Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาเซียน

อาเซียน

Published by Milkyoyo2667, 2020-02-25 05:47:52

Description: งานนำเสนอ1

Search

Read the Text Version

คำนำ E-book ฉบบั นี้เปน็ ส่วนหน่ึงของวิชำคอมพวิ เตอร์ ชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี3/1 โดยมจี ดุ ประสงค์ เพ่อื กำรศกึ ษำควำมรู้ที่ได้จำกเรอื่ งประชำคมอำเซยี น ท้งั นี้ ในรำยงำนนมี้ เี นอ้ื หำประกอบด้วยควำมรเู้ กยี่ วกบั กำรกอ่ ตัง้ อำเซยี น จุดประสงค์ กฎบัตรอำเซยี น ผลกำรสมั มนำ อนำคตของ AEC แนว ทำงกำรแกป้ ญั หำ กำรรวมตัวของอำเซยี น นกั ธรุ กิจทม่ี ีควำมสำมำรถ กำร สร้ำงนกั ธรุ กจิ อำเซียน เป้ำหมำย แผนงำนสำคญั ตลอดจนกำ

ควำมเปน็ มำของอำเซียน สมำคมประชำชำติแห่งเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) กอ่ ตงั้ ข้นึ โดยปฏญิ ญำ กรุงเทพ (Bangkok Declaration) หรือ ปฏญิ ญำอำเซยี น (ASEAN Declaration) เมอื่ วนั ที่ 8 สงิ หำคม 2510 โดยมปี ระเทศสมำชกิ 5 ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มำเลเซยี ฟิลิปปนิ ส์ สงิ คโปร์ และ ไทย เพอ่ื สง่ เสรมิ ควำมร่วมมือทำงด้ำนกำรเมอื ง เศรษฐกจิ และสังคม ของ ประเทศในภูมิภำคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ตอ่ มำมีประเทศสมำชิก เพิม่ เติม ได้แก่ บรูไนดำรุส-ซำลำม เวียดนำม ลำว เมยี นมำร์ และ กัมพชู ำ ตำมลำดบั จึงทำให้ปัจจุบนั อำเซยี น มีสมำชกิ 10 ประเทศ ปัจจบุ นั บริบททำงกำรเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม รวมทง้ั ควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งประเทศไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปอย่ำงมำก ทำให้ อำเซยี นต้องเผชิญ สงิ่ ทำ้ ทำยใหมๆ่ อำทิ โรคระบำด กำรกอ่ กำรรำ้ ย ยำเสพตดิ กำรค้ำมนุษย์ สง่ิ แวดล้อม ภยั พิบตั ิ อกี ท้ัง ยังมคี วำม จำเปน็ ตอ้ งรวมตัวกันเพ่อื เพ่มิ อำนำจตอ่ รองและขีดควำมสำมำรถทำงกำร แขง่ ขันกับประเทศในภูมภิ ำคใกล้เคียง และในเวทรี ะหว่ำงประเทศ)

- ประชำคมกำรเมอื งและควำมมนั่ คงอำเซียน (ASEAN Political and Security Community - APSC) มุ่งใหป้ ระเทศกลมุ่ สมำชกิ อยู่ รว่ มกันอยำ่ งสนั ติสุข แกไ้ ขปัญหำระหว่ำงกนั โดยสนั ติวธิ ี มเี สถยี รภำพและ ควำมมัน่ คงรอบด้ำน เพ่อื ควำมม่นั คงปลอดภยั ของเหลำ่ ประชำชน - ประชำคมเศรษฐกิจอำเซยี น (ASEAN Economic Community - AEC) มงุ่ เนน้ ให้เกดิ กำรรวมตัวกันทำงเศรษฐกจิ และ ควำมสะดวกในกำรติดต่อค้ำขำยระหว่ำงกัน เพ่อื ให้ประเทศสมำชิก สำมำรถแข่งขนั กับภมู ิภำคอ่นื ๆได้โดย - ประชำคมสังคมและวัฒนธรรมอำเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC) มุ่งหวังให้ประชำกรอำเซยี นมีสภำพ ควำมเป็นอยูท่ ดี่ ี มีควำมม่นั คงทำงสงั คม มกี ำรพัฒนำในทุกๆ ด้ำน และมี สังคมแบบเอื้ออำร โดยจะมีแผนงำนสร้ำงควำมร่วมมอื 6 ดำ้ น คอื กำร พัฒนำทรัพยำกรมนษุ ย์ กำรคุ้มครองและสวสั ดกิ ำรสงั คม สิทธิและควำม ยุติธรรมทำงสงั คม ควำมยง่ั ยนื ดำ้ นสงิ่ แวดล้อม กำรสร้ำงอตั ลกั ษณ์ อำเซยี น กำรลดชอ่ งว่ำงทำงกำรพัฒนำ ซง่ึ ตอ่ มำผนู้ ำอำเซยี นไดต้ กลงใหม้ กี ำรจัดตั้งประชำคมอำเซยี น ให้แล้วเสร็จเรว็ ขึ้นมำเป็นภำยในปี 2558

จดุ ประสงค์หลักของอำเซยี น 1. ส่งเสริมควำมรว่ มมอื และควำมช่วยเหลอื ซ่ึงกนั และกันในทำง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วทิ ยำศำสตร์ และกำรบรหิ ำร 2. ส่งเสรมิ สันตภิ ำพและควำมมนั่ คงสว่ นภมู ิภำค 3. เสรมิ สร้ำงควำมเจรญิ รงุ่ เรืองทำงเศรษฐกิจพฒั นำกำรทำง วัฒนธรรมในภมู ิภำค 4. ส่งเสริมให้ประชำชนในอำเซยี นมคี วำมเปน็ อยแู่ ละคุณภำพ ชวี ติ ทดี่ ี 5. ใหค้ วำมชว่ ยเหลือซงึ่ กนั และกัน ในรูปของกำรฝึกอบรมและ กำรวจิ ยั และส่งเสรมิ กำรศึกษำด้ำนเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ 6. เพิม่ ประสทิ ธิภำพของกำรเกษตรและอตุ สำหกรรม กำรขยำย กำรคำ้ ตลอดจนกำรปรบั ปรุงกำรขนสง่ และกำรคมนำคม 7. เสริมสร้ำงควำมร่วมมืออำเซียนกบั ประเทศภำยนอก องคก์ ำร ควำมรว่ มมือแหง่ ภูมภิ ำคอ่ืนๆ และองค์กำรระหวำ่ งประเทศ

สญั ลักษณ์อำเซียน คือ ดวงตรำอำเซียนเป็น รปู มดั รวงข้ำว สเี หลอื งบนพนื้ วงกลม สแี ดงลอ้ มรอบดว้ ยวงกลมสขี ำว และสนี ำ้ เงนิ รวงข้ำวสเี หลือง 10 ต้น หมำยถึง ควำมใฝฝ่ ันของบรรดำสมำชิก ในเอเซียตะวันออกเฉยี งใต้ท้งั 10 ประเทศ ให้มีอำเซียนทผี่ ูกพันกนั อยำ่ ง มมี ติ รภำพและเปน็ หนง่ึ เดียว วงกลม เปน็ สัญลกั ษณ์แสดงถึงเอกภำพของอำเซียน ตัวอักษรคำว่ำ asean สนี ้ำเงิน อยใู่ ตภ้ ำพรวงขำ้ ว แสดงถึง ควำมมุ่งมนั่ ทจ่ี ะทำงำนร่วมกนั เพื่อควำมม่นั คง สันตภิ พ เอกภำพ และ ควำมกำ้ วหนำ้ ของประเทศสมำชิกอำเซียน สเี หลอื ง : หมำยถงึ ควำมเจรญิ รุ่งเรอื ง สแี ดง : หมำยถึง ควำมกล้ำหำญและกำรมพี ลวตั ิ สีขำว : หมำยถึง ควำมบริสุทธิ์ สีนำ้ เงนิ : หมำยถึง สันติภำพและควำมมั่นคง

กฎบตั รอำเซยี น 1. เคำรพเอกรำช อธปิ ไตย ควำมเสมอภำค บูรณภำพแห่ง ดนิ แดน และอัตลักษณแ์ หง่ ชำติของรฐั สมำชกิ อำเซยี นทงั้ ปวง 2. ผกู พันและรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ในกำรเพ่ิมพูนสนั ตภิ ำพ ควำม มั่นคง และควำมม่ังคัง่ ของภมู ภิ ำค 3. ไม่รุกรำนหรอื ข่มข่วู ่ำจะใช้กำลงั หรอื กำรกระทำอน่ื ใดใน ลกั ษณะท่ีขดั ต่อกฎหมำยระหวำ่ งประเทศ 4. ระงบั ข้อพิพำทโดยสนั ติ 5. ไมแ่ ทรกแซงกจิ กำรภำยในของรัฐสมำชกิ อำเซยี น 6. เคำรพสิทธขิ องรัฐสมำชกิ ทกุ รัฐในกำรธำรงประชำชำตขิ องตน โดยปรำศจำกกำรแทรกแซง กำรบ่อนทำลำย และกำรบังคบั จำก ภำยนอก 7. ปรกึ ษำหำรือที่เพม่ิ พนู ข้นึ ในเรือ่ งทมี่ ผี ลกระทบอยำ่ งร้ำยแรง ตอ่ ผลประโยชนร์ ่วมกนั ของอำเซยี น

8. ยดึ มั่นต่อหลักนิติธรรม ธรรมำภิบำล หลกั กำรประชำธิปไตย และรฐั บำลตำมรฐั ธรรมนูญ 9. เคำรพเสรีภำพพ้ืนฐำน กำรส่งเสริมและคุม้ ครองสทิ ธิ มนษุ ยชน และกำรสง่ เสริมควำมยุติธรรมทำงสังคม 10. ยึดถอื กฎบตั รสหประชำชำติและกฎหมำยระหว่ำงประเทศ รวมถงึ กฎหมำยมนุษยธรรมระหว่ำงประเทศ ท่ี รฐั สมำชกิ อำเซียน ยอมรับ 11. ละเวน้ จำกกำรมสี ่วนรว่ มในกำรคุกคำมอธิปไตย บรู ณภำพ แห่งดนิ แดนหรือเสถียรภำพทำงกำรเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมำชกิ อำเซียน 12. เคำรพในวฒั นธรรม ภำษำ และศำสนำทีแ่ ตกตำ่ งของ ประชำชนอำเซียน 13. มสี ว่ นร่วมกบั อำเซียนในกำรสรำ้ งควำมสัมพันธ์กับภำยนอก ทงั้ ในด้ำนกำรเมอื ง เศรษฐกิจ และสงั คม โดยไม่ปดิ ก้ันและไมเ่ ลอื ก ปฏบิ ัติ 14. ยดึ ม่ันในกฎกำรคำ้ พหภุ ำคีและระบอบของอำเซยี น

ประเทศท่เี ข้ำรว่ มอำเซียน 1. บรูไน ดำรสุ ซำลำม (Brunei Darussalam) บรูไน เป็นประเทศทตี่ ลำดเปิดแบบเสรี ภำยใต้กำรดแู ลของรฐั รำยไดห้ ลักของประเทศ จะมำจำกน้ำมัน และกำ๊ ซธรรมชำติ และ นับเปน็ ผ้ผู ลติ นำ้ มันรำยใหญ่ อนั ดบั ที่ 4 ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ และ มีสนิ ค้ำนำเข้ำสว่ นใหญ่จำกสิงคโปร์ อังกฤษ สหรฐั อเมริกำ โดยเป็น สินค้ำประเภท เคร่ืองจกั รอตุ สำหกรรม รถยนต์ เครื่องมอื เครอ่ื งใช้ไฟฟำ้ ต่ำงๆ และสินคำ้ เกษตร เมืองหลวง : บนั ดำร์ เสรี เบกำวนั ภำษำ : ภำษำมำเลย์ เปน็ ภำษำรำชกำร รองลงมำเป็นอังกฤษและจีน ประชำกร : ประกอบดว้ ย มำเลย์ 66%, จีน11%,อน่ื ๆ 23% นับถอื ศำสนำ : อิสลำม 67%, พธุ 13%, ครสิ ต์ 10% ระบบกำรปกครอง : ระบอบ สมบูรณำญำสทิ ธริ ำชย์

2. กมั พชู ำ (Cambodia) กัมพชู ำ เปน็ ประเทศทเ่ี กิดสงครำมภำยในมำยำวนำน และมกี ำรยุติ ลงในปี 2534 จงึ คอ่ ยๆ มีกำรพฒั นำประเทศ โดยกัมพชู ำกำหนดนโยบำย มงุ่ กำรพัฒนำทำงกำรเกษตร กำรทอ่ งเท่ียว และมกี ำรสง่ เสริมกำรลงทุน จำกตำ่ งชำติ เมอื งหลวง : กรงุ พนมเปญ ภำษำ : ภำษำเขมร เป็นภำษำ รำชกำร รองลงมำเปน็ องั กฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนำมและจีน ประชำกร : ประกอบด้วย ชำวเขมร 94%, จนี 4%,อนื่ ๆ 2% นบั ถือศำสนำ : พทุ ธ (เถรวำท) เปน็ หลัก ระบบกำรปกครอง : ประชำธปิ ไตยแบบรัฐสภำ โดยมี พระมหำกษตั ยเ์ ป็นประมุขภำยใต้รัฐธรรมนูญ

3. อินโดนเี ซยี (Indonesia) ประเทศอนิ โดนีเซีย เป็นประเทศท่ปี ระกอบไปด้วยภำคกำรผลิต ที่ สำคัญ 4 สว่ น ได้แก่ ภำคบรกิ ำร ภำคหัตถอุตสำหกรรม ภำค เกษตรกรรม และเหมอื งแร่ นอกจำกน้ียงั เป็นประเทศที่มีแหล่ง ทรพั ยำกรรธรรมชำตทิ ม่ี ีคำ่ ทำงเศรษฐกิจสมบูรณ์ เช่น น้ำมนั ก๊ำซ ธรรมชำติ ถ่ำนหนิ ดีบุก ทองแดง แร่เหลก็ เป็นต้น เมืองหลวง : จำกำร์ตำ ภำษำ : ภำษำอินโดนเี ซยี เป็นภำษำรำชกำร ประชำกร : ประกอบด้วย ชนพ้นื เมอื งหลำยกลุม่ มีภำษำมำกกวำ่ 583 ภำษำ ร้อย ละ 61 อำศยั อยูบ่ นเกำะชวำ นับถอื ศำสนำ : อิสลำม 87%, คริสต์ 10% ระบบกำรปกครอง : ประชำธปิ ไตยทม่ี ปี ระธำนำธปิ ดเี ป็นประมุข และหัวหน้ำฝำ่ ยบริหำร

4. ลำว (Laos) ประเทศลำว มีแนวโน้มกำรเติบโตทำงเศรษฐกจิ อยำ่ งต่อเนื่อง โดย มกี ำรเติบโตจำกประเทศคคู่ ำ้ สำคัญอยำ่ ง ลำว จีน ไทย เวยี ดนำม ด้วย ภำคผลิตกำรเกษตร ปำ่ ไม้ เมืองหลวง : นครหลวงเวยี งจันทร์ ภำษำ : ภำษำลำว เป็นภำษำรำชกำร ประชำกร : ประกอบดว้ ย ชำวลำวลมุ่ 68%, ลำวเทงิ 22%, ลำวสูง 9% รวมประมำณ 68 ชนเผำ่ นับถอื ศำสนำ : 75% นบั ถอื พุทธ, นบั ถือผี 16% ระบบกำรปกครอง : สังคม นิยมคอมมวิ นสิ ต์ (ทำงกำรลำวใชค้ ำว่ำ ระบบประชำธิปไตยประชำชน)

5. มำเลเซีย (Malaysia) มำเลเซีย เปน็ อกี ประเทศท่ีพึ่งพำเหมืองแร่ และกำรสง่ ออกสนิ ค้ำ เกษตร เชน่ ปำล์มน้ำมนั ยำงพำรำ ไม้ซุง และดบี กุ และมีรำยไดห้ ลัก มำจำกกำรผลติ สนิ คำ้ และบริกำร โดยเฉพำะยำงพำรำ และปำลม์ น้ำมนั มีกำรพฒั นำมำกขึ้น ทำให้ภำยในประเทศมีกำรจ้ำงงำนเพิ่มข้ึน เมืองหลวง : กรุงกวั ลำลมั เปอร์ ภำษำ : ภำษำมำเลย์ เป็นภำษำ รำชกำร รองลงมำเปน็ อังกฤษและจนี ประชำกร : ประกอบด้วย มำเลย์ 40%, จนี 33%, อนิ เดยี 10%, ชนพื้นเมอื งเกำะบอรเ์ นยี ว 10% นับถือศำสนำ : อิสลำม 60%, พุธ 19%, คริสต์ 11% ระบบกำร ปกครอง : ประชำธปิ ไตยในระบบรัฐสภำ

6. พมำ่ (Myanmar) อำชพี หลกั ของ ประชำชนในประเทศ จะเปน็ กำรเกษตรกร เช่น กำรปลูกข้ำวเจ้ำ อ้อย และพืชเมอื งร้อน กำรทำเหมอื งแร่ กำรทำปำ่ ไม้ อุตสำหกรรม พม่ำเปน็ ประเทศกำลังพฒั นำ และมรี ำยไดเ้ ฉลย่ี ต่อ บุคคลในเกณฑ์ตำ่ เมืองหลวง : เนปีดอ (Naypyidaw) ภำษำ : ภำษำ พมำ่ เป็นภำษำรำชกำร ประชำกร : ประกอบดว้ ยเผ่ำพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชำติหลักๆ 8 กลุม่ คอื พม่ำ 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระเหรีย่ ง 7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อนิ เดยี 2% นบั ถอื ศำสนำ : นับ ถือพุทธ 90%, คริสต์ 5% อิสลำม 3.8% ระบบกำรปกครอง : เผดจ็ กำรทำงทหำร ปกครองโดยรฐั บำลทหำรภำยใต้สภำสันตภิ ำพและ กำรพัฒนำแหง่ รัฐ

7. ฟลิ ปิ ปนิ ส์ (Philippines) ปญั หำควำมยำกจน เปน็ ปัญหำท่มี ีมำยำวนำน และมีกำรกระจำย รำยได้โดยไมเ่ ท่ำเทยี มกัน และยงั ประสบปัญหำรำคำนำ้ มันแพง ฟิ ลิปนิ ส์ มีสินคำ้ นำเขำ้ ได้แก่ กำ๊ ซธรรมชำติ น้ำมัน เหล็ก ช้นิ ส่วน ประกอบรถยนต์ เมืองหลวง : กรุงมะนลิ ำ ภำษำ : ภำษำฟิลิปโิ น และ ภำษำองั กฤษ เปน็ ภำษำรำชกำร รองลงมำเป็น สเปน, จนี ฮกเก้ียน, จนี แต้จ๋ิว ฟลิ ปิ ปนิ ส์ มีภำษำประจำชำติคอื ภำษำตำกำลอ็ ก ประชำกร : ประกอบด้วย มำเลย์ 40%, จีน33%, อนิ เดีย 10%, ชนพ้ืนเมอื ง เกำะบอรเ์ นียว 10% นับถือศำสนำ : คริสตโ์ รมนั คำทอลกิ 83% คริสต์นิกำยโปรเตสแตนต,์ อสิ ลำม 5% ระบบกำรปกครอง : ประชำธปิ ไตยแบบประธำนำธิปดีเป็นประมขุ และหัวหน้ำฝำ่ ยบริหำร

8. สงิ คโปร์ (Singapore) สิงคโปรเ์ ปน็ ประเทศท่ีประสบควำมสำเร็จจำกกำรเปดิ เสรี ทำงกำรคำ้ และมรี ำยได้ประชำชำติตอ่ หวั สงู เทำ่ กับกลมุ่ ประเทศใน ยุโรป เมอื งหลวง : สิงคโปร์ ภำษำ : ภำษำมำเลย์ เป็นภำษำรำชกำร รองลงมำคอื จนี กลำง ส่งเสริมใหพ้ ดู ได้ 2 ภำษำคอื จีนกลำง และให้ ใชอ้ งั กฤษ เพื่อตดิ ตอ่ งำนและชวี ติ ประจำวนั ประชำกร : ประกอบดว้ ยชำวจนี 76.5%, มำเลย์ 13.8%, อนิ เดีย 8.1% นบั ถอื ศำสนำ : พุทธ 42.5%, อสิ ลำม 14.9%, ครสิ ต์ 14.5%, ฮนิ ดู 4%, ไมน่ ับถอื ศำสนำ 25% ระบบกำรปกครอง : สำธำรณรัฐ (ประชำธิปไตยแบบรัฐสภำ มสี ภำเดียว) โดยมปี ระธำนำธิปดีเปน็ ประมุข และนำยกรัฐมนตรีเป็นหวั หน้ำฝ่ำยบริหำร

9. เวียดนำม (Vietnam) สนิ คำ้ ส่งออกท่สี ำคญั ของเวียดนำม จะเป็นประเภทสิง่ ทอ เส้ือผำ้ สำเรจ็ รปู และยังเป็นประเทศที่ดึงดูดนักลงทุนเป็นอย่ำงมำก เพรำะวำ่ มปี ระชำกรจำนวนมำก และค่ำจ้ำงแรงงำนต่ำ อีกทั้งชำวเวยี ดนำม ยัง มอี ปุ นสิ ัยขยนั อีกดว้ ย เมอื งหลวง : กรุงฮำนอย ภำษำ : ภำษำ เวียดนำม เปน็ ภำษำรำชกำร ประชำกร : ประกอบดว้ ยชำวเวยี ด 80%, เขมร 10% นับถือศำสนำ : พทุ ธนกิ ำยมหำยำน 70%, ครสิ ต์ 15% ระบบกำรปกครอง : ระบบสงั คมนิยม โดยพรรคคอมมวิ นสิ ต์เปน็ พรรค กำรเมืองเดียว

10. ประเทศไทย (Thailand) ประเทศไทย มีสินคำ้ ส่งออกได้แก่ คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณ์และ สว่ นประกอบ ส่วนประกอบรถยนต์ แผงวรจรไฟฟำ้ ยำงพำรำ เมด็ พลำสตกิ อญั มณแี ละเครือง่ ประดบั และผลติ ภณั ฑ์เคร่อื งรับวิทยุ โทรทัศน์ รวมไปถึงส่วนประกอบ นอกจำกนย้ี ังนำเข้ำน้ำมันดบิ รถยนต์ เงินแท่งและทองคำ เมอื งหลวง : กรงุ เทพมหำนคร ภำษำ : ภำษำไทย เปน็ ภำษำรำชกำร ประชำกร : ประกอบด้วยชำวไทยเป็นสว่ นใหญ่ นับ ถอื ศำสนำ : พทุ ธนกิ ำยเถรวำท 95%, อสิ ลำม 4% ระบบกำรปกครอง : ระบบประชำธปิ ไตยแบบรัฐสภำ อนั มพี ระมหำกษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook