ มที่พึง ๑๐ ๙.๕๖ ดีมำก ประสงค์ ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓ ผเู้ รียนมีควำมใฝร่ ู้และเรียนร้อู ยำ่ งต่อเน่อื ง ๑๐ ๘.๕๙ ดี ตวั บ่งชี้ท่ี ๔ ผู้เรียนคดิ เปน็ ทำเป็น ตวั บง่ ชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นของผเู้ รยี น ๑๐ ๘.๔๗ ดี ตัวบ่งชท้ี ี่ ๖ ประสทิ ธผิ ลกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ ๒๐ ๑.๙๔ ต้อง สำคญั ปรบั ปรงุ ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๗ ประสทิ ธิภำพของกำรบรหิ ำรจัดกำรและกำรพฒั นำ สถำนศึกษำ เรง่ ด่วน ตัวบ่งชท้ี ี่ ๘ พัฒนำกำรของกำรประกันคุณภำพภำยในโดย ๑๐ ๘.๐๐ ดี สถำนศกึ ษำและต้นสังกดั ๕ ๔.๓๐ ดี กลุ่มตัวบง่ ชอี้ ตั ลักษณ์ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๙ ผลกำรพฒั นำใหบ้ รรลตุ ำมปรัชญำ ปณธิ ำน พันธกิจ ๕ ๔.๖๙ ดมี ำก และวัตถุประสงคข์ องกำรจดั ตัง้ สถำนศึกษำ ๕ ๕.๐๐ ดมี ำก ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๐ ผลกำรพฒั นำตำมจดุ เนน้ และจดุ เด่นทีส่ ง่ ผล ๕ ๔.๐๐ ดี สะทอ้ นเปน็ เอกลกั ษณ์ของสถำนศกึ ษำ ๕ ๔.๐๐ ดี กลุม่ ตัวบง่ ชีม้ าตรการสง่ เสรมิ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑๑ ผลกำรดำเนินงำนโครงกำรพิเศษเพือ่ เสริมบทบำท ๕ ๕.๐๐ ดีมำก ของสถำนศกึ ษำ ๑๐๐ ๗๓.๑๗ พอใช้ ตวั บง่ ช้ที ่ี ๑๒ ผลกำรสง่ เสรมิ พัฒนำสถำนศึกษำ เพือ่ ยกระดบั มำตรฐำน และพัฒนำสคู่ วำมเปน็ เลศิ ทีส่ อดคล้องกับ แนวทำงกำรปฏิรูปกำรศึกษำ คะแนนรวม สรปุ โรงเรยี นมผี ลการประเมินระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน คะแนนที่ได้ ๗๓.๑๗ ระดับคณุ ภาพ พอใช้ ผลการรับรองมาตรฐาน  รบั รอง  ไม่รับรอง กรณีที่ไม่ไดร้ บั การรบั รอง เนื่องจาก ผลสัมฤทธ์กิ ารสอบ O-NET ไมผ่ า่ นเกณฑ์

๑๘ ๘.๑ ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมินคุณภำพภำยในและภำยนอกรอบสำม ๘.๑.๑ ระดับปฐมวัย ๑) จดุ เดน่ จุดท่ีควรพัฒนำ และขอ้ เสนอแนะจำกกำรติดตำมตรวจสอบคณุ ภำพภำยใน ของ สถำนศกึ ษำโดยสถำนศกึ ษำหรอื หน่วยงำนตน้ สงั กดั - จุดเด่น ผู้เรียนมีนาหนักส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายเข้าเกณฑ์มาตรฐานและมี สขุ ภาพจิต ท่ีดี มีสุขนิสัยที่ดี รู้จักดูแลตัวเองให้ปลอดภัยจากอุบัติเหตุและสิ่งเสพติด มีความช่ืนชมด้านศิลปะดนตรี ความ เคล่ือนไหวและกระตือรือร้นในการทางานมีวนิ ัยความรบั ผิดชอบปฏิบัตงิ านตามข้อตกลงรว่ มกันมีทักษะในการ แล่นหรือทากจิ กรรมสรา้ งสรรค์ - จุดควรพฒั นำ ควรพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี วามคิดวเิ คราะห์ คดิ สังเคราะหแ์ ก้ปัญหาให้ เหมาะสมกับวัย และพัฒนาผู้เรียนเกิดจินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดรวบยอด จัดกิจกรรมเพิ่ม ทกั ษะในการแสวงหาความรู้และการสังเกต การสารวจโดยใช้สัมผัสทั้ง๕ นอกจากนี้ยงั ต้องเนน้ ย้าให้ผเู้ รยี นเห็น คณุ คา่ ของความประหยดั รวมถงึ มารยาทในการฟัง พูด และรับประทายอาหาร - ขอ้ เสนอแนะจำกกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม ดำ้ นผูเ้ รยี น ผู้เรยี นมีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี มีการเจริญเติบโตตามวัย มสี มรรถภาพทางร่างกาย สมวยั มที กั ษะพนื้ ฐานตามพัฒนาการทุกด้านสมวยั ด้ำนครู ครูสามารถรู้เป้าหมายการจัดการศึกษาและเป้าหมายของหลักสูตรและสามารถจัดการศึกษา ให้สมดุลท้ังพุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษาและหัตศึกษา ครูผู้สอนส่วนใหญ่จบระดับปริญญาตรีข้ึนไปได้สอน ตรงตามวิชาเอก/โท ตรงตามความถนัดและได้รับการพัฒนาโดยการอบรมสัมมนาในวิชาท่ีสอนมากกว่า ๒๐ ช่ัวโมง/ปี และสถานศกึ ษามีครูเพยี งพอตามเกณฑ์ จดุ ควรพัฒนำ ดำ้ นผ้เู รยี น การส่งเสริมให้เด็กมีความคิดรวบยอดเก่ียวกับสิ่งต่างๆท่ีเกิดจากการเรยี นและการใช้ภาษาใน การสื่อสาร ส่งเสรมิ ให้เด็กมคี วามพร้อมศึกษาในขัน้ ต่อไป ส่งเสริมพฒั นาตามจุดเน้น จุดเด่นทสี่ ง่ ผลสะทอ้ นเป็น เอกลักษณ์ของสถานศึกษาการดาเนินโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษาที่สามารถเป็น แบบอย่างที่ดีของการเปล่ยี นแปลง ด้ำนครู ครูควรจัดกิจกรรมแบบบูรณาการเป็นรายบุคคล กลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ผ่านกิจกรรมแบบ บูรณาการท่ีเด็กได้เล่นและลงมือกระทาเพื่อพัฒนาความคิดรวบยอด ครูควรจัดกิจกรรมให้เด็กสืบค้น สารวจ และตั้งคาถามเพื่อสร้างความเข้าใจเก่ียวกับสิ่งต่างๆรอบตัวควรส่งเสริมให้เด็กชื่นชมธร รมชาติและดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม ควรจัดกิจกรรมให้เด็กสืบค้น สารวจและตั้งคาตามเพื่อสร้างความเข้าใจเก่ียวกับส่ิงต่างๆรอบตัว การสง่ เสรมิ ให้เดก็ แสดงความคดิ สรา้ งสรรค์อย่างอิสระ ดำ้ นผู้บรหิ ำร สถานศึกษาดารงการจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอและส่งเสริมให้ทุกฝ่ายร่วมกันทาความเข้าใจ เก่ียวกับเร่ืองระบบหลักเกณฑ์ การประกันคุณภาพภายในท้ัง ๘ ข้อ แก่ครู คณะกรรมการสถานศึกษาและ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ให้มีความเข้าใจอย่างชัดเจน และนาความรู้มาวางแผนพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ

๑๙ ภายในใหย้ ัง่ ยนื อยา่ งตอ่ เนื่องทุกปี เพ่อื ให้เกดิ ประโยชน์ในการพฒั นาสถานศึกษาให้เจรญิ ก้าวหน้าย่ิงข้นึ ไปและ สามารถเป็นแบบอยา่ งในการดาเนนิ งานแกส่ ถานศึกษาอนื่ ๆต่อไป ขอ้ เสนอแนะเพือ่ พัฒนำสถำนศกึ ษำ ดำ้ นผู้เรยี น การส่งเสริมให้เด็กมีความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงต่างๆท่ีเกิดจากการเรียนและการใช้ภาษาใน การส่อื สาร สง่ เสรมิ ให้เด็กมีความพรอ้ มศกึ ษาในข้นั ต่อไป สง่ เสริมพฒั นาตามจดุ เนน้ จดุ เด่นท่ีสง่ ผลสะทอ้ นเป็น เอกลักษณ์ของสถานศึกษาการดาเนินโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษาที่สามารถเป็น แบบอย่างท่ดี ขี องการเปลย่ี นแปลง ดำ้ นครู พัฒนาครูครูควรจัดกิจกรรมแบบบูรณาการเป็นรายบุคคล กลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ผ่าน กิจกรรมแบบบูรณาการที่เด็กได้เล่นและลงมือกระทาเพ่ือพัฒนาความคิดรวบยอด ครูควรจัดกิจกรรมให้เด็ก สืบค้น สารวจ และต้ังคาถามเพ่ือสร้างความเข้าใจเก่ียวกับสิ่งต่างๆรอบตัวควรส่งเสริมให้เด็กชื่นชมธรรมชาติ และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ควรจัดกิจกรรมให้เด็กสืบค้น สารวจและตั้งคาตามเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับส่งิ ตา่ งๆรอบตัว การส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์อย่างอสิ ระ ดำ้ นผ้บู ริหำร สถานศึกษาดารงการจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอและส่งเสรมิ ให้ทุกฝ่ายร่วมกันทาความเข้าใจ เก่ียวกับเร่ืองระบบหลักเกณฑ์ การประกันคุณภาพภายในท้ัง ๘ ข้อ แก่ครู คณะกรรมการสถานศึกษาและ ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ให้มีความเข้าใจอย่างชัดเจน และนาความรู้มาวางแผนพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในให้ยั่งยืนอย่างต่อเน่ืองทุกปีเพ่ือให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาสถานศึกษาให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นไปและ สามารถเปน็ แบบอย่างในการดาเนนิ งานแกส่ ถานศึกษาอ่นื ๆต่อไป กำรนำผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกไปใช้ จากผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกจาก สมศ.ระหวา่ งวนั ที่ ๑๖,๑๗,๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา ได้พิจารณาตามมาตรฐาน ๓ ด้าน คือ ดา้ นผบู้ ริหาร ดา้ นครู และด้านผู้เรยี น โรงเรียนได้นาผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกมาใชด้ งั น้ี ด้ำนผบู้ ริหำร พัฒนาการนิเทศติดตามผลจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอและส่งเสริมให้ทุกฝ่ายร่วมกันทาความ เข้าใจเก่ียวกับเร่ืองระบบหลักเกณฑ์ การประกันคุณภาพภายในทั้ง ๘ ข้อ แก่ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้เกี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่าย ให้มคี วามเขา้ ใจอยา่ งชดั เจน และนาความร้มู าวางแผนพฒั นาระบบการประกันคุณภาพ ภายในให้ยั่งยืนอย่างต่อเน่ืองทุกปีเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาสถานศึกษาให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ไปและ สามารถเป็นแบบอยา่ งในการดาเนินงานแก่สถานศึกษาอนื่ ๆต่อไป ดำ้ นครู พัฒนาครูให้มีความสามารถวิเคราะห์หลักสูตรเพ่ือจัดทาแผนการเรียนรู้ สามารถจัดทา แผนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการประเมินการผลการเรียนตามสภาพจริง องิ พัฒนาการ ประเมนิ เพ่ือวินิจฉยั จดุ เด่น จุดด้อย ปรบั ปรุงการเรียนการสอนและนาผลการประเมนิ การเรียน การสอนมาปรับปรุงการเรียนและเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ีต่อเน่ือง พัฒนา เทคนิคและเครอื่ งมอื ที่หลากหลาย

๒๐ ดำ้ นผเู้ รยี น สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมทีฝ่ ึกทักษะดา้ นการวเิ คราะห์ คิดแกป้ ญั หา ดว้ ยตนเองอย่าง หลากหลายและมีความต่อเนื่องการส่งเสริมให้เด็กมีความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงต่างๆที่เกิดจากการเรียนและ การใช้ภาษาในการส่ือสาร ส่งเสริมให้เด็กมีความพร้อมศึกษาในข้ันต่อไป ส่งเสริมพัฒนาตามจุดเน้น จุดเด่นที่ ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา การดาเนินโครงการพิเศษเพ่ือส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษาท่ี สามารถเป็นแบบอยา่ งท่ีดขี องการเปล่ยี นแปลง ๘.๑.๒) ระดับประถมศึกษำข้ันพืน้ ฐำน จดุ เดน่ จุดที่ควรพัฒนำ และข้อเสนอแนะจำกกำรติดตำมตรวจสอบคุณภำพภำยใน ของสถำนศึกษำโดยสถำนศกึ ษำหรือหน่วยงำนต้นสังกดั - ด้านการจัดการศึกษา สง่ เสรมิ ใหค้ รทู ุกคนใชส้ อ่ื เทคโนโลยีและจดั การเรยี นรู้ในห้อง ICT - ควรปรบั ปรุงพัฒนาด้านกายภาพและแหลง่ เรียนรู้ จดุ ที่ควรพัฒนำ และข้อเสนอแนะจำกกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกรอบสำม จุดเดน่ ๑) ดำ้ นผลกำรจัดกำรศกึ ษำ ผู้เรยี นมนี า้ หนัก ส่วนสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ รวมทงั้ รจู้ ักดูแลตนเองใหม้ ีความ ปลอดภยั มีสนุ ทรยี ภาพดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า เปน็ ลูกท่ีดขี องพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ผ้เู รยี นท่ีดีของสถานศึกษา มีการบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมทั้งในและนอกสถานศึกษา ผู้เรียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้จากการอ่านและใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงร่วมกับผู้อ่ืนท้ังในและนอกสถานศึกษาตลอดจนมี ความสามารถด้านการคิด และปรับตัวเข้ากับสังคม สถานศึกษามีผลการดาเนินงานด้านผลผลิตบรรลุตาม ปรชั ญา ปณธิ าน/วิสัยทศั น์ พันธกจิ และวตั ถปุ ระสงคก์ ารจดั ต้ังสถานศกึ ษา โดยกาหนดอัตลักษณข์ องผเู้ รียนว่า “วิถธี รรมนาชวี ติ ” ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นมีคุณธรรมและค่านยิ มที่พงึ ประสงค์ ๒) ดำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำ ไม่มี ๓) ดำ้ นกำรจดั กำรเรียนกำรสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ไม่มี ๔) ด้ำนกำรประกนั คุณภำพภำยใน ส ถ า น ศึ ก ษ า ไ ด้ รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ โ ด ย ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ประถมศึกษาปัตตานี เขต ๑ โดยได้ประเมินระบบหลักเกณฑ์ และวิธีประกันคุณภาพการศึกษาตาม กฎกระทรวง พ.ศ.๒๕๕๓ สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในโดยกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัด ให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน และจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่อง

๒๑ จุดท่คี วรพัฒนำ ๑. ด้ำนผลกำรจดั กำรศึกษำ ๑.๑ การสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมีการบาเพ็ญประโยชน์ทง้ั ในและนอกสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง ๑.๒ การพัฒนาดา้ นการฝกึ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และการอ่าน ๑.๓ การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นของผู้เรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่ีระดับคณุ ภาพต่ากวา่ ระดบั ดี ๑.๔ การสง่ เสรมิ ให้สถานศึกษามเี นน้ จดุ เด่นที่ได้รับการยอมรับจากองคก์ รภายนอก ๑.๕ การส่งเสริมใหม้ ีการดาเนนิ งานโครงการพิเศษเพ่ือสง่ เสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษาท่ีสามารถ เปน็ แบบอย่างของการเปลีย่ นแปลงท่ขี ้นึ ๒. ดำ้ นกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำ ๒.๑ การส่งเสรมิ ให้มีการนเิ ทศ กากับติดตาม ดูแลการจัดกิจกรรมการจดั ประสบการณ์ กจิ กรรม เกีย่ วกับงานวิชาการ ตลอดจน และการนาผลการประเมนิ ผลการใชห้ ลักสูตรไปใช้ ๒.๒ การจดั ให้มมี ุมพักรอและมมุ การเรียนรู้สาหรับผู้ปกครอง ๒.๓ การรายงานผลการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา ต่อผูบ้ ังคบั บญั ชา ๓. ดำ้ นกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคัญ การส่งเสรมิ ให้เดก็ ได้เรียนรดู้ ้วยตนเอง เรยี นร้รู ว่ มกบั เพ่อื นเปน็ กล่มุ เลก็ กลุม่ ใหญ่ ๔. ด้ำนกำรประกนั คุณภำพภำยใน ไมม่ ี โอกำส ๑. อตั ราการศึกษาต่อของผู้เรยี นในชมุ ชนมมี าก ๒. ชุมชนใหค้ วามรว่ มมือในการจดั กิจกรรมของสถานศกึ ษาเป็นอย่างดี หากได้รับการตดิ ต่อ ประสานงาน ๓. มีเครื่องมือส่ือสารเช่นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ ท่ีเอื้อใหเ้ ปน็ ผูเ้ รยี นทันตอ่ เหตุการณ์ ๔. ชมุ ชนส่วนใหญม่ กี ารประกอบอาชีพมรี ายได้ เชน่ ทางานในโรงงาน อาชพี ประมง มีรายได้ สนับสนุนการเรียนการสอนของบุตรหลาน อปุ สรรค ๑. รายไดข้ องประชากรลดลงเนอื่ งจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพนื้ ที่ ๒. ผปู้ กครองประกอบอาชีพรับจา้ งทโ่ี รงงานไม่มีเวลาดูแลเด็กอย่างใกลช้ ิด ๓. สถานศกึ ษาตง้ั อยู่บรเิ วณปา่ ชายเลนกลางหมู่บา้ นตดิ คลองทาใหน้ า้ ทว่ ม ขอ้ เสนอแนะเพือ่ กำรพฒั นำตำมกฎกระทรวงวำ่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. ดำ้ นผลกำรจัดกำรศกึ ษำ ๑.๑ ผ้เู รยี นควรได้รบั การพฒั นาใหเ้ กดิ การใฝ่เรียนรู้ รักการอา่ นเพิ่มมากยิ่งข้ึนเพื่อเป็นแบบอย่างให้ สถานศึกษาอื่น โดยจัดโครงการส่งเสริมรักการอ่าน มีการบันทึกการอ่าน การประกวดแข่งขันในเร่ืองการอ่าน เป็นต้น และดาเนินการอย่างเป็นระบบบริหารคุณภาพ (PDCA) อย่างต่อเนื่อง โดยให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมใน การพฒั นา ๑.๒ สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์เพ่ือ พัฒนาทกั ษะด้านการคิดเปน็ ด้วยกจิ กรรมโครงงาน การค้นคว้าจากการอ่าน ค้นควา้ หาความรจู้ ากอนิ เตอร์เน็ต

๒๒ การทาแผนผังความคิด และการสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพ่ือนามาเสนอใน ชั้นเรยี นให้ครอบคลมุ ทั้ง ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องทุกระดับชั้น ซึง่ จะเป็นพ้นื ฐานนาไปสกู่ ารพัฒนา ผลสมั ฤทธิ์ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๑.๓ สถานศึกษาควรวางแผน หรือ กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการ เรียนของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงและพอใช้ให้ชัดเจน สิ้นปีการศึกษานา ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรยี นมาเปรยี บเทยี บกบั เป้าหมายของแตล่ ะปีการศึกษา ๑.๔ สถานศึกษาควรกาหนดนโยบายให้ครูได้พัฒนา นวัตกรรมการฝึกปฏิบัติให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ การอ่านออกเขียนได้และอ่านคล่อง เขียนคล่อง ให้ชัดเจนเพื่อเป็นรากฐานในการเรียน ค้นคว้าหาความรู้ใน กลุ่มสาระการเรยี นร้อู ืน่ ๆ รวมทัง้ ประเมนิ ผล ตดิ ตามความก้าวหนา้ ในการอ่าน การเขียนของผูเ้ รยี นใหช้ ัดเจน ๑.๕ สถานศึกษากาหนดเอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษาว่า “งานประดิษฐ์จากเปลือกหอย”เพื่อสง่ เสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาได้รับการยอมรับจากองคก์ รภายนอกมากย่ิงขึ้นนนั้ สถานศึกษาควรประสานความรว่ มมือในการ จัดโครงการและกิจกรรมรว่ มกบั ศนู ย์เครือขา่ ยหรอื หน่วยงานภายนอก เช่น การประกวดโครงงานสงิ่ ประดิษฐ์ จากเปลอื กหอย การจัดจาหน่ายสินค้าจากเปลือกหอย การตกแต่งตู้ปลาสวยงาม เปน็ ตน้ ๑.๖ สถานศึกษาได้ดาเนินการโครงการพิเศษเพ่ือส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา คือโครงการ พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านออกเขียนได้ท่ีดีขึ้น แต่ยังไม่เป็นไปตาม เกณฑ์ของแต่ละระดับช้ัน และยังไม่สามารถเป็นแบบอย่างของการเปลี่ยนแปลงท่ีดีขึ้น สถานศึกษาควรจัด โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน จัดให้การบันทึกการอ่าน สรุปใจความในเรื่องที่อ่าน การแข่งขันโต้วาที การ ประกวดแขง่ ขันในเรอื่ งการอ่านทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ภาษาอาหรบั เปน็ ตน้ โดยให้ทกุ ฝ่ายได้ มีส่วนร่วมในการพัฒนา ๒. ดำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำรศึกษำ ๒.๑ สถานศึกษาควรมีการนิเทศ กากับติดตาม ดูแลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรม เกี่ยวกับงานวิชาการ ตลอดจนการประเมินผลการใช้หลักสูตร อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยการนาผลการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการใช้หลักสูตร มาปรับหลักสูตรสถานศึกษา และปรับการจัดกิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีความชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และ ส่งเสริมสนับสนุนให้คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางการจัดทาหลักสูตรของ สถานศกึ ษา เพื่อรว่ มกาหนดสาระการเรียนรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของท้องถิน่ ๒.๒ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานควรมีการประชุมอย่างน้อยภาคเรียนละ ๒ ครั้ง และให้ ผู้บริหารสถานศึกษารายงานผลการประชุมต่อหน้าผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปช้ันหน่ึงภายใน ๑๕ วัน นับตั้งแต่ วันท่ีมีการประชุมและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานควรแต่งต้ังท่ีปรึกษาและคณะอนุกรรมการเพื่อ ดาเนินงานตามระเบียบและควรเห็นชอบเอกสารหลักของสถานศึกษา เช่น แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ประจาปี รายงานประจาปี เปน็ ต้น ๓. ด้ำนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ๓.๑ สถานศึกษาควรมีการนาผลการประเมิน ไปพัฒนาครูให้เป็นระบบ เช่น การประเมินแผนการ จัดการเรียนรู้ การประเมินการจัดการเรียนรู้การประเมินแบบวัด แบบทดสอบไปพัฒนาครูแต่ละคนอย่างเป็น ระบบ โดยฝ่ายวิชาการติดตามผล ชว่ ยเหลือ ในการดาเนินงานของครูแต่ละคนเพ่ือการชแี้ นะพัฒนางานของครู ได้ถูกต้องตรงกบั ความต้องการของครู

๒๓ ๓.๒ ครคู วรไดร้ บั การส่งเสริมพฒั นาให้มกี ารคน้ คว้า วจิ ยั เพอ่ื พัฒนาสอ่ื นวัตกรรม และกระบวนการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และนาข้อมูลมาใช้ในการสอนซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังปรับเปล่ียน กระบวนการจัดการเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถ่ินท่ีเหมาะสม กบั พัฒนาการการเรยี นร้ขู องผู้เรียน ๓.๓ สถานศึกษาควรศึกษากรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒- ๒๕๖๑) โดยสรุปเป็นด้านๆ คือจะพัฒนาคุณภาพของคนไทย (ผู้เรียน) ยุคใหม่อย่างไร พัฒนาคุณภาพของครู ยุคใหม่อย่างไร พัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่อย่างไร แล้วกาหนด เปน็ โครงการและกจิ กรรมบรรจุไวใ้ นแผนปฏิบัติการประจาปี โดยใช้กระบวนการบริหารคุณภาพ (PDCA) ให้มี ขั้นตอนที่จะศึกษาและตรวจสอบได้ในขั้นตอนของการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการดาเนินงาน และนาผลการตรวจสอบไปปรับปรงุ และพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง ๔. ด้ำนกำรประกันคุณภำพภำยใน สถานศึกษาควรส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเรื่องระบบ หลักเกณฑ์ การประกันคุณภาพ ภายในท้ัง ๘ ข้อ แก่ ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ให้มีความเข้าใจอย่างชัดเจน และ นาความรู้มาวางแผนพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้ยั่งยืนอย่างต่อเน่ืองทุกปี เพ่ือให้เกิดประโยชน์ ในการพัฒนาสถานศึกษาให้เจริญก้าวหน้าย่ิงขึ้นไป และสามารถเป็นแบบอย่างในการดาเนินแก่สถานศึกษา อืน่ ๆ ตอ่ ไป ๘.๑.๓ สรุปสภำพปัญหำ จุดเด่น จดุ ทีค่ วรพฒั นำในกำรจดั กำรศึกษำของสถำนศึกษำ ๑) ระดบั ปฐมวัย สภำพปญั หำ ผปู้ กครองไปทางานต่างถ่นิ ทาใหบ้ ุตรหลานขาดเรียนบ่อย สภาพโรงเรยี นน้าทว่ มบ่อย เด็กใช้ ภาษาถ่นิ ในการส่อื สาร จุดเด่น ระดบั กอ่ นประถมศึกษาผ้เู รยี นมีนา้ หนัก สว่ นสงู และสมรรถภาพทางกายเขา้ เกณฑม์ าตรฐาน และมีสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยท่ีดี รู้จักดูแลตนเอง ให้ปลอดภัยจากอุบัติเหตุและส่ิงเสพติด มีความเช่ือชม ด้านศิลปะดนตรี ความเคลื่อนไวและ กระตือรือร้นในการทางาน มีวินัยความรับผิดชอบ ปฏิบัติงานตาม ข้อตกลงรว่ มกนั มีทักษะในการเล่นหรอื ทากิจกรรมสร้างสรรค์ จุดทค่ี วรพัฒนำ ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา ควรพัฒนาผเู้ รียนให้มีความคดิ วิเคราะห์ คิดสังเคราะหแ์ ก้ปัญหาให้ เหมาะสมสมกับวยั และพัฒนาผู้เรียนเกิดจนิ ตนาการและความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ คิดรวบยอด จดั กิจกรรม เพ่ิมทักษะในการแสวงหาความรูแ้ ละการสังเกต การสารวจโดยใช้ประสาทสมั ผสั ท้งั ๕ สง่ เสริมพฒั นาตาม จุดเนน้ จุดเด่นท่ีส่งผลสะทอ้ นเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษาการดาเนนิ โครงการพเิ ศษเพอื่ สง่ เสรมิ บทบาทของ สถานศึกษาที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีของการเปลี่ยนแปลง ๒) ระดับประถมศึกษำขนั้ พนื้ ฐำน สภำพปัญหำ นักเรยี นยา้ ยติดตามผูป้ กครอง ทาให้การเรียนของนักเรยี นบางสว่ นไม่ต่อเน่ือง ที่ต้ังโรงเรยี น มสี ภาพเปน็ ที่ลุ่ม ทาใหเ้ กิดนา้ ท่วมซา้ ซาก ผู้ปกครองนกั เรียนมีรายไดต้ า่

๒๔ จุดเด่น ดำ้ นคณุ ภำพผเู้ รียน ๑. นักเรียนมคี วามกลา้ แสดงออก ๒. นักเรยี นมสี ุขภาพกายทแ่ี ข็งแรง ๓. นักเรยี นมจี ริยธรรมและปฏบิ ตั ิตามหลกั ศาสนาที่ตนเองนับถือ ด้ำนกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ครูมคี ณุ ธรรม มีมนุษย์สัมพนั ธ์ท่ดี ี ตอ่ ผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน มคี วามมงุ่ ม่ันและอุทิศ ตนในการจัดการเรียนการสอนให้นักเรยี นคดิ เป็น แก้ปัญหาเป็น และอยู่อยา่ งมีความสุข ดำ้ นกำรบริหำรและกำรจดั กำรศึกษำ ๑. สถานศึกษามีการจัดองค์กร/โครงสร้างการบรหิ ารงานไว้อย่างชัดเจน มกี ารระบุ ขอบข่ายและภารกิจของแตล่ ะฝา่ ยงาน โดยมคี าส่งั แต่งต้ังผูร้ ับผดิ ชอบอย่างชัดเจน ๒. โรงเรียนไดจ้ ดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษาและมกี ารปรับปรุงให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกบั ผเู้ รยี น การวัด ประเมินผลอยา่ งระบบ จัดให้มกี ารนเิ ทศภายในอย่างต่อเนื่อง ส่งเสรมิ ใหค้ รใู ชแ้ หลง่ เรยี นรู้ทง้ั ในและนอกโรงเรยี นสนับสนนุ ให้ครูได้ทาวจิ ยั ในช้ันเรียน ๓. โรงเรียนจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อใหน้ กั เรยี นเปน็ คนสมบูรณ์ ท้ังร่างกาย อารมณ์ สงั คม สติปัญญา และเปน็ ผู้มีคณุ ธรรม จริยธรรม ๔. ชมุ ชนให้ความรว่ มมือในการดาเนินการบรหิ ารจดั การของโรงเรยี น ในทุกด้าน โดยเฉพาะ กรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ด้ำนกำรพัฒนำชมุ ชนแหง่ กำรเรียนรู้ โรงเรยี น ได้จดั กิจกรรมการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั โดยมภี ูมิปญั ญาท้องถ่นิ เปน็ วิทยากร ในสาระการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ทง้ั ในและนอกโรงเรียน จดุ ทค่ี วรพัฒนำ ๑. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า ในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ส่งผลต่อการ เรียนรูใ้ นสาระอืน่ ๆ ๒. การใชส้ ื่อและเทคโนโลยี ๓. นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ ดำ้ นกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอน ๑. การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เนน้ กระบวนการคิด วเิ คราะห์ ๒. ควรนานวตั กรรม สือ่ การสอน เทคโนโลยีมาจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ด้ำนกำรบริหำรและกำรจดั กำรศึกษำ การควบคุม กากับ ติดตาม และการประเมินผลการดาเนินงานของแต่ละฝ่ายงาน/โครงการ/ กิจกรรม ควรดาเนินอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง เช่น มีแผนควบคุม/ติดตาม เครื่องมือการประเมิน และมี การจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งาน เพอื่ การพัฒนาต่อไป ดำ้ นกำรพฒั นำชมุ ชนแหล่งกำรเรียนรู้ ๑. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยมภี ูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินเปน็ วทิ ยากร ๒. สร้างแหลง่ เรียนรภู้ ายในโรงเรยี น และนอกโรงเรยี น

๒๕ บทท่ี ๒ การศึกษาสถานภาพของโรงเรยี นบา้ นบางราพา  ผลกำรวิเครำะหส์ ภำพแวดล้อมภำยนอก ประเด็นท่เี ป็นอุปสรรค ดำ้ น ประเด็นทเี่ ปน็ โอกำส 1. ดำ้ นสังคมและ 1. ประชาชนส่วนใหญ่ปฏิบัตติ นตาม ๑. ผปู้ กครองมีคา่ นยิ มสง่ บตุ รหลานให้เขา้ วัฒนธรรม (S) ประเพณีและวัฒนธรรมทดี่ ีงาม เรียนในโรงเรียนเอกชนทาให้จานวน ส่งผลให้เป็นแบบอยา่ งท่ีดกี ับ นกั เรียนลดลง เยาวชน ๒. ผู้ปกครองสว่ นใหญ่มีระดับการศึกษา 2. ชุมชนมแี หลง่ เรยี นรทู้ ี่นักเรยี น ค่อนข้างตา่ ส่งผลให้ไม่สามารถสง่ เสริม สามารถหาความรู้ได้ ทางด้านการศกึ ษาให้แก่นักเรียน 3. สังคมพหวุ ัฒธรรมที่หลากหลายทา ๓. ผู้ปกครองสว่ นใหญ่ทางานต่างถิ่นสง่ ผลให้ ใหเ้ ออ้ื ต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ไมม่ เี วลาดแู ลอบรมส่ังสอนบุตรหลาน ๔. โรงเรยี นต้ังอย่ใู นพน้ื ท่เี สย่ี งส่งผลตอ่ การ ปฏบิ ตั ิงาน 2. ดำ้ นเทคโนโลยี 1. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี 1. ประชาชนบางส่วนใชเ้ ทคโนโลยีทไี่ ม่ (T) ทางการส่ือสาร ทาใหเ้ ออ้ื ต่อการ เหมาะสมสง่ ผลให้นักเรียนไดร้ ับแบบอย่าง จดั การศกึ ษา ท่ไี ม่ดี 3. ดำ้ นเศรษฐกจิ (E) 2. รฐั บาลสนบั สนุนใหโ้ รงเรียนจดั 2. ชมุ ชนไม่มีบริการสญั ญาณอนิ เตอร์เน็ตที่ การศกึ ษาโดยใช้เทคโนโลยที าง เออ้ื ต่อการสบื คน้ ข้อมลู การศึกษา (DLIT) สง่ ผลให้ครูจัด กิจกรรมการเรียนการสอนได้ 3. เยาวชนนาสอื่ สังคมออนไลน์ไปใชใ้ นทางท่ี หลากหลาย ไม่ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ 3. ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถ่ินทีเ่ อื้อตอ่ 1. ผปู้ กครองมฐี านะทีย่ ากจนสง่ ผลให้ การจดั การเรยี นรใู้ ห้กับนักเรียน โรงเรยี นไมส่ ามารถระดมทรัพยากรดา้ น งบประมาณได้ 4. เทคโนโลยมี รี าคาถูกลงส่งผลให้ ประชาชนมีกาลงั ซื้อเพิม่ ขึน้ 2. ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทาให้รายได้ลดลง ชุมชนนอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการดาเนนิ ชีวิต สง่ ผล ให้เกดิ วถิ ีชีวติ แบบพอเพียง

๒๖ ดำ้ น ประเด็นทเี่ ปน็ โอกำส ประเด็นท่ีเปน็ อปุ สรรค 3. สถานการณ์ความไม่สงบในพ้ืนท่ที าใหก้ าร ลงทนุ ตา่ ส่งผลให้ประชาชนไม่มีงานทา ๔. ดำ้ นกำรเมอื ง ๑. พรบ.การศึกษาแห่งชาตใิ ห้สิทธิ 1. นโยบายทางการศึกษามีการปรบั เปลีย่ น และกฎหมำย (P) เสมอภาคดา้ นโอกาสทางการศกึ ษา บอ่ ยสง่ ผลใหก้ ารจดั การศึกษาไม่บรรลุ แก่ทุกคน ตามวัตถปุ ระสงค์ ๒. รัฐบาลสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการ 2. กฎหมายนิตบิ ุคคลของสถานศกึ ษายังไม่ จัดการศึกษาตั่งแตร่ ะดับอนุบาล สามารถบริหารจดั การได้อย่างเต็มรปู แบบ จนจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ทาให้ ลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ยแก่ผู้ปกครอง ๓. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 กาหนดเปา้ หมายให้คนไทยทกุ คนมโี อกาสและสามารถเข้าถึง การศึกษาข้ันพนื้ ฐานที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมกัน  ผลกำรวเิ ครำะหส์ ภำพแวดล้อมภำยใน ด้ำน ประเด็นทเี่ ป็นจุดแข็ง ประเดน็ ทเ่ี ปน็ จุดอ่อน 1. ด้ำนโครงสรำ้ ง ๑. โรงเรยี นมีโครงสรา้ งการบริหารงานที่ 1. โรงเรยี นไมไ่ ดร้ บั ความรว่ มมือจาก และนโยบำย ชดั เจนส่งผลใหก้ ารบรหิ ารงานมี ชุมชนในการกาหนดนโยบายการ (S1 ) ประสทิ ธิภาพ จดั การศกึ ษา ๒. โรงเรยี นกาหนดนโยบายและแผนงานท่ี 2. โรงเรยี นมีนโยบายทางการศึกษาท่ี ชัดเจน โดยครแู ละบุคลากรในโรงเรยี นมี ตอ้ งดาเนินการมากทาใหค้ รูมีภาระ สว่ นรว่ ม งานเพม่ิ ข้นึ สง่ ผลใหป้ ระสทิ ธิภาพ การจดั การเรียนการสอนลดลง ๓. โรงเรียนดาเนินงานตามนโยบายปฏิรปู การศกึ ษาอย่างต่อเนอ่ื ง

๒๗ ด้ำน ประเดน็ ท่เี ปน็ จุดแข็ง ประเด็นทีเ่ ป็นจดุ ออ่ น ๒. ด้ำนบริกำร ๔. โรงเรียนมีบรกิ ารอาหารวา่ งและบรกิ าร ๑. นักเรยี นส่วนใหญข่ าดทักษะการคดิ (S2 ) ด้านสขุ ภาพให้แกน่ กั เรียนอย่างท่ัวถงึ วเิ คราะห์ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ 2. การใหบ้ ริการทางการศึกษาตามนโยบาย ทางการเรียนตกตา่ เรยี นฟรีอย่างทว่ั ถงึ ๒. โรงเรยี นมีการจัดกจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ 3. ชุมชนมคี วามพง่ึ พอใจต่อการดาเนินการ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมยงั ไม่เต็มท่ี จัดกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียน ๓. โรงเรียนมหี ้องปฏิบัตกิ ารยังไม่ 4. มีระบบดแู ลช่วยเหลือทเี่ ขม้ แขง็ ต่อเนื่อง เพียงพอต่อความตอ้ งการ สม่าเสมอและท่วั ถงึ ๓. ด้ำนบคุ ลำกร ๑. โรงเรียนมคี รคู รบช้ันและตรงตามวิชาเอก ๑. ครูส่วนใหญ่ขาดทักษะ (M1) ส่งผลใหม้ ีการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมี กระบวนการวจิ ยั เพ่อื พัฒนาผู้เรยี น ประสิทธิภาพ ๒. ครูบางสว่ นไม่มีความร้แู ละทักษะ ๒. ครูทุกคนปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณ ในการผลติ และใชส้ ่อื เทคโนโลยี วิชาชีพอยา่ งเคร่งครัด ๓. ครูจดั กระบวนการเรียนการสอนท่ี ๓. ครแู ละบุคลากรทางานรว่ มกันเปน็ ทีม ไมห่ ลากหลาย พรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลง ๔. ครูและบุคลากรอยู่ในวยั ทางานมีสขุ ภาพ ที่แข็งแรง ๔. ดำ้ นกำรเงิน ๑. โรงเรียนมกี ารใช้งบประมาณตามแผนงาน 1. โรงเรียนยงั ไม่สามารถระดม (M2 ) โครงการอยา่ งโปร่งใส ตรวจสอบได้ ทรัพยากรจากท้องถิ่น ๒. โรงเรียนมีความคลอ่ งตัวในการจัด 2. งบประมาณยังไม่เพียงพอต่อการ งบประมาณ ดาเนินงานของโรงเรียน ๕. ดำ้ นวสั ดุ ๑. โรงเรียนมีบรกิ ารวัสดุอุปกรณ์ในการ 1. โรงเรยี นใชว้ สั ดอุ ุปกรณย์ งั ไมค่ ุ้มค่า อปุ กรณ์ จดั การเรียนการสอนแกน่ ักเรียน เท่าท่ีควร (M3 ) ๒. โรงเรียนมีสือ่ เทคโนโลยมี าช่วยในการ 2. สือ่ วัสดอุ ปุ กรณ์ไม่เพยี งพอตอ่ การ จดั การเรยี นการสอน จดั การศึกษา ๓. โรงเรยี นจัดหาพัสดุไดต้ รงตามความ ต้องการ

๒๘ ดำ้ น ประเดน็ ทเ่ี ปน็ จดุ แข็ง ประเด็นท่ีเป็นจดุ ออ่ น ๖. ด้ำนบรหิ ำร ๑. โรงเรียนมแี ผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี 1. โรงเรียนขาดประสิทธภิ าพในการ จัดกำร งบประมาณและแผนพัฒนาระบบการจดั จัดข้อมลู สารสนเทศการ การศึกษาที่ใชใ้ นการบริหารงาน บรหิ ารงานใหเ้ ป็นระบบ (M4) ๒. โรงเรยี นมีการกระจายอานาจการบรหิ าร 2. โรงเรยี นมีการส่งเสริมนิเทศ ที่ชดั เจน ตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอน อย่างสม่าเสมอ ๓. มีการนาระบบ PDCA มาใชใ้ นการ บรหิ ารงานอยา่ งชดั เจน ๔. มรี ะบบการพัฒนาบุคลากรทักษะเฉพาะ ดา้ น กรำฟแสดงสถำนภำพของหนว่ ยงำน จากผลการวิเคราะห์ SWOT ของโรงเรียนบา้ นบางราพา จะเห็นวา่ จดุ แรเงาหรือจดุ แดงพร้อม ลูกศรจะปรากฏอยู่ทางด้านจุดแข็งและอุปสรรค ซ่ึงถือว่าไม่เอื้อแต่แข็ง เป็นตาแหน่งท่ีบ่งบอกว่า สถานศึกษาโดยภาพรวมแลว้ สภาพแวดล้อมภายนอกเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา แต่สภาพภายในเป็น จุดแขง็ ท่เี อ้ือตอ่ การพัฒนา ซ่ึงต้องรกั ษาความสามารถภายในไว้ พรอ้ มท่จี ะกา้ วต่อไปเมอื่ โอกาสมาถงึ

๒๙ บทที่ ๔ ทศิ ทางการจัดการศกึ ษา  วสิ ยั ทัศน์ (Vision) โรงเรียนบา้ นบางราพา จัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ โดยน้อมนาเศรษฐกิจพอเพียง เนน้ ผเู้ รียน เป็นสาคัญ ก้าวทันเทคโนโลยี เรียนรู้อย่างมีความสุข ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา พร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซยี นภายใตก้ ารมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นในสังคมพหวุ ัฒนธรรม  พนั ธกจิ (Mission) พันธกิจท่ี ๑ ส่งเสริมครผู ้สู อนให้สามารถจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พันธกจิ ที่ ๒ จัดการศึกษาใหน้ กั เรียนมคี วามรู้ ความสามารถเหมาะสมตามระดับชน้ั มีคุณธรรม จรยิ ธรรมน้อมนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบัติ พนั ธกิจที่ ๓ พัฒนาระบบการบรหิ ารและจดั การศึกษาให้ได้มาตรฐานการศึกษา พันธกจิ ท่ี ๔ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีความร้คู วามสามารถส่มู ืออาชีพ พร้อมเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี น พนั ธกจิ ที่ ๕ สง่ เสริมและสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา  เป้าประสงค์ (Goals) ๓.๑ ผู้เรียนในระดับปฐมวยั ระดับประถมศึกษา ได้รับการศึกษาจัดการสง่ เสริม สนับสนุนให้ ผู้เรยี น ได้รับความรูต้ ามมาตรฐาน ตามท่ี สพฐ. กาหนดอยา่ งมคี ุณภาพ ๓.๒ นักเรียนท่ีมีอายุอยู่ในระหว่างเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึง ใน เขตพื้นทีบ่ รกิ ารของสถานศกึ ษา ๓.๓ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาความรู้ตรงตามสาขาวิชาที่รับผิดชอบใน การจัดการเรียนการสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพ ๓.๔ ระบบการบรหิ ารและจดั การศกึ ษาได้มาตรฐานการศกึ ษา

๓๐  ประเด็นกลยุทธ์ (Strategic Issues) ๑. พัฒนาประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการศึกษาในสถานศึกษา ๒. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มคี ุณภาพ ๓. พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร ๔. พัฒนาผู้เรียนให้นอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการดารงชีวติ ๕. จัดการศกึ ษาและประสบการณใ์ ห้ผู้เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๖. จดั การศึกษาโดยการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคส่วน  ประเด็นกลยทุ ธ์ (Strategic Issues) ประเด็นกลยุทธ์ (Strategic Issues) กลยุทย์ (Strategy) ๑. พั ฒ น า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาให้มี การศึกษาในสถานศกึ ษา คณุ ภาพ ๒. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี คณุ ภาพ คุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ ๓. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ หลกั สตู ร เรยี น โดยส่งเสรมิ การจัดการเรียนการสอนดว้ ยรปู แบบ ทหี่ ลากหลายตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร ๔. พัฒนาผู้เรียนให้น้อมนาหลักปรัชญาของ ขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา เศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นการดารงชวี ิต และชุมชน ๕. จัดการศึกษาและประสบการณ์ให้ผู้เรียนมี ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้นักเรยี นมี คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๖. จัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากชุมชนและผู้เกี่ยวข้องทุก ส่วน ภาคสว่ น

๓๑ บทท่ี ๔ กลยทุ ธ์กำรพัฒนำกำรศึกษำ ระยะ ๔ ปี  ประเดน็ กลยทุ ธ์ที่ 1 พฒั นำประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำในสถำนศึกษำ เป้ำประสงค์ ตวั ชี้วัด ขอ้ มูล ค่ำเปำ้ หมำยของตัวชีว้ ดั กลยทุ ธ์ เชิงกลยุทธ์ ควำมสำเรจ็ ปฐี ำน ปี ปี ปี ปี 2563 2564 2565 2566 โรงเรยี นมีกำร ผลการประเมิน n/a ดี ดี ดมี ำก ดีมำก พฒั นา บริหำรจดั กำรศึกษำ คณุ ภาพภายใน ท่ีมคี ุณภำพได้ ประสิทธภิ าพการ มำตรฐำนและ เป็นไปตำมหลกั บริหารจัด ธรรมำภิบำล การศึกษาให้มี คณุ ภาพ  ประเด็นกลยุทธท์ ี่ 2 พัฒนำคณุ ภำพสถำนศึกษำโดยเน้นกำรนิเทศ ติดตำม และประเมินผล เปำ้ ประสงคเ์ ชงิ กล ตวั ชวี้ ดั ข้อมูล ค่ำเปำ้ หมำยของตัวชว้ี ัด กลยุทธ์ ยุทธ์ ควำมสำเร็จ ปฐี ำน ปี ปี ปี ปี 2563 2564 2565 2566 ครแู ละบุคลำกร ร้อยละของการ 70 70 80 90 100 พฒั นาศักยภาพ ทำงกำรศึกษำมี ดาเนินการโครงการ ครูและบคุ ลากร ควำมรู้ ท่ีประสบผลสาเร็จ ทางการศึกษาให้ ควำมสำมำรถ มคี ุณภาพตาม ปฏบิ ัติงำนตำม มาตรฐานวชิ าชีพ มำตรฐำนวชิ ำชีพได้ อย่ำงมีคณุ ภำพ

๓๒  ประเด็นกลยุทธ์ท่ี 3 พฒั นำคณุ ภำพผเู้ รียนตำมเกณฑ์มำตรฐำนหลักสูตร เป้ำประสงค์เชิงกล ตวั ชี้วดั ข้อมูล ค่ำเปำ้ หมำยของตัวช้วี ดั กลยุทธ์ ยทุ ธ์ ควำมสำเรจ็ ปีฐำน ปี ปี ปี ปี 2563 2564 2565 2566 ผเู้ รยี นมคี ณุ ภำพ 1. ร้อยละของ n/a 60 70 80 90 พฒั นาคุณภาพ ตำมเกณฑ์มำตรฐำน นักเรียนทีผ่ ่าน ผเู้ รียนเพอื่ หลกั สูตร การประเมิน ยกระดบั มาตรฐานทุก ผลสัมฤทธ์ิ ระดับชน้ั ตาม ทางการเรียน โดย หลกั สูตร สง่ เสริมการ 2. รอ้ ยละของ จัดการเรียนการ นักเรียนที่ผา่ น เกณฑ์การ สอนด้วยรูปแบบ ประเมิน ทห่ี ลากหลายตาม สมรรถนะสาคัญ เกณฑ์มาตรฐาน คณุ ลกั ษณะอัน หลักสูตร พงึ ประสงค์ตาม หลักสูตร  ประเดน็ กลยุทธ์ท่ี 4 พฒั นำผ้เู รยี นให้นอ้ มนำหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในกำรดำรงชวี ติ เปำ้ ประสงค์ ตัวช้ีวดั ขอ้ มูล ค่ำเป้ำหมำยของตัวชี้วดั กลยทุ ธ์ เชิงกลยุทธ์ ควำมสำเรจ็ ปฐี ำน ปี ปี ปี ปี 2563 2564 2565 2566 ผเู้ รยี นสำมำรถนำ ผลการประเมนิ การ n/a ดี ดี ดีมำก ดมี ำก ขับเคลื่อนหลัก หลักปรัชญำของ พัฒนาผู้เรยี นให้ ปรัชญาเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพยี งไป น้อมนาหลัก ใชใ้ นกำรดำรงชวี ติ ปรชั ญาของ พอเพยี งสู่ สถานศกึ ษาและ เศรษฐกิจพอเพยี ง ชมุ ชน

๓๓  ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 5 จดั กำรศกึ ษำและประสบกำรณใ์ หผ้ ู้เรียนมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เป้ำประสงคเ์ ชงิ กล ตัวชว้ี ัด ขอ้ มูล คำ่ เปำ้ หมำยของตัวชี้วดั กลยุทธ์ ยทุ ธ์ ควำมสำเร็จ ปฐี ำน ปี ปี ปี ปี 2563 2564 2565 2566 ผูเ้ รียนมคี ุณธรรม รอ้ ยละของผเู้ รียนที่ n/a 60 70 80 90 ส่งเสรมิ การจัด จรยิ ธรรม และ ผ่านคณุ ลกั ษณะอนั กระบวนการเรียน คณุ ลักษณะอนั พงึ พงึ ประสงค์ การสอนให้ ประสงคต์ ำมเกณฑ์ นกั เรยี นมี มำตรฐำนหลกั สูตร คุณธรรม จริยธรรมและ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์  ประเดน็ กลยทุ ธท์ ี่ 6 จัดกำรศกึ ษำโดยกำรมีสว่ นร่วมของทุกภำคส่วน เป้ำประสงค์เชงิ กล ตัวชว้ี ัด ข้อมูล ค่ำเป้ำหมำยของตัวชวี้ ดั กลยทุ ธ์ ยทุ ธ์ ควำมสำเรจ็ ปีฐำน ปี ปี ปี ปี 2563 2564 2565 2566 ทุกภำคส่วนมีส่วน จานวนคร้งั ทีท่ ุก 30 40 50 60 70 ส่งเสรมิ การมสี ่วน รว่ มในกำรจัด ภาคสว่ นเข้ามามี กำรศึกษำ สว่ นร่วมในการ รว่ มจากชุมชน ส่งเสริมการตดั การศกึ ษา และผเู้ กีย่ วข้อง ทกุ ภาคสว่ น

บทท โครงกำรและ  ประเด็นกลยทุ ธ์ท่ี 1 พฒั นำประสทิ ธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำในสถำนศึกษ กลยุทธ์(Strategy) โครงกำร ปี 25๖๓ ปี 256๔ พฒั นำประสิทธิภำพ 1. โครงกำรพฒั นำระบบประกนั ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐ กำรบรหิ ำรจัด คณุ ภำพภำยในสถำนศึกษำ กำรศึกษำใหม้ ี 2. โครงการนิเทศภายในเพื่อ ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ คุณภำพ พัฒนากระบวนการจัดการ เรยี นการสอน 3. โครงการพฒั นาทกั ษะทาง ๕๐,๖๑๔ ๕๐,๖๑๔ วิชาการสกู่ ารยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการศึกษา 4. โครงการพฒั นาหลักสูตร ๒,๐๐๐ ๒,๐๐๐

ที่ ๕ ะงบประมำณ ษำ ผ้รู ับผดิ ชอบ ฝ่ำยงำนท่ี งบประมำณ รวม 4 ปี รับผิดชอบ ๔ ปี 256๕ ปี 256๖ ๑๖,๐๐๐ ๐ ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐ นางสาวนาซีบะ๊ ดอื ราแม บรหิ ารงานวิชาการ ๐ ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ นางฉวีวรรณ ขนุ เจรญิ บริหารงาน งบประมาณ ๔ ๕๐,๖๑๔ ๕๐,๖๑๔ ๒๐๒,๔๕๖ นางสาวนาซีบะ๊ ดอื ราแม บริหารงานวิชาการ ๐ ๒,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๘,๐๐๐ นางสาวนาซบี ะ๊ ดือราแม บรหิ ารงานวชิ าการ ๓๔

กลยุทธ(์ Strategy) โครงกำร 5. โครงการพฒั นาและปรับปรุง ปี 25๖๓ ปี 256 ระบบบรกิ ารสารสนเทศ (ขนั้ ๘,๐๐๐ ๘,๐๐๐ พื้นฐาน) ๑๐,๐๐๐ ๑๐,๐๐ 6. โครงการประชุมปฏิบัติการ จัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารระจา ๓,๙๐๐ ๓,๙๐๐ ปงี บประมาณ ๑๑,๐๐๐ ๑๑,๐๐ ๖,๘๐๐ ๖,๘๐๐ 7. โครงการพัฒนาประสทิ ธิภาพ งานบรหิ ารงบประมาณ 8. โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่ เอื้อต่อการจดั การศึกษา 9. โครงการวดั ผลประเมนิ ผลการ เรยี น  ประเด็นกลยุทธ์ที่ 2 พัฒนำคณุ ภำพสถำนศกึ ษำโดยเนน้ กำรนิเทศ ตดิ ตำม แล กลยุทธ์(Strategy) โครงกำร ปี 25๖๓ ปี 256๔ พัฒนำศักยภำพครู โครงการพัฒนาบุคลากรและ ๔๒,๐๐๐ ๔๒,๐๐๐ และบคุ ลำกรทำงกำร เสรมิ สรา้ งการปฏิบัตริ าชการ ศึกษำให้มีคุณภำพ ตำมมำตรฐำนวชิ ำชีพ

งบประมำณ ผูร้ บั ผิดชอบ ฝ่ำยงำนที่ 6๔ ปี 256๕ ปี 256๖ รวม 4 ปี รับผิดชอบ ๐ ๘,๐๐๐ ๘,๐๐๐ ๓๒,๐๐๐ นายภูเมธ โชติกาญจนนท์ บรหิ ารงานทว่ั ไป ๐๐ ๑๐,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐ ๔๐,๐๐๐ นางวีวรรณ ขุนเจรญิ บริหารงาน งบประมาณ ๐ ๓,๙๐๐ ๓,๙๐๐ ๑๕,๖๐๐ นางสาวอาอเี ซาะ มาหะ บริหารงาน ๐๐ ๑๑,๐๐๐ ๑๑,๐๐๐ ๔๔,๐๐๐ นายฮูเซ็น จติ รบรรทดั งบประมาณ บรหิ ารงานทว่ั ไป ๐ ๖,๘๐๐ ๖,๘๐๐ ๒๗,๒๐๐ นางสาวฐฌิ ากรณ์ บรหิ ารงานวชิ าการ อุดมเศรษฐ์ ละประเมินผล รวม 4 ปี ผู้รบั ผิดชอบ ฝ่ำยงำนท่ี งบประมำณ ๑๖๘,๐๐๐ นางสาวพารซี า ยามาลูดิง รับผิดชอบ ปี 256๕ ปี 256๖ ๔๒,๐๐๐ ๔๒,๐๐๐ บริหารงานบคุ คล ๓๕

 ประเด็นกลยุทธท์ ่ี 3 พฒั นำคณุ ภำพผู้เรยี นตำมเกณฑ์มำตรฐำนหลักสูตร กลยุทธ(์ Strategy) โครงกำร ปี 25๖๓ ปี 256๔ พัฒนำคณุ ภำพผู้เรยี น ๑. โครงการสง่ เสรมิ การใช้ ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐ เพอื่ ยกระดับ ห้องสมุด ผลสัมฤทธิท์ ำงกำร ๒. โครงการพฒั นาและผลิตสือ่ ๑๙,๐๐๐ ๑๙,๐๐ เรียน โดยสง่ เสริมกำร นวัตกรรมเพื่อการจดั การเรยี น จัดกำรเรียนกำรสอน การสอน ด้วยรูปแบบที่ ๓. โครงการพัฒนาให้นักเรียนอา่ น ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ หลำกหลำยตำม ออกเขยี นได้ เกณฑม์ ำตรฐำน ๔. โครงการทศั นศกึ ษาแหลง่ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐ หลักสูตร เรยี นรู้ ๕. โครงการลูกเสือ – เนตรนารี ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ ๖. โครงการแข่งทกั ษะทางวขิ า ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ การ ๗. โครงการสรา้ งเสรมิ ทักษะและ ๑๘,๐๐๐ ๑๘,๐๐ พฒั นาและพัฒนาการเด็ก ปฐมวยั

งบประมำณ ผรู้ ับผิดชอบ ฝำ่ ยงำนที่ ๔ ปี 256๕ ปี 256๖ รวม 4 ปี รับผิดชอบ ๐ ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐ ๑๖,๐๐๐ นางสาวฐิฌากรณ์ อดุ ม บริหารงานวชิ าการ เศรษฐ์ ๐๐ ๑๙,๐๐๐ ๑๙,๐๐๐ ๗๖,๐๐๐ บริหารงานวิชาการ นางสาวรนุ ี ดือราแม ๐ ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ นางสาวรุสนี ดอื ราแม บริหารงานวิชาการ ๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ นายภูเมธ โชตกิ าญจนนท์ บรหิ ารงานทั่วไป ๐ ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ นายฮูเซน็ จติ รบรรทดั บรหิ ารงานทัว่ ไป ๐ ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ นางสาวรสุ นี สาหยงั บริหารงาน ๐๐ ๑๘,๐๐๐ ๑๘,๐๐๐ ๗๒,๐๐๐ นางสาวนทั รยี า งบประมาณ หะยีเจะ๊ และ บรหิ ารงาน งบประมาณ ๓๖

กลยทุ ธ(์ Strategy) โครงกำร ๘. โครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ ปี 25๖๓ ปี 256 สขุ ภาพ ๓,๐๐๐ ๓,๐๐ ๙. โครงการวันสาคญั ๔,๐๐๐ ๔,๐๐ ๑๐. โครงการพัฒนาทกั ษะ ๔,๐๐๐ ๔,๐๐ ด้านกีฬา ๔,๐๐๐ ๔,๐๐ ๑๑. โครงการจัดระบบดูแล ช่วยเหลอื นกั เรยี น  ประเด็นกลยทุ ธ์ท่ี 4 พฒั นำผู้เรียนใหน้ อ้ มนำหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพีย กลยุทธ(์ Strategy) โครงกำร ปี 25๖๓ ป ขบั เคลือ่ นหลักปรชั ญำเศรษฐกิจ โครงการเศรษฐกจิ ๕,000 พอเพยี งส่สู ถำนศึกษำและ พอเพยี ง ชมุ ชน

งบประมำณ ผู้รบั ผดิ ชอบ ฝ่ำยงำนท่ี 6๔ ปี 256๕ ปี 256๖ รวม 4 ปี นางมาลี เกอ้ื ขา รบั ผดิ ชอบ ๐๐ ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ บริหารงานท่ัวไป ๐๐ ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐ ๑๖,๐๐๐ นางสาวรสุ นี สาหยงั บรหิ ารงาน งบประมาณ ๐๐ ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐ ๑๖,๐๐๐ นางสาวฐฌิ ากรณ์ บริหารงานวชิ าการ อุดมเศรษฐ์ ๐๐ ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐ ๑๖,๐๐๐ นางสาวภัทยา เสื้อเกอ้ื บรหิ ารงานบุคคล ยงไปใช้ในกำรดำรงชีวติ รวม 4 ปี ผูร้ บั ผิดชอบ ฝำ่ ยงำนท่ี งบประมำณ ๒๐,๐๐๐ รบั ผดิ ชอบ นายฮูเซ็น ปี 256๔ ปี 256๕ ปี 256๖ จติ รบรรทัด บรหิ ารทั่วไป ๕,000 ๕,000 ๕,000 ๓๗

 ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 5 จัดกำรศึกษำและประสบกำรณ์ให้ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะอัน กลยุทธ(์ Strategy) โครงกำร ปี 25๖๓ ป ส่งเสรมิ กำรจัดกระบวนกำร 1. โครงการประชาธิปไตยใน 3,000 เรียนกำรสอนให้นกั เรยี นมี โรงเรยี น คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและ 2. โครงการโรงเรียนสขี าว ๕,000 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3. โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม ๓,000 จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มทพ่ี ่ึง ประสงค์  ประเดน็ กลยทุ ธท์ ี่ 6 จดั กำรศึกษำโดยกำรมสี ว่ นร่วมของทกุ ภำคสว่ น กลยทุ ธ์(Strategy) โครงกำร ปี 25๖๓ ปี 5 ส่งเสรมิ กำรมีสว่ นรว่ มจำก โครงการสรา้ งความสัมพันธ์ 5,000 ชมุ ชนและผ้เู กี่ยวข้องทกุ ภำค ระหว่างโรงเรียนกบั ชมุ ชน ส่วน

นพงึ ประสงค์ รวม 4 ปี ผู้รับผิดชอบ ฝ่ำยงำนที่ งบประมำณ ๑๒,๐๐๐ นางเนารัตน์ ศรชยั รบั ผิดชอบ ปี 256๔ ปี 256๕ ปี 256๖ บรหิ ารงานบคุ คล 3,000 3,000 3,000 ๕,000 ๕,000 ๕,000 ๒๐,๐๐๐ นายฮเู ซน็ บริหารงานทว่ั ไป ๓,000 ๓,000 ๓,000 ๑๒,๐๐๐ จิตรบรรทัด นางขะติเยาะ อบั ดุลเลาะ งบประมำณ รวม 4 ปี ผรู้ บั ผดิ ชอบ ฝำ่ ยงำนที่ 256๔ ปี 256๕ ปี 256๖ ๒๐,๐๐๐ รบั ผิดชอบ 5,000 5,000 5,000 นางสาวนริ อฮานา นิเซะ บรหิ ารงานวิชาการ ๓๘

๔๐ บทท่ี ๖ การบริหารสู่การปฏิบตั ิ การวางแผนเป็นงานหลกั และสาคัญในการบรหิ ารงานของหนว่ ยงาน เนอื่ งจากการวางแผนเป็น การกาหนดทิศทาง เป้าหมาย วิธีการดาเนินการที่จะทาให้หน่วยงานดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการภายในระยะเวลาท่ีกาหนด โดยเฉพาะแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๖ ของโรงเรียนบ้านบางราพา ได้จัดทาข้ึนโดยดาเนินการตามขั้นตอนในการจัดทา แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ประกอบด้วย 1. การศึกษาสถานภาพของหน่วยงาน โดยเทคนิค SWOT Analysis คือ การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อม (Environment Analysis) โดยนาผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) และการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน (internal Environment) มาประเมนิ สถานภาพของ หนว่ ยงาน 2. การกาหนดทิศทางของหน่วยงาน ประกอบด้วยการกาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าประสงค์ (Goals) 3. การกาหนดกลยทุ ธ์ เป็นการกาหนดประเด็นกลยุทธ์ (Strategic Issues) เปา้ ประสงคเ์ ชิงกล ยทุ ธ์ (Strategic Objective) ตวั ชี้วัดความสาเร็จ (Key Performance Indicators) และกลยทุ ธ์ (Strategic) ตลอดไปถึงโครงการ (Projects) กิจกรรม (Activity) และงบประมาณ (Budget) เปน็ ต้น ซึ่งในการดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในคร้ังน้ี ได้นาเอานโยบายและ จุดเน้นที่สาคัญของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมาเป็น กรอบในการจัดทาแผน ท้ังนี้ โดยยึดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาได้เข้ามามีบทบาท ในการจัดทาแผน แต่อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการวางแผนท่ีดีจะนามาสู่ความสาเร็จในการบริหารจัดการได้ส่วน หนึ่ง แต่ที่สาคัญเป็นอย่างมากก็คือ การที่จานาแผนไปสู่การปฏิบัติ การควบคุม และการประเมินผลกลยุทธ์ เปิ่นข้นั ตอนทโ่ี รงเรียนบ้านบางราพา ไดใ้ ห้ความสาคญั โดยได้กาหนดแนวทางและหลักการไว้ ดงั น้ี 1. ผู้บริหาร ข้าราชการครู และผู้ปฏิบัติทุกคนมีความเข้าใจในแผนพัฒนาการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐานเปน็ อย่างดี 2. กาหนดใหม้ ผี รู้ บั ผดิ ชอบโครงการ/กจิ กรรมท่ชี ดั เจน 3. กาหนดใหโ้ รงเรยี นมแี ผนพัฒนาการศึกษาขน้ั ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๖ 4. กาหนดให้โรงเรียนบ้านบางราพา มีแผนปฏิบัติการประจาปีท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนา การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานของแต่ละระดับ 5. แต่งตั้งคณะกรรมการการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การนาแผนไปสู่การปฏิบัติในทุก ระดบั 6. มกี ารสรปุ และประเมนิ ผลการนาแผนไปสู่การปฏิบตั ิ

ภำคผนวก

คาสั่งโรงเรยี นบ้านบางราพา ท่ี ๒๕ /๒๕๖๓ เรื่อง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการการจัดทาแผนกลยุทธข์ องสถานศึกษา ------------------------------------------------------------ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๓ อานาจตามความในมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๓ จึงแต่งต้ังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะทางานจัดทาแผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๖ ของโรงเรยี นบา้ นบางราพา ดงั นี้ ๑. คณะกรรมการดาเนินงานจัดทากลยทุ ธ์ ๑. นางสาวปวณี ์กร คลังขอ้ ง ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ประธานกรรมการ ๒. นางฉววี รรณ ขนุ เจริญ ครู คศ.๒ กรรมการ ๓. นายฮูเซน็ จติ รบรรทดั ครู คศ.๒ กรรมการ ๔. นางสาวนทั รยี า หะยีเจ๊ะและ ครู คศ.๒ กรรมการ ๕. นางสาวพารีซา ยามาลดู ิง ครู คศ.๑ กรรมการ ๖. นายภเู มธ โชตกิ าญจนนท์ ครู คศ.๑ กรรมการ ๗. นางสาวฐฌิ ากรณ์ อดุ มเศรษฐ์ ครู คศ.๑ กรรมการ ๘. นางสาวอาอีเซาะ มาหะ ครู คศ.๑ กรรมการ ๙. นางสาวรุสนี ดือราแม ครูผู้ช่วย กรรมการ ๑๐. นางสาวรสุ นี สาหยงั ครูผ้ชู ่วย กรรมการ ๑๑. นางภทั ยา แสนเกอ้ื พนกั งานราชการ กรรมการ ๑๒. นางสาวเนาวรัตน์ ศรชยั พนักงานราชการ กรรมการ ๑๓. นางมาลี เกอ้ื ขา พนักงานราชการ กรรมการ ๑๔. นางขะตเิ ยาะ อับดลุ เลาะ วทิ ยากรอสิ ลาม กรรมการ ๑๕. นางสาวนิรอฮานา นเิ ซะ พ่ีเลีย้ งเดก็ พิการ กรรมการ ๑๖. นางสาวนาซบี ะ๊ ดอื ราแม ครู คศ.๑ กรรมการ/เลขานุการ ๒. คณะกรรมการฝ่ายจัดทาเอกสารและรปู เลม่ ๑. นางสาวนาซบี ๊ะ ดือราแม ครู คศ.๑ ประธานกรรมการ ๒. นางฉวีวรรณ ขุนเจรญิ ครู คศ.๒ กรรมการ ๓. นางสาวฐฌิ ากรณ์ อดุ มเศรษฐ์ ครู คศ.๑ กรรมการ

๔. นางสาวรุสนี ดือราแม ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ ๕. นางภัทยา แสนเกือ้ พนักงานราชการ กรรมการ ๖. นางสาวนริ อฮานา นิเซะ พี่เลยี้ งเด็กพกิ าร กรรมการ ๗. นางสาวสีตีฮาจาร์ ยาแม ธุรการโรงเรียน กรรมการ ๘. นายภูเมธ โชติกาญจนนท์ ครู คศ.๑ กรรมการ/เลขานกุ าร ทงั้ น้ี ต้งั แต่วันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓ สัง่ ณ วนั ท่ี ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓ (นางสาวปวณี ก์ ร คลงั ข้อง) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านบางราพา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook