Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานแบบสอบถามวัดความรู้ ความเข้าใจฯ 62 PDF

รายงานแบบสอบถามวัดความรู้ ความเข้าใจฯ 62 PDF

Published by นัฐพงค์ ขาวพิมล, 2019-11-06 21:06:26

Description: รายงานแบบสอบถามวัดความรู้ ความเข้าใจฯ 62 PDF

Search

Read the Text Version

สรปุ ผล แบบสอบถามวัดความรู ความเขา ใจ และความพึงพอใจ ของบคุ ลากรที่ปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวกับ การประเมนิ สวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลุมพัฒนาระบบบริหาร กรมอุทยานแหง ชาติ สัตวปา และพันธุพ ืช

ก คาํ นํา การศกึ ษาเร่อื ง “ความรู ความเขาใจ และความพึงพอใจของบคุ ลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประเมินสวน ราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562” มีจุดประสงคเพ่ือ ศึกษาถึงความรู ความเขาใจ ความคิดเห็น และความพึงพอใจ ของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประเมินสวน ราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ในทุกระดับ ต้ังแตระดับผูบริหาร ผูประสานงาน จนถงึ ผูปฏิบตั งิ านโดยตรงเพอื่ นาํ ขอมลู ที่ไดม าใชใ นการปรบั ปรุงการดาํ เนินงานใหดียงิ่ ขึ้นตอไป ทง้ั นี้ ผจู ดั ทําหวังเปนอยา งย่ิงวารายงานเลมนี้จะเปนประโยชนตอ ผอู านที่มีความสนใจเกี่ยวกบั การประเมนิ สวนราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการ ไมม ากก็นอ ย กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร กันยายน 2562

สารบญั ข คาํ นํา หนา สารบัญ ก สารบญั ตาราง ข สารบัญภาพ ค บทท่ี 1 บทนาํ จ 1 ความเปนมา 2 วตั ถปุ ระสงค 2 ขอบเขต 2 คาํ จํากัดความ 2 ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดร บั 3 บทท่ี 2 แนวคิดและทฤษฎีท่เี กี่ยวของ 4 กรอบการประเมนิ สวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ 5 การประเมินผล 6 การมสี ว นรวม 6 ความรู ความเขา ใจ 8 ความพึงพอใจ 8 บทที่ 3 วธิ ีดําเนนิ การ 9 ประชากรท่ีศกึ ษา 9 เครื่องมือที่ใชในการศกึ ษา 9 การสรางและตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม วิธีเก็บรวบรวมขอ มลู 11 การวิเคราะหขอ มูล 20 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 25 ผลการศกึ ษา 26 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ 27 สรปุ ผลการศึกษา ขอ เสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก

สารบัญตาราง ค ตารางท่ี หนา 1 กรอบการประเมนิ สวนราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ 3 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 11 2 จาํ นวนและรอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามสถานภาพสว นบคุ คล 14 3 เปรียบเทยี บรอยละของผทู ส่ี ามารถเลอื กคําตอบไดถ ูกตอ ง และไมถ กู ตอ ง 17 4 แสดงจํานวน รอ ยละ และคาเฉลีย่ ความคดิ เห็นตอความเหมาะสมของตัวชีว้ ดั 18 5 แสดงจาํ นวน รอยละ และคา เฉลยี่ ความพงึ ใจในการตดิ ตอ ประสานงานกบั กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร 19 6 สรุปขอเสนอแนะเกย่ี วกับการปฏิบัตงิ านการประเมนิ สว นราชการตามมาตรการ 33 ปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 33 7 แสดงจาํ นวนและรอยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคําถามท่ี 1: สํานกั งาน ก.พ.ร. 33 กาํ หนดใหก ารประเมนิ สวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการ 34 มี5 องคประกอบ 34 8 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามท่ี 2 : องคป ระกอบที่ 1 35 (Function Base) กําหนดจาก “นโยบายเรง ดว น หรือภารกิจท่ไี ดร บั มอบหมายเปน พิเศษ” 35 9 แสดงจํานวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคําถามที3่ : องคป ระกอบที่ 2 (Agenda Base) กําหนดจาก “ภารกิจพนื้ ฐานงานประจาํ หรืองานตามหนาท่ีความรับผิดชอบหลัก” 36 10 แสดงจํานวนและรอยละของผูต อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามที่4 : องคป ระกอบที่ 3 36 (Area Base) กาํ หนดจาก “ภารกิจพื้นท่/ี ทองถ่ิน ภูมภิ าค จังหวัด กลุมจังหวัด” 37 11 แสดงจํานวนและรอ ยละของผูต อบแบบสอบถาม ตามคําถามท5่ี :องคประกอบที่ 4 (Innovation Base) กําหนดจาก “การพัฒนานวัตกรรม เพอ่ื ไปสูระบบราชการ 4.0” 37 12 แสดงจํานวนและรอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามท6่ี : องคป ระกอบท่ี 5 (Potential Base) กําหนดจาก “ยุทธศาสตรช าติ 20 ป” 13 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามที่7 :กรมตองดาํ เนนิ การ ปฏิรูปองคการใน 3 ประเด็น คือ 1) ทบทวน ยกเลิกระบบราชการท่ีลาสมัย 2) ใหภาคสว นอน่ื เขา มาดาํ เนนิ การในภารกจิ ทไี่ มจ าํ เปนตอ งดําเนนิ การเอง 3) พฒั นารปู แบบการทํางาน เพื่อจดั การพื้นที่อนรุ ักษร ว มกับชมุ ชนรอบพื้นที่ 14 แสดงจาํ นวนและรอยละของผตู อบแบบสอบถามตามคําถามที่8 : การประเมินผล มี 3 ระดบั คือ ระดบั ตัวชว้ี ัด ระดับองคป ระกอบ และระดับสวนราชการ 15 แสดงจาํ นวนและรอยละของผตู อบแบบสอบถาม จาํ นวนตามคาํ ถามที่9 : การประเมนิ ผล ระดบั ตวั ชว้ี ดั หากผลการดําเนนิ งานตา่ํ กวาเปาหมายขน้ั ตาํ่ จะไดค ะแนนเปนศนู ย 16 แสดงจํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม จํานวนตามคาํ ถามท1่ี 0 :การประเมินผล ระดบั ตวั ชวี้ ดั คิดคะแนนจากการเทียบบญั ญัติไตรยางศระหวางผลการดาํ เนินงานจรงิ กับ คา เปา หมาย 3 ระดบั

สารบัญตาราง (ตอ) ง ตารางที่ หนา 17 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม จํานวนตามคําถามท1่ี 1 :คาเปา หมายขัน้ ตํ่า 38 มีคา คะแนน 0 คะแนน 38 18 แสดงจํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม จํานวนตามคําถามท1ี่ 2 :การประเมินผล 39 ระดบั สว นราชการ จะใชว ิธหี าคาเฉลีย่ ของทุกองคประกอบ 39 19 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม จาํ นวนตามคาํ ถามที่13 : การประเมินผล 40 ระดบั สวนราชการ แบง เกณฑการประเมินเปน 3 ระดบั คือ ระดบั คุณภาพ ระดับมาตรฐานขน้ั ตน และระดับตอ งปรบั ปรงุ 20 แสดงจํานวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม จํานวนตามคําถามที1่ 4 : วธิ ีการถา ยทอด ตวั ชว้ี ัด “กรม>สํานกั หลกั (สวนกลาง)>สบอ.>สว น>ฝาย>บุคคล” 21 แสดงจาํ นวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม จาํ นวนตามคําถามที1่ 5 : หลกั การ ในการกาํ หนดตัวช้ีวัดคอื ตอ งสอดคลอ งและเช่ือมโยงกับ ภารกิจหลกั พนั ธกจิ แผนยทุ ธศาสตร แผนปฏิบัตริ าชการแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม และยุทธศาสตรชาติ 20 ป เปนตน

สารบัญภาพ จ ภาพท่ี หนา 1 รอยละผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามหนว ยงานทีส่ ังกัด 20 2 รอ ยละผตู อบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ 21 3 รอ ยละผตู อบแบบสอบถามจาํ แนกตามอายุ 21 4 รอยละผตู อบแบบสอบถามจําแนกตามประเภทตาํ แหนง 21 5 รอยละผูต อบแบบสอบถามจาํ แนกตามความเกีย่ วขอ งกับตวั ชีว้ ัด 21 6 รอ ยละผูตอบแบบสอบถามจาํ แนกตามระดับการศึกษาสูงสุด 21 7 รอ ยละผตู อบแบบสอบถามจําแนกตามชองทางการติดตอประสานงาน 21 8 การเปรียบเทยี บรอ ยละของผตู อบแบบสอบถามไดถกู ตอง จาํ แนกตามความเก่ยี วของกบั ตัวชว้ี ดั 22 9 รอ ยละความเหมาะสมของตัวชี้วดั จําแนกตามประเดน็ สอบถาม 23 10 รอ ยละความพึงพอใจตอการประสานงานกับกลุมพัฒนาระบบบริหารจาํ แนกตามประเด็น 24 ในการสอบถาม

1 บทท่ี 1 บทนํา ความเปน มา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 กําหนดวา “การบรหิ ารราชการตอ งเปน ไปเพอื่ ประโยชนสขุ ของประชาชน เกดิ ผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุมคาในเชิงภารกิจแหงรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงานการลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงานที่ไมจําเปน การกระจายภารกิจและทรัพยากรใหแกทองถิ่น การกระจายอํานาจตัดสินใจ การอํานวยความสะดวกและ การตอบสนองความตองการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผูรับผิดชอบตอผลของงาน ในการปฏิบัติหนาที่ของ สว นราชการตอ งใชวธิ ีการบริหารกิจการบา นเมอื งท่ีดีโดยเฉพาะอยางย่ิงใหคํานึงถึงความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน การมีสวนรวมของประชาชน การเปดเผยขอมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งน้ี ตาม ความเหมาะสมของแตละภารกจิ ” คําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 5/2559 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญ แหง ราชอาณาจกั รไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ โดยความเห็นชอบ ของคณะรักษาความสงบแหงชาติ ไดออกคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 5/2559 เรื่อง มาตรการ ปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการเพ่ือประโยชนในการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผนดิน มีผลบังคับใช ณ วันท่ี 1 กุมภาพนั ธ 2559 สํานักงาน ก.พ.ร. มีภารกิจในการเสนอแนะและใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ ราชการและงานของรัฐอยางอื่น ซ่ึงรวมถึงโครงสรางระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐาน ทางคุณธรรม และจรยิ ธรรม คาตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอื่น ใหเปนไปตามมาตรา 3/1 โดยจะเสนอแนะให มีการกําหนดเปาหมายยุทธศาสตรและมาตราการก็ได จึงจัดใหมีการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาระบบการดําเนินงานของสวนราชการในการ ขับเคลื่อนภารกิจสําคัญของรัฐบาล การแกไขปญหาและการอํานวยความสะดวกแกประชาชน และเพ่ือเพ่ิม ศกั ยภาพของสวนราชการในการสนบั สนุนการพัฒนาประเทศ กลุมพัฒนาระบบบริหาร ซ่ึงมีภารกิจที่ตองดําเนินการติดตาม ประเมินผล และจัดทํารายงานเกี่ยวกับการ พฒั นาระบบบริหารราชการภายในกรม จึงจัดใหมีการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ ตามแนวทางวิธีการที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด ซึ่งไดเริ่มดําเนินการประเมินสวนราชการตาม มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ในระดับกรม และระดับสํานัก/กอง/กลุม/ศูนย ครั้งแรกใน ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 จนถงึ ปจจุบันซึ่งดาํ เนนิ การมาแลวเปน เวลา 3 ป ดังนั้น จงึ เห็นสมควรจัดใหมีการศึกษาความรูความเขาใจของผูเก่ียวของกับตัวช้ีวัดการประเมินสวนราชการ ตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ รวมถึงความพึงพอใจตอกลุมพัฒนาระบบบริหาร ในการ ประสานงาน การสรา งความรคู วามเขาใจ สําหรับการจัดทําการประเมินดังกลาว เพ่ือนําความคิดเห็นที่ไดใชในการ ปรบั ปรงุ กระบวนการทาํ งานใหดขี ้ึน ตอ ไป

2 วัตถปุ ระสงค 1. เพื่อศึกษาความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ ของบคุ ลากรท่เี กี่ยวขอ ง 2. เพอ่ื สาํ รวจความคิดเหน็ ของบคุ ลากรตอความเหมาะสมของตัวช้ีวดั 3. เพือ่ สาํ รวจความพงึ ใจในการติดตอ ประสานงานกับกลมุ พฒั นาระบบบริหาร ขอบเขต 1. เขตเขตดา นเนือ้ หา การศึกษาในครั้งน้ี เปนการศึกษาความรู ความเขาใจ และความพึงพอใจของบุคลากรที่เก่ียวของกับ การประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ดานความรูเกี่ยวกับการประเมินผล ความเหมาะสมของตวั ชวี้ ัด และการตดิ ตอ ประสานงาน 2. ขอบเขตดานแหลงขอมูล คณะกรรมการอํานวยการและคณะทาํ งานกํากับดูแลตวั ชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามคําส่ังกรม อทุ ยานแหงชาติ สตั วป า และพนั ธพุ ืช ท่ี 1317/2562 ลงวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2562 จํานวน 111 คน และ ผรู ับผดิ ชอบหลกั ตวั ชว้ี ัดระดับสาํ นัก/กอง/กลุม /ศนู ย จํานวน 164 คน รวมจาํ นวนทั้งสิน้ 275 คน คําจํากัดความ หนวยงานท่ีทานสังกัด คือ หนวยงานภายใตสังกัดกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ท่ีทาน ปฏิบตั งิ านอยูจ ริง คณะกรรมการอํานวยการกํากับดูแลตัวช้ีวัด คือ คณะกรรมการอํานวยการกํากับดูแลตัวชี้วัดตามมาตรการ ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามคําสงั่ กรมอุทยานแหงชาติ สตั วป า และพันธพุ ชื ท่ี 1317/2562 ลงวันที่ 26 มนี าคม พ.ศ. 2562 คณะทํางานกํากับดูแลตัวช้ีวัด คือ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพใน การปฏบิ ตั ิราชการ ของกรมอทุ ยานแหงชาติ สตั วป า และพันธุพชื ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามคําส่ังกรม อุทยานแหง ชาติ สตั วปา และพันธุพ ชื ที่ 1317/2562 ลงวันท่ี 26 มนี าคม พ.ศ. 2562 ผูรับผิดชอบหลักตัวชี้วัดระดับสํานัก/กอง/กลุม/ศูนย คือ ผูท่ีไดรับมอบหมายหรือมีคําส่ังใหรับผิดชอบ ตวั ชว้ี ดั ของสํานกั /กอง/กลมุ /ศนู ย ประโยชนทค่ี าดวา จะไดร บั เพือ่ ใหทราบวาบุคลากรมีความรู ความเขาใจเก่ียวของกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ความคิดเห็นตอ ตัวชวี้ ดั และการปฏิบัติงานของกลุมพัฒนาระบบบริหารอยางไร เพื่อนําผลท่ีไดจากแบบสอบถามมาดําเนินการวางแผนพัฒนาปรับปรุงแกไขในประเด็นที่เปนจุดออน และรักษา คณุ ภาพในประเดน็ ท่ีเปน จดุ แขง็ ตอไป

3 บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎที เ่ี กี่ยวของ การศึกษาเรือ่ ง “ความรู ความเขาใจ และความพึงพอใจของบคุ ลากรทป่ี ฏบิ ัติงานเกี่ยวกับการประเมินสวน ราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562” ผูจัดทําได ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และเก็บขอมูลที่เกี่ยวของ จากตํารา เอกสาร วารสาร ส่ืออิเล็กทรอนิกส และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของ โดยมีรายละเอยี ดเนื้อหา ดงั นี้ 1. กรอบการประเมินสว นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ 2. การประเมนิ ผล 3. การมีสว นรวม 4. ความรู ความเขา ใจ 5. ความพึงพอใจ กรอบการประเมนิ สวนราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการ คณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่ือวันท่ี 6 พฤศจิกายน 2561 ไดมีมติเห็นชอบกับกรอบแนวทางการประเมิน สว นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัตริ าชการ โดยกาํ หนดใหการประเมินประสิทธิภาพของ สว นราชการ ประกอบดวยการประเมนิ จาํ นวน 5 องคประกอบ ดงั น้ี ตารางที่ 1 กรอบการประเมินสว นราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 องคป ระกอบการประเมิน ประเดน็ การประเมิน 1. ประสิทธิภาพในการดาํ เนนิ งานตามหลกั ภารกจิ 1. การดาํ เนนิ การตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติและแผน พืน้ ฐานงานประจํา งานตามหนาทปี่ กตหิ รอื งานตาม ยทุ ธศาสตรของหนวยงาน หนา ทค่ี วามรับผดิ ชอบหลักงานตามกฎหมาย กฎ 2. การบูรณาการการทาํ งานรวมกนั ระหวา งหลายหนว ยงาน (Joint KPIs) นโยบายของรัฐบาล หรือมตคิ ณะรฐั มนตรี (Function 3. การดําเนินงานตามหลกั ภารกจิ พ้ืนฐาน งานประจํางานตามหนาที่ปกติ Base) หรืองานตามหนาทีค่ วามรับผิดชอบหลัก 4. การดาํ เนินงานตามกฎหมาย 5. การดําเนินงานตามนโยบายและแผนของรฐั บาล และมติคณะรฐั มนตรี 6. การดาํ เนินงานตามมาตรฐานสากล (International Standards) 2. ประสิทธภิ าพในการดําเนนิ งานตามหลกั ภารกิจ 1. การดาํ เนนิ การตามขอสง่ั การของนายกรฐั มนตรี ยทุ ธศาสตรแนวทางปฏิรูปภาครฐั นโยบายเรงดว น 2. การดําเนนิ การตามวาระการขบั เคล่อื นและการปฏิรูปประเทศ หรือภารกจิ ทีไ่ ดร บั มอบหมายเปน พเิ ศษ (Agenda 3. การแกไขปญ หาสาํ คญั เฉพาะเรอื่ งหรือภารกจิ ทีไ่ ดร บั มอบหมายพเิ ศษ Base) จากนายกรัฐมนตร/ี รองนายกรัฐมนตรี/ รฐั มนตรีท่กี าํ กับและติดตาม การปฏิบตั ริ าชการ 4. การดาํ เนินการตามแนวปฏริ ูปเรงดว น 6 ดานของรัฐบาล 5. การชีแ้ จงประเดน็ สาํ คญั ทท่ี นั ตอ สถานการณ (ถา มี) 3. ประสิทธภิ าพในการดําเนนิ งานตามหลกั ภารกจิ การดําเนินงานตามภารกจิ ในพ้ืนท/ี่ ทองถิ่น ภูมิภาคจงั หวัด กลมุ จังหวดั พ้นื ท/่ี ทองถน่ิ ภมู ิภาค จังหวัด กลมุ จังหวัด(Area Base) (สว นราชการไมประเมนิ องคป ระกอบนี)้

4 ตารางท่ี 1 กรอบการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 (ตอ) องคป ระกอบการประเมนิ ประเด็นการประเมนิ 4. ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการและพัฒนา กรณีท่ี 1สวนราชการทีม่ ีแผนการปรบั ปรงุ คมู ือสําหรับประชาชน ตาม นวัตกรรมในการบรหิ ารจดั การระบบงานงบประมาณ พ.ร.บ. การอาํ นวยความสะดวกฯ โดยการลดระยะเวลาการใหบรกิ ารใน ทรพั ยากรบคุ คลและการใหบ รกิ ารประชาชนหรอื คมู ือสาํ หรับประชาชนจะประเมนิ ความสาํ เร็จของการลดระยะเวลาฯของ หนวยงานของรัฐ เพ่ือไปสรู ะบบราชการ 4.0 สวนราชการ หรอื (Innovation Base) กรณที ี่ 2สว นราชการทไ่ี มม ีแผนการปรบั ปรงุ คูม ือสําหรบั ประชาชนตาม พ.ร.บ. การอํานวยความสะดวกฯโดยการลดระยะเวลาฯ จะตอ งเสนอ นวตั กรรมรปู แบบใดรปู แบบหนึ่ง ดงั นี้ (1) นวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation)เปนการคดิ รเิ ร่ิมนโยบาย กฎหมายและกฎใหมๆใหทนั สมยั เหมาะสมและทนั ตอ สถานการณรวมท้ัง ใหม ีความเชือ่ มโยงกับยุทธศาสตรข องประเทศเชน พัฒนาผงั เมืองใหเ ปน ยา นนวตั กรรมเพื่อผูประกอบการธรุ กจิ นวัตกรรมไทย เปน ตน (2) นวัตกรรมใหบริการ (Service Innovation)เปน นวตั กรรมท่นี ํามาใช พฒั นา และสรา งคุณคาในงานบรกิ ารภาครัฐ การปรบั ปรงุ บรกิ ารหรอื สรา ง บรกิ ารใหม เพอ่ื ยกระดบั ประสิทธภิ าพการใหบรกิ ารประชาชน เชน หนวย บรกิ ารเคลือ่ นทีก่ ารจดทะเบยี นนติ ิบุคคลออนไลน การปรบั ปรุงระบบ สารสนเทศ หรือแอปพลิเคชันท่ีใหบ ริการประชาชน เพ่อื เช่อื มตอกับ Linkage Centerของกรมการปกครอง เปนตน (3) นวตั กรรมการบรหิ าร/องคก าร (Administrative or Organizational Innovation) เปนการสรา งหรือปรบั ปรงุ กระบวนงานใหม(New Process) รวมท้ังการพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารงานเพอื่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการ ดาํ เนนิ งานของภาครฐั หรอื กระบวนการจดั โครงสรางหนว ยงานรูปแบบ ใหม หรือการวางระบบใหมซ ึง่ สงผลตอ การปรบั โครงสรา งความสมั พนั ธ ระหวางผมู สี ว นไดส ว นเสยี ฝา ยตา งๆ เชน PMQA 4.0 การจดั หนว ยบริการ รูปแบบพเิ ศษ เปน ตน 5. ศักยภาพในการดําเนนิ การของสวนราชการตาม ประเมินผลสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฏริ ปู องคการของสวน แผนยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป (Potential Base) ราชการ ประจาํ ปง บประมาณพ.ศ. 2562 การประเมินผล ประชุม รอดประเสรฐิ (2527) ใหค วามเหน็ วา การประเมินโครงการเปนกระบวนการของการตรวจสอบ และ วิเคราะหขอมูลตางๆ ของโครงการอยางมีระบบ โดยมีวัตถุประสงคหรือเปาหมายเพ่ือการปรับปรุงโครงการใหดีข้ึน ซง่ึ ประกอบดว ยขั้นตอน ดงั นี้ 1. การศึกษาและพิจารณาถึงรายละเอียด วตั ถปุ ระสงคโครงการ 2. การศึกษาความเปนไปไดของขอมูล ซ่ึงเปนการประเมินขอมูลทรัพยากรตางๆ ท่ีจะตองใชในการดําเนินการ วา ยังมคี วามเหมาะสมทจี่ ะใชป ฏิบตั อิ ยูหรือไมและทรัพยากรที่มีอยูสามารถท่ีจะตอบสนองวัตถุประสงคไดมากนอย เพียงใด 3. การเก็บรวบรวมขอมูลและการกระทาํ กับขอมูลและทรัพยากร เปนการวิเคราะหกระบวนการในการ ดําเนนิ โครงการ

5 4. การวิเคราะห การแปลความหมาย และการสรุปผล ผูทําการประเมินตองทําการวิเคราะหผลที่เกิดขึ้น วาเปนอยางไร ตรงตามวัตถุประสงคหรือมาตรฐานที่กําหนดไวหรือไม ผลที่เกิดข้ึนมีแนวโนมไปในลักษณะใด จะมี การปรับปรงุ แกไขเพือ่ ใหดขี ึ้นอยางไร บรัมบราช (Brumbrach) กลาววา ผลการปฏิบัติงาน (performance) ประกอบดวย 2 สวนหลัก ไดแก พฤติกรรมและผลลัพธของงาน ท้ังน้ีพฤติกรรมจะเกิดขึ้นจากการกระทํา การแสดงออกของคนท่ีมาจากความรูสึก นกึ คดิ ความเชือ่ ทัศนคติและการรับรขู องพนกั งานท่ีไมเ หมือนกัน การมีสว นรว ม เสถียร เหลืองอราม (2526,หนา 139) กลาววา การมีสวนรวม คือ การที่ผูปฏิบัติงานที่เก่ียวของดวย จิตใจจะมีสวนในการสนับสนุนริเริ่มสรางสรรคเพ่ือใหบรรลุเปาหมายของกลุม และรับผิดชอบในกิจกรรมของกลุม ประกอบดว ยแนวคิด 3 ประการ ดังน้ี 1. การมีสว นรวมเปนวิธีการท่ีผูปฏิบัติงานเขามาเก่ียวของทางจิตใจ จงึ เปนเร่ืองทางจิตวิทยามากกวา กายภาพ 2. การเขามีสวนรวมกระตุนผูปฏิบัติใหมีสวนรวมออกกาํ ลังปญญาและกําลังความคิดในการสรางสรรค เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงคขององคกรหรือสถาบัน โดยนัยนี้การเขามีสวนรวมจึงแตกตางจากการใหความยินยอม การใหค วามยนิ ยอมน้นั เพียงแตใชแนวความคิดของผูบริหารเพ่ือขอความเห็นชอบของกลุม ผูใหความยินยอมมิไดมี สว นใหค วามคดิ เพยี งแตใ หความเหน็ ชอบเทานั้น 3. การมีสวนเขาสนับสนุนใหผูปฏิบัติงานมีสวนรวมรับผิดชอบในกิจกรรมขององคกรหรือสถาบัน โดยที่ ฝายปฏิบัติงานมีสวนริเริ่มและสรางสรรคจึงมีความตองการใหเห็นวาการดําเนินงานตามแนวความคิดของตนนั้น บรรลคุ วามสําเร็จ โดยนัยนฝ้ี ายปฏิบตั ิงานจึงมีสวนรับผิดชอบในกิจกรรมขององคกรอยูในตัว เม่ือผูปฏิบัติงานเริ่มมี สว นรบั ผดิ ชอบยงิ่ สนใจตอ งทํางาน โดยรว มมือกนั เปน กลมุ กอนจะทําคนเดยี วไมได เจิมศกั ด์ิ ปน ทอง (2527 อางถึงใน สุดใจ บุญฤทธ์ิ, 2543, หนา 13) ไดแบงข้ันตอนของการมีสวนรวม ของประชาชนไวเ ปน 4 ขัน้ ตอน คอื 1. การมสี วนรวมในการคนหาปญหา และสาเหตขุ องปญ หาของชาวชนบท 2. การมสี ว นรว มในการวางแผนดําเนนิ กจิ กรรม 3. การมีสวนรวมในการลงทุนและปฏบิ ัตงิ าน 4. การมสี ว นรวมในการตดิ ตาม และประเมินผลงาน นิรนั ดร จงวุฒิเวศย (2537, หนา 183) ไดก ลา วถึงปจ จัยทมี่ ผี ลตอการมีสวนรวม ดงั น้ี 1. ความศรทั ธาท่มี ีตอความเช่อื ถือบุคคลสําคัญหรือสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ทําใหประชาชนมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ เชน การบําเพญ็ ประโยชน การลงแขก เปน ตน 2. ความเกรงใจท่ีมตี อบคุ คลทเ่ี คารพนบั ถอื หรอื มีเกยี รตยิ ศ ตําแหนง ทําใหประชาชนเกิดความเกรงใจท่ีจะ มีสว นรวมดว ย ทั้งๆ ทย่ี งั ไมมีศรทั ธาหรือความเต็มใจอยา งเตม็ เปยมท่ีจะกระทํา เชน ผูใหญออกปากขอแรกผูนอยก็ ชวยแรง เปน ตน 3. อํานาจบังคับที่เกิดจากบุคคลท่ีมีอํานาจเหนือกวา ทําใหประชาชนถูกบีบบังคบใหมีสวนรวมในการกระทํา ตางๆ

6 ความรู ความเขาใจ Bloom el al. (1956 : p. 28, 80) ไดใหค าํ นิยามวา ความรู (Knowledge) เปนส่ิงที่เกี่ยวของกับการระลึกถึงเฉพาะเร่ืองหรือเรื่องท่ัวๆ ไป ระลึกถึงวิธี กระบวนการหรือสถานการณตางๆ โดยเนนความจําและการเกิดความรูไมวาระดับใดยอมมีความสัมพันธกับ ความรูสึก ซ่งึ สง ผลใหเ ชอื่ มโยงกับสภาพจิตของบคุ คล โดยปจ จยั ที่ทาํ ใหสงผลนี้ คือ สภาพแวดลอม ประสบการณที่ สะสม จึงทําใหแ สดงออกตอ การกระทาํ ของบุคคล ความเขาใจ (Comprehension or Understand) หมายถึง บุคคลสามารถทําบางส่ิงบางอยางไดมากกวา ขอมูลที่ไดรับ สามารถเขียนเรียบเรียงใหมพรอมแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม แปลความเปรียบเทียบความเห็นอื่นๆ หรือคาดผลของเหตุการณท่ีจะเกิดได เปนพฤติกรรมในขั้นที่ตอจากความรู เปนข้ันตอนท่ีสมอง และความสามารถ ของทักษะไดเขามาเก่ียวของดวย จะสงผลตอการสื่อสารตีความ แปลความ ขยายความของเหตุเหลาน้ันท่ีสัมพันธ กับอีกระดับหนึ่ง โดยความรูตองเกิดจากขอมูลหรือประสบการณที่เพียงพอ ดังน้ัน ความรู สามารถกลาวไดวาเปน การวดั ความรูแ ละความเขา ใจเขาไปดว ยกนั สิริรัตน พิชิตพร (2546) ไดใหความหมายวา ความรู หมายถึง ความรูเปนขอเท็จจริง กฎเกณฑท่ีมนุษย นน้ั ไดร บั และไดเ ก็บรวบรวมสะสมไว ซ่งึ ประกอบดว ยความรูหรือพฤติกรรมดานความรูต ามข้นั ตางๆ 6 ข้ัน คือ 1. ความรหู รอื ความจํา (Knowledge Memory) หมายถึง ความสามารถในการจดจําหรือรูสึกได แตไมใช การใชความเขาใจไปตีความเรื่องน้ันๆ แบงเปน ความรูเกี่ยวกับเนื้อเรื่องซึ่งเปนขอเท็จจริง วิธีดําเนินงาน แนวคิด ทฤษฎี โครงสรางและหลักการ 2. ความเขาใจ (Comprehension) หมายถึง ความสามารถจับใจความสําคัญของเร่ืองราวตางๆ ไดท้ังใน ดานภาษา รหสั สญั ลกั ษณท ้ังรปู ธรรมและนามธรรม แบง ออกเปน การแปลความ การตีความ การขยายความ 3.การนําไปใช (Application) หมายถึง ความสามารถนําเอาส่ิงที่ไดประสบมา เชน แนวคิดทฤษฎีตางๆ ไปใชใ หเปนประโยชนหรือนําไปใชแ กปญหาตามสถานการณตา งๆ ได 4. การวิเคราะห (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเรื่องราวออกเปนสวนประกอบยอย เพือ่ ความสมั พนั ธ หรอื หลักการ หรอื ทฤษฎเี พื่อใหเขา ใจเรอ่ื งราวตางๆ 5. การสงั เคราะห (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการนาํ เอาเร่ืองราวหรอื สว นประกอบยอยมาเปน เรื่องราวเดียวกนั โดยมีการดดั แปลงริเรม่ิ สรางสรรคปรับปรงุ ของเกา ใหม คี ณุ คามากขน้ึ 6. การประเมินคา (Evaluation) หมายถึง การวินิจฉยั หรือการตีราคาอยางมีหลักเกณฑ เปนการตัดสินวา อะไรดีหรอื ไมอยางไร ใชห ลกั เกณฑท ี่เชอ่ื ไดโดยอาศยั ขอ เทจ็ จริงภายในและภายนอก ความพึงพอใจ พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน (2542) ไดใหความหมายของความพงึ พอใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ สนทิ เหลืองบุตรนาค (2529) ไดใหความหมาย ความพึงพอใจ หมายถึง ทาที ความรูสึก ความคิดเห็นที่ มีผลตอสิ่งใดส่ิงหน่ึงภายหลังจากที่ไดรับประสบการณในส่ิงน้ันมาแลว ในลักษณะทางบวก คือ พอใจ นิยม ชอบ สนับสนุนหรือมีเจตคติที่ดีตอบุคคล เม่ือไดรับตอบสนองความตองการในทางเดียวกัน หากไมไดรับการตอบสนอง ตามความตอ งการจะเกิดความไมพอใจเกดิ ขึน้

7 อุทัย หิรัญโต (2523) ไดใหความหมายของความพึงพอใจวา ความพึงพอใจเปนสิ่งท่ีทําใหทุกคนเกิด ความสบายใจ เนอ่ื งจากสามารถตอบสนองความตอ งการของเขา ทาํ ใหเขาเกิดความสุข Michael Beer (1965) ไดใ หค วามหมายของความพงึ พอใจไววา เปนทศั นคตขิ องคนทมี่ ีตอ สง่ิ ใดส่ิงหนง่ึ 1. V มาจากคําวา Valance หมายถงึ ความพึงพอใจ 2. I มาจากคําวา Instrumentality หมายถึง สื่อ เครือ่ งมอื วธิ ที างนําไปสูความพึงพอใจ 3. E มาจากคาํ Expectancy หมายถึง ความคาดหวงั ภายในตวั บุคคลน้ันๆ ซึ่งบุคคลมีความตองการและมี ความหวังในหลายสิ่งหลายอยาง ดังนั้น จึงตองกระทําดวยวิธีหนึ่งวิธีใด เพื่อตอบสนองความตองการหรือส่ิงที่ คาดหวังเอาไว ซึ่งเม่ือไดรับการตอบสนองแลวตามท่ีตั้งความหวังหรือคาดหวังเอาไว บุคคลนั้นก็จะไดรับความพึง พอใจ และในขณะเดยี วกนั กจ็ ะคาดหวังในสิง่ ทส่ี ูงขึ้นไปเรื่อยๆ ซึง่ อาจะแสดงในรปู สมการไดด ังนี้ แรงจูงใจ = ผลของความพึงพอใจ + ความคาดหมาย

8 บทท่ี 3 วิธีดาํ เนินการ การศึกษาเร่ือง “ความรู ความเขาใจ และความพึงพอใจของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการประเมิน สวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562” เปน การศึกษาเชิงสํารวจ (Survey Research) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรู ความเขาใจเก่ียวกับการประเมิน สว นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ของบคุ ลากรท่ีเก่ยี วของ สํารวจความคิดเห็น ของบุคลากรตอความเหมาะสมของตัวชี้วัด และความพึงใจในการติดตอประสานงานกับกลุมพัฒนาระบบบริหาร โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกบั วิธกี ารดําเนินการ ดังน้ี ประชากรที่ศกึ ษา ประชากรในการศึกษาคร้ังน้ี คือ บุคลากรของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ซึ่งปฏิบัติงาน เก่ียวของกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึง่ ประกอบดวยบคุ ลากรจํานวน 275 คน ดงั ตอ ไปนี้ 1. คณะกรรมการอํานวยการกํากับดูแลตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามคําส่ังกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพนั ธพุ ืช ที่ 1317/2562 ลงวันที่ 26 มนี าคม พ.ศ. 2562 จํานวน 37 คน 2. คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของกรม อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามคําส่ังกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพนั ธุพ ชื ท่ี 1317/2562 ลงวนั ท่ี 26 มนี าคม พ.ศ. 2562 จาํ นวน 74 คน 3. ผรู ับผิดชอบหลักตวั ช้วี ดั ระดบั สาํ นัก/กอง/กลุม /ศนู ย จํานวน 164 คน เครอื่ งมอื ที่ใชใ นการศกึ ษา เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามวัดความรู ความเขาใจ และความพึงพอใจของ บุคลากรท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562ซง่ึ ประกอบดว ย สวนท่ี 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามเชน หนวยงานที่สังกัด เพศ อายุ จํานวน 7 ขอ สวนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ียวกับความรู ความเขาใจเก่ียวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ ตามแนวทางสํานักงาน ก.พ.ร. เปนแบบสอบถามวัดความรู ความเขาใจ โดยให ตอบตามความรูของแตละบุคคล จํานวน 15 ขอ คําถามจะเปนลักษณะคําถามแบบปลายปด (Close Ended Question) แบงเปนคําตอบท่ีถูก จํานวน 10 ขอ และคําตอบที่ผิด จํานวน 5 ขอ โดยใหผูตอบแบบสอบถาม เลือกตอบไดเ พียงคาํ ตอบเดียว สวนที่ 3 แบบสอบถามเก่ียวกับความเหมาะสมของตัวชี้วัด เปนการสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับความ สอดคลองเหมาะสมของตัวชว้ี ดั จาํ นวน 5 ขอ ลักษณะคําถามเปนแบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) แบงเปน 5 ระดบั คือ ระดบั 5 มากทีส่ ดุ , ระดับ 4 มาก , ระดับ 3 ปานกลาง , ระดบั 2 นอ ย , ระดบั 1 นอ ยท่ีสดุ

9 สว นที่ 4 แบบสอบถามเก่ียวกับระดับความพึงพอใจในการติดตอประสานงานกับกลุมพัฒนาระบบบริหาร เปนการสอบถามถึงความพึงพอใจตอการใหคําปรึกษาแนะนํา ชองทางในการติดตอประสานงาน รวมถึงขอมูลที่ ไดรับมีประโยชนตอการปฏิบัติงานหรือไม ขอคําถามจํานวน 8 ขอ ลักษณะคําถามเปนแบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) แบงเปน 5 ระดับ คือ ระดับ 5 มากที่สุด , ระดับ 4 มาก , ระดับ 3 ปานกลาง , ระดับ 2 นอย , ระดับ 1 นอยที่สุด สว นที่ 5 ขอ เสนอแนะเพ่ิมเติมเปนการสอบถามความคิดเห็น ขอเสนอแนะ และความคาดหวัง ท่ีบุคลากร ตอ งการใหเกิดการแกไข พัฒนา หรอื ปรับปรุงใหด ีขึ้น ลกั ษณะคาํ ถามแบบปลายเปด (Open Ended Question) การสรา งและตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม 1. ศกึ ษาขอ มลู เกี่ยวกบั การประเมินสวนราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัติราชการ 2. สรางแบบสอบถามวดั ความรู ความเขาใจ และความพงึ พอใจของบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประเมิน สวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ ตรวจสอบเนื้อหาใหครอบคลุมทุกประเด็นวัตถุประสงคจึงนําแบบสอบถามใหกลุมพัฒนาระบบบริหารตรวจสอบ ความเหมาะสม ครบถวน อีกครง้ั 3. ปรับปรงุ แบบสอบถามตามคําแนะนาํ ของกลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร 4. ทดสอบแบบสอบถาม โดยการนาํ ไปทดลองใชกับบุคลากรของกลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร วิธีเก็บรวบรวมขอ มูล ระยะเวลาในการเก็บรวมรวมขอมูลระหวางวันท่ี 2 - 13 กันยายน 2562โดยมีผูเขามาดําเนินการตอบ แบบสอบถามท้ังสิน้ จาํ นวน 361 คน แบงไดดังนี้ 1. คณะกรรมการอํานวยการกํากับดูแลตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามคําสั่งกรมอุทยานแหงชาติ สตั วป า และพันธุพ ชื ที่ 1317/2562 ลงวนั ที่ 26 มนี าคม พ.ศ. 2562 จํานวน 45 คน 2. คณะทาํ งานกํากับดแู ลตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของกรมอุทยาน แหง ชาติ สตั วป า และพนั ธุพืช ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามคําส่ังกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ท่ี 1317/2562 ลงวนั ท่ี 26 มีนาคม พ.ศ. 2562 จาํ นวน 143 คน 3. ผูรบั ผิดชอบหลกั ตัวช้ีวัดระดบั สํานัก/กอง/กลุม/ศูนย จํานวน 173 คน การวเิ คราะหข อมูล 1. การวเิ คราะหข อ มูลท่วั ไป เกี่ยวกับ หนว ยงานที่สังกดั เพศ อายุ ประเภทตาํ แหนง ความเกี่ยวของ ระดับ การศึกษาสงู สดุ และชอ งการตดิ ตอ ตอประสานงาน ดว ยสถิตเิ ชงิ พรรณนา (Descriptive Statistics) 2. การวิเคราะหขอมูลความรูความเขาใจ ดวยสถิติเชิงพรรณนา ไดแก จํานวน รอยละ เปนตน ท้ังน้ียัง จําแนกความรูความเขาใจออกเปน 3 ระดบั ตามเกณฑ ดังน้ี รอยละของจาํ นวนขอทต่ี อบถกู ระดบั ความรคู วามเขาใจ ตํ่ากวา 50 นอย 50 - 75 ปานกลาง มากกวา 75 ขนึ้ ไป มาก

10 3. การวิเคราะหความเหมาะสมของตัวช้ีวัด และความพึงพอใจในการติดตอประสานงานกับกลุมพัฒนา ระบบบรหิ าร ใชส ถติ ิเชงิ พรรณนา ไดแก คา เฉลี่ย และรอ ยละ สูตรการหาคา เฉลยี่ (x�) ∑ ������ x� = ������ เมอื่ x� แทน คา เฉลี่ย ∑ ������ แทน ผลรวมท้ังหมดของความถ่ี คูณ คะแนน n แทน ผลรวมทงั้ หมดของความถซ่ี ่งึ มีคา เทากบั จํานวนขอมูลทัง้ หมด เกณฑก ารแปลตคี วามคา เฉล่ยี (x�) ดงั นี้ คะแนน 4.51 – 5.00 ระดับมากทสี่ ุด คะแนน 3.51 – 4.50 ระดับมาก คะแนน 2.51 –3.50 ระดับปานกลาง คะแนน 1.51 –2.50 ระดับนอย คะแนน 1.00 – 1.50 ระดับนอยท่สี ุด รอยละคิดจากจํานวนรอยละของชวงระดับปานกลาง - มากทีส่ ดุ โดยกําหนดเกณฑการแปลตีความ ดงั นี้ รอ ยละ 91 – 100 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 71 – 90 ระดับมาก รอ ยละ 51 – 70 ระดบั ปานกลาง รอ ยละ 31 – 50 ระดับนอย รอยละ 21 – 30 ระดับนอยท่ีสุด 4. ขอเสนอแนะเพิ่มเติมเก่ียวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ราชการ วิเคราะหเ น้ือหาจากขอ คาํ ถามปลายเปด

11 บทท่ี 4 ผลการศึกษา การศึกษา เร่ือง “ความรู ความเขาใจ และความพึงพอใจของบุคลากรที่ปฏิบัติงานเก่ียวกับการประเมิน สว นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562” ในครั้งน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรู ความเขาใจเก่ียวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ของบุคลากรที่เกี่ยวของ รวมถึงการสํารวจความคิดเห็นของบุคลากรตอความเหมาะสมของ ตัวชี้วัด และความพึงพอใจในการติดตอประสานงานกับกลุมพัฒนาระบบบริหารซึ่งขอมูลที่ไดจากการสํารวจครั้งนี้ เปนขอมูลพื้นฐานที่จําเปนในการวางแผนปรับปรุงการดําเนินงาน การใหคําปรึกษา และการใหบริการของ กลุมพฒั นาระบบบริหาร ใหม คี วามเหมาะสม สอดคลองกับความตอ งการของผูร บั บรกิ ารตอไป แบบสอบถามวัดความรู ความเขาใจ และความพึงพอใจของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประเมิน สวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 เปนเครื่องมือ ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ โดยเก็บขอมูลจากบุคลากรที่มีความเกี่ยวของกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการ ปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ จํานวน 361 คน คิดเปนรอยละ 100 ของประชากรที่ศึกษา ทั้งนี้ได นาํ เสนอผลการวเิ คราะหเปน 5 สวน ดังน้ี สว นที่ 1 ขอ มูลท่วั ไปของผูตอบแบบสอบถาม สว นที่ 2 ความรู ความเขา ใจ เกย่ี วกบั การประเมนิ สว นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการ ปฏบิ ตั ริ าชการตามแนวทางสํานกั งาน ก.พ.ร. สวนท่ี 3 ความเหมาะสมของตวั ช้ีวดั สว นที่ 4 ความพงึ พอใจในการตดิ ตอประสานงานกบั กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร สว นท่ี 5 ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม สว นที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม บคุ ลากรที่ปฏิบตั ิงานเก่ียวของกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการ ปฏิบัตริ าชการ ซึง่ เปน ผตู อบแบบสอบถามในครัง้ นี้ จาํ นวน 361 คน ตอบคําถามเกย่ี วกับขอมูลทั่วไป จาํ นวน 7 ขอ เชน เพศ อายุ ความเกย่ี วขอ งกบั ตัวชี้วัด และชองทางในการติดตอประสานงานกับกลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร เปน ตน โดยขอมูลท่วั ไปของผูตอบแบบสอบถามแสดงรายละเอยี ดตามตารางท่ี 2 ดงั นี้ ตารางท่ี 2 จํานวนและรอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม จาํ แนกตามสถานภาพสวนบุคคล สถานภาพสว นบุคคล จาํ นวนคน รอ ยละ 1. หนวยงานท่ีทา นสงั กัด 361 100 1.1 สาํ นักบรหิ ารงานกลาง 5 1.4 1.2 สาํ นักปอ งกัน ปราบปราม และควบคุมไฟปา 9 2.5 1.3 สาํ นักแผนงานและสารสนเทศ 11 3 1.4 สาํ นกั ฟนฟูและพฒั นาพืน้ ทอ่ี นรุ ักษ 14 3.9 1.5 สาํ นกั วจิ ัยการอนรุ ักษป า ไมแ ละพันธพุ ชื 8 2.2 1.6 สาํ นกั อนรุ ักษและจัดการตนนา้ํ 8 2.2

ตารางที่ 2 จาํ นวนและรอยละของผตู อบแบบสอบถาม จําแนกตามสถานภาพสว นบุคคล (ตอ ) 12 รอ ยละ สถานภาพสว นบุคคล จํานวนคน 2.8 1.7 สาํ นกั อนรุ ักษส ตั วปา 10 2.8 1.8 สาํ นักอุทยานแหง ชาติ 10 2.5 1.9 สาํ นกั สนองงานพระราชดาํ ริ 9 1.1 1.10 กองคมุ ครองพันธสุ ตั วป า และพชื ปา ตามอนสุ ัญญา 4 1.4 1.11 กองนติ ิการ 5 2.2 1.12 กองการตา งประเทศ 8 1.4 1.13 สํานักงานผูตรวจราชการกรม 5 1.9 1.14 ศูนยเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 7 1.4 1.15 กลมุ ตรวจสอบภายใน 5 1.4 1.16 กลุมพฒั นาระบบบรหิ าร 5 2.8 1.17 สาํ นักบริหารพืน้ ที่อนรุ ักษท ี่ 1 (ปราจีนบุร)ี 10 4.4 1.18 สํานกั บรหิ ารพน้ื ทอี่ นรุ กั ษท ่ี 2 (ศรรี าชา) 16 2.5 1.19 สํานกั บรหิ ารพื้นที่อนุรักษท ่ี 3 (บานโปง ) 9 2.8 1.20 สาํ นักบริหารพื้นทอ่ี นุรักษท ี่ 4 (สรุ าษฎรธาน)ี 10 5 1.21 สํานกั บริหารพน้ื ที่อนรุ กั ษท ี่ 5 (นครศรธี รรมราช) 18 2.2 1.22 สาํ นักบริหารพนื้ ที่อนรุ กั ษท ่ี 6 (สงขลา) 8 2.2 1.23 สํานักบรหิ ารพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษท ่ี 7 (นครราชสมี า) 8 2.5 1.24 สาํ นักบริหารพนื้ ท่อี นุรักษท ี่ 8 (ขอนแกน ) 9 2.8 1.25 สาํ นักบริหารพ้นื ทอ่ี นุรักษท ี่ 9 (อุบลราชธาน)ี 10 2.5 1.26 สาํ นักบริหารพนื้ ที่อนรุ ักษท ี่ 10 (อุดรราชธาน)ี 9 3 1.27 สาํ นกั บรหิ ารพน้ื ทอี่ นรุ กั ษท ี่ 11 (พษิ ณุโลก) 11 2.2 1.28 สํานกั บริหารพื้นที่อนรุ ักษท ่ี 12 (นครสวรรค) 8 4.7 1.29 สํานักบรหิ ารพ้ืนทอี่ นุรักษท ี่ 13 (แพร) 17 2.8 1.30 สํานักบรหิ ารพื้นที่อนุรกั ษท ่ี 14 (ตาก) 10 5 1.31 สาํ นกั บริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท ่ี 15 (เชยี งราย) 18 3.6 12 .32 สาํ นกั บรหิ ารพื้นท่ีอนรุ ักษที่ 16 (เชียงใหม) 13 3 1.33 สํานกั บริหารพน้ื ทอ่ี นุรกั ษท ี่ 1 สาขาสระบรุ ี 11 2.5 1.34 สาํ นักบริหารพน้ื ทอ่ี นุรกั ษท ี่ 3 สาขาเพชรบรุ ี 9 2.2 1.35 สํานกั บริหารพ้นื ท่อี นรุ กั ษที่ 6 สาขาปต ตานี 8 3.9 1.36 สาํ นักบริหารพืน้ ที่อนุรักษท ี่ 13 สาขาลาํ ปาง 14 3.3 1.37 สาํ นักบริหารพน้ื ทีอ่ นุรกั ษท ี่ 16 สาขาแมสะเรยี ง 12 100 2. เพศ 361 55.7 2.1 ชาย 201 44.3 2.2 หญงิ 160

13 ตารางท่ี 2 จาํ นวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามสถานภาพสวนบุคคล (ตอ ) สถานภาพสว นบุคคล จํานวนคน รอยละ 3. อายุ 361 100 34 .1 ตาํ่ กวา 30 ป 38 10.5 3.2 31 – 40 ป 99 27.4 3.3 41 – 50 ป 64 17.7 3.4 50 ปข ้ึนไป 160 44.3 4. ประเภทตําแหนง 361 100 4.1 ขา ราชการ 314 87 4.2 ลกู จา งประจํา 1 0.3 4.3 พนกั งานราชการ 44 12.3 4.4 พนักงานจางเหมา (TOR) 1 0.3 4.5 ลูกจา งชั่วคราว 1 0.3 5. ความเกย่ี วของกับตวั ชวี้ ดั 361 100 5.1 คณะกรรมการอํานวยการกํากับดแู ลตวั ชว้ี ดั 45 12.5 5.2 คณะทาํ งานกํากบั ดแู ลตวั ชว้ี ดั 143 39.6 5.3 ผรู บั ผิดชอบหลักตัวชว้ี ัดระดบั สํานัก/กอง/กลมุ /ศนู ย 173 47.9 6. ระดับการศกึ ษาสูงสดุ 361 100 6.1 ต่าํ กวา ปรญิ ญาตรี 7 1.9 6.2 ปริญญาตรี 203 56.2 6.3 ปริญญาโท 141 39.1 6.4 ปรญิ ญาเอก 10 2.8 7. ทา นติดตอ ประสานงานกับกลมุ พฒั นาระบบบริหารโดยชอ งทางใดมากทีส่ ดุ 361 100 7.1 ติดตอดวยตนเอง 44 12.2 7.2 ผานทางโทรศพั ท/โทรสาร (FAX) 123 34.1 7.3 บันทกึ ขอความ/จดหมาย 84 23.3 7.4 ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เชน Facebook, Line, E-mail เปนตน 110 30.5 จากตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม จาํ แนกตามสถานภาพสวนบุคคลพบวา ๑. หนวยงานท่ที า นสงั กดั : พบวา กลุมผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ คือ หนวยงานสวนกลางในภูมิภาค มจี าํ นวน ๒๓๘ คน คดิ เปนรอยละ ๖๕.๙ หนว ยงานสว นกลาง จํานวน ๑๒๓ คน คดิ เปน รอยละ ๓๔.1 ๒. เพศ : พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย มีจํานวน ๒๐๑ คน คิดเปนรอยละ ๕๕.๗ เปน เพศหญิง ๑๖๐ คน คิดเปนรอยละ ๔๔.๓ ๓. อายุ : พบวาผูตอบแบบสอบถามโดยสวนใหญมีอายุ ๕๐ ปข้ึนไป จํานวน ๑๖๐ คน คิดเปนรอยละ ๔๔.๓ รองลงมามีอายุระหวาง ๓๑ – ๔๐ ป มีจํานวน ๙๙ คน คิดเปนรอยละ ๒๗.๔ อายุระหวาง ๔๑ - ๕๐ ป มีจํานวน ๖๔ คน คิดเปน รอ ยละ ๑๗.๗ และลําดับสุดทา ยคือ อายตุ าํ่ กวา ๓๐ ป มจี าํ นวน ๓๘ คน คดิ เปน รอ ยละ ๑๐.๕ ๔. ประเภทตําแหนง : พบวาผูตอบแบบสอบถามโดยสวนใหญเปนขาราชการ มีจํานวน ๓๑๔ คน คิดเปนรอยละ ๘๗ รองลงมาคือ พนักงานราชการ มีจํานวน ๔๔ คน คิดเปนรอยละ ๑๒.๓ และลําดับสุดทายคือ ลกู จางประจาํ พนักงานจา งเหมา (TOR) และลกู จา งช่วั คราว มจี าํ นวนประเภทละ ๑ คน คดิ เปน รอยละ ๐.๓

14 ๕. ความเกี่ยวของกับตัวชี้วัด : พบวาผูตอบแบบสอบถามโดยสวนใหญเปนผูรับผิดชอบหลักตัวชี้วัด ระดับสํานัก/กอง/กลมุ /ศูนย มีจาํ นวน ๑๗๓ คน คิดเปนรอยละ ๔๗.๙ รองลงมาคือ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด มจี ํานวน ๑๔๓ คน คดิ เปน รอยละ ๓๙.๖ และลําดับสุดทายคือ คณะกรรมการอํานวยการ มีจํานวน ๔๕ คน คิดเปน รอยละ ๑๒.๕ ๖. ระดบั การศึกษาสูงสุด : พบวาผูตอบแบบสอบถามโดยสวนใหญมีการศึกษาในระดับชั้นปริญญาตรี มีจํานวน ๒๐๓ คน คิดเปนรอยละ ๕๖.๒ รองลงมาคือ มีการศึกษาในระดับชั้นปริญญาโท มีจํานวน ๑๔๑ คน คิดเปน รอ ยละ ๓๙.๑ ผูตอบแบบสอบถามท่ีมีการศึกษาในระดับชั้นปริญญาเอก มีจํานวน ๑๐ คน คิดเปนรอยละ ๒.๘ และลําดับสดุ ทา ยคือ มีการศึกษาในระดบั ช้นั ตํา่ กวาปรญิ ญาตรี มจี ํานวน ๗ คน คิดเปน รอ ยละ ๑.๙ ๗. ทา นติดตอ ประสานงานกับกลุมพัฒนาระบบบริหารโดยชองทางใดมากที่สุด : ผูตอบแบบสอบถาม โดยสวนใหญต ิดตอผานทางโทรศพั ท/ โทรสาร (FAX) มีจาํ นวน ๑๒๓ คน คิดเปนรอยละ ๓๔.๑ รองลงมาคือ ติดตอ ผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน Facebook, Line, E-mail มีจํานวน ๑๑๐ คน คิดเปนรอยละ ๓๐.๕ ติดตอ ผานบันทึกขอความ/จดหมาย มีจํานวน ๘๔ คน คิดเปนรอยละ ๒๓.๓ และลําดับสุดทายคือ ติดตอดวยตนเอง มีจาํ นวน ๔๔ คน คิดเปน รอยละ ๑๒.๒ สวนท่ี 2 ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพใน การปฏิบตั ิราชการตามแนวทางสาํ นกั งาน ก.พ.ร. การศึกษาในคร้ังนี้ ไดสรางแบบสอบถามเพื่อวัดความรู ความเขาใจเก่ียวกับการประเมินสวนราชการ ตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบัติราชการ เก่ียวกับความหมายของการประเมินใน 5 องคประกอบ หลักเกณฑการประเมนิ วธิ ีการคดิ คะแนน และความเปน มาของตัวชี้วดั โดยนําเสนอผลการวิเคราะหคะแนนความรู ความเขาใจเปนรายขอ รายละเอียดตามตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 เปรยี บเทยี บรอ ยละของผทู ี่สามารถเลอื กคาํ ตอบไดถ ูกตองและไมถูกตอง คาํ ถาม คณะกรรมการ คณะทาํ งานกาํ กบั ดูแล ภาพรวม ระดบั อํานวยการ ตวั ชี้วัด และผรู บั ผดิ ชอบ ความรู ถกู ตอ ง ไมถกู ตอง ความเขา ใจ หลกั ตวั ช้วี ัด ถกู ตอ ง ไมถูกตอ ง ถูกตอ ง ไมถกู ตอง 1. สํานักงาน ก.พ.ร. กาํ หนดใหก ารประเมนิ สว นราชการ 100 - 98.73 1.27 98.89 1.11 มาก ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการ มี 5 องคประกอบ 2. องคป ระกอบที่ 1 (Function Base) กําหนดจาก 40 60 63.92 36.08 60.94 39.06 ปานกลาง \"นโยบายเรง ดว น หรือภารกจิ ท่ีไดร ับมอบหมายเปน พิเศษ\" 64.27 35.73 ปานกลาง 3. องคประกอบที่ 2 (Agenda Base) กาํ หนดจาก \"ภารกจิ 51.11 48.89 66.14 33.86 98.34 1.66 มาก พ้นื ฐานงานประจํา หรอื งานตามหนา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบหลกั \" 4. องคประกอบที่ 3 (Area Base) กาํ หนดจาก \"ภารกิจ 95.56 4.44 98.73 1.27 พนื้ ที/่ ทองถนิ่ ภูมภิ าค จงั หวัด กลมุ จงั หวดั \"

15 ตารางที่ 3 เปรียบเทยี บรอ ยละของผทู ี่สามารถเลอื กคําตอบไดถกู ตอง และไมถ กู ตอง (ตอ ) คําถาม คณะกรรมการ คณะทํางานกาํ กบั ดูแล ภาพรวม ระดับ 5. องคป ระกอบท่ี 4 (Innovation Base) กาํ หนดจาก อาํ นวยการ ตวั ชว้ี ัด และผรู ับผดิ ชอบ ความรู \"การพฒั นานวตั กรรม เพื่อไปสูระบบราชการ 4.0\" ถกู ตอ ง ไมถ ูกตอ ง ความเขา ใจ 6. องคประกอบที่ 5 (Potential Base) กาํ หนดจาก หลักตวั ชี้วัด \"ยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป\" ถกู ตอ ง ไมถูกตอ ง ถูกตอ ง ไมถ กู ตอ ง 7. กรมตอ งดําเนนิ การปฏิรูปองคก ารใน 3 ประเดน็ คือ 95.56 4.44 99.05 0.95 98.61 1.39 มาก 1) ทบทวน ยกเลกิ ระบบราชการท่ีลา สมยั 2) ใหภ าคสว น อื่นเขามาดําเนินการในภารกิจทไี่ มจ ําเปน ตอ งดาํ เนนิ การเอง 93.33 6.67 97.78 2.22 97.23 2.77 มาก 3) พฒั นารปู แบบการทาํ งานเพอื่ จดั การพ้นื ทอ่ี นรุ กั ษ รวมกับชุมชนรอบพ้ืนท่ี 8.89 91.11 12.97 87.03 12.47 87.53 นอย 8. การประเมินผลมี 3 ระดับ คือ ระดับตวั ชว้ี ดั ระดบั องคประกอบ และระดับสวนราชการ 86.67 13.33 89.87 10.13 89.47 10.53 มาก 9. การประเมนิ ผลระดับตัวชวี้ ดั หากผลการดําเนินงานตา่ํ 86.67 13.30 83.86 16.14 84.21 15.79 มาก กวาเปา หมายข้ันตาํ่ จะไดค ะแนนเปน ศูนย 88.89 11.11 90.82 9.18 90.58 9.42 มาก 10. การประเมนิ ผลระดับตัวชีว้ ัด คดิ คะแนนจากการ เทยี บบญั ญตั ิไตรยางคร ะหวา งผลการดําเนินงานจริงกับคา 37.78 62.22 40.19 59.81 39.89 60.11 นอ ย เปาหมาย 3 ระดบั 88.89 11.11 88.29 11.71 88.37 11.63 มาก 11. คาเปาหมายขนั้ ตํ่า มคี า คะแนน 0 คะแนน 55.56 44.44 56.96 43.04 56.79 43.21 ปานกลาง 12. การประเมินผลระดับสวนราชการ จะใชวธิ ีหาคา เฉลย่ี ของทกุ องคป ระกอบ 99.78 2.22 95.57 4.43 95.84 4.165 มาก 13. การประเมนิ ผลระดบั สวนราชการ แบงเกณฑก าร 100 - 99.68 0.32 99.72 0.28 มาก ประเมินเปน 3 ระดบั คือ ระดบั คณุ ภาพ ระดับมาตรฐาน ขัน้ ตน และระดับตอ งปรับปรุง 75.25 24.89 78.85 21.16 78.37 21.63 มาก 14. วิธกี ารถายทอดตัวช้วี ัด “กรม >สาํ นักหลัก (สว นกลาง) >สบอ. >สวน >ฝา ย >บคุ คล” 15. หลักการในการกาํ หนดตัวช้ีวดั คอื ตอ งสอดคลอง และเชือ่ มโยงกับ ภารกิจหลัก พนั ธกิจ แผนยทุ ธศาสตร แผนปฏิบัตริ าชการ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และ ยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป เปนตน ภาพรวม

16 จากตารางท่ี 3 เปรียบเทียบรอยละของผูที่สามารถเลือกคําตอบไดถูกตอง และไมถูกตอง จํานวนผูตอบ แบบสอบถามท้ังหมด 361 คน พบวาในภาพรวมบุคลากรผูตอบแบบสอบถามมีความรูความเขาใจในระดับมาก คือ สามารถตอบคําถามไดถูกตอง คดิ เปน รอ ยละ 78.37 กลุมท่ีมีความรู ความเขาใจมากท่ีสุด คือ คณะทํางานกํากับดูแลตัวช้ีวัด และผูรับผิดชอบหลักตัวชี้วัด ระดบั สาํ นัก/กอง/กลุม/ศนู ย ซ่ึงมคี วามรคู วามเขา ใจอยใู นระดับมาก คือ สามารถตอบแบบสอบถามถูกตอง รอยละ 78.85 รองลงมาคอื คณะกรรมการอํานวยการ ตอบแบบสอบถามวัดความรู ความเขา ใจถูกตอ ง รอ ยละ 75.25 หากแยกเปนรายขอ ขอคําถามที่ผูตอบแบบสอบถามสามารถตอบไดถูกตองนอยท่ีสุด สามารถเรียงลําดับ ไดดังน้ี ขอที่ 7 กรมตองดําเนินการปฏิรูปองคการใน 3 ประเด็น คือ 1) ทบทวน ยกเลิกระบบราชการที่ ลาสมัย 2) ใหภาคสวนอ่ืนเขามาดําเนินการในภารกิจที่ไมจําเปนตองดําเนินการเอง 3) พัฒนารูปแบบการทํางาน เพื่อจัดการพน้ื ที่อนรุ กั ษรว มกบั ชมุ ชนรอบพื้นท่ี มผี ตู อบไดถูกตอ ง รอ ยละ 12.47 ขอที่ 11 คา เปา หมายขั้นต่ํา มีคา คะแนน 0 คะแนน มผี ูตอบไดถูกตอง รอยละ 39.89 ขอที่ 13 การประเมินผลระดับสวนราชการ แบงเกณฑการประเมินเปน 3 ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐานขัน้ ตน และระดบั ตองปรบั ปรงุ มีผูต อบไดถ กู ตอง รอยละ 56.79 ขอที่ 2 องคประกอบที่ 1 (Function Base) กําหนดจาก \"นโยบายเรงดวน หรือภารกิจท่ีไดรับมอบหมาย เปน พเิ ศษ\" มผี ตู อบไดถ กู ตอ ง รอยละ 60.94 ขอ ที่ 3 องคประกอบท่ี 2 (Agenda Base) กําหนดจาก \"ภารกิจพ้ืนฐานงานประจํา หรืองานตามหนาท่ี ความรับผดิ ชอบหลัก\" มผี ูตอบไดถูกตอ ง รอ ยละ 64.27 โดยขอคาํ ถาม จาํ นวน 5 ขอ ท่กี ลุมเปาหมายผตู อบแบบสอบถามตอบไดถกู ตองนอยที่สุด เปน ขอ คําถามทเ่ี ปน เทจ็ สวนที่ 3 ความเหมาะสมของตัวชี้วัด ความคดิ เห็นของบุคลากรผูปฏิบัติงานเก่ยี วกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ ผูตอบแบบสอบถามที่มีความเหมาะสมของตัวชี้วัด เปนลักษณะของมาตรประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ โดยกําหนดเกณฑในการแปลความหมายเปน 5 ระดับ คือ คะแนน 1.00 - 1.5o (เหมาะสมนอยท่ีสุด) คะแนน 1.51 - 2.50 (เหมาะสมนอย) คะแนน 2.51 - 3.50 (เหมาะสมปานกลาง) คะแนน 3.51 - 4.50 (เหมาะสมมาก) คะแนน 4.51 - 5.00 (เหมาะสมมากท่ีสุด) ผลการศึกษาความเหมาะสม ของตวั ช้วี ดั รายละเอยี ดตามตารางที่ 4

17 ตารางที่ 4 แสดงจาํ นวน รอยละ และคา เฉลยี่ ความคิดเหน็ ตอความเหมาะสมของตัวชว้ี ดั ระดับความคิดเหน็ ประเดน็ แบบสอบถาม มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย คาเฉลีย่ รอยละ* ทส่ี ุด กลาง ที่สดุ 1. สอดคลองกบั แนวทางของสํานกั งาน ก.พ.ร. 110 216 32 3- 4.20 99.17 30.47 59.83 8.86 0.83 0.00 2. มคี วามหลากหลายครอบคลมุ ภารกิจของกรม 110 216 32 3 1 4.18 99.17 32.13 55.12 11.91 0.55 0.28 3. มคี วามสอดคลองกบั การปฏิบตั งิ านจรงิ 107 187 61 5 1 4.09 98.34 4. เขาใจงา ย 29.64 51.80 16.90 1.39 0.28 3.88 96.12 80 176 91 11 3 22.16 48.75 25.21 3.05 0.83 5. สามารถวัดผลไดจรงิ 86 178 84 11 2 3.93 96.40 23.82 49.31 23.27 3.05 0.55 รวม ๔.๐6 ๙๗.๘4 หมายเหตุ : * หมายถึง ผลรวมรอยละของผตู อบแบบสอบถามมคี วามคดิ เห็นในระดบั ปานกลาง ถงึ มากที่สุด จากตารางที่ 4 แสดงจํานวน รอ ยละ และคา เฉลีย่ ความคดิ เหน็ ตอความเหมาะสมของตัวช้ีวัด พบวาจาก จํานวนผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด 361 คน ในภาพรวมผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นวาตัวชี้วัดมีความ เหมาะสมมาก (4.06 คะแนน) และผูตอบแบบสอบถาม รอยละ 97.84 มีความคิดเห็นวาตัวชี้วัดมีความ เหมาะสม เมื่อพิจารณาความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามโดยเรียงลําดับจากมากไปนอย พบวา ตัวชี้วัดมี ความสอดคลองกับแนวทางของสํานักงาน ก.พ.ร. (4.20 คะแนน) มีความหลากหลายครอบคลุมภารกิจของกรม (4.18 คะแนน) มคี วามสอดคลองกับการปฏิบัติงานจริง (4.09 คะแนน) เขาใจงาย (3.88 คะแนน) และสามารถ วดั ผลไดจ รงิ (3.93 คะแนน) ตามลําดบั สวนที่ 4 ความพึงพอใจในการติดตอ ประสานงานกบั กลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร ความพึงพอใจของบุคลากรผูตอบแบบสอบถามท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการ ปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ ทม่ี ีตอ การติดตอประสานงานกับกลุมพัฒนาระบบบริหาร เปนลักษณะ ของมาตรประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ โดยกาํ หนดเกณฑในการแปลความหมายเปน 5 ระดับ คือ คะแนน 1.00 - 1.5o (พึงพอใจนอยท่ีสุด) คะแนน 1.51 - 2.50 (พึงพอใจนอย) คะแนน 2.51 - 3.50 (พึงพอใจ ปานกลาง) คะแนน 3.51 - 4.50 (พึงพอใจมาก) คะแนน 4.51 - 5.00 (พึงพอใจมากท่ีสุด) ผลการศึกษา ความพึงพอใจในการติดตอ ประสานกบั กลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร รายละเอียดตามตารางที่ 5

18 ตารางที่ 5 แสดงจํานวน รอยละ และคาเฉล่ยี ความพึงใจในการตดิ ตอประสานงานกับกลมุ พัฒนาระบบบริหาร ประเดน็ แบบสอบถาม ระดับความพึงพอใจ นอ ย คาเฉลยี่ รอ ยละ* มาก ปาน ทีส่ ดุ ทส่ี ุด มาก กลาง นอ ย 1. เจาหนา ทีพ่ รอ มที่จะใหคาํ ปรกึ ษาท่เี ปน 97 202 58 3 1 4.08 98.89 ประโยชนแ กท าน 26.87 55.96 16.07 0.83 0.28 2. เจาหนา ทม่ี คี วามสภุ าพ พดู จาไพเราะ และเตม็ 121 176 62 1 1 ใจใหบริการ 33.52 48.75 17.17 0.28 0.28 4.15 99.45 3. เจาหนาทสี่ ามารถใหค าํ ปรกึ ษาไดถูกตอ ง 85 208 63 4 1 4.03 98.61 ชัดเจน 23.55 57.62 17.45 1.11 0.28 91 201 65 3 1 4. สามารถนําคําปรกึ ษา แนะนาํ ไปประยุกต 25.21 55.68 18.01 0.83 0.28 4.05 98.89 ใชได 100 189 67 4 1 5. ชอ งทางในการติดตอประสานงาน สะดวก 27.70 52.35 18.56 1.11 0.28 4.06 98.61 รวดเรว็ 6. มีการเผยแพรขอมูล ขาวสาร ทีเ่ ปนประโยชน 74 198 82 5 2 อยา งทวั่ ถงึ 20.50 54.85 22.71 1.39 0.55 3.93 98.06 7. ความซือ่ สตั ย สจุ รติ ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี เชน 137 184 37 2 1 4.26 99.17 ไมขอสงิ่ ตอบแทน ไมรับสินบน ไมห าผลประโยชน ในทางมิชอบ 37.95 50.97 10.25 0.55 0.28 8. ทา นมีความพึงพอใจตอการใหค าํ ปรกึ ษา 108 196 54 2 1 4.13 99.17 แนะนํา ในภาพรวม 29.92 54.29 14.96 0.55 0.28 รวม ๔.๐9 ๙๘.86 หมายเหตุ : * หมายถึง ผลรวมรอ ยละของผูต อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง ถงึ มากทสี่ ุด จากตารางที่ 5 แสดงจํานวน รอยละ และคาเฉล่ีย ความพึงใจในการติดตอประสานงานกับกลุมพัฒนา ระบบบริหาร ผูตอบแบบสอบถามจํานวน 361 คน พบวา ในภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก (4.09 คะแนน) เมื่อพิจารณาในรายละเอียดรายขอ พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจมากท่ีสุดในประเด็นเรื่อง เจาหนาที่มีความสุภาพ พูดจาไพเราะ และเต็มใจใหบริการ (4.15 คะแนน) ความซ่ือสัตย สุจริต ในการปฏิบัติ หนาที่ เชน ไมขอสิ่งตอบแทน ไมรับสินบน ไมหาผลประโยชนในทางมิชอบ (4.26 คะแนน) การใหคําปรึกษา แนะนํา ในภาพรวม (4.13 คะแนน) ตามลาํ ดบั สาํ หรับประเด็นทผ่ี ูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจนอยทสี่ ุด คือ เรื่องการเผยแพรขอมูล ขาวสาร ท่ีเปน ประโยชนอยางท่ัวถึง (3.93 คะแนน) เจาหนาที่สามารถใหคําปรึกษาไดถูกตอง ชัดเจน (4.03 คะแนน) และสามารถ นาํ คาํ ปรึกษา แนะนํา ไปประยกุ ตใ ชได (4.05 คะแนน) ตามลาํ ดับ

19 สว นท่ี 5 ขอเสนอแนะเพมิ่ เติม ขอเสนอแนะเพิ่มเติมมาจากแบบสอบถามในสวนที่ 5 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม โดยการตอบแบบสอบถาม ปลายเปดเกี่ยวกับขอเสนอแนะในการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ราชการ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 สามารถสรุปได ดังนี้ ตารางที่ 6 สรปุ ขอ เสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานการประเมนิ สวนราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพ ในการปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 (n = 361) รายการ ความถี่ รอ ยละ ตัวชี้วดั ควรมจี ํานวนท่ีนอ ยลง 1 0.28 ตวั ชีว้ ดั ควรมคี วามชัดเจน เขาใจงา ย ทั้งในสวนของคาํ นิยามและคา เปาหมาย 5 1.39 ตัวชีว้ ดั ตองมคี วามสอดคลองกบั นโยบาย ภารกิจกรม และสถานการณปจจุบนั 3 0.83 ควรเรม่ิ ดําเนนิ การตงั้ แตเ ร่ิมตนปงบประมาณ 1 0.28 ตวั ชี้วัดควรมคี วามทาทายมากกวา น้ี 2 0.55 ควรมกี ารจดั ประชุมเพอื่ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และสรา งการมสี วนรวมในการกําหนดตวั ชว้ี ัด 3 0.83 ควรมกี ารประชมุ ชแ้ี จงกับเจาหนาท่ที กุ ระดบั 1 0.28 ผูร ับผดิ ชอบหลกั ตัวชว้ี ดั ควรจดั ประชมุ อบรม ใหเจาหนาทเี่ พ่มิ เติม เพอ่ื ใหมีความเขาใจในตัวช้วี ัดน้นั ๆ 5 1.39 กรมควรมงี บประมาณสนับสนุนหรือรางวลั จงู ใจใหก บั เจาหนา ท่ี 2 0.55 เพ่ิมชอ งทางในการประสานงานมากขน้ึ เชน ไลนก ลมุ เฉพาะในการประสานงาน 2 0.55 เว็บไซตข าดความนา สนใจและมขี อ มูลไมเพียงพอ และไมเ ปนปจ จุบนั 1 0.28 ควรมีการประชุมตดิ ตาม อยา งตอ เนือ่ ง 1 0.28 ควรออกประชาสมั พันธ ช้แี จงในสว นภูมภิ าคมากขึ้น 1 0.28 แบบฟอรมการรายงานตัวชว้ี ดั เพม่ิ ภาระใหกบั ผปู ฏบิ ตั ิงาน 1 0.28 29 8.03 จากตารางท่ี 6 สรุปขอเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 พบวาบุคลากรผูตอบแบบสอบถามมี ขอเสนอแนะเพิ่มเติมจํานวน 29 ราย คิดเปนรอยละ 8.03 จากบุคลากรทั้งหมดท่ีตอบแบบสอบถามจํานวน 361 ราย ซึ่งประเด็นท่ีมีขอเสนอแนะมากท่ีสุด คือ ตัวช้ีวัดควรมีความชัดเจน เขาใจงาย ท้ังในสวนของคํานิยาม คาเปาหมาย และอยากผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัดจัดประชุม อบรม ใหเจาหนาท่ีเพ่ิมเติม เพื่อใหมีความเขาใจใน ตัวช้ีวัดน้ันๆ คิดเปนรอยละ 1.39 รองลงมาคือ ตัวชี้วัดตองมีความสอดคลองกับนโยบาย ภารกิจกรม และ สถานการณปจจุบัน และควรมีการจัดประชุมเพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นและสรางการมีสวนรวมในการกําหนด ตวั ชี้วัด รอยละ 0.83

20 บทที่ 5 สรุป และขอ เสนอแนะ การศึกษา เรื่อง “ความรู ความเขาใจ และความพึงพอใจของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับการประเมิน สว นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562” ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ เพื่อศึกษาความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการ ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของบุคลากรท่ีเกี่ยวของ สํารวจความคิดเห็นของบุคลากรตอความ เหมาะสมของตวั ชว้ี ดั และความพงึ พอใจในการติดตอ ประสานงานกบั กลุมพัฒนาระบบบริหาร โดยใชแบบสอบถาม จํานวน 361 ชุด ซึ่งขอมูลที่ไดจากการสํารวจคร้ังนี้เปนขอมูลพื้นฐานที่จําเปนในการวางแผนปรับปรุงการดําเนินงาน การใหคําปรึกษา และการใหบริการของกลุมพัฒนาระบบบริหาร ใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับความตองการ ของผรู บั บริการตอ ไป สรุปผลการศึกษา 1. ขอมลู ทวั่ ไปของผตู อบแบบสอบถาม บุคลากรท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติราชการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 361 คน จําแนกตามหนวยงานท่ีสังกัด สว นใหญเ ปนหนว ยงานสวนกลางในภูมิภาค (รอยละ 65.9) เปนเพศชายมากที่สุด (รอยละ 55.7) และมีอายุ 50 ปข้ึนไปสูงสุด (รอยละ 44.3) สวนใหญเปนขาราชการ (รอยละ 87) และมีความเกี่ยวของโดยเปนผูรับผิดชอบหลัก ตัวชี้วดั ระดบั สํานัก/กอง/กลุม /ศูนย มากทส่ี ดุ (รอยละ 47.9) มีระดับการศึกษาสูงสุดระดับชั้นปริญญาตรี (รอยละ 56.2) ทั้งน้ีผูตอบแบบสอบถามติดตอประสานงานกับกลุมพัฒนาระบบบริหารผานชองทางโทรศัพท/โทรสาร (FAX) มากท่สี ุด (รอยละ 34.1) รายละเอยี ดตามภาพที่ 1 - 7 34% 66% หนว ยงานสว นกลาง หนว ยงานสว นกลางในภมู ภิ าค ภาพที่ 1 รอยละผตู อบแบบสอบถามจาํ แนกตามหนว ยงานทีส่ ังกดั

21 44% ชาย 56% หญิง ภาพที่ 2 รอยละผูต อบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ ภาพท่ี 3 รอ ยละผตู อบแบบสอบถามจําแนกตามอายุ 100.0 87.0 คณะกรรมการ 80.0 อาํ นวยการ 60.0 คณะทาํ งานกํากบั 40.0 12.5 ดแู ล 20.0 0.3 12.2 0.3 0.3 47.9 39.6 0.0 ผูรบั ผดิ ชอบหลกั ตวั ช้วี ดั ระดับสาํ นกั / กอง/กลุม/ศนู ย ภาพที่ 4 รอ ยละผูตอบแบบสอบถามจําแนกตาม ภาพที่ 5 รอ ยละผตู อบแบบสอบถามจําแนกตาม ประเภทตําแหนง ความเกย่ี วขอ งกบั ตวั ชีว้ ัด 6342150000000.......0000000 56.2 30.5 12.2 ติดตอดวยตนเอง 39.1 23.3 34.1 โทรศพั ท/โทรสาร บันทึกขอ ความ/จดหมาย 1.9 2.8 ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ภาพที่ 6 รอ ยละผูต อบแบบสอบถามจําแนกตาม ภาพท่ี 7 รอ ยละผตู อบแบบสอบถามจําแนกตามชองทาง ระดับการศึกษาสูงสุด การตดิ ตอ ประสานงาน

22 2. ความรู ความเขาใจ เกย่ี วกับการประเมินสว นราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิ ราชการตามแนวทางสํานักงาน ก.พ.ร. รายละเอยี ดตามภาพที่ 8 ผูตอบแบบสอบถามมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ตามแนวทางสํานักงาน ก.พ.ร. จําแนกตามความเกี่ยวของกับตัวชี้วัด จะพบวา ทั้ง 2 กลุม มีความรูความเขาใจที่ใกลเคียงกัน โดยคณะทํางานกํากับดูแลและผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด มีความรู ความเขาใจรอยละ 78.84 และคณะกรรมการอํานวยการ มีความรูความเขาใจรอยละ 75.25 ภาพรวมบุคลากร มีความรคู วามเขาใจเฉลย่ี รอยละ 78.37 อยูใ นระดบั มาก แบบสอบถามจํานวน 15 ขอ โดยแบงเปน “ถูก” จํานวน 10 ขอ และ “ผิด” จํานวน 5 ขอ โดยขอ คําถามท่ผี ูตอบแบบสอบถามตอบถูกนอยที่สุด คือ ขอท่ี 7 (รอยละ 12.47) ขอท่ี 11 (รอยละ 39.89) ขอที่ 13 (รอยละ 56.79) ขอที่ 2 (รอยละ 60.94) และขอท่ี 3 (รอยละ 64.27) ตามลําดับ โดยขอคําถามทั้งหมดน้ีเปน ขอ คําถามที่เปนเท็จ จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวาผูตอบแบบสอบถามยังขาดความรูความเขาใจที่ลึกซึ่ง และถองแทเก่ียวกับ การประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ดังจะเห็นไดจากขอคําถามที่ เปน เทจ็ ผตู อบแบบสอบถามไมส ามารถแยกแยะไดวาเปนจริงหรือเท็จ จึงทําใหกลุมเปาหมายสวนใหญตอบคําถาม ในขอดังกลาวไมถูกตอง ดังน้ันจึงควรมีการจัดใหความรูเพ่ิมเติมกับผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประเมินสวนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการท้ัง 3 กลุม เพอื่ เพ่ิมเติมความรูความเขา ใจใหกับผูปฏบิ ตั งิ าน 120 100 80 คณะกรรมการ รอยละ 60 คณะทํางานและ ผรู บั ผดิ ชอบ 40 ภาพรวม 20 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 รวม ขอคาํ ถาม คณะกรรมการ 100 40 51.11 95.56 95.56 93.33 8.89 86.67 86.67 88.89 37.78 88.89 55.56 99.78 100 75.25 คณะทํางานและผรู ับผดิ ชอบ 98.73 63.92 66.14 98.73 99.05 97.78 12.97 89.87 83.86 90.82 40.19 88.29 56.96 95.57 99.68 78.84 ภาพรวม 98.89 60.94 64.27 98.34 98.61 97.23 12.47 89.47 84.21 90.58 39.89 88.37 56.79 95.84 99.72 78.37 ภาพที่ 8 การเปรยี บเทียบรอยละของผตู อบแบบสอบถามไดถกู ตอง จาํ แนกตามความเกี่ยวขอ งกบั ตัวช้วี ัด

23 3. ความเหมาะสมของตวั ชว้ี ัด รายละเอียดตามภาพที่ 9 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นวาตัวช้ีวัดมีความเหมาะสมที่ระดับมาก โดยมีคาเฉล่ีย 4.05 และจํานวนบุคลากรผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นวาตัวชี้วัดมีความเหมาะสม (ระดับปานกลาง - มากที่สุด) รอยละ 97.84 จากผลการสํารวจพบวา ประเด็นที่กลุมเปาหมายมีความคิดเห็นตัวช้ีวัดมีความเหมาะสม คือ มีความ สอดคลองกับแนวทางของสํานักงาน ก.พ.ร. มีความหลากหลาย ครอบคลุมภารกิจของกรม และมีความสอดคลอง กับการปฏบิ ตั ิงานจริง ซงึ่ เปนจุดแข็งของตัวชวี้ ัดทต่ี อ งรกั ษาไว ส่งิ ท่ตี อ งปรบั ปรุงในเรอื่ งของความเหมาะสมของตัวช้ีวัด คือ ความเขาใจยาก และสามารถวัดผลไดจริง ซง่ึ เปนประเดน็ ท่ีกลมุ เปา หมายเลง็ เห็นวาตัวช้วี ดั ยงั มีความออนแอในประเด็นดังกลาว ดงั นี้ ในการกาํ หนดตวั ช้วี ัดในปง บประมาณถดั ไป ในประเด็นที่เปนจุดแข็งตองคงความเปนมาตรฐานไว และปรับปรุงในประเด็นที่ออนแอ คือ การจัดทําตัวชี้วัดมีความเขาใจท่ีงายขึ้น ทุกคนสามารถอานและเขาใจไดใน ทศิ ทางเดยี วกัน อีกท้ังตัวช้ีวัดและเปา หมายทกี่ ําหนดตอ งสามารถวัดผลไดจรงิ ไมใ ชการกาํ หนดแบบเลอ่ื นลอย 99.50 99.00 98.50 99.17 99.17 98.00 98.34 97.50 97.00 96.50 96.00 95.50 96.12 96.40 95.00 94.50 รอยละความเหมาะสม ภาพที่ 9 รอยละความเหมาะสมของตัวชีว้ ัดจําแนกตามประเดน็ สอบถาม

24 4. ความพึงพอใจในการตดิ ตอประสานงานกบั กลมุ พัฒนาระบบบริหาร รายละเอยี ดตามภาพ 10 พบวา บุคลากรผูตอบแบบสอบถามในภาพรวมมีความพึงพอใจในการติดตอประสานกับกลุมพัฒนา ระบบบริหาร ที่ระดับมาก โดยมีคาเฉล่ีย 4.09 ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ (ระดับปานกลาง - มากที่สุด) รอ ยละ 98.86 ประเด็นที่กลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการติดตอประสานงานกับกลุมพัฒนาระบบบริหาร คือ เจาหนาที่มีความสุภาพ พูดจาไพเราะ และเต็มใจใหบริการ ความซื่อสัตยสุจริตในการปฏิบัติหนาที่ เชน ไมขอสิ่ง ตอบแทน ไมรับสนิ บน ไมห าผลประโยชนใ นทางมิชอบ และพึงพอใจตอการใหค าํ แนะนําในภาพรวม สง่ิ ที่กลุม พัฒนาระบบบริหารตองปรับปรุง ในประเดน็ ที่กลุมเปาหมายมองวายังไมเปนที่พึงพอใจในการ ติดตอประสานงานหรือยังไมไดรับความสะดวกเทาท่ีควร คือ การเผยแพรขอมูล ขาวสาร ท่ีเปนประโยชนอยาง ทว่ั ถึง เจา หนา ที่สามารถใหค ําปรึกษาไดถูกตองชดั เจน และชอ งทางในการตดิ ตอประสานงาน สะดวกรวดเรว็ 100.00 99.45 99.17 99.17 99.50 99.00 98.89 98.89 98.61 98.61 98.50 98.06 98.00 97.50 97.00 ความพึงพอใจ ภาพท่ี 10 รอยละความพึงพอใจตอการประสานงานกับกลุมพฒั นาระบบบริหารจําแนกตามประเดน็ ในการสอบถาม

25 ขอ เสนอแนะ 1. การสรา งความรูค วามเขา ใจ 1.1 จดั ทําและสงเสรมิ ใหมกี ารสรา งความรคู วามเขา ใจเก่ยี วกบั หลกั การ แนวทาง และความสําคัญของ การประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ กับผูบริหาร และเจาหนาท่ี ทุกระดบั เพอ่ื เปนการสรางความเขาใจทถี่ ูกตองใหกบั บคุ ลากรในทุกระดบั 1.2 ลงพื้นทเี่ พอ่ื ไปใหความรูค วามเขา ใจกับเจา หนา ผปู ฏิบัติในพื้นทท่ี ุกระดบั 1.3 ผูรับผิดชอบหลักควรจัดประชุมยอยรายตัวชี้วัดกับผูรับผิดชอบ/ผูปฏิบัติงานในพื้นที่ เพื่อสราง ความเขา ใจกอ นเรมิ่ ดาํ เนนิ งาน 2. การจดั ทาํ ตวั ช้ีวดั 2.1 ผูร บั ผิดชอบหลกั ควรมีความชดั เจนทั้งในสวนของคาํ นยิ าม คาเปาหมาย และตองเขาใจงาย ทุกคน อา นแลวมคี วามเขา ใจทีต่ รงกัน ลดการใชด ลุ ยพินิจในการตีความ 2.2 ตวั ชี้วัดและคาเปา หมาย ตองสามารถวัดผลไดจริง สามารถสะทอนถึงประสิทธภิ าพของงานไดจ ริง 2.3 ตวั ชี้วัดตองไมเปนการเพิ่มภาระงานใหก ับผูปฏบิ ตั ิ 3. ชอ งทางในการติดตอ สื่อสาร และเผยแพรขอมูลขา วสาร 3.1 ควรจดั ใหมีชองทางการส่อื สารทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกบั บุคลากรทุกชว งวยั และสภาพแวดลอ ม ในการปฏิบตั ิงาน เชน เบอรโทรศพั ท หองแชทไลน e-mail เปน ตน 3.2 จัดทําสมุดโทรศัพทผูเกี่ยวของกับตัวช้ีวัดในทุกระดับ โดยมีรายละเอียดของเบอรโทรศัพทมือถือ/ โตะทํางาน ของผูรับผิดชอบหลักตัวชี้วัดระดับกรม/สํานัก/กอง/กลุม/ศูนย และผูประสานงาน สําหรับการติดตอ ส่อื สารผา นทางโทรศพั ท 3.3 ใหผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัดจัดใหมีหองแชทไลนสําหรับการติดตอส่ือสาร พูดคุยแลกเปลี่ยนความ คิดเหน็ ในตัวชี้วัดนัน้ ๆ โดยเฉพาะ 3.4 ควรจัดใหมีชองทางสําหรับการเผยแพรขอมูลขาวสารกลาง ในการเผยแพรขอมูลเก่ียวกับการ ประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ โดยขอมูลตองมีความทันสมัย เปนปจ จุบัน 4. ผลกั ดันใหน ําตวั ชวี้ ัดไปใชในการปฏบิ ตั ิงานทกุ ระดบั กรมควรมกี ารนาํ ระบบตวั ช้วี ัดมาใชในการปฏิบัติงานทุกระดับ เน่ืองจากการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรม/ โครงการควรมีการวดั ประสิทธภิ าพ ประสิทธิผล ทีช่ ดั เจนและเปน ท่ียอมรับ

26 บรรณานกุ รม นิรนั ดร จงวฒุ เิ วศย. (2537). การมสี ว นรว มของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ : ศกั ดโ์ิ สภาการพิมพ. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน. (2542) สนิท เหลอื งบตุ รนาค. (2529). ความพึงพอใจของนักศึกษาโครงการฝก อบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจําการระดับปรญิ ญาตรีครุศาสตรบัณฑติ วิชาเอกเกษตรศาสตร ทม่ี ีตอการเรียนวิชาการขยายพันธุพืช ของสหวทิ ยาลยั ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ. วิทยานิพนธปรญิ ญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สาํ นักงาน ก.พ.ร.). (2562). คมู อื การประเมินสว นราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของสว นราชการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562(ระบบออนไลน). สบื คน จาก https://www.opdc.go.th/content/viewbook/ NTc3NXx8MXx8dGh8fGRQRUpU#book/. (มีนาคม 2562) สุดใจ บญุ ฤทธ์.ิ (2543). การมีสวนรว มในการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอมของนักเรียน โรงเรียนบา นหนองขาม ตําบลปา หวาย อําเภอสวนผ้ึง จงั หวัดราชบุรี. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวทิ ยาศาสตรสง่ิ แวดลอม, บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาตร. เสถยี ร เหลอื งอรา ม. (2562). มนุษยส ัมพนั ธใ นองคการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง. อทุ ัย หิรัญโต. (2523). การปกครองทองถ่ิน. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพโอเดยี นสโตร. Bloom; el al. (1971). Handbook on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York: McGraw Hill. Michael Beer, (1964). Human resource Management : a general manager’s perspective : text and case. New York : Free Press,

27 ภาคผนวก แบบสอบถาม

28 แบบสอบถามวัดความรคู วามเขาใจและความพึงพอใจของบุคลากรที่ปฏิบัตงิ านเก่ียวกบั การประเมินสว นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 *************************************** คําอธิบาย : แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคสํารวจความเขาใจและความพึงพอใจของบุคลากรท่ีไดรับคําปรึกษา แนะนาํ เพ่ือใชในการติดตามประเมินผลการใหบริการในภาพรวมและปรับปรุงคุณภาพการใหบริการ ดังนั้น จึงขอ ความรว มมอื จากทาน โปรดกรอกขอ มลู ตามความเปนจรงิ กลมุ เปาหมาย : 1. คณะกรรมการอํานวยการกํากับดูแลตวั ชว้ี ดั (คําสงั่ กรมอุทยานแหงชาติ สตั วป า และพนั ธพุ ืช ที่ 1317/2562 ลงวันท่ี 26 มีนาคม 2562) 2. คณะทาํ งานกํากบั ดแู ลตวั ชีว้ ดั (คาํ สั่งกรมอทุ ยานแหงชาติ สัตวป า และพันธุพ ชื ท่ี 1317/2562 ลงวันท่ี 26 มีนาคม 2562) 3. ผูรบั ผดิ ชอบหลักตวั ชวี้ ัดระดับสาํ นกั /กอง/กลุม แบบสอบถามแบง ออกเปน 4 สว น ไดแก สว นที่ 1 ขอ มูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 ความรู ความเขาใจ สว นท่ี 3 ความเหมาะสมของตัวชว้ี ดั สวนที่ 4 ระดับความพึงพอใจในการตดิ ตอ ประสานงาน สวนที่ 5 ขอ เสนอแนะเพ่มิ เติม คาํ ช้แี จง : โปรดกาเครือ่ งหมาย  ลงในชอ งทท่ี า นเหน็ วา เหมาะสมท่สี ดุ และใหขอ เสนอแนะในสวนที่เกี่ยวขอ ง จากแบบสอบถาม สว นที่ 1 ขอ มูลทั่วไปของผตู อบแบบสอบถาม 1. หนวยงานที่ทา นสังกัด.............................. 2.เพศ ชาย หญงิ 3. อายุ  31 - 40 ป  ตาํ่ กวา 30 ป  50 ปข ้นึ ไป  41 - 50 ป 4. ทา นเปน  ลูกจา งประจาํ  ขาราชการ  อน่ื ๆ..............  พนักงานราชการ

29 5. ความเกีย่ วของกับตวั ชวี้ ัด  คณะกรรมการอํานวยการ  คณะทํางานกํากับดแู ลตวั ชวี้ ดั  ผรู ับผดิ ชอบหลักตวั ช้วี ดั ระดับสํานกั /กอง/กลุม/ศนู ย 6. ระดับการศึกษาสูงสดุ  ปริญญาตรี  ตา่ํ ปรญิ ญาตรี  ปริญญาเอก  ปรญิ ญาโท 7. ทานติดตอ ประสานงานกับกลมุ พฒั นาระบบบรหิ ารโดยชองทางใดมากท่สี ดุ  ติดตอ ดวยตนเอง  ผา นทางโทรศัพท/โทรสาร (Fax)  บันทกึ ขอความ/จดหมาย  ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เชน Facebook, Line,E-mail เปนตน สวนท่ี 2 ความรู ความเขา ใจ เก่ียวกับการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพ ในการปฏบิ ตั ิราชการตามแนวทางสาํ นกั งาน ก.พ.ร. หัวขอท่ีประเมิน ใช ไมใช 1. สํานกั งาน ก.พ.ร. กาํ หนดใหก ารประเมินสวนราชการตามมาตรการปรบั ปรุง ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ มี 5 องคป ระกอบ 2. องคประกอบท่ี 1 (Function Base) กําหนดจาก “นโยบายเรงดว น หรือภารกจิ ที่ไดร ับ มอบหมายเปน พิเศษ” 3. องคประกอบที่ 2 (Agenda Base) กาํ หนดจาก “ภารกิจพื้นฐานงานประจาํ หรืองาน ตามหนาทีค่ วามรบั ผิดชอบหลัก” 4. องคประกอบท่ี 3 (Area Base) กําหนดจาก “ภารกจิ พื้นท่/ี ทอ งถ่นิ ภูมภิ าค จังหวดั กลมุ จงั หวดั ” 5. องคประกอบที่ 4 (Innovation Base) กําหนดจาก “การพัฒนานวตั กรรม เพือ่ ไปสู ระบบราชการ 4.0” 6. องคประกอบท่ี 5 (Potential Base) กําหนดจาก “ยุทธศาสตรชาติ 20 ป” 7. กรมตองดาํ เนินการปฏิรูปองคการใน 3 ประเดน็ คือ 1) ทบทวน ยกเลิกระบบราชการท่ี ลา สมยั 2) ใหภาคสว นอื่นเขามาดําเนนิ การในภารกจิ ท่ีไมจ ําเปนตองดําเนินการเอง 3) พัฒนารปู แบบการทาํ งานเพื่อจดั การพนื้ ทอ่ี นุรักษรว มกบั ชุมชนรอบพืน้ ที่ 8. การประเมนิ ผลมี 3 ระดับ คือ ระดบั ตวั ชวี้ ดั ระดับองคประกอบ และระดบั สวนราชการ 9. การประเมินผลระดบั ตวั ช้ีวดั หากผลการดาํ เนนิ งานตํ่ากวา เปาหมายขั้นต่าํ จะไดค ะแนน เปน ศูนย 10. การประเมนิ ผลระดับตัวชีว้ ดั คดิ คะแนนจากการเทียบบัญญัติไตรยางระหวางผลการ

30 หวั ขอที่ประเมิน ใช ไมใช ดําเนินงานจรงิ กบั คา เปา หมาย 3 ระดบั 11. คาเปาหมายขั้นตํ่า มีคาคะแนน 0 คะแนน 12. การประเมนิ ผลระดบั สวนราชการ จะใชวิธหี าคา เฉล่ียของทุกองคประกอบ 13.การประเมินผลระดับสว นราชการ แบงเกณฑการประเมินเปน 3 ระดบั คือ ระดับ คณุ ภาพระดับมาตรฐานขน้ั ตน และระดบั ตองปรับปรุง 14. วธิ ีการถายทอดตวั ชี้วัด “กรม  สาํ นกั หลกั (สว นกลาง)  สบอ.สวน  ฝา ย  บคุ คล” 15. หลกั การในการกาํ หนดตัวชี้วัดคอื ตอ งสอดคลอ งและเชอื่ มโยงกบั ภารกจิ หลกั พนั ธกจิ แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบตั ิราชการ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คม และ ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป เปน ตน สว นที่ 3 ความเหมาะสมของตัวช้ีวัด หัวขอท่ีประเมนิ มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอ ย นอ ยที่สดุ 1. สอดคลองกับแนวทางของสํานกั งาน ก.พ.ร. 2. มีความหลากหลายครอบคลุมภารกิจของกรม 3. มคี วามสอดคลองกับการปฏบิ ัตงิ านจรงิ 4. เขา ใจงา ย 5.สามารถวัดผลไดจ รงิ สว นท่ี 4 ระดับความพึงพอใจในการติดตอประสานงานกบั กลมุ พฒั นาระบบบรหิ าร หัวขอที่ประเมิน มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอย นอ ยท่สี ุด 1. เจาหนาทพ่ี รอ มทจ่ี ะใหคําปรกึ ษาทเี่ ปน ประโยชน แกท าน 2. เจา หนาทีม่ คี วามสุภาพพูดจาไพเราะและเต็มใจ ใหบรกิ าร 3. เจา หนาท่สี ามารถใหคาํ ปรึกษาไดถูกตอง ชดั เจน 4. สามารถนําคาํ ปรกึ ษา แนะนํา ไปประยุกตใชไ ด 5. ชองทางในการติดตอ ประสานงาน สะดวกรวดเรว็ 6.มีการเผยแพรข อมลู ขาวสารทเ่ี ปนประโยชนอ ยา ง ทั่วถงึ 7. ความซ่ือสตั ย สจุ ริต ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี เชน ไมขอส่ิงตอบแทน ไมร บั สนิ บน ไมห าผลประโยชน ในทางมิชอบ

31 หวั ขอท่ีประเมิน มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอย นอยทส่ี ดุ 8. ทานมคี วามพงึ พอใจตอการใหคําปรกึ ษา แนะนํา ในภาพรวม สวนท่ี 5 ขอเสนอแนะเพม่ิ เติม ความคิดเหน็ /ขอเสนอแนะ/ความคาดหวัง ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

32 ผลการศกึ ษา สว นท่ี 2 ความรู ความเขาใจ เก่ียวกบั การประเมนิ สว นราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ ตามแนวทางสํานักงาน ก.พ.ร.

33 ตารางท่ี 7 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามที่ 1: สาํ นกั งาน ก.พ.ร. กําหนดให การประเมินสว นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการมี 5 องคประกอบ สาํ นกั งาน ก.พ.ร.กําหนดใหก ารประเมินสว นราชการตาม ถกู ตอ ง ไมถ ูกตอ ง รวม มาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการ มี จํานวน จํานวน จาํ นวน (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ (คน) รอ ยละ 5 องคประกอบ คณะกรรมการอาํ นวยการ 45 100 -- 45 100 คณะทํางานกาํ กบั ดแู ลตวั ชีว้ ดั และผรู ับผิดชอบหลักตวั ชีว้ ัด 312 98.73 4 1.27 316 100 357 98.89 4 1.11 361 100 ภาพรวม จากตารางท่ี 7 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๔๕ คน คิดเปนรอยละ ๑๐๐ คณะทาํ งานกํากับดูแลตัวช้วี ัด และผูรับผดิ ชอบหลกั ตวั ชว้ี ดั เลือกถูกตอง มจี าํ นวน ๓๑๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๘.๗๓ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๔ คน คิดเปนรอยละ ๑.๒๗เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวมเลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 98.89 และเลือกไมถ ูกตองคิดเปนรอ ยละ 1.11 ตารางท่ี 8 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามท่ี 2 : องคประกอบท่ี 1 (Function Base) กาํ หนดจาก \"นโยบายเรง ดว น หรอื ภารกิจท่ีไดรบั มอบหมายเปนพเิ ศษ\" องคป ระกอบท่ี 1 (Function Base) ถูกตอ ง ไมถกู ตอ ง รวม กาํ หนดจาก \"นโยบายเรงดวน หรอื ภารกิจทีไ่ ดรบั จาํ นวน จาํ นวน จาํ นวน (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ (คน) รอ ยละ มอบหมายเปนพเิ ศษ\" คณะกรรมการอาํ นวยการ 18 40.00 27 60.00 45 100 คณะทํางานกาํ กบั ดูแลตัวชี้วดั และผูรับผดิ ชอบหลักตวั ชวี้ ดั 202 63.92 114 36.08 316 100 220 60.94 141 39.06 361 100 ภาพรวม จากตารางที่ 8 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๑๘ คน คิดเปนรอยละ ๔๐ และ เลือกไมถูกตองมีจํานวน ๒๗ คน คิดเปนรอยละ ๖๐ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด เลอื กถกู ตอง มจี าํ นวน ๒๐๒ คน คดิ เปนรอ ยละ ๖๓.๙๒ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๑๑๔ คน คิดเปนรอยละ ๓๖.๐๘ เม่อื วิเคราะหข อมูลในภาพรวม เลอื กถกู ตอง คดิ เปนรอ ยละ 60.94 และเลอื กไมถูกตอ งคดิ เปน รอ ยละ 39.06

34 ตารางที่ 9 แสดงจํานวนและรอยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามท่3ี : องคประกอบที่ 2 (Agenda Base) กาํ หนดจาก \"ภารกิจพ้ืนฐานงานประจาํ หรืองานตามหนา ทค่ี วามรับผดิ ชอบหลัก\" องคป ระกอบที่ 2(Agenda Base) ถูกตอ ง ไมถ กู ตอง รวม กาํ หนดจาก \"ภารกิจพนื้ ฐานงานประจํา จํานวน จํานวน จาํ นวน หรืองานตามหนาที่ความรบั ผิดชอบหลกั \" (คน) รอ ยละ (คน) รอยละ (คน) รอยละ คณะกรรมการอํานวยการ คณะทาํ งานกาํ กับดูแลตัวช้วี ัด และผรู บั ผดิ ชอบหลักตัวช้ีวัด 23 51.11 22 48.89 45 100 209 66.14 107 33.86 316 100 ภาพรวม 232 64.27 129 35.73 361 100 จากตารางที่ 9 พบวา คณะกรรมการอาํ นวยการเลอื กถูกตอง มีจาํ นวน ๒๓ คน คิดเปนรอยละ ๕๑.๑๑ และ เลือกไมถ ูกตองจาํ นวน ๒๒ คน คดิ เปน รอ ยละ ๔๘.๘๙ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๒๐๙ คน คิดเปนรอยละ ๖๖.๑๔ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๑๐๗ คน คิดเปนรอยละ ๓๓.๘๖ เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 64.27 และเลือกไมถูกตอง คิดเปนรอยละ 35.73 ตารางที่ 10 แสดงจํานวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามที่4:องคป ระกอบที่ 3 (Area Base) กําหนดจาก \"ภารกจิ พื้นท่ี/ทอ งถ่ิน ภมู ิภาค จังหวัด กลมุ จงั หวดั \" องคประกอบท่ี 3(Area Base) ถกู ตอง ไมถ ูกตอง รวม กําหนดจาก \"ภารกิจพ้นื ท/่ี ทองถน่ิ จาํ นวน จาํ นวน จาํ นวน (คน) รอ ยละ (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ ภมู ิภาค จังหวัด กลุมจังหวัด\" คณะกรรมการอํานวยการ 43 95.56 2 4.44 45 100 คณะทาํ งานกํากบั ดูแลตัวช้วี ดั และผูร ับผิดชอบหลกั ตวั ชว้ี ัด 312 98.73 4 1.27 316 100 355 98.34 6 1.66 361 100 ภาพรวม จากตารางท่ี 10 พบวา คณะกรรมการอาํ นวยการเลอื กถูกตอ ง มีจาํ นวน ๔๓ คน คิดเปนรอยละ ๙๕.๕๖ และ เลือกไมถูกตองมีจํานวน ๒ คน คิดเปนรอยละ ๔.๔๔ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๓๑๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๘.๗๓ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๔ คน คิดเปนรอยละ ๑.๒๗ เมอ่ื วเิ คราะหข อมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คดิ เปน รอ ยละ 98.34 และเลือกไมถ ูกตอง คิดเปนรอ ยละ 1.66

35 ตารางท่ี 11 แสดงจาํ นวนและรอยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคําถามที5่ :องคป ระกอบที่ 4 (Innovation Base) กาํ หนดจาก \"การพัฒนานวัตกรรม เพอ่ื ไปสูระบบราชการ 4.0\" องคป ระกอบท่ี 4 (Innovation Base) กาํ หนดจาก ถูกตอง ไมถูกตอง รวม \"การพฒั นานวัตกรรม เพ่อื ไปสรู ะบบราชการ 4.0\" จาํ นวน จาํ นวน จาํ นวน คณะกรรมการอํานวยการ (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ (คน) รอยละ คณะทํางานกํากับดูแลตวั ช้วี ดั และผรู บั ผดิ ชอบหลกั ตัวช้ีวดั 43 95.56 2 4.44 45 100 ภาพรวม 313 99.05 3 0.95 316 100 356 98.61 5 1.39 361 100 จากตารางที่ 11 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๔๓ คน คิดเปนรอยละ ๙๕.๕๖ และเลือกไมถูกตองมีจํานวน ๒ คน คิดเปนรอยละ ๔.๔๔ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลัก ตัวชี้วัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๓๑๓ คน คิดเปนรอยละ ๙๙.๐๕และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๓ คน คิดเปน รอยละ ๐.๙๕ เม่ือวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 98.61 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอยละ 1.39 ตารางท่ี 12 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามที่6: องคประกอบท่ี 5 (Potential Base) กําหนดจาก \"ยุทธศาสตรชาติ 20 ป\" องคป ระกอบที่ 5 (Potential Base) ถูกตอ ง ไมถูกตอ ง จาํ นวน รวม กาํ หนดจาก \"ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป\" จํานวน จํานวน (คน) คณะกรรมการอํานวยการกาํ กับดูแลตวั ชี้วัด (คน) รอ ยละ (คน) รอยละ รอยละ คณะทํางานกาํ กบั ดแู ลตวั ชีว้ ัด และผรู ับผดิ ชอบหลกั ตวั ชีว้ ดั 42 93.33 3 6.67 45 100 ภาพรวม 309 97.78 7 2.22 316 100 351 97.23 10 2.77 361 100 จากตารางท่ี 12 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๔๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๓.๓๓ และเลือกไมถูกตองมีจํานวน ๓ คน คิดเปนรอยละ ๖.๒๗ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลัก ตัวชี้วัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๓๐๙ คน คิดเปนรอยละ ๙๗.๗๘ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๗ คน คิดเปน รอยละ ๒.๒๒ เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 97.23 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอ ยละ 2.77

36 ตารางที่ 13 แสดงจํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม ตามคําถามที่7 : กรมตองดําเนนิ การปฏิรปู องคการ ใน 3 ประเดน็ คอื 1) ทบทวน ยกเลกิ ระบบราชการท่ีลา สมยั 2) ใหภาคสว นอ่ืนเขามาดําเนนิ การใน ภารกิจที่ไมจ ําเปน ตอ งดําเนนิ การเอง 3) พฒั นารปู แบบการทํางานเพ่ือจัดการพ้นื ที่อนุรักษร วมกบั ชุมชนรอบพืน้ ท่ี กรมตองดําเนนิ การปฏิรปู องคก ารใน 3 ประเด็น คอื ถูกตอง ไมถูกตอง รวม 1) ทบทวน ยกเลิกระบบราชการทล่ี า สมัย จาํ นวน รอยละ จํานวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ 2) ใหภ าคสวนอนื่ เขา มาดําเนินการในภารกจิ ทไ่ี ม (คน) (คน) (คน) จาํ เปนตองดําเนนิ การเอง 3) พัฒนารูปแบบการทํางาน 4 8.89 41 91.11 45 100 เพื่อจดั การพืน้ ทีอ่ นุรักษร วมกับชมุ ชนรอบพนื้ ที่ 41 12.97 275 87.03 316 100 คณะกรรมการอํานวยการ 45 12.47 316 87.53 361 200 คณะทํางานกาํ กับดูแลตัวช้ีวดั และผรู บั ผิดชอบหลักตัวชว้ี ัด ภาพรวม จากตารางที่ 13 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๔ คน คิดเปนรอยละ 8.89 และ เลือกไมถูกตองมีจํานวน 1๔ คน คิดเปนรอยละ 91.11 คณะทํางานกํากับดูแลตัวช้ีวัด และผูรับผิดชอบหลัก ตัวชี้วัด เลือกถูกตอง มีจํานวน 41 คน คิดเปนรอยละ 12.97 และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน 275 คน คิดเปน รอยละ 87.03 เม่ือวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 12.47 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอยละ 87.53 ตารางที่ 14 แสดงจํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามท่ี8 : การประเมนิ ผลมี 3 ระดบั คอื ระดับตัวช้วี ัด ระดับองคป ระกอบ และระดบั สว นราชการ การประเมนิ ผลมี 3 ระดับ คอื ระดบั ตัวชว้ี ัด ถกู ตอ ง ไมถ ูกตอ ง จํานวน รวม ระดับองคประกอบ และระดับสว นราชการ จํานวน จํานวน (คน) คณะกรรมการอาํ นวยการ (คน) รอยละ (คน) รอยละ รอยละ คณะทํางานกาํ กับดูแลตัวช้ีวัด และผรู บั ผดิ ชอบหลกั ตัวชีว้ ัด 39 86.67 6 13.33 45 100 ภาพรวม 284 89.87 32 10.13 316 100 323 89.47 38 10.53 361 100 จากตารางที่ 14 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๓๙ คน คิดเปนรอยละ ๘๖.๖๗ และเลือกไมถูกตองมีจํานวน ๖ คน คิดเปนรอยละ ๑๓.๓๓ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลัก ตัวช้ีวัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๒๘๔ คน คิดเปนรอยละ ๘๙.๘๗ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๓๒ คน คิดเปน รอยละ ๑๐.๑๓ เม่ือวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 89.47 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอยละ 10.53

37 ตารางท่ี 15 แสดงจาํ นวนและรอยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคําถามที่9: การประเมินผลระดบั ตัวช้ีวดั หากผลการดําเนนิ งานต่ํากวา เปา หมายขน้ั ตํ่า จะไดคะแนนเปน ศูนย การประเมนิ ผลระดบั ตัวชีว้ ดั หากผลการดาํ เนนิ งาน ถกู ตอง ไมถ ูกตอง รวม ตํ่ากวาเปา หมายขัน้ ต่าํ จะไดคะแนนเปนศูนย จาํ นวน จํานวน จาํ นวน (คน) รอ ยละ (คน) รอ ยละ (คน) รอ ยละ คณะกรรมการอาํ นวยการ คณะทาํ งานกาํ กับดูแลตวั ชี้วดั และผรู บั ผิดชอบหลกั ตัวชี้วัด 39 86.67 6 13.3 45 100 265 83.86 51 16.14 316 100 ภาพรวม 304 84.21 57 15.79 361 100 จากตารางที่ 15 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๓๙ คน คิดเปนรอยละ ๘๖.๖๗ และ เลือกไมถูกตองมีจํานวน ๖ คน คิดเปนรอยละ ๑๓.๓ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๒๖๕ คน คิดเปนรอยละ ๘๓.๘๖ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๕๑ คน คิดเปน รอยละ ๑๖.๑๔ เม่ือวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 84.21 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอ ยละ 15.79 ตารางที่ 16 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผูต อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามท่ี10 : การประเมินผล ระดบั ตวั ชีว้ ัด คิดคะแนนจากการเทียบบัญญัติไตรยางศร ะหวา งผลการดาํ เนนิ งานจริงกับคาเปา หมาย 3 ระดบั การประเมินผลระดับตวั ชวี้ ัด คิดคะแนนจาก ถูกตอง ไมถ ูกตอง รวม การเทยี บบญั ญัติไตรยางคร ะหวางผลการดําเนนิ งานจรงิ จาํ นวน จํานวน จาํ นวน (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ (คน) รอ ยละ กับคา เปา หมาย 3 ระดับ คณะกรรมการอํานวยการ 40 88.89 5 11.11 45 100 คณะทาํ งานกํากับดูแลตัวชว้ี ัด และผรู บั ผดิ ชอบหลักตวั ชีว้ ดั 287 90.82 29 9.18 316 100 327 90.58 34 9.42 361 100 ภาพรวม จากตารางท่ี 16 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๔๐ คน คิดเปนรอยละ ๘๘.๘๙ และ เลอื กไมถ กู ตองมีจํานวน ๕ คน คิดเปน รอยละ ๑๑.๑๑ คณะทํางานกํากับดูแลตัวช้ีวัด และผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๒๘๗ คน คิดเปนรอยละ ๙๐.๘๒ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๒๙ คน คิดเปน รอยละ ๙.๑๘ เม่ือวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 90.58 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอยละ 9.42

38 ตารางท่ี 17 แสดงจาํ นวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม ตามคําถามท1ี่ 1 : คาเปาหมายขั้นต่ํา มีคา คะแนน 0 คะแนน ถูกตอ ง ไมถกู ตอ ง รวม คาเปาหมายขัน้ ต่ํา มีคาคะแนน 0 คะแนน จํานวน จาํ นวน จํานวน คณะกรรมการอํานวยการ (คน) รอ ยละ (คน) รอยละ (คน) รอยละ คณะทํางานกํากับดูแลตัวช้วี ัด และผรู ับผิดชอบหลกั ตวั ช้ีวดั 17 37.78 28 62.22 45 100 ภาพรวม 127 40.19 189 59.81 316 100 144 39.89 217 60.11 361 100 จากตารางท่ี 17 พบวา คณะกรรมการอํานวยการ เลือกถูกตอง มีจํานวน ๑๗ คน คิดเปนรอยละ ๓๗.๗๘ และ เลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๒๘ คน คิดเปนรอยละ ๖๒.๒๒ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลัก ตัวชี้วัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๑๒๗ คน คิดเปนรอยละ ๔๐.๑๙ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๑๘๙ คน คิดเปน รอยละ ๕๙.๘๑ เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 39.98 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอยละ 60.11 ตารางท่ี 18 แสดงจาํ นวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม ตามคําถามท1ี่ 2 : การประเมินผลระดับสวนราชการ จะใชวธิ หี าคา เฉลย่ี ของทุกองคป ระกอบ การประเมินผลระดบั สว นราชการ ถูกตอ ง ไมถูกตอ ง รวม จะใชว ิธหี าคาเฉล่ยี ของทุกองคประกอบ จาํ นวน จํานวน จาํ นวน คณะกรรมการอาํ นวยการ (คน) รอ ยละ (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ คณะทาํ งานกํากบั ดูแลตัวชี้วัด และผรู ับผิดชอบหลักตัวชี้วัด 40 88.89 5 11.11 45 100 ภาพรวม 279 88.29 37 11.71 316 100 319 88.37 42 11.63 361 100 จากตารางท่ี 18 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลอื กถูกตอง มจี าํ นวน ๔๐ คน คิดเปนรอยละ ๘๘.๘๙ และ เลือกไมถ กู ตอ งมจี ํานวน ๕ คน คิดเปนรอ ยละ ๑๑.๑๑ คณะทํางานกํากับดูแลตัวช้ีวัด และผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๒๗๙ คน คิดเปนรอยละ ๘๘.๒๙ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๓๗ คน คิดเปน รอยละ ๑๑.๗๑ เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 88.37 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอยละ 11.63

39 ตารางท่ี 19 แสดงจาํ นวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามท1ี่ 3 : การประเมินผล ระดับสวนราชการ แบงเกณฑการประเมินเปน 3 ระดับ คอื ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐานขัน้ ตน และระดับตอ งปรับปรงุ การประเมนิ ผลระดบั สวนราชการ ถูกตอ ง ไมถ กู ตอ ง รวม แบงเกณฑการประเมนิ เปน 3 ระดับ คือ ระดับคุณภาพ จาํ นวน จาํ นวน จาํ นวน (คน) รอ ยละ (คน) รอยละ (คน) รอยละ ระดับมาตรฐานขน้ั ตน และระดับตองปรับปรุง คณะกรรมการอํานวยการ 25 55.56 20 44.44 45 100 คณะทํางานกํากับดแู ลตัวช้ีวดั และผรู ับผิดชอบหลกั ตัวช้ีวดั 180 56.96 136 43.04 316 100 205 56.79 156 43.21 361 100 ภาพรวม จากตารางที่ 19 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๒๕ คน คิดเปนรอยละ ๕๕.๕๖ และ เลือกไมถูกตองมีจํานวน ๒๐ คน คิดเปนรอยละ ๔๔.๔๔ คณะทํางานกํากับดูแลตัวช้ีวัด และผูรับผิดชอบหลัก ตัวชี้วัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๑๘๐ คน คิดเปนรอยละ ๕๖.๙๖ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๑๓๖ คน คิดเปน รอยละ ๔๓.๐๔ เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 56.79 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอ ยละ 43.21 ตารางท่ี 20 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามที1่ 4:วิธีการถายทอดตวั ชีว้ ดั “กรม>สาํ นกั หลัก (สว นกลาง)>สบอ.>สวน>ฝาย>บคุ คล” วธิ กี ารถายทอดตัวชว้ี ดั “กรม>สํานักหลัก (สว นกลาง)> ถกู ตอ ง ไมถ กู ตอ ง รวม สบอ.>สวน>ฝา ย>บุคคล” จาํ นวน จาํ นวน จํานวน (คน) รอยละ (คน) รอ ยละ (คน) รอ ยละ คณะกรรมการอาํ นวยการ คณะทํางานกาํ กับดแู ลตัวชว้ี ดั และผรู บั ผิดชอบหลกั ตัวช้ีวัด 44 97.78 1 2.22 45 100 302 95.57 14 4.43 316 100 ภาพรวม 346 95.84 15 4.16 361 100 จากตารางท่ี 20 พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๔๔ คน คิดเปนรอยละ ๙๗.๗๘ และ เลือกไมถูกตองมีจํานวน ๑ คน คิดเปนรอยละ ๒.๒๒ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๓๐๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๕.๕๗ และเลือกไมถูกตอง มีจํานวน ๑๔ คน คิดเปน รอยละ ๔.๔๓ เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 95.84 และเลือกไมถูกตอง คิดเปน รอ ยละ 4.16

40 ตารางที่ 21 แสดงจาํ นวนและรอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม ตามคาํ ถามท่1ี 5: หลกั การในการกาํ หนด ตัวชว้ี ดั คือ ตอ งสอดคลอ งและเช่ือมโยงกับ ภารกิจหลกั พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนปฏบิ ตั ิราชการ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และยุทธศาสตรชาติ 20 ป เปน ตน หลักการในการกําหนดตัวชี้วดั คือ ตอ งสอดคลอ ง ถกู ตอ ง ไมถ ูกตอง รวม และเช่ือมโยงกับ ภารกจิ หลัก พนั ธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบตั ิราชการ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ (คน) (คน) (คน) และยุทธศาสตรช าติ 20 ป เปน ตน คณะกรรมการอํานวยการ 45 100 -- 45 100 คณะทํางานกํากับดแู ลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลักตัวชีว้ ัด 315 99.68 1 0.32 316 100 360 99.72 1 0.28 361 100 ภาพรวม จากตารางที่ 21พบวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกถูกตอง มีจํานวน ๔๕ คน คิดเปนรอยละ ๑๐๐ คณะทํางานกํากับดูแลตัวชี้วัด และผูรับผิดชอบหลักตัวช้ีวัด เลือกถูกตอง มีจํานวน ๓๑๕ คน คิดเปนรอยละ ๙๙.๖๘ และเลอื กไมถ ูกตอ ง มีจาํ นวน ๑ คน คิดเปนรอยละ ๐.๓๒ เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวม เลือกถูกตอง คิดเปนรอยละ 99.72 และเลือกไมถกู ตอง คิดเปน รอยละ 0.28

41