Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11 สื่อสร้างสรรค์ธุรกิจดิจิทัล 3 ATC2021

11 สื่อสร้างสรรค์ธุรกิจดิจิทัล 3 ATC2021

Published by 11-กวินทิพย์ แดงน้อย, 2021-11-25 07:51:53

Description: ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการคิดสื่อสร้างสรรค์ทางธุรกิจ องค์ประกอบ และรูปแบบของสื่อดิจิทัล เทคนิคการสร้างสรรค์สื่อข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีโอ ตามแนวคิด กลยุทธ์ เนื้อหาและการออกแบบให้สอดคล้องกบวัตถุประสงค์ทางธุรกิจผลิตสื่อสร้างสรรค์ทางธุรกิจโดยใช้เครื่องมือดิจิทัลให้สอดคล้องกบกลยุทธ์ของธุรกิจที่กำหนด

Search

Read the Text Version

30204-2102 สื่อสร้างสรรค์ ธุรกิจดิจิทัล กวินทิพย์ แดงน้อย

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจหลักการ กระบวนการคิดสื่อสร้างสรรค์ทางธุรกิจ 2. สามารถผลิตสื่อสร้างสรรค์ทางธุรกิจ 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ละเอียด รอบคอบ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้ หลักการ กระบวนการคิดสื่อสร้างสรรค์ทาง ธุรกิจ 2. ออกแบบสื่อสร้างสรรค์ทางธุรกิจ 3. ผลิตสื่อสร้างสรรค์ทางธุรกิจ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการคิดสื่อ สร้างสรรค์ทางธุรกิจ องค์ประกอบ และรูปแบบของสื่อดิจิทัล เทคนิคการสร้างสรรค์สื่อข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีโอ ตามแนวคิด กลยุทธ์ เนื้อหาและการออกแบบให้ สอดคล้องกบวัตถุประสงค์ทางธุรกิจผลิตสื่อสร้างสรรค์ทาง ธุรกิจโดยใช้เครื่องมือดิจิทัลให้สอดคล้องกบกลยุทธ์ของธุรกิจ ที่กำหนด

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ 1 การออกแบบชิ้นงานนำเสนอด้วยสี่อดิจิทัล หลักการออกแบบการนำเสนอข้อมูลข้อมูลโดยทั่วไปจะมีหลักการคล้ายๆ กัน ไม่ว่าจะเป็นการนำเสนอผ่านสื่อรูปแบบต่างๆ เช่น สไลด์ เว็บเพจ สื่อ การสอน วึ่งส่วนใหญ่จะมีวิธีการดังนี้ 1.) ความเรียบง่าย : จัดทำสไลด์ให้ดูเรียบง่ายที่สุดเท่าที่จะ ทำได้ เช่น ใช้สีอ่อนเป็นพื้นหลังเพื่อไม่รบกวนสายตาในการ อ่านและสามารถเห็นเนื้อหาได้อย่างชัดเจน หรือใช้พื้นหลัง ตามลักษณะเนื้อหา 2.) มีความคงตัว : เป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการนำเสนอ สไลด์ซึ่งเป็นเนื้อหาเนื้อหาในเรื่องเดียวกัน คือ ต้องมี ความคงตัวในการออกแบบสไลด์ซึ่งหมายถึงต้องใช้รูป แบบสไลด์เดียวกันทุกแผ่นที่เกี่ยวกับเนื้อหานั้น โดยไม่ จำเป็นต้องเปลี่ยนสีพื้นหลัง หรือขนาดและแบบอักษร แต่หากต้องการเน้นจุดสำคัญหรือเป็นเนื้อหาย่อยออก ไปจะสามารถเปลี่ยนบางสิ่ง เช่น สีตัวอักษรในสไลด์ให้ ดูแตกต่างไปได้บ้างหรืออาจมีการเปลี่ยนสีพื้นหลังให้ แตกต่างจากเนื้อหาเล็กน้อย 3.) ใช้ความสมดุล : การออกแบบส่วนประกอบ ของสไลด์ให้ มีลักษณะสมดุลมีแบบแผน หรือ สมดุลไม่มีแบบแผนก็ได้แต่ต้องระวังสไลด์ทุกแผ่น ให้มีลักษณะของความสมดุลที่เลือกใช้ให้เหมือนกัน เพื่อความคงตัว

4.) มีแนวคิดเดียวในสไลด์แต่ละแผ่น : ข้อความและภาพที่บรรจุ ในสไลด์แผ่นหนึ่งๆ ต้องเป็นเนื้อหาของแต่ละแนวคิดเท่านั้น หาก เนื้อหานั้นมีหลายแนวคิด หรือเนื้อหาย่อยต้องใช้สไลด์แผ่นใหม่ 5.) สร้างความกลมกลืน : ใช้แบบอักษรและภาพกราฟิกให้เหมาะ สมกับลักษณะของเนื้อหาใช้แบบอักษรที่อ่านง่าย และใช่สีที่ดูแล้ว สบายตา เลือกกราฟิกที่ไม่ซับซ้อน และให้ถูกต้องตรงตามเนื้อหา รวมถึงให้เหมาะสมกับเนื้อหาที่เป็นทางการ หรือไม่เป็นทางการ ด้วย 6.) แบบอักษร : ไม่ใช่อักษรมากกว่า 2 แบบ ในสไลด์เรื่องหนึ่ง โดย ใช้แบบหนึ่งเป็นหัวข้อ และอีกแบบหนึ่งเป็นเนื้อหาหากต้องการ เน้นข้อความตอนใดให้ใช้ตัวหนาหรือตัวเอน แทนเพื่อการแบ่งแยก ให้เป็นความแตกต่าง

7.) เนื้อหา และจุดนำข้อความ : ข้อความในสไลด์ควรเป็นเฉพาะ หัวข้อ หรือเนื้อหาสำคัญเท่านั้นโดยไม่มีรายละเอียดของเนื้อหา และควรนำเสนอเป็นแต่ละย่อหน้า โดยอาจมีจุดนำข้อความอยุ่ข้าง หน้าเพื่อแสดงให้ทราบถึงเนื้อหาแต่ละประเด็น และไม่ควรมีจุดนำ ข้อความมากว่า 4 จุดในสไลด์หนึ่งแผ่น 8.) เลือกใช้กราฟิกอย่างระมัดระวัง : การใช้กราฟิกที่เหมาะสมจะสาม รถเพิ่มการเรียนรุ้ได้อย่างมีประสิทธิภาพแต่หากใช้กราฟิกที่ไม่เหมาะสม กับเนื้อหาจะทำให้การเรียนรู้นั้นลดลงและอาจทำให้สื่อความหมายผดไป ได้ 9 . ) ค ว า ม ค ม ชั ด ข อ ง ภ า พ : เ นื่ อ ง จ า ก ค ว า ม ค ม ชั ด ข อ ง จ อ ม อ นิ เ ต อ ร์ มี เ พี ย ง 7 2 - 9 6 D P I เ ท่ า นั้ น ภ า พ ก ร า ฟิ ก ที่ นำ เ ส น อ ป ร ะ ก อ บ ใ น เ นื้ อ ห า จึ ง ไ ม่ จำ เ ป็ น ต้ อ ง ใ ช้ ภ า พ ที่ มี ค ว า ม ชั ด สู ง ม า ก ค ว ร ใ ช้ ภ า พ ใ น รุ ป แ บ บ J P E G ที่ มี ค ว า ม ค ม ชั ด ป า น ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ใ ห ญ่ ม า ก นั ก ป ร ะ ม า ณ 2 0 - 5 0 K B จึ ง ค ว ร ทำ ก า ร บี บ อั ด ห รื อ C O M P R E S S แ ล ะ ล ด ข น า ด ก่ อ น เ พื่ อ ไ ม่ ใ ห้ เ ป ลื อ ง เ นื้ อ ที่ ใ น ก า ร เ ก็ บ บั น ทึ ก 1 0 . ) เ ลื อ ก ต้ น แ บ บ ส ไ ล ด์ แ ล ะ แ บ บ อั ก ษ ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ อุ ป ก ร ณ์ ร่ ว ม : เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร นำ เ ส น อ ต้ อ ง ม มี ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ข้ า กั บ อุ ป ก ร ณ์ ร่ ว ม

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ 2 ก า ร ใ ช้ ง า น โ ป ร แ ก ร ม นำ เ ส น อ ด้ ว ย สื่ อ ดิ จิ ทั ล หลักการนำเสนอข้อมูลและสร้างสื่อนำเสนอ การนำเสนองานหรือผลงานนั้นสื่อนำเสนอเปรียบเสมือนสะพานเชื่อม เนื้อหา ของผู้บรรยายไปยังผู้ฟังและผู้ชม ดังนั้นสื่อจึงมีบทบาทสำคัญ อย่างมาก สื่อที่ดี จะช่วยให้การถ่ายทอดเนื้อหาสาระทำได้อย่างรวดเร็วยิ่ง ขึ้น ผู้ฟังและผู้ชมจะสามารถ จดจำเนื้อหาสาระได้นานและเข้าใจใน เนื้อหาได้ดีมากขึ้น ความหมายการนำเสนอ การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็น หรือความต้องการไปสู่ผู้ ชม ผู้ฟังโดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ อันจะทำให้บรรลุ จุดมุ่งหมายในการนำเสนอ 1. เพื่อให้ผู้ชม ผู้ฟังรับเข้าใจสาระสำคัญของการนำเสนอข้อมูล 2. ให้ผู้ชมผู้ฟังเกิดความประทับใจและนำไปสู่ความเชื่อถือในข้อมูลที่นำเสนอ หลักการพื้นฐานของการนำเสนอผลงาน มีจุดเน้นสำคัญดังนี้ 1) การดึงดูดความสนใจ โดยการออกแบบให้สิ่งที่ปรากฏต่อสายตานั้นชวนมอง และมีความสบาย ตาสบายใจขึ้น เมื่อชมการนำเสนอ ดังนั้นการเลือกองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น สีพื้น แบบ สี และขนาดของตัวอักษร รูปประกอบ ต้องเหมาะสม สวยงาม 2) ความชัดเจนและความกระชับของเนื้อหา ส่วนที่เป็นข้อความต้องสั้นแต่ได้ใจความชัดเจนส่วนที่เป็นภาพประกอบ ต้องมีส่วนสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับข้อความที่ต้องการสื่อความหมาย การใช้ภาพประกอบ มีประโยชน์มาก ดังคำพังเพยภาษาอังกฤษที่ว่า \"A picture is worth a thousand words\" หรือ \"ภาพภาพหนึ่งนั้นมีค่าเทียบ เท่ากับคำพูดหนึ่งพันคำ\" แต่ประโยคนี้คงไม่เป็นจริงหากภาพนั้นไม่มีความ สัมพันธ์ อย่างสร้างสรรค์กับความหมายที่ต้องการสื่อ

3) ความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย การสร้างจุดเน้นตามข้อ 1 และ 2 ข้างต้นต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมาย ด้วย เช่น กลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก การใช้สีสด ๆ และภาพการ์ตูนมีความ เหมาะสม แต่ถ้ากลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใหญ่และเนื้อหาที่นำเสนอเป็น เรื่องวิชาการหรือธุรกิจ การใช้สีสันมากเกินไปและการใช้รูปการ์ตูน อาจทำให้ดูไม่น่าเชื่อถือเพราะขาดภาพลักษณ์ของการเอาจริงเอาจังไป พรพิมล อรัญเวศ ได้เสนอหลักการเลือกซอฟต์แวร์ และหลักการนำเสนอ ผลงานโดยใช้ซอฟต์แวร์ไว้ ดังนี้ 1) ทำความเข้าใจกับงานที่เราต้องการนำเสนอ ก่อนการเลือกระบบสารสนเทศมาใช้ในการนำเสนองานนั้น เราต้องเข้าใจ ถึงลักษณะงานที่เราต้องการนำเสนอก่อนว่า เป็นงานในลักษณะใด เช่น เป็นข้อความ หรือมีการคำนวณหรือเป็นงานที่เกี่ยวกับการค้น การเก็บ รักษาข้อมูล 2) เลือกโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ เมื่อทราบลักษณะของงานที่ต้องการนำเสนอแล้ว เราจะเลือกระบบ สารสนเทศที่เหมาะสมกับการนำเสนองานนั้น งานบางอย่างเราอาจใช้ ระบบสารสนเทศในการนำเสนอได้หลายอย่าง เราอาจต้องเลือกว่าจะใช้ ระบบใด ผู้ใช้ต้องมีความเข้าใจในความสามารถของระบบนั้น โดยเฉพาะ ในส่วนของซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมว่าแต่ละโปรแกรมมีความสามารถใด บ้าง 3) จัดหาเครื่องมือตามความต้องการของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมแต่ละโปรแกรมมีความสามารถไม่เหมือนกัน ขนาดของโปรแกรมก็ไม่เท่ากัน ทำให้ความต้องการของฮาร์ดแวร์ในการ ทำงานตามโปรแกรมนั้นแตกต่างกัน ในคู่มือการใช้งานโปรแกรมหรือ ซอฟต์แวร์นั้นจะบอกข้อกำหนดของฮาร์ดแวร์ที่ต้องการสำหรับการใช้งาน ไว้ว่าจะต้องมีส่วนประกอบอะไรบ้าง เราจะต้องจัดหาฮาร์ดแวร์ให้ได้ตาม ข้อกำหนดนั้นเพื่อให้สามารถใช้งานซอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4 ) การใช้งานโปรแกรม ในการใช้งานนั้น นอกาจากผู้ใช้จะต้องทำความเข้าใจการทำงานของ ฮาร์ดแวร์ว่าใช้งานอย่างไรแล้ว รายละเอียดการใช้งานซอฟต์แวร์ ก็ เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ใช้จะต้องทำความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนการใช้งาน ส่วน ใหญ่จะศึกษาจากคู่มือของโปรแกรมสำเร็จรูปนั้นเพื่อความเข้าใจใน ความสามารถก่อน ปกติแล้วคู่มือการใช้งานมาจากเจ้าของผู้ผลิต ซอฟต์แวร์ ซึ่งมักจะอธิบายถึงความสามารถตามฟังก์ชั่นที่มีอยู่ รูปแบบการนำเสนอข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ ปัจจุบันที่นิยมใช้กันมี 2 รูปแบบ คือ 1. การนำเสนอแบบ Web page เป็นรูปแบบการนำเสนอที่ใช้บนอินเทอร์เน็ต การนำเสนอแบบนี้สามารถ สร้างการเชื่อมโยงที่สลับซับซ้อนระหว่างส่วนต่าง ๆ ตลอดจน สามารถ สร้างการเชื่อมโยงเอกสารที่ต่างรูปแบบกันได้แต่ต้องใช้เวลาในการจัดทำ มากกว่า 2. การนำเสนอแบบ Slide Presentation เป็นการนำเสนอโดยใช้โปรแกรมนำเสนอ ซึ่งเป็นโปรแกรม ที่ใช้ง่ายมากมี รูปแบบการนำเสนอให้เลือกใช้หลายแบบ สามารถเรียกใช้ตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพประกอบ และตกแต่งด้วยสีสัน ทั้งสีพื้น สีของตัวอักษร รูปแบบ ฟอนต์ ของตัวอักษรได้ง่ายและสะดวก ในปัจจุบันสื่อนำเสนอรูปแบบ Slide Presentationหรือ สไลด์ดิจิทัล มักจะสร้างด้วยโปรแกรมในกลุ่ม Presentation เช่น Microsoft PowerPoint, OfficeTLE Impress เทคนิค การออกแบบสื่อนำเสนอ สื่อนำเสนอที่ดี

โดยมีแนวทาง 3 ประการในการออกแบบ ได้แก่ 1) สื่อความหมายได้รวดเร็ว สื่อนำเสนอที่ดีต้องสามารถสื่อความหมาย ให้ผู้ฟังผู้ชมได้อย่างรวดเร็วการออกแบบสื่อนำเสนอในประเด็นนี้ผู้ ออกแบบจะต้องทราบกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาสาระที่ต้องการนำเสนอ สถานที่ และเวลาที่ต้องการนำเสนอเพื่อประกอบการออกแบบสื่อ เช่น กลุ่มเป้าหมายขนาดเล็กสื่อควรมีให้ความสำคัญกับผู้ฟังมากกว่าเนื้อหา สามารถนำเทคนิค หรือ Effect ต่าง ๆ ของโปรแกรมสร้างสื่อมาใช้ได้ อย่างเต็มที่ กลุ่มเป้าหมายที่มีลักษณะโต้ตอบ เช่นการนำเสนอทาง วิชาการ การบรรยาย หรือฝึกอบรม สื่อนำเสนอควรให้ ความสำคัญกับ เนื้อหารวมทั้งยังสามารถนำเทคนิค หรือ Effect ต่าง ๆ ของโปรแกรม สร้างสื่อ 2) เนื้อหาเป็นลำดับ สื่อนำเสนอที่ดีควรมีการจัดลำดับเนื้อหาเป็นลำดับ มี ระเบียบ ดูง่าย ไม่สับสนสิ่งที่ จะช่วยให้การออกแบบสื่อนำเสนอที่ต้องการจัด ลำดับเนื้อหาให้เป็นระเบียบ และดูง่าย คือ 2.1) รูปแบบเนื้อหา สื่อนำเสนอแต่ละสไลด์ ควรหลีกเลี่ยงการนำเสนอแบบ ย่อหน้า หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ควรใช้ เทคนิคการเน้นแนวคิดหลัก( Main Idea) ในแต่ละย่อหน้าด้วยสีที่โดดเด่น เช่น พื้นหลังสีขาว ตัวอักษรสีดำ

2.2) แบบอักษร การควบคุมการแสดงข้อความในแต่ละสไลด์ ควร ให้ความสำคัญ กับขนาดตัวอักษร ดังนี้ - หัวข้อใหญ่กำหนดขนาดตัวอักษรใหญ่กว่าหัวข้อย่อย - เลือกใช้แบบอักษรที่เหมาะสม - เปลี่ยนลักษณะของตัวอักษรนั้น ใช้ตัวหนาในข้อความที่ต้องการเน้น - ใช้ช่องว่างในการจัดกลุ่มของเนื้อหา - ข้อความที่ต้องการให้อ่านก่อน ควรจัดไว้ที่ตำแหน่งมุมซ้ายบนของหน้า - พิมพ์ตัวอักษรลงกรอบที่วางแบบไว้แล้ว - ขึ้นหัวข้อก่อนแล้วจึงอธิบายอย่างละเอียด - ใช้สีที่แตกต่างกัน หรือตัวอักษรสีสลับกัน 3) สื่อนำเสนอต้องสะดุดตาและน่าสนใจ สื่อนำเสนอที่ดีนั้นจะต้องมีจุดเด่น น่าสนใจ สามารถดึงดูดสายตาของผู้ดู ผู้ฟังได้ ซึ่งจุดเด่นนี้ได้มาจากขนาดของ ตัวอักษรที่ใหญ่ หรือจากการใช้สีที่แตกต่างออกไป รวมถึง การเลือกใช้ภาพ การใช้สี และการใช้ Effect ควบคุมการนำเสนอ 3.1) การใช้ภาพ เนื่องจากภาพจะช่วยให้ผู้ชม ผู้ฟัง สามารถจดจำได้นานกว่า ตัวอักษร ดังนั้น การแปลงเนื้อหาให้เป็นรูปภาพหรือผังภาพก็เป็นเทคนิค หนึ่งที่สามารถสร้างความน่าสนใจ ให้กับสื่อที่นำเสนอการเลือกใช้ภาพก็ควร เลือกใช้ภาพที่มีลักษณะที่เหมาะสมกันและกัน คือถ้าในสไลด์นั้นเลือกใช้ ภาพถ่ายก็ควรใช้ภาพถ่ายกับภาพทุกภาพในสไลด์ แต่ถ้าเลือกใช้ภาพวาด ก็ ควรเลือก ภาพวาดทั้งสไลด์เช่นกันดังนั้นจึงไม่ควรใช้ภาพวาดผสมกับ ภาพถ่าย

3.2) การใช้สี การเลือกใช้สี ควรเลือกใช้สีที่ตัดกันระหว่างสีตัวอักษร สี วัตถุ และสีพื้น เช่น เลือกใช้พื้นสไลด์เป็นสีขาวหรือสีอ่อน ๆ สีตัวอักษร ก็ควรจะเป็นสีดำ สีน้ำเงินเข็มหรือสีแดงเลือดหมู กรณีเลือกใช้พื้น สไลด์เป็นสีเข็ม ควรเลือกใช้สีตัวอักษรที่มองเห็นได้ชัด 3.3) การใช้ Effect ควบคุมการนำเสนอ ไม่ควรใส่ Effect มากเกินไป เพราะ จะส่งผลให้ผู้ชม ผู้ฟัง สนใจ Effect มากกว่าเนื้อหาที่นำเสนอ หรืออาจไม่ สนใจการนำเสนอเลยก็ได้ และ Effect ที่มากนี้จะเป็น การรบกวนการจดจำ การอ่าน หรือการชมอย่างรุนแรง เลือกใช้ Effect ไม่ควรเกิน 3 แบบ

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ 3 ก า ร ใ ส่ เ ท ค นิ ค ใ ห้ กั บ ภ า พ ด้ ว ย สี่ อ ดิ จิ ทั ล เมื่อคุณต้องนำเสนองานที่สำคัญ PowerPoint เป็นหนึ่งในเพื่อนที่คู่ใจกับ หลายๆคนมากที่สุดในการแสดงออก สามารถดึงดูดและเรียกความสนใจ ต่อสายตาของผู้ฟังเป็นอย่างดี ในการใส่การเคลื่อนไหว (Animations) ในสไลด์เป็นเพียงวิธีการง่ายๆ ซึ่งใน การบทเรียนนี้คุณจะได้เรียนการใส่ลูกเล่นการเคลื่อนไหวลงใน Microsoft PowerPoint Note:ในบทเรียนวันนี้เราได้ใช้บทความยอดนิยมอย่างSimplicity PowerPoint Template และคุณสามารถเรียนรู้ข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก great PowerPoint templates ใน GraphicRiver. วิธีการใส่ Animations ใน PowerPoint (คลิปวิดีโอ) ในคลิปสั้นตัวนี้เราจะสาธิการใส่ animations ในการนำเสนอ PowerPoint แบบพื้นฐาน และเรียงลำดับไอเทมให้ปรากฎขึ้นตามที่ต้องการ

รหัสสินค้า : 1526


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook