Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของโลก

นักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของโลก

Published by 945sce00459, 2020-12-09 18:06:18

Description: ประวัติของนักดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของโลก

Search

Read the Text Version

นักดาราศาสตร์ผยู้ งิ่ ใหญข่ องโลก ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมเพื่อการศกึ ษารอ้ ยเอด็ สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

นกั ดาราศาสตรผ์ ู้ย่งิ ใหญข่ องโลก 1. อริสโตเตลิ (350 ปกี ่อนคริสตกาล) อรสิ โตเตลิ เกิดเม่ือประมาณ 384 หรอื 383 ปกี ่อนคริสตกาลท่ีเมืองสตากีรา (Stagira) ในแควน้ มาเซโดเนีย (Macedonia) ซึ่งเป็นแคว้นท่ีแห้งแล้งทางตอนเหนือสุดชองทะเลเอเจียน (Aegaeen Sea) ของ ประเทศกรีก เป็นบุตรชายของนายนิโคมาคัส (Nicomachus) ซึ่งมีอาชีพทางการแพทย์ประจาอยู่ท่ีเมือง สตาราเกยี และยังเปน็ แพทย์ประจาพระองค์ของพระเจา้ อมนิ ตัสที่ 2 (King Amyntas II) แหง่ มาเซโดเนยี ในวัยเด็กนั้นผู้ที่ให้การศึกษาแก่อริสโตเติลคือบิดาของเขานั้นเองซึ่งเน้นหนักไปในด้านธรรมชาติวิทยา เม่ือเขา อายุได้ 18 ปีก็ได้เดินทางไปศึกษาต่อกับปรัชญาเมธีผู้ยิ่งใหญ่ท่ีสุดในยุดน้ันคือ เพลโต (Ptato) ในกรุง เอเธนส์ (Athens) ในระหว่างการศึกษาอยู่กับเพลโต 20 ปีนั้นทาให้อริสโตเติลเป็นนักปราชญ์ท่ีลือนามต่อมา จากเพลโต ต่อมาเมื่อเพลโตถึงแก่กรรมในปี 347 ปีก่อนคริสต์ศักราช อริสโตเติลจึงเดินทางไปรับตาแหน่งเป็น พระอาจารย์ของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ในปี 343 - 342 ก่อนคริสตศักราช ต่อมาในปี 336 ก่อนคริสต ศักราช พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ได้ข้ึนครองราชสมบัติต่อจากพระเจ้าฟิลิป พระองค์จึงได้พระราชทานทุนให้แก่ อริสโตเติลเพ่ือจัดตั้งโรงเรียนที่สตากิราชื่อไลเซียม (Lyceum) ในการทาการศึกษาและค้นคว้าของอริสโตเติล ทาให้เขาเป็นผู้รอบรู้สรรพวิชา และได้เขียนหนังสือไว้มากมายประมาณ 400 - 1000 เล่ม ซึ่งงานต่าง ๆ ที่ได้ เขียนข้ึนมานั้น ได้มีอิทธิพลต่อความเชื่อในศาสนาคริสต์จวบจนกระท่ังยุคกลางหรือยุคมืด ซ่ึงมีเวลา ประมาณ 1,500 ปีเป็นอย่างน้อย คาสอนที่น่าสนใจของอริสโตเติลได้แก่ ความเชื่อที่ว่าโลกเราน้ีประกอบด้วย ธาตุต่างๆ 4 ธาตุ ได้แก่ ดิน น้า ลม และไฟ ในเรื่องเกี่ยวกับจักรวาลน้ันอริสโตเติลเข้าใจว่า โลกเราเป็น ศูนย์กลางของจักรวาลโดยมีดวงดาวต่าง ๆ รวมทั้งดวงอาทิตย์โคจรรอบ ๆ สวรรค์น้ันอยู่นอกอวกาศ โลกอยู่ ด้านล่างลงมา น้าอยู่บนพ้ืนโลก ลมอยู่เหนือน้า และไฟอยู่เหนือลมอีกทีหน่ึง ธาตุต่าง ๆ ของโลกจะ เปล่ยี นแปลงเสมอ แตท่ วา่ ธาตทุ ป่ี ระกอบเปน็ สวรรค์นน้ั จะไมเ่ ปล่ียนแปลงจะมรี ูปรา่ งเช่นน้นั ตลอดไป

2. คลอดิอสุ ปโตเลมี (CLAUDIUS PTOLEMAEUS) ค.ศ. 90 – 168 ปโตเลมเี ป็นนกั ดาราศาสตร์และนักภูมศิ าสตรท์ ม่ี ชี อ่ื เสยี งมากในช่วงทยี่ งั มชี ีวิตอยู่ (ค.ศ. 90 – 168) ปโตเลมีเป็น ชาวกรีกโดยกาเนิดแต่ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ท่ีเมืองอเล็กซานเดรียประเทศ อียิปต์อัตชีวประวัติส่วนตัว ของปโตเลมี มีการบันทึกไว้น้อยมากและไมช่ ัดเจน ผลงานที่สร้างช่ือเสียงให้ปโตเลมีมากท่ีสุดได้แก่ชุดประมวล ความรู้ คณิตศาสตร์ด้านดาราศาสตร์ทเ่ี รยี กวา่ \"Mathematical Syntaxis\" ซึง่ มจี านวน 13 เล่ม จากหลักการความคิดของอริสโตเติลท่ีเชื่อว่า โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลโดยมีดาวเคราะห์และ ดวงดาวต่างๆ โคจรรอบโลกเป็นวงกลมสมบูรณ์นั้น ได้ทาให้ปโตเลมีใช้การสังเกตทางดาราศาสตร์และความรู้ ด้านคณิตศาสตร์ในการ พัฒนาระบบจักรวาล \"Ptolemaic System\" ที่อธิบายว่า \"โลกเป็นศูนย์กลางของ จักรวาล\" เนอ่ื งจากปโตเลมีไดใ้ ช้คณติ ศาสตร์ในการพิสจู น์ และอธิบายระบบจักรวาลดังกล่าวทาให้ไม่มีผู้โต้แย้ง เป็นเวลาร่วม 1,400 ปี จนกระทั่งค.ศ. 1543 โคเพอร์นิคัส นักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์ได้พิสูจน์ว่าทฤษฎี ของปโตเลมีท่ีระบุว่า โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลนั้นผิด โดยแท้ท่ีจริงแล้วดวงอาทิตย์ต่างหากที่เป็น ศนู ย์กลางของสรุ ยิ ะจักรวาล โดยมีโลกและดาวเคราะหโ์ คจรรอบดวงอาทิตย์ เพอ่ื ให้สอดคล้องกับผลการสังเกต บนท้องฟ้า ปโตเลมีได้อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์และดวงดาวต่างๆด้วยวงกลมวงใหญ่(deferent) ท่ีหมุนรอบโลกพรอ้ มกับมวี งกลมวงเล็กทเ่ี รยี กวา่ \"epicycles\" ซึ่งเปน็ วงโคจรของดาวเคราะห์ โดยเคลื่อนท่ีบน เส้นรอบวงของวงกลมวงใหญ่ การเคล่ือนที่ของวงกลมใหญ่จะเคล่ือนท่ีไปตามทิศทางของจุดที่ 1 จนถึง 7 โดย วงกลมวงเล็กจะเคลื่อนที่ในลักษณะที่ควงสว่าน และสังเกตได้ว่าดาวเคราะห์จะมีการโคจรถอยหลังจากจุด 3 จนถึง 5 ซึ่งปโตเลมใี ชอ้ ธิบายการโคจรถอยหลังของดาวเคราะห์ท่ีสังเกตได้ นักดาราศาสตร์รุ่นหลังได้วิเคราะห์ แลว้ วา่ สาเหตุหลักท่ีปโตเลมี ใช้การอธิบายท่ีคอ่ นข้างซับซ้อนก็เน่ืองจากว่า ปโตเลมีเชอ่ื ว่าดาวเคราะห์โคจรเป็น วงกลม ท้ังที่ความเป็นจริงแล้วดาวเคราะห์โคจรเป็นวงรี (ค้นพบโดยเคปเลอร์ในช่วงเวลาอีก 1,450 ปี ต่อมา) ทาให้การพยากรณ์สาหรับการโคจรบางส่วนจึงผิดพลาดสะสมไปเรื่อยๆ อย่างไรก็ตามนักดาราศาสตร์ในยุค ปจั จุบนั กไ็ ดย้ อมรับว่าการอธบิ ายของปโตเลมีถอื ว่าดีที่สุดแลว้ ในเวลานั้น

3. นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคสั (NICOLAUS COPERNICUS) ค.ศ. 1473– 1543 นิโคลสั โคเปอรน์ คิ ัส เกดิ เมอื่ วนั ที่ 19 กมุ ภาพันธ์ ค.ศ. 1473 ทีเ่ มอื งตูรนั ประเทศโปแลนด์ ในครอบครัวของพอ่ ค้าผูม้ ่งั ค่ัง แตเ่ มื่อเขาอายุไดเ้ พียง 10 ขวบ พ่อของเขาก็เสยี ชวี ติ เขาจงึ ไปอยู่ในความดแู ล ของลุง ซ่ึงเป็นบาทหลวง ทาให้โคเปอร์นิคัสเริ่มสนใจเรื่องศาสนา แต่แล้วเมื่อเติบโตขึ้น เขากลับเบนเข็มไป ศึกษาด้านการแพทย์ เพราะมีความสนใจด้านนี้มากกว่า และได้ศึกษาต่อท่ีมหาวิทยาลัยคราโคว แต่ใน การศกึ ษาระดบั มหาวทิ ยาลัยนั้น เขาตอ้ งเรยี นวิชาตา่ ง ๆ หลายวิชา หนึ่งในน้ันคือดาราศาสตร์ ซ่ึงเขารู้สึกชอบ วิชาน้ีมาก และอีกครั้ง เขาตัดสินใจเบนเข็มไปเรียนดาราศาสตร์อย่างจริงจัง แต่ไม่ทันจะเรียน จบ เขาก็ เปลี่ยนไปเอาดีทางด้านวิชากฎหมายจนจบปริญญาเอก หลังจากน้ัน เม่ือลุงเขารู้ว่าเขาไม่ได้เรียนแพทย์ตามที่ ต้ังใจให้เป็น ก็ไม่พอใจเป็นอย่างมาก โคเปอร์นิคัสจึงกลับไปเรียนแพทย์อีกครั้ง โดยศึกษาควบคู่ไปกับวิชา ดาราศาสตร์ จนจบการศึกษา และด้วยเหตุผลน้ีเอง ที่ทาให้เขาเช่ียวชาญหลายสาขา ทั้งเป็นนักดาราศาสตร์ และเป็นหมอช่วยเหลอื ผู้ปว่ ยยากจนแบบฟรี ๆ ดว้ ย ตลอดการเป็นนักดาราศาสตรข์ องเขา โคเปอร์นิคัสค้นคว้า หาคาตอบเกี่ยวกับการโคจรของโลก โดยนาทฤษฎีของนักดาราศาสตร์หลายๆ คนมาศึกษา และสรุปได้ว่า ทฤษฎีของอาร์ริสทาร์คัสน้ันถูกต้องท่ีสุด นั่นคือดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาลไม่ใช่โลก โลกและดาว เคราะห์ดวงอื่นๆ ต่างหมนุ รอบดวงอาทิตย์ นอกจากนี้เขายงั พบว่า โลกมีทรงกลม หมุนรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใชเ้ วลา 1 ปี และหมนุ รอบตวั เองใช้เวลา 24 ช่วั โมง หรือ 1 วนั ซงึ่ การหมนุ รอบตัวเองของโลกน้ีเองท่ีทาให้เกิด กลางวันและกลางคืน ส่วนดาวเคราะห์ดวงอ่ืน ๆ ในระบบสุริยะ ก็โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงกลม (แต่ต่อมา มีนักดาราศาสตร์ท่านอ่ืนพบว่าทฤษฎีนี้ผิดพลาด เพราะดาวเคราะห์และโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี) แม้ว่าเขาจะทาการทดลองจนแน่ใจว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาลแล้ว แต่ก็ไม่ได้เผยแพร่สิ่งท่ีตัวเอง คน้ พบเพื่อยนื ยนั ความจรงิ ข้อนี้แต่อย่างใด เพราะกลัวว่าจะเกิดอันตรายข้ึนกับตัวเอง เนื่องจากมันสวนทางกับ ทฤษฎีของอริสโตเติล และความเช่ือทางศาสนาคริสต์ที่ว่า โลกหมุนรอบตัวเอง ต่อมา จอร์จ โจคิม เรติคัส นัก ดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้มาพบกับโคเปอร์นิคัส เพ่ือศึกษาค้นคว้าด้านดาราศาสตร์ร่วมกัน และเรติคัสได้ ขอให้โคเปอร์นิคัสเผยแพร่ส่ิงที่ตัวเองได้ค้นพบเกี่ยวกับการโคจรของดวงอาทิตย์ โลก และดาวเคราะห์ต่าง ๆ เพื่อให้คนได้เข้าใจและรับรู้ในส่ิงท่ีถูกต้อง และในที่สุดก็ได้มีการตีพิมพ์ผลงานของโคเปอร์นิคัสออกมา

โคเปอร์นิคัสเสียชีวิตอย่างสงบเม่ือวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543 ขณะมีอายุได้ 70 ปี แต่ผลงานของเขาก็ได้ กลายเปน็ แนวทางในการศึกษาดาราศาสตรม์ าถงึ ปจั จุบนั 4. ทโิ ค บราห์ (TYCHO BRAHE) ค.ศ. 1546 – 1601 ทิโค บราห์ นักดาราศาสตร์ชาวเดนมาร์ก เกิดในตระกูลชนช้ันสูงท่ีมีฐานะดีในปี 1546 หลังจากโคเปอร์นิคัส เสียชวี ิตลง 3 ปี บดิ าของทโิ คดารงตาแหน่งขนุ นางช้ันสูงในราชสานักของกษตั รยิ ์เดนมารก์ ส่วนมารดาของทโิ ค ก็สืบเชื้อสายมาจากตระกูลช้ันนาของเดนมาร์ก ครอบครัวของทิโคมีบุตร 4 คน โดยเป็นหญิง 2 คน ส่วนทิโค และน้องชายเป็นฝาแฝด แฝดผู้น้องของ ทิโคได้เสียชีวิตลงหลังจากที่ได้กาเนิดไม่นาน ในวัยเยาว์ของทิโค ครอบครัวลุงของทิโคดารงตาแหน่งขุนนางช้ันสูงและมีฐานะดีแต่ไม่มีบุตร จึงได้ขอทิโคไปเล้ียงดูตั้งแต่อายุ 2 ขวบ ในปี 1559 ซ่ึงทิโคอายุเพียง 12 ขวบได้เข้ารับการศึกษาด้านกฎหมายตามความประสงค์ของลุง ที่ มหาวทิ ยาลัยโคเปนเฮเกน นอกจากวิชาด้านกฎหมายแล้ว ทิโคยังได้สนใจศาสตร์ด้านอื่นๆ อีกด้วย โดยเฉพาะ ศาสตร์ด้านดาราศาสตร์ ซึ่งในห้วงเวลาดังกล่าว ได้เกิดสุริยุปราคาขึ้นเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 1960 โดย ปรากฏการณ์ดังกล่าวได้มีผู้คานวณและทานายไว้ล่วงหน้า ซ่ึงการทานายว่าจะเกิดปรากฎการณ์ดังกล่าว ได้ สร้างความประทบั ใจและสรา้ งแรงกระตุ้น ให้แก่ทิโคทาการศึกษา และค้นคว้าในเรื่องดาราศาสตร์อย่างจริงจัง ไดส้ ร้างผลงานทางดาราศาสตร์ไว้มากมาย โดยเฉพาะบันทึกตาแหน่งดวงดาวบนท้องฟ้าท่ีทิโคได้บันทึกไว้ร่วม 40 ปี ซ่ึงบันทึกดังกล่าวเปรียบเสมือนมรดกอันล้าค่าท่ีโยฮันเนส เคปเลอร์ (ผู้ซึ่งเป็นผู้ช่วยของทิโค) ได้ ครอบครองหลังจากทิโคได้เสียชีวิตลงอย่างกะทันหันและเป็นการเสียชีวิตที่เป็นปริศนาจนถึงปัจจุบันว่า เปน็ การฆาตกรรมหรือการเสียชีวิตอย่างกะทันหัน รวมไปถึงข้อสงสัยท่ีว่าเคปเลอร์ได้เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับ การเสียชีวิตของทิโคหรือไม่ บันทึกของทิโคได้ระบุตาแหน่งดวงดาวบนท้องฟ้าไว้ถึง 777 ดวง และมีความ แม่นยาท่ีสูงมากในยุคสมัยน้ัน ซ่ึงยังไม่มีกล้องโทรทรรศน์ โดยท่ีทิโคเองได้ประดิษฐ์เครื่องมือวัดจานวนหลาย ชิ้น รวมทั้งสร้างหอดูดาวยูเรนิเบิร์กอันโด่งดัง เพ่ือให้การสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้ามีความถูกต้องสูง ซ่ึง ในเวลาต่อมาหลงั จากทเี่ คปเลอร์ได้ครอบครองบันทึกดังกล่าว เคปเลอร์ได้ใช้ข้อมูลจากบันทึกของทิโคมาสร้าง กฎ 3 ข้อท่ีว่าด้วยการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ (Kepler's three laws of planetary motion) ซ่ึงเป็นกฎ

พื้นฐานที่สาคัญทางดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ด้านอวกาศ ในยุคของทิโค บราห์น้ัน เป็นที่ยอมรับว่า ทิโค บราห์เป็นนักดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด แม้กระทั่งเคปเลอร์เอง ก็ยังทางานในตาแหน่งผู้ช่วยของทิโค อย่างไรก็ตาม แบบจาลองจักรวาลของทิโคกลับมีข้อผิดพลาด และไม่ตรงกับความเป็นจริงท่ีเราทราบกัน ในปจั จบุ ัน โดยแบบจาลองดงั กล่าวผสมผสานระหว่างแบบจาลองของโคเปอรน์ ิคัสและของปโตเลมี 5. กาลเิ ลโอ กาลิเลอี (GALILEO GALILEI) ค.ศ. 1564 – 1642 กาลเิ ลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei) ถอื กาเนิดท่ีเมืองปิซาในอติ าลี เม่อื วนั ที่ 15 กมุ ภาพันธ์ ค.ศ. 1564 ณ วันนี้ กาลิเลโอได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานของวิทยาศาสตร์ยุคใหม่ ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ผู้ผลิต ผลงานด้านฟสิ ิกส์ ดาราศาสตร์ และปรัชญาวิทยาศาสตร์มากมาย โดยเฉพาะในวิชาดาราศาสตร์นั้น กาลิเลโอ ได้ทาลายปราสาทความคิดเรื่องเอกภพของอริสโตเติลท่ีผู้คนเชื่อตามกันมานานเกือบ 2,000 ปี ด้วยการใช้ กลอ้ งโทรทรรศนท์ ีเ่ ขาประดษิ ฐ์ข้ึน สารวจสวรรคจ์ นได้เห็นดวงดาวและปรากฏการณอ์ ัศจรรยท์ ่สี าคัญมากมาย กาลเิ ลโอมีบดิ าชอ่ื Vincenzo Galilei มีอาชพี เปน็ นักดนตรีผู้เชยี่ วชาญทัง้ ทฤษฎีและการเลน่ พิณนา้ เต้า มารดา มีชื่อเดิมว่า Giula Ammannati มาจากครอบครัวฐานะปานกลางแห่งเมืองฟลอเรนซ์ กาลิเลโอเป็นบุตรคน หัวปีในบรรดาพ่นี อ้ ง ๗ คน ซึ่งต่อมาน้องท้ังสี่ได้เสียชีวิตลง เม่ืออายุ 8 ขวบ บิดาอพยพครอบครัวไปอยู่ที่เมือง ฟลอเรนซ์ ความท่ีฟลอเรนซ์ในบางเวลาเกิดกาฬโรคระบาด บิดาจึงได้ฝากฝังกาลิเลโอไว้กับเพ่ือนช่ือ Jacopo Borghini เพื่อจะได้เรียนหนังสือท่ีโบสถ์ Camaldolese ในเมือง Vallombrosa ห่างจากฟลอเรนซ์ไป ประมาณ ๓๕ กิโลเมตร ที่นั่นกาลิเลโอได้เรียนภาษาละตินกับหลวงพ่อ Paulus เรียนคณิตศาสตร์กับ Ostilio Ricci อา่ นหนังสือ Physica ทอ่ี ริสโตเติลเรียบเรยี ง รวมถงึ ได้เรียนวิชาจิตรกรรมจนมีความสามารถสเกตช์ภาพ ไดด้ ี ซึ่งในเวลาต่อมากาลิเลโอกไ็ ด้ใชค้ วามสามารถนี้ ในการวาดภาพดวงจนั ทรแ์ ละดาวตา่ งๆ ท่ตี นเหน็ ผา่ น กล้องโทรทรรศน์ ครอบครวั ของกาลิเลโอมีฐานะไมส่ ู้ดีนัก บิดามีหนสี้ ินมาก จงึ มีความปรารถนาอย่างแรงกลา้ ท่ีจะใหล้ ูกชายคนโตเรียนแพทย์เพือ่ จะได้เป็นที่พึ่งของทุกคนในครอบครัว ด้วยเหตุนี้กาลิเลโอในวัย 17 ปีจึงได้ เข้าเรียนแพทย์ท่ีมหาวิทยาลัยปิซา (Universita’di Pisa) ซ่ึงมีช่ือเสียงในการสอนวิชาศาสนา แต่ยิ่งเรียนเขาก็ ย่งิ ร้สู ึกเบื่อ เม่ือได้พบว่าแพทยศาสตร์เป็นวิชาท่ีผู้เรียนต้องท่องจามาก ขณะท่ีวิชาวิทยาศาสตร์ของอริสโตเติล

น้ันก็ไม่สนุก เพราะครูผู้สอนพร่าบอกนักเรียนว่าต้องเช่ือทุกสิ่งทุกอย่างที่อริสโตเติลเขียน เสมือนความนึกคิด ของอริสโตเตลิ คือคาบัญชาของพระเจา้ และเมอื่ กาลิเลโอตระหนกั วา่ คาสอนเหล่านี้ บางอย่างมิได้มีหลักฐานใด สนับสนุน เขาจึงตั้งประเด็นสงสัยในความรู้ที่ครูนามาสอนบ่อยจนได้รับฉายาว่าเป็น Wrangler(นิสิตผู้ชอบ ถกเถียงเชิงวิชาการ) ขณะเดียวกัน กาลิเลโอรู้สึกสนุกสนานในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของยุคลิด(Euclid) เพราะเหน็ ได้ชัดว่าเรขาคณิตเปน็ วชิ าที่มหี ลกั การและใช้เหตผุ ลในการอธิบายและพิสูจน์ ไม่ตอ้ งอาศยั ความจามาก ในช่วงเวลานั้น กาลิเลโอรู้สึกสบายใจมากท่ีได้เรียนวิชาท่ีตนชอบ ทาให้ได้รู้ความนึกคิดและ จินตนาการของปราชญโ์ บราณ เช่น ปโตเลมี (Claudius Ptolemaeus; Ptolemy) แห่งเมืองอเลก็ ซานเดรีย ในอียิปต์ ผเู้ สนอแบบจาลองของเอกภพทม่ี ีโลกอยู่ท่ีศูนย์กลาง มดี วงอาทติ ยแ์ ละดาวเคราะห์ต่างๆ โคจรไปรอบ โลกโดยมีวิถโี คจรเป็นวงกลม และมดี วงจนั ทรอ์ ยูใ่ กล้โลกทส่ี ุด ถัดออกไปคอื ดาวพุธ ดาวศกุ ร์ ดวงอาทติ ย์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ส่วนเหลา่ ดาวฤกษ์น้นั ตรึงแนน่ บนทรงกลมใหญ่ท่ีล้อมรอบดาวเคราะห์ ทุกดวงและหมุนรอบโลก 1 รอบทุกวัน ได้รู้ถึงความเห็นของอริสโตเติลในประเด็นเรื่ององค์ประกอบของดาว ตา่ งๆ ทีว่ ่าสรรพสิ่งบนโลกประกอบด้วยดิน นา้ ลม และไฟท่ีไมส่ มบรู ณ์และไม่ถาวร เชน่ ใบไมจ้ ะเปลย่ี นจาก สีเขียวเป็นสีน้าตาลแล้วร่วง ทารกจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ แล้วชรา ขณะท่ีดาวและเดือนบนฟ้าที่พระเจ้า สร้างมีความสมบูรณจ์ นหาท่ตี มิ ไิ ด้ คือจะกลมอย่างสมบูรณ์ อีกทั้งคงสภาพที่ประเสริฐนี้ช่ัวนิรันดร์ ส่วนบริเวณ นอกวงโคจรของดาวฤกษน์ ั้นคือสวรรค์อันเป็นที่สถิตของพระเจ้า นอกจากนี้กาลิเลโอยังได้รู้อีกด้วยว่า โคเปอร์ นคิ สั (Nicolaus Copernicus) นักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวโปแลนด์ เสนอแบบจาลองของเอกภพ ซ่ึงแตกต่างจากเอกภพของปโตเลมี คือมีดวงอาทิตย์อยู่ที่ศูนย์กลาง และโลกเป็นเพียงดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง เหมือนดาวเคราะหด์ วงอ่ืนๆ คือโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยมีวิถีโคจรเป็นวงกลม และโลกหมุนรอบตัวเองได้ด้วย ความคดิ ของโคเปอรน์ ิคัสท่ีว่าโลกเคล่อื นท่ีไดน้ ้ี นักดาราศาสตร์ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าเป็นความคิดที่เหลวไหล เพราะไม่มีหลักฐานสนับสนุนเลย และขัดต่อคาจารึกในคัมภีร์ไบเบิล เพราะถ้าโลกเคล่ือนท่ีได้จริง เหตุไฉนจึง ไม่มใี ครรูส้ กึ ว่าโลกเคล่อื นท่ี และถ้าโลกหมุนได้จริง เหตุไฉน บ้าน ผู้คน ต้นไม้ จึงไม่กระเด็นหลุดจากโลก ด้วย เหตุนี้แนวคิดของโคเปอร์นิคัสจึงเป็นความคิดนอกรีต จนสถาบันศาสนาแห่งโรมต้องสั่งห้ามเผยแพร่อย่าง เด็ดขาด ในปี 1608 กาลิเลโอเร่ิมสนใจดาราศาสตร์เมื่อได้อ่านหนังสือ De Revolutionibus Orbium Coelestium(On the Revolutions of the Heavenly Spheres) ของโคเปอรน์ ิคัส ซึ่งถูกหา้ มเผยแพร่ ห้ามอ่าน ห้ามเล่า ห้ามใช้สอน และห้ามใช้เรียนอย่างเด็ดขาด เพราะสถาบันศาสนาแห่งวาติกันมีความเห็นว่า เน้ือหาในหนังสือเล่มนี้ขัดแย้งและโจมตีคาสอนในคัมภีร์ไบเบิลอันศักดิ์สิทธิ์ เช่นไบเบิลบอกว่า ดวงอาทิตย์ มกี ารขึ้นและตก ในขณะทีโ่ ลกอยู่นงิ่ แตโ่ คเปอรน์ คิ ัสกลับระบุว่า โลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ และหมุนรอบตัวเอง ได้ด้วย ทาให้ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของเอกภพ ซึ่งถ้าความคิดของโคเปอร์นิคัสเป็นความจริง เวลาโลกอยู่ เหนือดวงอาทิตย์ น่ันหมายความว่าโลกอยู่บนสวรรค์ แล้วพระเจ้าอยู่ที่ใด และเวลาโลกอยู่ใต้ดวงอาทิตย์ โลก จะอยใู่ นนรกใช่หรือไม่ เปน็ ต้น ด้วยเหตุน้ีสานักวาติกันจึงประกาศว่า คนที่คิดและเชื่อตามโคเปอร์นิคัสเป็นคน นอกรีต สมควรถูกลงโทษ ซึ่งอาจจะสถานหนักคือถูกฆ่าเช่นเดียวกับ จีออร์ดาโน บรูโน (Giordano Bruno) นักบวชผู้นาความคิดของโคเปอร์นคิ ัสไปเผยแพร่โดยได้เทศนาชักนาให้ประชาชนเชื่อว่า ถา้ โลกเป็นเพยี ง

ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งที่มีมนุษย์อาศัยอยู่ ดังนั้นดาวเคราะห์ดวงอ่ืนๆ ในเอกภพก็น่าจะมีมนุษย์อาศัยอยู่ด้วย เช่นกัน และถา้ มนุษย์ต่างดาวมีจริง มนษุ ย์โลกกม็ ไิ ด้ย่งิ ใหญห่ รอื สาคัญแต่เพยี งผูเ้ ดียว การช้ีนาให้ผู้คนเชื่อเช่นนี้ จึงลบหลู่คาสอนในไบเบิลมาก ศาลศาสนาจึงได้พิพากษาให้นาตัวบรูโนไปเผาท้ังเป็นที่จัตุรัส Campo de’ Fiori ในกรงุ โรม เม่อื อายุ ๔๔ ปี กาลิเลโอไดข้ า่ ววา่ ทเ่ี มือง Middelburg ในเนเธอร์แลนด์ มีช่างทาแว่นคนหน่ึง ช่ือ Hans Lippershey ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่สามารถทาให้ภาพท่ีเห็นมีขนาดใหญ่ข้ึนถึง 3 เท่าได้ โดยการนาเลนส์นูน 2 ช้ินมาติดที่ปลายท่อกลวง แต่เม่ือ Lippershey นาสิ่งประดิษฐ์น้ีไปขอจดสิทธิบัตร เจ้าหน้าท่ีกลับบอกว่ามันมิใช่สิ่งแปลกใหม่ เพราะมีคนรู้จักทาอุปกรณ์ท่ีมีความสามารถเช่นนี้มานานแล้ว (ดังนั้นประวัติศาสตร์จึงไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าใครคือบุคคลแรกท่ีประดิษฐ์กล้องส่องทางไกล) อย่างไรก็ตาม ความอยากรู้อยากเห็น และอยากประดิษฐ์เองได้ทาให้กาลิเลโอเริ่มสร้างกล้องส่องทางไกล ทั้งๆ ท่ีมี ประสบการณ์ฝนเลนส์น้อย แต่เขาก็ไม่ละความพยายาม จนเวลาผ่านไป 1 เดือน กาลิเลโอก็ได้เลนส์นูนมา 2 ช้ิน จงึ นาไปติดทีป่ ลายท่อตะก่วั และขยบั เลอื่ นเลนสไ์ ปมาจนพบวา่ กล้องสามารถทาให้เห็นวัตถุมีขนาดใหญ่ข้ึน อยา่ งไมน่ ่าเชือ่ จากนัน้ กไ็ ด้พฒั นาประสทิ ธิภาพของกล้องจนสามารถขยายภาพได้ 9 เท่า 20 เท่า และ 30 เท่า และไดเ้ รยี กอปุ กรณ์ท่ปี ระดษิ ฐข์ ้ึนนี้วา่ Perspicillum เพราะใช้ดูวัตถุที่อยู่ไกลได้ชัด เม่ือกล้องมีประสิทธิภาพดี ขนึ้ ๆ กาลิเลโอผรู้ ู้วธิ ีทากล้องจงึ สรา้ งกลอ้ งข้นึ มากมายเพอื่ ขายให้ทหารใช้สอดแนมข้าศึก และให้พ่อค้าใช้ส่องดู เรือในทะเลที่อยู่ไกลจากฝ่ังเพ่ือจะได้รู้ล่วงหน้าว่าเรืออะไรจะนาสินค้าอะไรมาขาย ซ่ึงจะทาให้พ่อค้า “ผู้เห็น การณ์ไกล” ได้กาไรและดาเนินการค้าได้อย่างมีหลักการ การมีวิญญาณนักประดิษฐ์เต็มตัวทาให้กาลิเลโอรู้จัก คดิ วิเคราะห์ประสิทธิภาพของกล้องในลาดบั ตอ่ ไป และก็ได้พบวา่ กล้องสอ่ งทางไกลสามารถเห็นวัตถุได้ตราบใด ท่ีแสงจากวัตถนุ น้ั เดินทางผา่ นเลนส์มาเข้าตา คาถามท่ีกาลิเลโอสนใจคือ กล้องสามารถเห็นวัตถุได้ไกลเพียงใด กลอ้ งสามารถเห็นดาวทอี่ ยูไ่ กลถึงขอบฟ้าได้หรือไม่ ดังนั้นกาลิเลโอจึงหันกล้องส่องทางไกลข้ึนท้องฟ้า แล้วเล็ง กล้องตรงไปทด่ี วงจันทร์ และน่ีก็คือการปฏิวัติคร้ังยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในวิชาดาราศาสตร์ เพราะกาลิเลโอได้แปลง อุปกรณ์ท่ีคนทั่วไปใช้หรือให้เด็กเล่น เป็นอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ท่ีเรียกว่ากล้องโทรทรรศน์ให้นักดาราศาสตร์ใช้ ศึกษาดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์ กลอ้ งโทรทรรศนน์ ้ไี ด้ทาให้กาลเิ ลโอเห็นและพบปรากฏการณ์ต่างๆ บนท้องฟ้าที่ไม่เคยมีมนุษย์คนใดในประวัติศาสตร์เคยเห็น เคยพบ หรือเคยรู้มาก่อน ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1609 กาลิเลโอได้เหน็ ภาพผิวทีเ่ ป็นรอยกระดากระด่างของดวงจันทร์ที่ผู้คนในสมัยน้ันคิดว่าเกิดจากเมฆบดบัง แต่กาลิเลโอไดพ้ บวา่ แท้จรงิ แล้วรอยคลา้ เหลา่ น้นั เปน็ ภเู ขาและหลุมมากมาย การศึกษาเงาและแสงที่เห็นทาให้ กาลิเลโอรู้วา่ มนั เป็นเงาของภเู ขาสงู ดงั นั้นผิวของดวงจนั ทรจ์ ึงตะปมุ่ ตะป่าและเตม็ ไปด้วยรอยมลทิน หาได้กลม เกลยี้ งอยา่ งลกู บลิ เลียดดงั ทกี่ ล่าวไวใ้ นไบเบลิ ในวันท่ี 7 มกราคม ค.ศ.1610 กาลิเลโอได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ส่องเห็นจุดสว่าง 3 จุดปรากฏอยู่ใกล้ ดาวพฤหัสบดี โดยจดุ สว่างทง้ั สามนี้เรียงตัวในแนวเส้นตรงเดียวกันกับเส้นศูนย์สูตรของดาวพฤหัสบดี จุดสว่าง ท้ังสามมีขนาดเล็กและอยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีมาก กาลิเลโอตระหนักว่ามันคงเป็นดาวฤกษ์ท่ีไม่มีใครเคยเห็นมา ก่อน ตาราดาราศาสตร์ของอริสโตเติลก็ไม่เคยเอ่ยถึงดาวฤกษ์ทั้งสามเลย กระทั่งในวันต่อมาเขาก็ได้เห็นจุด สว่างเพม่ิ ขึ้นอีกหน่งึ จุด และจุดสว่างเดิมท้ังสามจุดได้เปล่ียนตาแหน่งไป กาลิเลโอจึงคิดว่าการเปลี่ยนตาแหน่ง ทาให้มันไม่ใช่ดาวฤกษ์แน่ๆ เมื่อถึงวันที่ 10 มกราคม จุดสว่างจุดหนึ่งได้หายไปอย่างไร้ร่องรอย เหตุการณ์

เหล่านี้ทาให้กาลิเลโอสรุปว่า จุดสว่างที่เห็นเป็นดาวบริวารของดาวพฤหัสบดีที่กาลังโคจรไปรอบดาวที่ ระยะห่างต่างๆกัน ดังน้นั ดาวพฤหสั บดีกม็ ดี าวบริวารซึ่งเรียกว่าดวงจันทร์จานวนมากถึง 4 ดวง และดวงจันทร์ เหล่านก้ี าลงั โคจรรอบดาวพฤหัสบดี หาได้โคจรรอบโลกดังคาสอนของปโตเลมีไม่ กาลิเลโอจึงเป็นบุคคลแรกท่ี เห็นดวงจันทร์ของต่างดาว ในตอนแรกท่ีกาลิเลโอรายงานการเห็นดวงจันทร์เหล่านี้ไม่มีใครเชื่อ จนเมื่อ Christopher Clavius ยืนยันว่าดวงจันทร์ที่เห็นคือของจริง กาลิเลโอจึงได้รับการต้อนรับเยี่ยงวีรบุรุษเมื่อเขา เดนิ ทางไปโรมในปี 1611 ในปีค.ศ. 1612 กาลิเลโอได้เห็นจุดสลัวมืดขนาดต่างๆ บนดวงอาทิตย์ เหมือนกับท่ี Christoph Scheiner นักบวชชาวเยอรมันเคยเห็น แต่ Scheiner คิดว่ามันเป็นภาพของดาวพุธท่ีโคจรตัดหน้าดวงอาทิตย์ เขาจึงไม่ติดตามดู ในขณะท่ีกาลิเลโอหาได้คิดเช่นน้ันไม่ เพราะได้เห็นจุดมีขนาดต่างๆ กันปรากฏท่ีผิวดวง อาทิตย์ในปริมาณที่ไม่สม่าเสมอ อีกทั้งเคล่ือนท่ีได้ด้วย กาลิเลโอจึงรู้ว่าดวงอาทิตย์มีจุดมืดที่ผิว และการท่ีจุด เคลื่อนที่แสดงวา่ ดวงอาทติ ย์หมนุ รอบตวั เอง และนี่กเ็ ปน็ อกี หลกั ฐานหนึ่งทีแ่ สดงวา่ ดวงอาทติ ยท์ ี่พระเจ้าสร้างมี ความดา่ งพรอ้ ยไม่สมบูรณ์ และการเฝา้ ดจู ดุ บนดวงอาทติ ย์น้ี ทาให้กาลเิ ลโอตาบอดในบัน้ ปลายของชีวติ กาลิเลโอได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ศึกษาดาวเสาร์ และก็ต้องประหลาดใจเม่ือเห็นดาวเสาร์มีลักษณะ ไม่กลมเหมือนดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ คือมีดวงกลมใหญ่ตรงกลางและมีดวงกลมเล็กสองดวงอยู่ข้างๆ แต่อีก หลายเดือนต่อมา ดวงกลมเล็กทั้งสองได้หายไป กาลิเลโอรู้สึกงุนงงกับส่ิงท่ีเห็นมาก เพราะเขาอธิบายเหตุผล ไม่ได้ แต่เขาก็รู้ว่าพระเจ้าทรงบกพร่องอีกแล้วท่ีสร้างดาวเคราะห์ได้ไม่กลม (ณ วันนี้เรารู้ว่าการที่ดาวเสาร์ ปรากฏเป็นดาว 3 ดวงเรียงกันนั้นเกิดจากกล้องโทรทรรศน์ท่ีกาลิเลโอสร้างมีประสิทธิภาพต่า จึงทาให้เห็น วงแหวนเป็นดาวกลม และเวลาดาวกลมเล็กๆ 2 ดวงหายไปนัน้ เปน็ เพราะเวลาระนาบของวงแหวนดาวเสาร์อยู่ ในแนวสายตา คนบนโลกจึงไม่เห็นวงแหวน ในเวลาต่อมา กาลิเลโอได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ส่องดูทางช้างเผือก ซง่ึ เวลามองดว้ ยตาเปลา่ จะเห็นคล้ายเมฆสวา่ งเรื่อๆ แต่เม่ือใช้กล้องโทรทรรศน์ กาลิเลโอได้พบว่าทางช้างเผือก ประกอบด้วยดาวฤกษ์จานวนมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงกาลิเลโอได้เห็นดาวฤกษ์ต่างๆ ในกลุ่มดาว Orion, Pleiades และ Ursa Major เขาจึงรูว้ ่าเอกภพประกอบด้วยดาวฤกษจ์ านวนมากท่มี องด้วยตาเปล่าไม่เห็น ในเดอื นกันยายน ค.ศ.1612 กาลิเลโอเหน็ ดาวศุกร์แสดงข้างขึ้นและข้างแรมเหมือนดวงจันทร์ของโลก เขารู้สึกตื่นเต้นมากเพราะน่ีคือหลักฐานชิ้นสาคัญที่แสดงว่าดาวศุกร์โคจรรอบดวงอาทิตย์ ไม่ใช่รอบโลก เนื่องจากถ้าดาวศกุ รโ์ คจรรอบโลกตามแบบจาลองของปโตเลมี ดาวศกุ รจ์ ะสวา่ งเตม็ ดวงตลอดเวลา แต่ดาวศุกร์ ทก่ี าลิเลโอเห็นมีทัง้ มืดสนทิ เป็นเสยี้ วและเต็มดวง ซงึ่ จะอธิบายได้ก็ต่อเม่ือโลกและดาวศุกร์ต่างก็โคจรรอบดวง อาทิตย์เท่านั้น โดยวงโคจรของดาวศุกร์อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ กาลิเลโอจึงเชื่ออย่างม่ันใจว่า เอกภพ ของโคเปอรน์ คิ ัสถูกต้อง สว่ นเอกภพของปโตเลมนี นั้ ผิด

6. โจฮันเนสเคปเลอร์ (JOHANNES KEPLER) ค.ศ. 1571 – 1630 โยฮันส์ เคปเลอร์ (27 ธันวาคม ค.ศ. 1571 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1630) นักดาราศาสตร์ นักโหราศาสตร์ และนักคณติ ศาสตรช์ าวเยอรมัน ผมู้ สี ว่ นสาคัญในการปฏิวัติวงการวิทยาศาสตร์ เขาค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของ ดาวเคราะห์ในงาน Astronomia nova, Harmonice Mundi ของเขา และได้แต่งหนังสือช่ือ Epitome of Copernican Astronomy โยฮันส์ เคปเลอร์ ประกอบอาชีพเป็นครูสอนคณิตศาสตร์ท่ีโรงเรียน Graz (ภายหลังเปล่ียนเป็น มหาวิทยาลัย Graz) และเป็นผู้ช่วยของ ทีโค บราห์ นักคณิตศาสตร์ในความอุปถัมภ์ของ จักรพรรดิรูดอร์ฟท่ี 2 ผู้ซ่ึงรวบรวมรวมข้อมูลของดาวเคราะห์มาตลอดชีวิต และปูทางให้เคปเลอร์ค้นพบกฎ การเคล่ือนทขี่ องดาวเคราะหใ์ นเวลาตอ่ มา กลา่ วคอื วงโคจรของดาวเคราะห์แต่ละดวงเป็นวงรี เขาทางานด้าน ทัศนศาสตร์ และช่วยสนับสนุนการค้นพบกล้องโทรทรรศน์ของกาลิเลโอ กาลิเลอี เขาถูกยกย่องว่าเป็น \" นัก ฟสิ ิกส์ดาราศาสตร์ทฤษฎีคนแรก \" แตค่ าร์ล ซาแกน ยกย่องเขาในฐานะ นักโหราศาสตรท์ างวทิ ยาศาสตร์ คนสดุ ท้าย กฎของเคปเลอร์ กฎแหง่ วงรี : ดาวเคราะหโ์ คจรเป็นรูปวงรรี อบดวงอาทติ ย์ โดยมดี วงอาทิตยอ์ ย่ทู ีจ่ ุดโฟกัสจดุ หนึ่ง กฎแหง่ การกวาดพื้นท่ี : ในเวลาทีเ่ ทา่ กนั ดาวเคราะห์จะมีพน้ื ท่ที ี่เส้นรศั มจี ากดวงอาทติ ย์ถึง ดาวเคราะห์กวาดไปเท่ากัน หรอื dA/dt มคี ่าคงที่ กฎแห่งคาบ : คาบในการโคจรรอบดวงอาทติ ย์กาลังสองแปรผันตรงกับระยะคร่งึ แกนเอกของ วงโคจรกาลงั สาม ซึ่งในการค้นพบกฎการเคล่ือนที่ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ของเคปเลอร์เป็นรากฐานสาคัญของ วชิ าดาราศาสตรจ์ นถึงปัจจุบนั

7. จโิ อวานนิ โดมีนโิ ค แคสซนี ี (GIOVANNI DOMENICO CASSINI) ค.ศ. 1625 – 1712 แคสซีนีเป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ วิศวกร และนักโหราศาสตร์ชาวอิตาเลียน เกิดท่ีเมือง เปอร์รินัลโด ใกล้กับซานรีโม ซึ่ง ณ เวลาน้ันอยู่ในสาธารณะรัฐเจนัว หลังจากท่ีแคสซีนีย้ายไปยังฝรั่งเศสเพ่ือ ทางานด้านดาราศาสตร์ให้กับราชสานักสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แคสซีนีได้เปล่ียนชื่อเป็นฌองน์ โดมินิก แคสซีนี น้อยคนอาจจะไม่ทราบว่า ความสนใจแรกเร่ิมของแคสซีนีน้ันกลับเป็นเรื่องโหราศาสตร์แทนที่จะเป็น ดาราศาสตร์ แคสซีนีศึกษาและค้นคว้าอย่างจริงจัง จนทาให้เขามีความรู้เร่ืองโหราศาสตร์เป็นอย่างดี อย่างไร ก็ตาม แคสซีนีก็ยอมรับว่าการทานายทางโหราศาสตร์ยังเป็นเรื่องท่ียังพิสูจน์ไม่ได้ และเป็นเรื่องท่ีแปลกที่ ความรู้ทางด้านโหราศาสตร์ มีส่วนทาให้แคสซีนีได้งานครั้งแรก และเป็นด้านดาราศาสตร์เสียด้วย ทั้งนี้มี วุฒิสภาเมืองโบโลญญาทา่ นหนึ่งที่มคี วามสนใจในเรอื่ งโหราศาสตร์ ได้เชิญแคสซนี ไี ปยังเมอื งโบโลญญา จากน้ัน วุฒิสภาท่านน้ันได้เสนอตาแหน่งงานนักดาราศาสตร์ที่หอดูดาว ณ พานซาโน ซ่ึงสร้างข้ึนโดยวุฒิสภาท่านนั้น แคสซนี ีรบั ขอ้ เสนอดังกล่าว และทางานด้านดาราศาสตรท์ ี่หอดดู าวพานซาโน ในช่วงปี 1648 ถงึ 1669 ปี 1950 ได้รับดารงตาแหน่งเปน็ ศาสตราจารยด์ ้านดาราศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยโบโลญญา แคสซีนีได้ สร้างหอดูดาวขนึ้ ท่ีคอหอยของโบสถ์เซน็ ปโี ตนิโอ เพื่อสังเกตการณ์ดาวหาง ในช่วงปี 1652 ถึง 1653 ท่ีแคสซีนี ไดส้ งั เกตการณ์ดาวหาง เขาได้ตพี มิ พก์ ารสงั เกตการณ์ของเขาไวห้ ลายฉบับ ผลจากการสังเกตการณด์ าวหาง แคสซีนีได้เร่ิมเชื่อในแบบจาลองระบบสุริยะจักรวาลของทิโค บราห์ ท่ีระบุว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล อย่างไรก็ตาม ภายหลังต่อมา แคสซีนีได้ศึกษาโดยละเอียดและพบว่าแบบจาลองดังกล่าวผิดพลาด โดยท่ีจริง แลว้ ดวงอาทิตย์เปน็ ศนู ยก์ ลางของจักรวาล เขาจงึ เปล่ียนมายอมรับแบบจาลองของโคเปอร์นิคสั ทง้ั น้ีเขาพบวา่ ดาวหางจะโคจรเป็นวงกลมรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการโคจร ในปี 1664 แคสซีนีได้ใช้กล้อง โทรทรรศน์ตัวใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการสังเกตดวงดาว โดยในเดือนกรกฎาคม 1664 แคสซีนีได้วัด คาบเวลาการหมุนรอบตัวเองของดาวพฤหัสบดี และพบว่าดาวพฤหัสบดีมีลักษณะการหมุนที่ไม่สม่าเสมอ ภายในช้นั บรรยากาศของดาวพฤหัสบดีเอง นอกจากน้ี แคสซีนีได้ค้นพบจุดแดงยักษ์ของดาวพฤหัสบดี และได้ พบว่าดาวพฤหัสบดีมีลักษณะแบนที่ขั้วโลก ณ หอดูดาวกรุงปารีส แคสซีนีได้ค้นพบหลายสิ่งหลายอย่างที่ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างขนานใหญ่ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ที่นามาด้วยจากอิตาลี แคสซีนีเป็นบุคคล

แรกท่ีสังเกตดวงจันทร์ท้ังสี่ของดาวเสาร์ ซ่ึงเขาเรียกมันว่า Sidera Lodoicea โดยได้แก่ Iapetus (1671), Rhea (1672), Tethys (1684) และ Dione (1684) แคสซีนีเป็นคนแรกในประวัติศาสตร์โลกท่ีประสบ ผลสาเร็จในการหาเส้นลองจจิ ดู โดยใชว้ ิธที ่ีเสนอแนะโดยกาลิเลโอ ซึ่งใชก้ ารเกดิ อปุ ราคาของดาวบริวารของดาว พฤหัสบดี เป็นนาฬิกา ตารางดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดีที่แคสซีนีทาข้ึน ได้ถูกใช้ในการคานวณหาเส้น ลองจจิ ูด เพื่อบอกเวลา ณ สถานทีต่ ่างๆ บนพ้นื โลก ในปี 1672 แคสซีนีได้ทาการทดลองซึ่งถือว่าเป็นครั้งแรกของมนุษยชาติท่ีต้องการวัดมิติของระบบ สุริยะ โดยในคร้ังนั้น แคสซีนีได้ส่งผู้ร่วมงาน ฌองช์ ริเชอร์ ไปยังเมือง Cayenne ประเทศอาณานิคมของ ฝร่ังเศสท่ีทวีปอเมริกาใต้ French Guiana ในขณะที่แคสซีนียังคงอยู่ท่ีกรุงปารีส จากนั้นท้ังคู่ทาการ สังเกตการณ์ดาวอังคารพร้อมๆ กัน จนกระทั่งพบการเกิดแพรัลแลกซ์ (parallax เป็นการเปลี่ยนตาแหน่ง ปรากฏของวัตถเุ ม่ือมองจากจุดสงั เกตสองจดุ ตัดกัน) ของระบบสุริยะ ทาให้สามารถบอกระยะระหว่างโลกและ ดวงอาทิตย์ได้ นอกจากน้ี ฌองช์ ริเชอร์ ยังได้ทาการทดลองด้วยตุ้มนาฬิกา พบว่าคาบเวลา 1 วินาที ณ เมือง Cayenne จะส้ันกว่าเวลา ณ กรุงปารีส ขอ้ มูลน้ที าให้ ริเชอรอ์ ธบิ ายว่า ณ ขั้วโลกจะมีลักษณะแบนมากกว่า ซึ่ง เป็นการยืนยันและสนับสนุนทฤษฎีของนิวตันและไฮเกนส์ แต่แคสซีนีไม่เห็นด้วยกับคาอธิบายดังกล่าวโดย พยายามหาการทดลองท่ีจะอธบิ ายว่าโลกมีรปู ร่างเปน็ ทรงกลมท่ีสมบูรณ์ นอกจากน้ี ในปี 1675 แคสซนี ยี ังได้คน้ พบ ชอ่ งแบง่ แคสซีนี และแคสซีนียังเสนอได้อย่างถูกตอ้ งว่า โดยแทท้ ่จี ริงแล้ว วงแหวนแตล่ ะวงประกอบดว้ ยกอ้ นหินที่เลก็ เปน็ จานวนมากทโี่ คจรอยรู่ อบดาวเสาร์ โดยกอ้ นหินเหลา่ นน้ั รวมตัวกันเป็นกลุ่มในแตล่ ะวงโคจรทาใหด้ ูเหมอื นกบั เปน็ วงแหวนดงั ที่เราเห็น 8. คริสเตียน ไฮเกนส์ (CHRISTIAAN HUYGENS) ค.ศ. 1629 – 1695 ไฮเกนส์เป็นนักคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์และฟิสิกส์ชาวดัทซ์ เกิดเม่ือ 14 เมษายน 1629 ณ เมืองเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ บดิ าของไฮเกนสเ์ ปน็ ถงึ ขา้ ราชการระดบั สูงของเนเธอรแ์ ลนด์ จากการทีบ่ ิดารับราชการ ในระดับสูง ฐานะของครอบครัวไฮเกนส์จึงอยู่ในระดับที่ม่ังค่ัง โดยในวัยเยาว์ไฮเกนส์ได้รับการศึกษาอย่างเป็น สว่ นตวั ณ ทบ่ี ้านพัก ซึ่งสอนโดยบิดาของเขาและคุณครูส่วนตวั จากนั้นในปี 1645 เมือ่ อายไุ ด้ 16 ปี ไฮเกนส์

เขา้ ศกึ ษาสาขาวชิ ากฎหมายและคณติ ศาสตร์ทเี่ มืองไลเดนและตอ่ มาในปี 1947 ได้เข้าศึกษาสาขาวิชากฎหมาย ณ วิทยาลัยกฎหมายแห่งเมืองเบรดา โดยสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชากฎหมายในปี 1655 จากนั้นไฮเกนสไ์ ดห้ นั เหความสนใจในวทิ ยาศาสตร์มากย่งิ ข้ึน จากการที่ไฮเกนส์มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับแอนโทนี แวน ลีเวนฮุค ผู้ซ่ึงได้รับการยกย่องว่าเป็นนัก ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ที่ดีที่สุดในยุคนั้น ลีเวนฮุคมีความสามารถเก่งมากในเรื่องการลับและตัดเลนส์ จาก การสงั เกตและเฝ้าดกู ารทางานของลีเวนฮุค ไฮเกนส์ได้ทาการลับเลนส์เพ่ือสร้างกล้องโทรทรรศน์สาหรับดูดาว ขน้ึ จากกลอ้ งโทรทรรศนท์ ไี่ ฮเกนสป์ ระดษิ ฐ์ข้ึน ไฮเกนส์ค้นพบดวงจันทรไ์ ททนั ของดาวเสาร์ในปี 1655 ดังที่เรา ทราบมาแล้วว่า ได้มีโครงการชื่อ แคสซีนี-ไฮเกนส์ ซึ่งส่งยานสารวจไปยังดาวเสาร์ ทั้งนี้ยานสารวจลูกท่ีปฏิบัติ ภารกจิ รอ่ นลงบนดวงจันทรไ์ ททันของดาวเสารถ์ ูกตง้ั ช่ือว่ายานสารวจไฮเกนส์ 9. เซอร์ ไอแซคนวิ ตนั (SIR ISAAC NEWTON) ค.ศ. 1642 – 1727 ไอแซก นวิ ตนั (Isaac Newton) นกั วิทยาศาสตร์ซึ่งทั่วโลกรู้จักกันดีว่า เขาคือผู้ค้นพบกฎแรงโน้มถ่วง ของโลก กฎการเคลื่อนท่ีของสสารซ่งึ ทกุ วันนี้ก็ยังคงใชเ้ ป็นหลักการในหมนู่ กั ฟสิ ิกส์ ช่วงชีวติ ของนวิ ตัน มชี ่วงเวลาที่สง่ อิทธพิ ลต่อการสรา้ งงานของเขาหลายชว่ ง นับตั้งแต่วัยเดก็ จนถงึ ชว่ งใชช้ วี ติ ในมหาวทิ ยาลยั ซ่งึ นิวตัน ใชเ้ วลา 19 เดือนขณะพกั ที่บ้านในชว่ งมหาวทิ ยาลยั ในองั กฤษปิด เนื่องจากกาฬโรคระบาด สร้างวิชา แคลคูลสั พรอ้ มกับค้นพบสิ่งท่ีส่งผลต่อแวดวงวิทยาศาสตรม์ าจนถึงวนั นี้ ในปี ค.ศ. 1642 (พ.ศ. 2185) ปีทก่ี าลิเลโอ เสียชวี ิต นวิ ตัน ถอื กาเนิดข้นึ ที่วูลสธอร์ป ประเทศอังกฤษ บิดาของนิวตัน เป็นเกษตกรที่ไม่รู้หนังสือซึ่งเสียชีวิตก่อนนิวตัน กาเนิดไม่ก่ีเดือน นิวตัน อยู่ในการดูแลของ มารดาที่ช่ือ แฮนนาห์ (Hannah) การคลอดก่อนกาหนดทาให้นิวตัน มีสุขภาพไม่แข็งแรง ขณะท่ีฐานะของ ครอบครัวก็ไม่ถึงกับดีนัก เมื่อเขาอายุ 3 ขวบ มารดาก็แต่งงานใหม่กับบาร์นาบาส สมิธ (Barnabas Smith) ชายทม่ี ฐี านะแต่ไม่ยินยอมรับดูแลลูกเลี้ยง นิวตัน จึงต้องอยู่ในการดูแลของยาย จะเห็นได้ว่า ด้วยสุขภาพและ พื้นฐานทางครอบครัวท่ีไม่ม่ันคงนักย่อมส่งผลต่ออุปนิสัยของนิวตัน บุคลิกเงียบขรึมทาให้เขาใช้เวลาส่วนใหญ่ กับการประดิษฐ์สิ่งของต่างๆ เช่น นาฬิกาน้า นาฬิกาแดด และวาดภาพในยามว่างบ้าง เนื่องจากสุขภาพ

ร่างกายท่ีไมแ่ ข็งแรงนัก เขาจงึ ไม่สามารถเล่นกีฬาหนักๆ จงึ ใช้เวลาไปกบั การอ่านหนังสอื ในช่วงวัยหนุ่ม เขาจึง ใช้เวลาอยู่กับเร่ืองงานท่ีเขาสนใจ ไม่มีงานอดิเรก และไม่ได้แต่งงาน ในช่วงแรก เขายังเก็บงาการค้นพบทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ของตัวเองเอาไว้หลายปี ค.ศ. 1661 นิวตันเข้าศึกษาท่ีมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ช่วงเวลาน้ันเขามีอายุ 18 ปี 6 เดือน นิวตันอายุ มากกวา่ นสิ ติ รายอน่ื ประมาณ 1-2 ปี ช่วงเวลาท่ีอยใู่ นสถาบันการศึกษา เขาสนใจภาษาละติน กรีก ตรรกวิทยา จริยธรรมและปรัชญากรีก ศึกษาผลงานของโคเปอร์นิคัส, กาลิเลโอ, เคปเลอร์ นิวตันยังสนใจศาสตร์ หลากหลายแขนง ไม่ว่าจะเป็นดาราศาสตร์ กลศาสตร์ คณิตศาสตร์ ทัศนศาสตร์ และเคมี นิวตัน ใช้เวลาส่วน หนึง่ เป็นคนรับใช้นิสติ รุ่นพ่ีหาเงนิ มาเปน็ คา่ การศกึ ษาและใช้ยังชพี ชว่ ง ค.ศ. 1665 (พ.ศ. 2208) หลังจากนิวตัน สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี อังกฤษต้องรับมือกับ กาฬโรคระบาด มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ปิดทาการ ทาให้นิวตัน ต้องเดินทางกลับไปพักที่บ้านในวูลสธอร์ป ชว่ งเวลา 19 เดือนท่เี ขาอาศัยในบ้านพกั คอื ชว่ งทีเ่ ขาคน้ พบกฎและส่งิ สาคญั ทางวทิ ยาศาสตรม์ ากมาย ในเดอื นมกราคม ค.ศ. 1666 เขาสร้างวชิ าแคลคลู ัส ซง่ึ นวิ ตันเรียกวา่ method of fluxions ต่อมา ในเดือนพฤษภาคมกค็ ้นพบทฤษฎแี สงอาทติ ย์ และเชื่อกันว่า ในชว่ งน้นี ่ีเองทน่ี ิวตัน สงั เกตเห็นแอปเปิลท่ีหล่น จากต้น นามาสู่แรงบันดาลใจซ่ึงพัฒนามาสู่กฎแรงโน้มถ่วงตามตานานที่เล่าขานกันว่า ขณะที่นิวตัน นั่งคิด สาเหตุท่ที าให้ดวงจันทรโ์ คจรรอบโลก เขาได้ยนิ เสยี งแอปเปิลหลน่ จากตน้ ไม้ จงึ เรม่ิ เชอ่ื มโยงเหตกุ ารณ์ระหว่าง ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก เข้ากบั ขอ้ สังเกตเรอื่ งแรงโน้มถ่วง แล้วนามาสู่ข้อสรุปว่า แรงโน้มถ่วงดึงดูดทั้งแอปเปิล ให้ตกลงสู่พื้น และดึงดูดดวงจันทร์โคจรรอบโลก เหตุการณ์พบแอปเปิลตกน้ีถือเป็นตานานเร่ืองเล่าอมตะอีก เรื่องในประวัติศาสตร์โลก แต่เช่ือกันว่า ขณะท่ีนิวตัน พบเห็นแอปเปิลตกลงมา เขายังไม่ได้วิเคราะห์ออกมา เป็นทฤษฎีในเวลาน้ันเลย แต่ใช้เวลาอีกหลายปีพัฒนามาเป็นทฤษฎีแบบสมบูรณ์ นอกเหนือจากบุคลิกเงียบ ขรึม โดดเด่ียว อันเนอ่ื งมาจากสภาพครอบครัวในวัยเด็กที่ห่างไกลจากแม่แล้ว ในชีวิตที่โดดเดี่ยวของนิวตัน ยัง มี “คปู่ รบั ” รายหนง่ึ คอื นักปรชั ญาและนักคณิตศาสตรช์ าวเยอรมนั นามว่า “ก็อตตฟรีด ไลบ์นิซ” (Gottfried Leibniz) ซึ่งท้ังคู่เป็นคู่กรณีในข้อถกเถียงว่า ใครเป็นคนคิดค้นแคลคูลัสก่อนกันแน่ จากข้อมูลในอังกฤษ นิว ตนั พัฒนาแคลคูลสั เวอร์ชั่นของเขาเมื่อทศวรรษ 1660s แต่ในช่วงเวลานั้นยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งาน ขณะที่ ไลบ์นิซ คิดค้นแคลคูลัสฉบับของเขาในช่วง 1670s และเผยแพร่ผลงานของตัวเองในทศวรรษต่อมา ท้ังคู่ต่าง กล่าวหากันว่าคัดลอกผลงานกันและกัน นิวตัน กล่าวหาว่า ไลบ์นิซ ขโมยแนวคิดของเขาจากงานเขียนท่ีไม่ได้ ออกตีพิมพ์ หลังจากเอกสารสรุปเน้ือหาโดยคร่าวกระจายอยู่ในแวดวงราชสมาคม (Royal Society) ส่วนไลบ์ นิซ ก็ยืนยันว่าเขาค้นพบข้อสรุปด้วยตัวเอง และกล่าวหาว่า นิวตัน ขโมยแนวคิดจากงานของเขาท่ีตีพิมพ์ เผยแพร่แลว้ อยา่ งไรก็ตาม แคลคูลัส ทใ่ี ช้กนั แพร่หลายในปจั จุบนั มกั ปรากฏเปน็ ระบบแคลคูลสั ของไลบ์นซิ

10. โยฮันน์ คารล์ ฟรีดริซเกาส์ (JOHANN CARL FRIEDRICH GAUSS) ค.ศ. 1777 – 1855 โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริซเกาส์ คือผู้ที่วงการคณิตศาสตร์ยอมรับว่า เป็นนักคณิตศาสตร์ ผู้ย่ิงใหญ่ท่ีสุด คนหนงึ่ ท่ีโลกร้จู ักเทียบเท่า Archimedes และ Newton เขามผี ลงานคณิตศาสตร์ ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ มากมาย สตู รสมการวิธคี านวณต่างๆ มีช่ือเขาร่วม 50 วิธี ในแวดวงวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เกาส์ได้รับ การยกยอ่ งวา่ เป็น \"เจา้ ชายแห่งคณติ ศาสตร์\" (Prince of Mathematics) โดยเฉพาะทฤษฎีจานวนท่ีเกาส์ ไดค้ น้ พบในขณะทีม่ อี ายุเพยี ง 21 ปีซึง่ ทฤษฎีดังกล่าวยังคงใช้อยู่ในปจั จุบนั นอกจากนี้ เกาส์ยงั มีผลงานดา้ น ดาราศาสตรแ์ ละดา้ นธรณฟี สิ กิ สท์ น่ี า่ ประทับใจอกี ด้วย จากการค้นพบดาวเคราะห์น้อยเซเรสโดยนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี กุยเซป เปปีอัซซี ในเดือน มกราคม 1801 ทาให้เกาส์หันมาสนใจเรื่องดาราศาสตร์ โดยที่ปีอัซซีติดตามสังเกตดาวเคราะห์เซเรสได้เป็น ระยะเพยี ง 3 องศาบนขอบฟ้าภายในเวลาไม่ก่ีเดือน และหลังจากนั้นก็ไม่สามารถติดตามสังเกตดาวเคราะห์เซ เรสได้อีกเนื่องจากเซเรสโคจรไปอยู่ด้านหลังของดวงอาทิตย์ ซ่ึงผลของแสงจ้าของดวงอาทิตย์ทาให้ นกั ดาราศาสตร์ไม่สามารถสงั เกตดวงดาวบนท้องฟ้าได้ อยา่ งไรกต็ ามนกั ดาราศาสตร์ก็คาดการณ์ว่าดาวเคราะห์ เซเรสจะกลับมาปรากฏให้เห็นอีกคร้ังในอีกหลายเดือนถัดมา แต่ประเด็นปัญหาก็คือ ปีอัซซีไม่สามารถระบุ ตาแหน่งของดาวเคราะห์เซเรสไดอ้ ีกครั้ง เนื่องจากเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ในสมัยน้ัน ยังไม่สามารถท่ีจะช่วย ทาการวิเคราะห์และทานายวงโคจรได้ โดยประเด็นสาคัญก็มาจากข้อมูลที่สังเกตและจดบันทึกโดยปีอัซ ซี (3 องศาบนขอบฟ้า) เป็นเพียง 1 เปอร์เซ็นต์เม่ือเทียบกับวงโคจรทั้งวงโคจรของดาวเคราะห์เซเรส ด้วยวัย เพียง 23 ปีเกาส์ไดว้ ิเคราะหข์ อ้ มูลท่ีจดบันทกึ โดยปีอซั ซี และหลังจากทมุ่ เทการค้นควา้ เป็นเวลา 3 เดือนเกาส์ก็ สามารถทานายตาแหน่งของดาวเคราะห์เซเรสได้ในเดือนธันวาคม 1801 โดยมีความแม่นยาภายในครึ่งองศา โดยเกาสไ์ ด้คิดค้นวิธกี ารคานวณท่ีเรียกว่า \"วิธีกาลังสองน้อยท่ีสุด\" (least squares method) ซึ่งเป็นรากฐาน สาคญั ของทฤษฎกี ารประมาณคา่ ที่เรายงั ใชก้ นั อย่ใู นปจั จุบันน้ี โดยเกาส์ได้ตีพิมพ์ผลงานการคานวณหาวงโคจร ของดวงดาวไว้ในตาราท่ีชื่อว่า \"Theoria motus corporum coelestium in sectionibus conicis solem ambientum\" (theory of motion of the celestial bodies moving in conic sections around the sun) ซ่ึงตีพิมพ์ในปี 1809 เขาได้ใช้กฎแรงโน้มถ่วงของ Newton คานวณวิถีโคจรของ Ceres ได้อย่างละเอียด ซึ่งมีผลทาให้นักดาราศาสตร์ได้เห็น Ceres อีกคร้ังหน่ึง ผลงานชิ้นนี้ได้ทาให้ เกาส์ ได้รับการ

แต่งตั้งให้เป็นผู้อานวยการของหอดูดาวที่มหาวิทยาลัย Gottingen และเขาได้ครองตาแหน่งน้ีจนกระท่ัง เสยี ชวี ติ เมือ่ วันท่ี 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2398 ขณะมีอายุได้ 78 ปี 11. เอดวาร์ด อีเมอร์สัน บาร์นารด์ (EDWARD EMERSON BARNARD) ค.ศ. 1857 – 1923 เอดวาร์ด อีเมอร์สัน บาร์นาร์ด หรือ อี. อี. บาร์นาร์ด เป็นนักดาราศาสตร์ผู้มีช่ือเสียงว่าเป็นนัก สังเกตการณ์ท่ีเด่นที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ของดาราศาสตร์ ว่ากันว่าเขาดูดาวเก่งและขยันไม่แพ้วิลเลียม เฮอร์เชล ผู้ค้นพบดาวยูเรนัสเลยทีเดียว อี. อี. บาร์นาร์ดเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1857 ในครอบครัวยากจนแห่งเมือง แนชวลิ ล์ มลรัฐเทนเนสซี ความยากจนทาให้เขาต้องอดม้ือกินมื้ออยู่เสมอ เพ่ือบรรเทาความทุกข์ยาก หนูน้อย บารน์ าร์ดมักชอบนอนดดู าวในคา่ คืนอันอบอุ่น พจิ ารณาฟากฟ้าอยา่ งละเอยี ด เอาดาวเป็นเพ่ือนโดยไม่มีความรู้ ทางดาราศาสตรเ์ ลยแม้แต่นิดเดียว ในขณะนน้ั เขาไม่มที างร้เู ลยวา่ เพือ่ นของเขาท่ีเจดิ จรสั อย่กู ลางฟา้ ในฤดูร้อน มีชื่อว่าวีกา เขาจาดาวในท้องฟ้าได้มากมาย และไม่นานก็สังเกตเห็นว่าดาวบางดวงย้ายท่ีไปในท่ามกลางหมู่ ดาวท้งั หลาย โดยไม่รูอ้ ีกเชน่ กันว่าดาวเหลา่ นัน้ เรียกว่าดาวเคราะห์ เม่ือหนูน้อยบาร์นาร์ดอายุได้ 8 ขวบ เขาได้ เขา้ ทางานในร้านถา่ ยรูปของแวน สตาวอเรน งานของเขาคือการคอยโยกกล้องจูปิเตอร์ที่ติดตั้งอยู่บนหลังคาให้ รับแสงดวงอาทิตย์โดยตรงตลอดเวลา เพ่ือช่างภาพจะได้ใช้แสงน้ีอัดรูปจากแผ่นเนกาทิฟ ถ้าเป็นเด็กคนอื่นคง ไม่มีใครยอมทางานแบบนี้ หรือถา้ ทาก็คงทิง้ งานหลังจากตามดวงอาทิตย์ไปได้ไม่เท่าไร แต่บาร์นาร์ดกลับสนใจ เรอ่ื งตาแหนง่ ของดวงอาทิตย์ ซ่ึงบางวันขึ้นสู่จุดสูงสุดตอนเท่ียงวัน แต่บางวันข้ึนสูงสุดก่อนเที่ยงหรือหลังเท่ียง บางทียงั กอ่ นหรอื หลงั ได้นานหลายนาที บาร์นารด์ ได้เรียนรู้เมื่อหลายปีให้หลังว่าสิ่งที่เขาค้นพบ แต่ไม่รู้ว่าอะไร คือสมการเวลา ซ่ึงเป็นค่าความต่างระหวา่ งเวลาสุริยคตเิ ฉลย่ี กบั เวลาสุริยคติปรากฏ เป็นผลจากการที่โลกโคจร รอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีและแกนหมุนของโลกท่ีทามุมเอียงกับระนาบสุริยวิถี (มีค่าเป็นศูนย์ได้ 4 คร้ังในรอบปี คือ วันที่ 15 เมษายน 14 มิถนุ ายน 1 กนั ยายน และ 25 ธันวาคม สมการเวลาจะมคี ่าต่างกนั ไม่เกิน 16 นาที) ตอนค่าหลังเลิกงาน บาร์นาร์ดต้องเดินกลับบ้านเป็นระยะทางไกล เขาเอาดาวไม่ประจาที่ดวงสว่างสีเหลือง ดวงหน่ึงเป็นเพ่ือนร่วมทาง ไม่มีใครบอกเขาว่าดาวดวงน้ันชื่อดาวเสาร์ บาร์นาร์ดทางานอยู่ในร้านถ่ายรูปอยู่ นานถึง 17 ปี มีความรู้ทางทัศนศาสตร์ที่ใช้งานได้ ระหว่างนั้นเขาสร้างกล้องโทรทรรศน์ข้ึนใช้เอง กระบอก

กล้องทาจากกล้องส่องทางไกลจากเรือเก่าๆ ลาหนึ่ง เลนส์ใกล้ตาถอดมาจากซากกล้องจุลทรรศน์ ส่วนขาต้ังก็ ใชข้ าต้งั สารวจ เขาสอ่ งกลอ้ งดูดาวบนฟ้าครั้งละหลายช่ัวโมง เปา้ หมายทช่ี อบเป็นพเิ ศษคอื ดาวพฤหสั บดี อยู่มาวนั หนึ่ง เพือ่ นทีจ่ นพอๆกันมาขอยมื เงนิ 2 เหรียญจากบาร์นารด์ โดยทิ้งหนังสอื เปน็ จานาไวเ้ ลม่ หนง่ึ บาร์นาร์ดทราบดีว่าไม่มีทางจะได้เงินคืน และโกรธมาก เพราะเงิน 2 เหรียญนับว่าเป็นจานวนมากสาหรับเขา ในตอนนั้น หลังจากรอเพ่ือนอยู่นาน เขาก็ตัดสินใจยึดหนังสือเล่มนั้น พอเขาเปิดหนังสือ จึงพบว่าหนังสือเล่ม น้ันเปน็ ตาราดาราศาสตร์ แผนท่ีฟ้าในหนังสือเปน็ แผนที่ฟา้ แผน่ แรกท่ีบาร์นาร์ดเคยเห็น เขารีบเอาแผนที่ไปยืน รมิ หนา้ ต่าง ดแู ผนทเ่ี ทยี บกับดาวในทอ้ งฟา้ ท่ีเขาคนุ้ เคยเป็นอย่างดี และไม่ถึงชั่วโมงเขาก็ทราบว่าผองเพ่ือนเก่า แตเ่ ยาว์วัยของเขาลว้ นมีชอ่ื เรียก ท้งั ดาวเวกา ทง้ั กลุม่ ดาวหงส์ ทงั้ ดาวตานกอินทรี นบั เปน็ ก้าวแรกเขา้ ส่โู ลก ดาราศาสตร์อย่างเป็นทางการของบาร์นาร์ด บาร์นาร์ดอ่านหนังสือเพิ่มเติมอีกมาก รวมท้ังจ้างครูสอน คณิตศาสตร์มาสอนเขาเป็นพิเศษ จนในท่ีสุดเขาสาเร็จปริญญาตรีทางคณิตศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแวนเดอร์ บิลต์ และทางานเป็นอาจารย์สอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยนั่นเอง จนเม่ือหอดูดาวลิก ใกล้เมืองซานโฮเซ ในมลรัฐ แคลิฟอร์เนีย สร้างใกล้จะเสร็จ ใน ค.ศ. 1887 บาร์นาร์ดไปปรากฏตัวที่น่ัน แจ้งว่าเขาได้ลาออกจากงานท่ี มหาวิทยาลยั แลว้ ขายบ้านทีแ่ นชวิลไปแล้วด้วย และขอทางานท่ีหอดูดาวลิก ซึ่งมีกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงที่ ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น (ปัจจุบันใหญ่เป็นที่สอง) โดยไม่จาเป็นต้องมีค่าตอบแทนอะไรเลย ขอเพียงให้ได้ สงั เกตการณ์ผา่ นกล้องโทรทรรศน์เท่าน้ัน บาร์นาร์ดเป็นคนตาดมี าก ช่างสงั เกต และขยันขันแข็งในงานท่ีเขารัก ผู้ร่วมงานต่างพากันออกปากว่าไม่เคยเห็นเขาไปนอนเลยสักครั้งเดียว และความรู้วิชาถ่ายภาพของเขาก็เป็น ประโยชนอ์ ย่างยงิ่ ในยคุ ทีก่ ารถ่ายภาพเริ่มเข้ามามีบทบาทในวงการดาราศาสตร์ใหม่ๆ ต่อมาเมื่อปี ค.ศ. 1895 เขาเกิดขดั แยง้ กบั ผ้บู รหิ ารหอดูดาวในหลายเร่อื ง จึงย้ายจากหอดดู าวลกิ ไปรับตาแหน่งศาสตราจารยท์ าง ดาราศาสตรใ์ นมหาวิทยาลัยชิคาโก ประจาอยู่ท่ีหอดูดาวเยอร์คีส์ที่สร้างข้ึนใหม่ใกล้เมืองชิคาโก แต่อยู่ในมลรัฐ วิสคอนซิน ซึ่งมีกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลก ผลงานทางดาราศาสตร์ของบาร์นาร์ดมีอยู่ มากมาย ตลอดชีวิตเขาเขียนบทความวิชาการออกมาถึงกว่า 900 ฉบับ เขาเป็นผู้ค้นพบดวงจันทร์อะมัลเทีย บริวารดวงทหี่ ้าของดาวพฤหัสบดี และมองเหน็ ลวดลายบนดวงจันทร์ไอโอของดาวพฤหัสบดีซ่ึงต้องรออีกเกือบ หนึ่งศตวรรษ ยานวอยเอเจอร์จึงสามารถยืนยันส่ิงท่ีเขามองเห็นได้ งานของเขาครอบคลุมการสังเกตดาว เคราะห์ ดาวหาง เนบวิ ลา และทฤษฎีท่ีถกู ต้องเก่ียวกบั โนวา รวมทงั้ การค้นพบดาวบารน์ ารด์ เมอ่ื ปี ค.ศ. 1916 งานสาคัญที่สุดช้ินหนึ่งของบาร์นาร์ดคือการถ่ายภาพมุมกว้างดาราจักรทางช้างเผือกเพื่อการศึกษาโครงสร้าง ดาราจักรอย่างเป็นระบบ ผลงานภาพถ่ายที่ย่ิงใหญ่ของเขาถูกรวบรวมอยู่ในหนังสือท่ีจัดพิมพ์ออกมาภายหลัง การตายของเขา นอกจากนั้นเขายังค้นพบว่าแถบสีดาในอวกาศส่วนหนึ่งคือเมฆแก๊สและฝุ่น ไม่ใช่ช่องว่างใน อวกาศอย่างที่เคยเข้าใจกันมาแต่ก่อน และจัดทาบัญชีเมฆดาในอวกาศทานองเดียวกับบัญชีเมซีเย บาร์นาร์ด ทางานทหี่ อดดู าวเยอรค์ ีส์จนถงึ แก่กรรมเมือ่ ปี ค.ศ. 1923

12. เอด็ วินพาวเวลล์ฮับเบลิ (EDWIN POWELL HUBBLE) ค.ศ. 1889 – 1953 ฮับเบิลเกิดที่มิสซูรีในปี 1889 จากนั้นในปี 1898 ครอบครัวของฮับเบิลได้ย้ายไปพานักที่นครชิคาโก ในวัยเยาว์ ฮับเบิลมีความสามารถพิเศษทางด้านกรีฑา โดยฮับเบิลสามารถทาลายสถิติกระโดดสูงของ รฐั อลิ นิ อยส์ ลงได้ สาหรับในด้านการศกึ ษาฮบั เบลิ มผี ลการเรียนท่ีดี และได้เข้าศึกษาท่ีมหาวิทยาลัยชิคาโกโดย สนใจเรียนด้านคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ และปรัชญาโดยฮับเบิลสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีใน ปี 1910 หลังจากน้ันฮับเบิลได้รับทุนการศึกษา “Rhodes scholarship” โดยเข้าเรียนด้านกฎหมาย ณ มหาวิทยาลัยอ็อกฟอร์ด แห่งประเทศอังกฤษ หลายๆท่านอาจจะเคยได้ยินช่ือ \"กล้องดูดาวฮับเบิล\" ซึ่งเป็น กล้องดูดาวที่ไม่ได้อยู่บนพ้ืนโลกของเรา แต่เป็นกล้องท่ีถูกส่งข้ึนไปโคจรในอวกาศรอบโลก โดยช่ือของกล้อง ดังกล่าวได้ถูกต้ังข้ึนเพื่อเป็นเกียรติให้กับเอ็ดวินพาวเวลล์ฮับเบิลนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันผู้ยิ่งใหญ่ ทั้งนี้ใน แวดวงนักดาราศาสตร์เป็นท่ีทราบดีว่าฮับเบิลเป็นผู้ท่ีเปล่ียนความเข้าใจของนักดาราศาสตร์ท้ังหลาย ในเรื่อง ธรรมชาติของเอกภพโดยฮับเบิลได้แสดงให้เห็นว่า ยังมีกาแล็กซีอื่นๆอีกท่ีปรากฏอยู่ใกล้กับกาแล็กซีทาง ชา้ งเผือก โดยกาแล็กซีต่างๆเคลือ่ นทหี่ า่ งออกไปจากโลกดว้ ยความเร็วท่ีสัมพันธ์กับระยะทาง ซ่ึงความหมายอีก นัยหน่ึงก็คือเอกภพหรือจักรวาลมีการขยายตัวออกไป นอกจากนี้ฮับเบิลยังค้นพบว่าแสงที่เดินทางมาจาก กาแล็กซีอื่นน้ันจะมีองศาของการเลื่อนไปทางแดง (ความยาวคลื่นของเส้นสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าท่ี เพิ่มข้ึนไปจากเดิม) เพ่ิมข้ึนเป็นสัดส่วนกับระยะระหว่างกาแล็กซีและทางช้างเผือกซึ่งต่อมาได้ถูกเรียกว่า \"กฎ ของฮับเบิล (Hubble’s law)\" หลังจากจบการศึกษาและเดินทางกลับไปที่สหรัฐอเมริกา ฮับเบิลทางานเป็น คุณครูและโค้ชทีมบาสเกตบอลของโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งท่ีรัฐอินเดียนา ท้ังนี้ไม่มีเอกสารชิ้นใดท่ีระบุว่า ฮับเบิลได้ฝึกงานทางด้านกฎหมายเลยจากน้ันฮับเบิลได้เข้ารับใช้ชาติในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ภายหลัง สงครามฮับเบิลตัดสินใจที่วางอนาคตของตนเองในด้านดาราศาสตร์ โดยเข้าทางานพร้อมกับศึกษาระดับ ปรญิ ญาเอก ณ หอดูดาวเยอร์เคสของมหาวทิ ยาลยั ชคิ าโก โดยฮบั เบิลสาเรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาเอกเม่อื ปี 1917 ในปี 1919 ฮบั เบลิ ได้รับข้อเสนอใหเ้ ปน็ นกั วจิ ัยที่หอดูดาวเมาท์วลิ สนั ใกล้กบั พาสาดนี าแคลฟิ อเนยี ซ่ึงฮับเบิลได้เร่ิมงานวิจัยด้านดาราศาสตร์อย่างจริงจัง ฮับเบิลเริ่มต้นงานวิจัยด้านดาราศาสตร์โดยใช้กล้อง โทรทรรศน์ขนาด 100 นิ้ว ณ หอดูดาวเมาท์วิลสันซ่ึงในยุคนั้นถือได้ว่าเป็นกล้องโทรทรรศน์ที่ใหญ่ท่ีสุดในโลก จากความเชื่อด้ังเดิม ณ เวลาน้ันที่เชื่อว่าจักรวาลประกอบด้วยกาแล็กซีทางช้างเผือกท้ังหมด ฮับเบิลเป็น คนแรก ท่ไี ดช้ ใ้ี ห้เหน็ ว่ากาแล็กซที างช้างเผอื กนัน้ เป็นเพียงหนึง่ ในหลายๆกาแล็กซที อี่ ยู่ในจักรวาล แต่ความเห็น ของฮบั เบิลกไ็ ด้รับการต่อต้านจากนักดาราศาสตร์หลายๆท่านในยุคน้ัน ฮับเบิลต้องใช้เวลาในการทาวิจัยอย่าง

ต่อเนื่องจนกระท่ังในปี 1925 ฮับเบิลจึงประสบผลสาเร็จ ในการพิสูจน์และยืนยันสิ่งที่ฮับเบิลได้กล่าวไว้ก่อน หน้านี้ซึ่งการค้นพบในคร้ังน้ี ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงความเข้าใจครั้งใหญ่ในเร่ืองของจักรวาล กฎของ ฮับเบิล : ความเร็วของกาแล็กซีท่ีเคลื่อนถอยห่างไปจากเรา(คานวณจากการเลื่อนไปทางแดง) มีค่าเท่ากับ ระยะทางระหว่างเราและกาแล็กซีคูณกับค่าคงที่ท่ีถูกเรียกว่า \"ค่าคงที่ของฮับเบิล\" โดยท่ีระยะทางมีหน่วยเป็น ล้านพาร์เซ็ก (พาร์เซ็ก : เป็นหน่วยวัดระยะทางมีค่าเท่ากับระยะทางจากโลกถึงวัตถุที่มีแพแรลแลกซ์รายปี เท่ากบั 1 พิลปิ ดาเทียบเทา่ 3.0857 x 1012 กโิ ลเมตรหรอื 3.2616 ปีแสงหรอื 206,265 หนว่ ยดาราศาสตร์) 13. สตเี ฟนฮอวค์ งิ (Stephen Hawking) ค.ศ. 1942 – ปัจจบุ นั ความสูญเสียครั้งใหญ่ของวงการฟิสิกส์โลก กับการจากไปของสตีเฟน ฮอว์คิง นักฟิสิกส์ นัก คณิตศาสตร์ นักจกั รวาลวิทยา ท่ีถอื เป็นอัจฉรยิ ะแหง่ ยุค นบั ตงั้ แต่การจากไปของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ชายผู้น้ีได้ สร้างแรงส่นั สะเทอื นให้วงการวิทยาศาสตร์ ด้วยการพลิกเกมการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ และความเป็นไปของ จักรวาล และจุดประกายความหวังของมวลมนุษยชาติ ด้วยชีวิตอันที่มีสีสันรอบด้าน ภายใต้ข้อจากัดทาง รา่ งกาย ความบังเอญิ อนั น่าอัศจรรย์ของฮอว์คิง เร่ิมต้นมาต้ังแต่กาเนิด เขาเกิดวันที่ 8 มกราคม 1942 ตรงกับ วันครบรอบ 300 ปี วนั คล้ายวนั เสยี ชีวิตของนักดาราศาสตร์ชาวอิตาเลียน กาลิเลโอ กาลิเลอี ผู้ริเริ่มการศึกษา เร่ืองแรงโน้มถ่วง และวันเขาเสียชีวิต คือ 14 มีนาคมน้ัน ก็ตรงกับวันเกิดของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ผู้ คิดคน้ ทฤษฎสี ัมพทั ธภาพ ผเู้ ป็นไอคอนแหง่ ความอจั ฉริยะ ฮอวค์ ิง เกิดท่ีออกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ศึกษาต่อ ด้านฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ในมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด แต่นั่นไม่ได้สร้างความตื่นเต้นหรือน่าหลงไหล ได้ เท่ากับคาถามง่ายๆที่ว่า “จักรวาลมาจากไหน?” และกลายเป็นคือจุดเร่ิมต้นของความย่ิงใหญ่ของสตีเฟน ฮอว์คงิ เขาทุ่มเทให้กับการศึกษาเก่ียวกับหลุมดา กลศาสตร์ควอนตัม และต่อยอดแนวคิดของนักฟิสิกส์ทฤษฎี อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และเวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิร์ก เพื่ออธิบายจุดเร่ิมต้นของจักรวาล และในปี 1974 ฮอว์คิง เขย่าวงการฟิสิกส์โลก ด้วยการนาเสนองานวิจัยว่าด้วยทฤษฎีหลุมดา อธิบายกลไกการแผ่รังสีของหลุมดา ท่ี ปจั จบุ ันมีชอ่ื ว่า รงั สีฮอว์คิง ผลงานของเขาได้เปลี่ยนความคิดด้ังเดิมของหลุมดา จากผู้ทาลายกลายเป็นผู้สร้าง ในทันที ในระหว่างทีเ่ ขากาลงั สรา้ งส่ิงใหมใ่ นวงการฟิสิกส์อยู่น้ัน เขาได้พบกับมรสุมครั้งใหญ่ในชีวิต เมื่ออายุได้

21 ปี เขาตรวจพบว่าเป็นโรคกล้ามเน้ืออ่อนแรง หรือ ALS ย่ิงไปกว่านั้นแพทย์ยังวินิจฉัยว่าเขาจะมีชีวิตอยู่ต่อ ไดอ้ ีกแค่ 2 ปเี ท่านน้ั แม้จะต้องตอ่ สู้กบั โรคกล้ามเนือ้ อ่อนแรงมาทั้งชีวิต แต่สตีเฟน ฮอว์คิง ไม่เคยใช้ข้อจากัด ทางรา่ งกาย สร้างขีดจากัดให้ตัวเอง ทั้งในแง่ของวิชาการ เขาเป็นศาสตราจารย์ประจามหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เดินทางไปทั่วโลกเพ่ือถ่ายทอดความรู้ในฐานะนักฟิสิกส์และนักจักรวาลวิทยา ในฐานะนักเขียน หนังสือ A Brief History of Time ของเขาติดอันดับหนังสือขายดียาวนานหลายร้อยสัปดาห์ เอกลักษณ์ของฮอว์คิง ชายอัจฉริยะบนรถเข็นและเสียงสังเคราะห์ ได้กลายเป็นสิ่งท่ีช่วยเหลือผู้ป่วยโรค ALS หลังจากที่เขาต้องใช้ อปุ กรณ์สงั เคราะห์เสยี งพดู เพื่อการสอื่ สารด้วยกล้ามเน้อื มัดเดียวบนในหน้าและน้ิวมือที่สามารถขยับได้ หลาย บริษัทด้านเทคโนโลยีแข่งกันพัฒนาอุปกรณ์เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง เพื่อให้ทางานได้ง่ายและ รวดเร็วขนึ้ ที่สาคญั ฮอว์คิง เป็นผปู้ ่วยโรคกลา้ มเน้อื ออ่ นแรงทมี่ อี ายยุ ืนยาว เพราะปกติแล้วผู้ป่วยโรค ALS จะมี อายุเฉลี่ยเพียง 3 ปีหลังจากตรวจพบอาการ แต่เขามีอายุยืนมาถึง 76 ปีหลังจากน้ัน แถมเขายังได้ใช้ชีวิต สุดเหว่ียง ตั้งแต่ซ่ิงรถเข็นไฟฟ้าไปรอบมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์จนขาหัก ฉลองวันเกิดปีท่ี 60 บนบอลลูนยักษ์ และฉลองวันเกิดปีท่ี 65 ด้วยการสัมผัสสภาวะไร้น้าหนักบนเท่ียวบิน Zero-Gravity บนโบอ้ิง 727 ซ่ึงเมื่อถูก ถามเหตผุ ลถงึ การทากิจกรรมเส่ียงตายเหล่าน้ี เขาได้ตอบกลับไปว่า “ความต้องการของมนุษย์ไม่ควรถูกจากัด ดว้ ยความบกพรอ่ งทางร่างกาย ตราบเทา่ ท่ีเราไมบ่ กพร่องทางจิตวิญญาณ” ยงิ่ ไปกวา่ น้ัน ฮอว์คิง เป็นบุคคลท่ีมี อทิ ธพิ ลต่อวงการบันเทงิ โลกอย่างมาก ดว้ ยอารมณข์ นั ท่ีถอื เปน็ พรสวรรค์อกี ด้านของฮอว์คิงเขาปรากฏตวั ใน ซีรีส์ การ์ตูน บทเพลง และภาพยนตร์หลายเรื่องด้วยกัน ทั้ง The Simpsons, Star Trek: The Next Generation, เพลง Keep Talking จากวง Pink Floyd และเป็นแขกรับเชิญในซีรีส์ตลกช่ือดัง The Big Bang Theory รวมท้ังเรื่องราวของสตีเฟน ฮอว์คิง เคยถูกนามาสร้างเป็นภาพยนตร์ The Theory of Everything ซึ่งขึ้นแท่นภาพยนตร์เข้าชิงรางวัลออสการ์ ด้วย ชีวิตที่เต็มไปด้วยสาระและสีสันของสตีเฟน ฮอว์คิง ได้จุด ประกายแห่งความหวังของมวลมนุษยชาติ จากการเอาชนะข้อจากัดของตัวเองด้วยหัวใจ และเมื่อไหร่ท่ีเรา แหงนมองข้ึนไปบนท้องฟ้า ก็อาจจะขอบคุณ สตีเฟน ฮอว์คิง ที่ทาให้เราได้เข้าใจถึงการก่อกาเนิดของจักรวาล อนั กวา้ งใหญม่ ากขึน้

โนเบลฟสิ ิกส์ 2019 รางวลั แด่ผู้ค้นพบโลกใบใหม่นอกระบบสรุ ิยะและโครงสรา้ งสาคัญระดบั เอกภพ (จากซ้ายไปขวา) ศ. เจมส์ พเี บิลส์, ศ. ดดิ ีเยร์ เกลอซ และศ. มิเชล เมเยอร์ รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจาปี 2019 ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกมอบให้แด่ เจมส์ พีเบิลส์ (James Peebles) จากการค้นพบเชิงทฤษฎีด้านจักรวาลวิทยา และอีกส่วนหน่ึงตกเป็นของ มิเชล เมเยอร์ (Michel Mayor) และดิดิเยร์ เกลอซ (Didier Queloz) จากการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exoplanet) ท่ีโคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ เคยสงสัยกันไหมว่าเอกภพนี้มีโครงสร้างและหน้าตาเป็น อย่างไร และเราอยู่ทีไ่ หนในเอกภพแห่งน้ี ผลงานของนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลทั้ง 3 คนนี้ได้วางรากฐานท้ัง ในทางทฤษฎแี ละทางปฏิบัตไิ ว้ให้นักฟสิ ิกส์รุน่ หลังไดด้ าเนนิ การศึกษาหาคาตอบของคาถามดังกลา่ วตอ่ เนื่อง มาจนถึงปจั จุบนั ย้อนเวลากลับไป 14,000 ลา้ นปที ีแ่ ล้ว เอกภพของเราถอื กาเนดิ ขึ้นมาจากจุดทเ่ี รยี กวา่ Big Bang ซึ่งเอกภพของเรามีความหนาแน่นมหาศาลเกินกว่าที่เราจะจินตนาการได้ หลังจากน้ันเอกภพได้ขยายตัวข้ึน อะตอมและโมเลกลุ รวมตวั กันจนเกดิ เปน็ ดวงดาว กาแล็กซี ระบบสรุ ิยะ โลก พลงั งานทค่ี งค้างจากเอกภพใน ยคุ แรกเรมิ่ ตกทอดมาถงึ เอกภพในยคุ ปัจจุบันในรูปแบบของการแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของเอกภพ (Cosmic Microwave Background Radiation) ซึ่งนักดาราศาสตร์ตรวจจับมันได้ เจมส์ พีเบิลส์ อาศัยหลักฐานจาก การตรวจวัดและทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ มาคานวณจนนามาสู่ข้อสรุปในทางทฤษฎีท่ีว่า หาก เอกภพของเราจะมีลักษณะอย่างท่ีเห็นในปัจจุบัน มันจะต้องมีองค์ประกอบเพ่ิมข้ึนมาอีก 2 ส่วน ได้แก่ สสาร มดื (Dark Matter) และพลังงานมืด (Dark Energy) หากเปรยี บเทยี บให้เอกภพของเราเปน็ กาแฟลาเตร้ ้อน หวานน้อย 1 แก้ว ปริมาณนา้ กาแฟเทียบได้กบั พลงั งานมืด นมท่เี ติมเขา้ มาเปน็ สสารมดื และน้าตาลท่โี รยเพิ่ม ลงไปเพียงเล็กน้อยเป็นสสารและพลังงานท่ัวไปท่ีเราชั่ง ตวง วัด และศึกษาคุณสมบัติของมันท้ังหมดมา ตลอดเวลานับพันปี พูดง่ายๆ ว่าองค์ความรู้เก่ียวกับสสารและพลังงานที่เราตรวจวัดได้ท่ัวไปนับเป็น 5% ของ

องค์ประกอบทั้งเอกภพเท่าน้ัน ส่วนสสารมืดและพลังงานมืดนับเป็นความท้าทายท่ีสุดอย่างหน่ึงของฟิสิกส์ใน ปจั จบุ ัน เรารูว้ า่ มันมีอยผู่ า่ นการตรวจวดั ทางอ้อม แตย่ งั ไมร่ แู้ ละเขา้ ใจธรรมชาติของมันอย่างถ่องแทช้ ดั เจน แม้เราจะรจู้ กั เอกภพอย่างชดั เจนเพียง 5% แต่นน่ั ก็เป็นสิ่งสาคญั ท่ีประกอบข้ึนเป็นเรา รวมถึงโลกใบน้ี ด้วย มิเชล เมเยอร์ และดิดิเยร์ เกลอซ ตอกย้าว่าโลกอันแสนวิเศษของเรา อาจไม่ใช่โลกใบเดียวในเอกภพอัน กว้างใหญ่ไพศาล การศึกษาดาวฤกษ์ทาได้ไม่ยากเย็น เนื่องจากมันมีแสงสว่างในตัวเอง แต่นักดาราศาสตร์ ศึกษาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะท่ีไม่มีแสงสว่างในตัวเอง มีขนาดเล็กกว่าดาวฤกษ์มาก และอยู่ไกลแสนไกล ออกไปได้อย่างไร เทคนิคการตรวจจับนั้นมีหลายวิธี แต่หนึ่งในเทคนิคสาคัญอย่างหน่ึงอาศัยหลักการที่ว่า ใน เมื่อดาวฤกษ์ส่งแรงโน้มถ่วงมาดึงดูดดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์บางดวงที่มีแรงโน้มถ่วงมากพอ ย่อมส่งแรง โน้มถ่วงมาดงึ ดูดดาวฤกษด์ วงนน้ั จนดาวฤกษข์ ยับไปมาได้เลก็ นอ้ ย ดงั นน้ั นักดาราศาสตรจ์ ึงตรวจจับความถี่ของ แสงที่เปลี่ยนแปลงไปเม่ือดาวฤกษ์เคล่ือนที่เข้าใกล้โลกและถอยห่างออกจากโลกไปมาได้ คล้ายกับท่ีเราจะได้ ยินเสียงรถฉกุ เฉนิ ดว้ ยความถ่ีทส่ี งู ข้นึ เมื่อรถวงิ่ เข้ามาใกล้ และต่าลงเมื่อมันวิ่งผ่านไป มิเชล เมเยอร์ และดิดิเยร์ เกลอซ ได้ช่วยกันปรับจูนเครื่องมือตรวจวัดสเปกตรัมของแสงให้วัดค่าได้อย่างแม่นยามากขึ้น จนนามาสู่การ ประกาศการค้นพบสาคญั อยา่ งยงิ่ ทางดาราศาสตร์ ย้อนไปเมื่อวันท่ี 6 ตุลาคม 1995 นักวิทยาศาสตร์ทั้งสองได้ ประกาศการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบ (Exoplanet) ดวงแรกท่ีโคจรอยู่รอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ (Solar-type Star) ดาวเคราะห์ดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกไป 50 ปีแสง มีชื่อว่า 51 Pegasi b โคจรรอบดาวฤกษ์ 51 Pegasus อยู่ในกลุ่มดาวม้าปีก มันใช้เวลาเพียง 4 วันในการโคจรครบ 1 รอบ น่ันแปลว่ามันอยู่ใกล้ดาว ฤกษ์มากจนอุณหภูมิพื้นผิวสูงถึง 1,000 องศาเซลเซียส และมีขนาดใหญ่ราวดาวพฤหัสบดี ซ่ึงผิดกับความเชื่อ เดิมที่คิดว่าดาวเคราะห์ยักษ์ควรจะอยู่ห่างจากดาวฤกษ์ จนนามาสู่ทฤษฎีใหม่ว่าด้วยการกาเนิดดาวเคราะห์ ปัจจบุ นั เราค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบแล้วกว่า 4,000 ดวง และกาลังจะพบอีกมากในอนาคตจากดาวเทียม TESS ที่ส่งข้ึนไปประจาการเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2018 ที่ผ่านมา มนุษย์เราเคยเช่ือว่าโลกเป็นศูนย์กลางของ เอกภพ ตอ่ มาไดร้ ้วู ่าดวงอาทติ ย์เป็นศูนยก์ ลางของระบบสรุ ิยะ ได้รูจ้ ักกาแล็กซีอ่นื ๆ นอกจากทางช้างเผือก รู้ว่า เอกภพมีจุดกาเนิดมาจาก Big Bang และการขยายตัวมาจนถึงปัจจุบัน แบบจาลองโครงสร้างเอกภพของ มนุษยชาตเิ ปลี่ยนแปลงไปมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วง 50 ปีให้หลังมาน้ี รวมถึงการค้นพบดาวเคราะห์นอก ระบบสุริยะ ท่ีโคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ ได้เปล่ียนแปลงแนวคิดเก่ียวกับเอกภพที่เราอาศัยอยู่ไป ตลอดกาล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook