Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอนดนตรี ป 6 เรื่องที่ 1

สื่อการสอนดนตรี ป 6 เรื่องที่ 1

Published by nong.sins888, 2021-06-01 18:40:41

Description: สื่อการสอนดนตรี ป 6 เรื่องที่ 1

Search

Read the Text Version

วชิ า ดนตรี สื่อการสอน สอน ชั้น ป.6 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรียนรู้เรื่องดนตรี เรอ่ื ง การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบทางดนตรี

หน่วยท่ี 1 เรียนรู้เร่ืองดนตรี เรื่อง : การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบทางดนตรี สาระ : สาระท่ี 2 ดนตรี ตวั ช้ีวดั ศ 2.1 ป.6/1 บรรยายเพลงทฟ่ี งั โดยอาศยั องคป์ ระกอบดนตรแี ละศพั ทส์ งั คตี องค์ประกอบดนตรีไทย ดนตรีไทยมีองคป์ ระกอบ 7 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ จงั หวะ คือ หน่วยท่ีใชว้ ดั ความส้นั ยาวของเสียงดนตรีโดยการเคาะหรือนบั ทาใหด้ นตรีเกิดการเคล่ือนไหว ใน ดนตรีไทยมีจงั หวะที่สาคญั ดงั น้ี จงั หวะสามญั คือ จงั หวะที่เคาะประกอบบทเพลง ประกอบดว้ ยจงั หวะตก-ยก การเคาะตอ้ งเคาะใหพ้ อดีตรงกบั จงั หวะ ทุกเพลงมีการเคาะจงั หวะสามญั เหมือนกนั หมดต่างกนั เพียงความชา้ -เร็ว จงั หวะฉ่ิง ประกอบดว้ ยเสียงฉิ่ง-ฉบั อตั ราของการตีฉ่ิงจะแตกต่างกนั ตามอตั ราจงั หวะของเพลง เพลงไทยทวั่ ไปจะ มีอตั ราจงั หวะ ช้นั เดียว อตั รา 2 ช้นั อตั รา 3 ช้นั

จังหวะหน้าทบั หมายถงึ จงั หวะการตขี องเคร่ืองดนตรีประเภทหนงั ชนิดต่าง ๆ เพอ่ื ประกอบบทเพลง และต้องใช้ จงั หวะหน้าทบั ให้เหมาะกบั บทเพลง จังหวะหน้าทบั มหี ลายรูปแบบ มีช่ือเรียกแตกต่างกนั ออกไป นัก ดนตรีต้องทราบว่าเพลงทบ่ี รรเลงน้ันเป็ นเพลงชนิดใด บรรเลงด้วยวงประเภทใด เพอ่ื ทจ่ี ะต้องเลอื ก จงั หวะหน้าทบั ให้ถูกต้องกบั บทเพลงน้ัน ๆ หน้าทบั ปรบไก่ เป็ นช่ือของหน้าทบั ประเภทหนึ่ง ซ่ึงมสี ่วนสัดค่อนข้างยาว ใช้สาหรับตปี ระกอบเพลงทมี่ ที านองดาเนิน ประโยควรรคตอนเป็ นระเบียบหน้าทบั ประเภททเ่ี รียกว่าปรบไก่นี้ ปราชญ์ทางด้านดนตรีโบราณได้คดิ อตั รา ๒ ช้ัน ขนึ้ มาก่อน โดยแปลงจากเสียงร้องลูกคู่ในการร้องเพลง ปรบไก่ (เพลงพนื้ เมอื งโบราณเพลง หนึ่ง) มาเป็ นวธิ ีตะโพนคารับและทานองร้องของลูกคู่ เพลงปรบไก่น้ันร้องว่า \"ฉ่า ฉ่า ฉ่า ช้า-ชะ ฉ่า ไฮ้\" และปลย่ี นออกมาเป็ นเสียงตะโพนดงั นี้ \"พรึง ป๊ ะ ตุ๊บ พรึง พรึง ตุ๊บ พรึง\" หน้าทบั นีจ้ ึงเรียกว่า \"ปรบไก่\" แต่เมอื่ ขยายขนึ้ เป็ นอตั รา ๓ ช้ัน หรือตัดลงเหลอื ช้ันเดียว กค็ งเรียกกว่าหน้าทบั ปรบไก่ เช่นเดิม หน้าทบั สองไม้ หน้าทบั สองไม้ เป็ นหน้าทบั ทม่ี จี งั หวะค่อนข้างส้ันเพอื่ ใช้กบั ทานองเพลงทมี่ ีประโยคส้ันๆ เพลงทมี่ ี ทานองหรือทางร้องพลิกแพลง มคี วามยาวไม่แน่นอน เช่น \"ด้นสองไม้\" - ละครนอก เพลงฉ่อย แอ่ว และลเิ ก เป็ นต้น เมอื่ เป็ นเพลงสามช้ัน หน้าทบั สองไม้กข็ ยายขนึ้ ถ้าเป็ นเพลงช้ันเดยี วหน้าทบั กล็ ดลง แต่ ยงั คงเรียกหน้าทบั สองไม้อยู่เช่นเดิม หน้าทบั สองไม้เป็ นพนื้ ฐานของหน้าทบั อนื่ ๆ เช่น หน้าทบั ลาว หน้า ทบั เจ้าเซ็น เป็ นต้น จงั หวะหน้าทบั พเิ ศษ คอื หน้าทบั ทปี่ ระกอบเพลงทไ่ี ม่สามารถใช้หน้าทบั ปรบไก่ หรือสองไม้ได้ เพราะบางเพลงมจี งั หวะตดิ บางทกี ผ็ สมจังหวะ เช่น เพลงชมตลาด หรือเพลงทม่ี จี งั หวะไม่สมา่ เสมอ เช่นเพลงรัว ต่างๆ หรือเพลงท่ี มปี ระโยคส้ันบ้าง ยาวบ้าง เช่นเพลงฉ่ิงบางเพลง เพลงบางประเภทสามารถตหี น้าทบั ปรบไก่ และหน้า ทบั สองไม้ได้ แต่ไม่นิยม เช่นเพลงภาษา ซึ่งนอกจากจะแต่งทานองและเนือ้ ร้องเลยี นแบบของชาตติ ่าง ๆ แล้ว ยงั ต้องใช้หน้าทบั กากบั จงั หวะให้ฟังเป็ นเพลงของชาตนิ ้ันจริง ๆ เช่น เพลงแขกกใ็ ช้หน้าทบั แขก เพลงมอญก้ใช้หน้าทบั มอญ เป็ นต้น

เสียง เป็ นระบบเสียงของดนตรีไทยไม่มรี ะยะห่างครึ่งเสียงเหมอื นอย่างดนตรีตะวนั ตก ภายในระยะคู่ 8 (Octave) แบ่งเป็ น 7 เสียงเหมอื นกบั บนั ไดเสียงส่วนใหญ่ทม่ี ใี ช้อยู่ในโลกนี้ ระยะห่างจากเสียงหนึ่งไปยงั อกี เสียงหน่ึงจะแบ่งให้มรี ะยะห่างเท่ากนั โดยตลอด เรียกว่าห่างกนั ในระยะ 1 เสียง การทรี่ ะบบเสียงของไทย ไม่มรี ะยะห่างกนั ครึ่งเสียงจงึ มผี ลให้ระดับเสียงของตวั โน้ตในระบบเสียงของไทยกบั ระดบั เสียงของตวั โน้ตในระบบเสียงของดนตรีตะวนั ตกไม่เท่ากนั ทานอง หมายถงึ ระดบั เสียงดนตรีสูง ๆ ตา่ ๆ ทม่ี คี วามส้ันยาวแตกต่างกนออกไปนามาเรียบเรียงให้ติดต่อกนั ตาม ความประสงค์ของผู้เขยี นทานองน้ัน ทานองเพลงในดนตรีไทยแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคอื ทานองเพลงทางร้อง ทานองเพลงทางร้องจะต้องมเี นือ้ เพลงประกอบเข้ากบั ทานองเพลง จะต้องมกี ารปรับปรุงแต่งให้คาน้ัน ๆ กลมกลนื เข้ากบั ทานองเพลง ผนั แปรไปตามทานองเพลงโดยต้องใช้เทคนิคในการร้องหลายประการ เพอ่ื ทจี่ ะทาให้ทานองเพลงทางร้องเกดิ ความไพเราะได้ ทานองเพลงทางบรรเลงหรือทานองเพลงทางรับ ทานองเพลงทางบรรเลงเกดิ ขนึ้ จากการแปรทานองจากฆ้องวงใหญ่ ดนตรีไทยจะกาหนดให้ทานองทเ่ี กดิ จากฆ้องวงใหญ่เป็ นทานองหลกั (Basic Melody) ของบทเพลง นักดนตรีทเี่ ล่นประจาแต่เคร่ืองมอื จะต้องจา ทานองหลกั ให้ได้แล้วคดิ แปรทานองจากทานองหลกั น้ันให้เป็ นทานองเตม็ ให้เหมาะสมกบั แนวทางการ บรรเลงของเคร่ืองดนตรีแต่ละชนิด นักดนตรีมอี สิ ระในการแปรทานองมาก ส่ิงทนี่ ักดนตรีทกุ คนจะต้องยดึ ไว้เป็ นหลกั ในการแปรทานองคอื เสียงสุดท้ายของวรรคเพลงให้ได้ตาม วถิ ีทางของตนเอง นักดนตรีจะเรียกเสียงสุดท้ายว่าของวรรคเพลงนีว้ ่าลูกตก เพลงในอตั ราจงั หวะท่ี ต่างกนั จะมีจุดทถี่ อื ว่าเป็ นลกู ตกต่างกนั ทานองเพลงท้งั ทางร้องและทางรับย่อมมอี งค์ประกอบทส่ี าคญั ดังนี้ ระดับเสียง พสิ ัยของทานอง ความยาวของทานอง รูปแบบของทานองเพลง จงั หวะของทานอง หลกั เสียงของทานอง

การประสานเสียง การประสานเสียง เกดิ จากการร้องหรือการบรรเลงดนตรีคนละแนวเสียงให้ดงั ไปพร้อม ๆ กนั การประสานเสียงในดนตรีไทยเกดิ ขนึ้ ได้ท้งั การขบั ร้องและการบรรเลงดนตรี ในการขบั ร้องประกอบดนตรีทจี่ ะทาให้เกดิ การประสานเสียงขนึ้ เสียงร้องและเสียงดนตรีจะต้อง ดงั ไปพร้อม ๆ กนั การขบั ร้องทจ่ี ะทาให้เกดิ การประสานเสียงมอี ยู่ 2 แบบ คอื เสียงประสานจากการร้อง ร้องคลอ คอื การร้องไปพร้อม ๆ กบั การบรรเลง เคร่ืองดนตรีทเี่ ลยี นแบบเสียงร้องในแนวทานอง เดยี วกนั ร้องเคล้า คอื การร้องไปพร้อม ๆ กบั การบรรเลงเคร่ืองดนตรีทเี่ ลยี นแบบเสียงร้อง ต่างฝ่ ายต่างกด็ าเนิน แนวทานองให้อยู่ภายในหลกั เสียงเดยี วกนั เสียงประสานจากการบรรเลง การประสานเสียงในเคร่ืองดนตรีชนิดเดยี วกนั เคร่ืองดนตรีบางชนิด เช่น จะเข้ ขมิ ฆ้อง ระนาด สามารถทาให้เกดิ เสียงดงั ขนึ้ 2 เสียงพร้อม ๆ กนั ได้ เสียงหน่ึงถือว่าเป็ นเสียงของทานองหลกั อกี เสียง หน่ึง คอื เสียงประสาน แนวทานองหลกั ข้นั คู่เสียงทนี่ ามาใช้มตี ้งั แต่ คู่ 2 ถึง คู่ 7 การประสานเสียงระหว่างเคร่ืองดนตรี การบรรเลงดนตรีไทยทมี่ เี ครื่องดนตรีต่างชนิดกนั มกั จะไม่ นิยมทจ่ี ะบรรเลงไปในทางเดยี วกนั นักดนตรีจะต้องจาทานองหลกั ของเพลงให้ได้แล้วจงึ คดิ ประดษิ ฐ์ แนวทานองใหม่ให้เหมาะสมกบั เครื่องดนตรีน้ัน ๆ โดยให้ยดึ เสียงท้ายวรรคหรือลูกตกเป็ นเสียงบังคบั ดงั น้ันในการบรรเลงเป็ นวงดนตรีเสียงทต่ี ่างกนั จะดงั ขนึ้ พร้อมกนั ในจงั หวะเดยี วกนั การประสานเสียง ในระหว่างเครื่องดนตรีจงึ เกดิ ขนึ้ เราจะได้เสียงประสานทเี่ ป็ นข้นั คู่เสียงต้งั แต่ คู่2 คู่3 คู่4 คู่5 คู่6 คู่7 คู่8 และจะได้เสียงประสานของกระแสเสียงทเ่ี กดิ ขนึ้ จากเคร่ืองดนตรีต่างชนิดกนั ด้วย

รูปพรรณหรือพนื้ ผวิ คอื แนวเสียงต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในบทเพลงน้ัน แนวเสียงทถ่ี อื ว่าเป็ นพนื้ ผวิ ของดนตรี เสียงทเี่ กดิ ขนึ้ ในแนวต้งั เช่น คู่เสียงต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการปฏบิ ตั โิ ดยการทาให้เสียง 2 เสียงดงั ขนึ้ พร้อมกนั ของดนตรีไทย เสียงทเี่ กดิ ขนึ้ ในแนวนอน ส่วนมากจะเป็ นแนวทานองต่าง ๆ ในบทเพลง อาจจะเป็ นแนวทานองหลกั แนวทานองทปี ระสานเสียงกบั ทานองหลกั หรือแนวทานองอสิ ระต่าง ๆ ทเ่ี คลอ่ื นทไ่ี ปเหมอื นกบั แนว ทานองหลกั รูปแบบหรือคตี ลกั ษณ์ หมายถึง รูปแบบโครงสร้างของทานองเพลง เพลงไทยจะแบ่งออกเป็ นท่อนใน แต่ละท่อนจะ แบ่งเป็ นส่วนประกอบย่อย ๆ ลงไปอกี เช่น เป็ นประโยคเพลง เป็ นวรรคเพลง ซึ่งรูปแบบท้งั หมดที่ เกดิ ขนึ้ ในบทเพลงน้ันจะมคี วามกลมกลนื กนั เพลง ๆ หน่ึง อาจมที ่อนเดียวหรือหลายท่อนกไ็ ด้ ในแต่ละ ท่อนของบทเพลงไทยจะให้ความรู้สึกทจี่ บสมบูรณ์ในตวั เอง ความยาวของแต่ละท่อนน้ันขนึ้ อยู่กบั ผู้ประพนั ธ์ทานองเพลงน้ัน ๆ ตามปกติจะต้องแต่งให้ทานองลงตัวเข้ากบั ลลี าของจังหวะหน้าทบั ทจี่ ะใช้ ประกอบบทเพลงน้ัน สีสันของเสียง หมายถึง ความหลากหลายของเสียงทเ่ี กดิ จากเคร่ืองดนตรีต่างชนิดกนั บรรเลงในบทเพลง เดยี วกนั คุณสมบัตขิ องเสียงทไี่ ด้ยนิ แต่ละเสียง ให้ความรู้สึกกบั ผู้ฟังทแ่ี ตกต่างกนั วงดนตรีแต่ละ ประเภท จะมสี ีสันของเสียงทแี่ ตกต่างกนั ด้วย

ใบงานท่ี 1 องค์ประกอบทางดนตรี คาชี้แจง ให้นักเรียนเลอื กฟังเพลงไทย 1 เพลง แล้ววเิ คราะห์เกย่ี วกบั องค์ประกอบเพลงตามประเด็น ทกี่ าหนด 1) ช่อื เพลงทฟ่ี งั (เขยี นเน้อื เพลง) 2) องคป์ ระกอบของเพลง มดี งั น้ี ทานอง คีตลกั ษณ์ เสียง จงั หวะ 3) นกั เรยี นคดิ ว่า เพลงทฟ่ี งั มคี วามไพเราะหรอื ไม่  ไพเราะ  ไมไ่ พเราะ เพราะ *หมายเหตใุ ห้นักเรียนทาลงในสมดุ นะครบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook