Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มนวัตกรรม

รวมเล่มนวัตกรรม

Published by 1nutthawut, 2021-07-21 02:55:57

Description: รวมเล่มนวัตกรรม

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนินการจดั การเรยี นรู นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู ดว ยกระบวนการเรียนรู 5 ขั้นตอน (5 steps) บรู ณาการคา นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ กลมุ สาระการงานอาชีพ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2562 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 งานเกษตร นายณัฐวรรธน เลศิ ภกั ดวี ฒั นกลุ ตำแหนง ครู รบั เงินเดอื นอันดับ คศ.1 โรงเรยี นหวั หมาก สำนกั งานเขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร

ตอนท่ี 1 โครงสรา งการจดั การเรียนรู

แผนการจัดการเรยี นรู กลุม สาระการเรียนรู การงานอาชีพ ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2562 หนว ยการเรยี นรูท ี่ 1 งานเกษตร จัดทำโดย นายณฐั วรรธน เลศิ ภักดวี ัฒนกุล ตำแหนง ครู รบั เงินเดอื นอันดบั คศ.2 โรงเรียนหัวหมาก สำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร

การจดั หนว ยการเรียนรูและแผนการจดั การเรียนรู วชิ า การงานอาชีพ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 5 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 งานเกษตร แผนการจัด แผนการจดั การเรยี นรู เวลา การเรยี นรทู ี่ (ชว่ั โมง 1 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 1 การทำแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรยี นรูที่ 1 1 1 2 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 2 ประโยชนข องไขในงานเกษตร 1 1 3 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 3 ชนดิ และประโยชนข องปุย ทท่ี ำจากไข 1 1 4 แผนการจัดการเรยี นรูท ี่ 4 วธิ ีการผลิตปยุ ท่ีทำจากไข 6 5 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 5 ปฏิบตั กิ ารผลิตปุยทีท่ ำจากไข 6 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 6 การทำแบบทดสอบหลงั เรียน หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 รวม

แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 1 กลมุ สาระการเรียนรู การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 หนวยการเรียนรทู ี่ 1 งานเกษตร จำนวน 1 ชั่วโมง เร่ือง การทำแบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยการเรียนรูท ี่ 1 วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2562 ………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….……….. สาระสำคญั การทำแบบทดสอบกอนเรียน (Pre-test) เปนการทดสอบความรูของนักเรียนกอนเริ่มตนการ เรียนการสอนของแตล ะหนวย เพ่ือพิจารณาดูวานักเรียนมีทักษะที่จำเปนสำหรับการเรยี นในหนวยการ เรยี นรูเรอ่ื งนเ้ี พียงใด ซงึ่ จะชวยใหร ูว าในระหวางการเรยี นรู นักเรยี นควรมคี วามรูเพมิ่ เติมมากขึ้นเทา ใด และเปนการศึกษาวิธีและเทคนคิ การสอนอยา งไรทจ่ี ะนำมาใชใหเ หมาะสมกบั นักเรยี น มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรยี นรู ง 1.1 เขา ใจการทำงาน มีความคดิ สรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป ญหา ทกั ษะการทำงานรว มกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนสิ ยั ในการทำงาน มจี ติ สำนึกในการใชพลงั งาน ทรพั ยากรและส่งิ แวดลอม เพ่อื การดำรงชีวติ และครอบครัว ตวั ช้วี ัด ง 1.1 ป.5/1 อธบิ ายเหตผุ ลการทำงานแตล ะข้นั ตอนถกู ตอ งตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/2 ใชทกั ษะการจัดการในการทำงานอยา งเปน ระบบ ประณตี และมีความคิด สรา งสรรค จดุ ประสงคการเรยี นรู 1. อธบิ ายประโยชนของไขท่ีนำมาใชเ ปนปุยในงานเกษตร (K) 2. จำแนกชนิดละประโยชนของปุยที่ทำมาจากไข (P) 3. เห็นความสำคัญของการนำไขมาใชทำประโยชนใ นงานเกษตร (A)

สาระการเรยี นรู 1. ประโยชนของไขใ นงานเกษตร 2. ชนิดและประโยชนของปยุ ท่ีทำจากไข 3. วิธกี ารผลติ ปยุ ท่ที ำจากไข 4. ปฏิบตั ิการผลติ ปยุ ทที่ ำจากไข สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกปญหา 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี คานยิ มหลกั ของคนไทย (บรู ณาการ ขอ ท่ี 1 ตอ งมคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ซ่งึ เปนสถาบันหลกั ของชาติ ขอท่ี 2 ซ่อื สัตย เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ ในสิง่ ทีด่ งี ามเพอ่ื สว นรวม ขอ ที่ 4 ใฝหาความรู หมนั่ ศึกษา เลา เรียนทางตรงและทางออ ม ขอท่ี 10 รูจกั ดำรงตนอยโู ดยใชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค 1. ใฝเ รยี นรู 2. มงุ มั่นในการทำงาน กระบวนการจดั การเรยี นรู 1. ครอู ธบิ ายเหตุผลในการทำแบบทดสอบกอนเรียน Pre-test ใหน ักเรียนฟง 2. ครูแจกแบบทดสอบกอนเรยี น Pre-Test และกระดาษคำตอบใหนกั เรยี น ใหน กั เรยี นเขียน ชือ่ นามสกลุ ชนั้ และเลขที่ ลงในกระดาษคำตอบใหเ รียบรอ ย 3. ครอู ธบิ ายข้นั ตอนในการทำแบบทดสอบกอนเรียนใหน กั เรยี นรบั ทราบ 4. ครใู หน กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ นเรียน Pre- Test โดยใหน กั เรยี นเลือก และเขยี นคำตอบท่ี ถูกทีส่ ดุ ลงในกระดาษคำตอบ โดยกำหนดเวลาในการทำ 30 นาที

5. เม่อื นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ นเรยี น Pre- Test เสร็จแลว ใหน ำมาสง ครู 6. ครูนำไปไปตรวจและบันทกึ ผลคะแนน หลงั จากที่นักเรยี นทำแบบทดสอบเสร็จ สอื่ และแหลงการเรียนรู 1. แบบทดสอบกอนเรียน Pre-test หนวยการเรยี นรทู ี่ 1 งานเกษตร 2. กระดาษคำตอบ การประเมนิ ผลการเรยี นรู 1. ประเมินความรู เร่ือง ประโยชนของไขในงานเกษตร ชนิดและประโยชนของปุยท่ีทำมา จากไข (K) ดวยแบบทดสอบ แบบประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Rubrics) แบบประเมินผลการทำแบบทดสอบ แบบทดสอบ เรอ่ื ง ประโยชนของไขใ นงานเกษตร ชนดิ และประโยชนของปยุ ทที่ ำมาจากไข (K) รายการประเมิน เกณฑการประเมินระดบั คุณภาพจากแบบทดสอบ ดมี าก ดี พอใช ปรับปรุง ความรูเร่ืองประโยชน มีผลคะแนนจาก มผี ลคะแนนจาก มผี ลคะแนนจาก มีผลคะแนนจาก ของไขในงานเกษตร การทำแบบทดสอบ การทำแบบทดสอบ การทำแบบทดสอบ การทำแบบทดสอบ ชนดิ และประโยชน วดั ความรู อยูใน วดั ความรู อยูใน วดั ความรู อยูใน วดั ความรู ต่ำกวา ของปยุ ท่ีทำมาจากไข ชว ง 9-10 คะแนน ชวง 7-8 คะแนน ชวง 5-6 คะแนน 5 คะแนน

แบบทดสอบกอ นเรียน (Pre-test) หนวยการเรียนรูท ี่ 1 งานเกษตร กลุม สาระการงานอาชพี ช้นั ประถมศึกษาปที่ 5 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั นม้ี จี ำนวน 10 ขอ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 30 นาที 2. ใหน กั เรยี นทำเครื่องหมาย X ทบั หัวขอ หนาคำตอบทถี่ ูกตอ งที่สดุ 1. ไข จดั เปนอาหารหลกั หมูใ ด 6. กอนนำฮอรโมนไขม าผสมนำ้ รดพืช เราตอ ง ก. อาหารหมูที่ 1 นำไปตากแดดทง้ิ ไวเปนเวลานานเทาใด ข. อาหารหมูท่ี 2 ก. 3 วนั ค. อาหารหมูท่ี 3 ข. 7 วัน ง. อาหารหมทู ี่ 4 ค. 1 เดอื น ง. 3 เดอื น 2. ขอ ใดไมใ ชประโยชนข องไขในงานเกษตร 7. เราใชสวนผสมใดในการเรง หวั เชอ้ื จุลนิ ทรยี  ก. นำเปลอื กไขไ ปพรวนดิน สังเคราะหแ สงใหแ ดงเร็วขึ้น ข. นำไขม าทำปุยฮอรโ มนไข ก. กะป ค. นำเปลือกไขม าทำปยุ เปลอื กไข ข. น้ำแร ง. นำไขมาทำหัวเชอ้ื จุลนิ ทรียส งั เคราะหแ สง ค. ผงชรู ส ง. น้ำตาล 3. ขอ ใดเปนขั้นตอนแรกของการทำปยุ เปลือกไข 8. เราผสมจุลินทรยี สงั เคราะหแสง 200 มล. ตอ ก. ตำเปลอื กไขใ หละเอียด ปริมาณนำ้ กี่ลติ ร กอ นนำไปใชรดพชื ผัก ข. นำเปลอื กไขไ ปตากใหแ หง ก. 1 ลิตร ค. ใสสว นผสมตางๆ คลกุ ใหเขา กนั ข. 5 ลิตร ง. ลางทำความสะอาดเปลอื กไขใหสะอาด ค. 10 ลติ ร ง. 20 ลติ ร 4. ขอใดไมใ ชวสั ดุท่ีใชท ำปยุ เปลือกไข 9. ขอ ใดเปน สวนผสมสำคญั ทใี่ ชท ำฮอรโ มนไข ก. เกลอื ก. กะป ข. ผงชรู ส ข. มะนาว ค. นำ้ ตาล ค. นำ้ ปลา ง. เปลือกไข ง. นมเปร้ยี ว 5. ขอใดเปนประโยชนข องปยุ เปลือกไขท ี่มตี อพืช 10. ขอใดกลาวไมถ ูกตอ งเก่ียวกบั ฮอรโมนไข ก. กำจัดวชั พชื ก. หมกั ฮอรโ มนไขไ ว 3 วนั กอนนำไปใช ข. แกด ินเปรี้ยว ข. สูตรไข 4 ฟอง ใชผ งชูรส 10 ชอนโตะ ค. เรง ผล เรงดอก ค. ใชฮ อรโมนไข 2 ชอนโตะตอ น้ำ 20 ลิตร ง. พืชผักโตเรว็ 3 เทา ง. ฮอรโมนไขชว ยทำใหพ ืชผกั มรี ากแข็งแรง

เฉลยแบบทดสอบ หนวยที่ 1 งานเกษตร วชิ า การงานอาชพี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น (Pre-test) 1ก 2ก 3ง 4ค 5ค 6ค 7ก 8ง 9ง 10 ข

แบบประเมินผลการทำแบบทดสอบกอ นเรยี นและหลังเรียน หนว ยท่ี 1 งานเกษตร ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 5 ( ครูผูสอน ............................................................... ลำดบั ช่ือ-นามสกุล Pre-test Post-test คะแนน เกณฑ คะแนน เกณฑ เกณฑก ารประเมิน ดมี าก คะแนน 9-10 ระดบั ดี คะแนน 7-8 ระดบั พอใช คะแนน 5-6 ระดับ ปรับปรงุ คะแนน 0-4 ระดับ ลงช่อื .................................................................. (............................................................... ผปู ระเมนิ

แผนการจดั การเรียนรูท ี่ 2 กลุม สาระการเรยี นรู การงานอาชีพ ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 5 หนวยการเรียนรทู ี่ 1 งานเกษตร จำนวน 1 ชว่ั โมง เร่ือง ประโยชนข องไขใ นงานเกษตร วันที่ 23 พฤษภาคม 2562 ………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….……….. สาระสำคญั เราสามารถนำไขมาทำเปนปุยเพ่ือนำไปใชประโยชนทางการเกษตรได เชน การทำฮอรโมนไข, ฮอรโมนนมสด, หัวเช้ือจุลินทรียสังเคราะหแสง และปุยเปลือกไข เพื่อนำไปใชบำรุงตนไม พืชผัก เจริญเติบโต ลำตนเหนียว ออกดอก ออกผลเร็วข้ึน บำรุงรากใหแข็งแรง รวมทั้งชวยลดกรดในดิน และ เพ่ิมไนโตรเจนใหกับดิน มาตรฐานการเรยี นรู / ตวั ชว้ี ัด มาตรฐานการเรียนรู ง 1.1 เขาใจการทำงาน มคี วามคดิ สรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกป ญหา ทกั ษะการทำงานรว มกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนสิ ยั ในการทำงาน มจี ติ สำนกึ ในการใชพ ลงั งาน ทรพั ยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดำรงชีวิต และครอบครัว ตัวชีว้ ัด ง 1.1 ป.5/1 อธิบายเหตุผลการทำงานแตละขนั้ ตอนถูกตองตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/2 ใชทักษะการจัดการในการทำงานอยา งเปนระบบ ประณีต และมีความคดิ สรา งสรรค จุดประสงคการเรยี นรู 1. อธิบายประโยชนข องไขท่นี ำมาใชในงานเกษตร (K) 2. จำแนกชนดิ ของปุยที่ทำมาจากไข (P) 3. เหน็ ความสำคัญของการนำไขมาใชประโยชนใ นงานเกษตร (A)

สาระการเรยี นรู ประโยชนข องไขในงานเกษตร สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี คานยิ มหลักของคนไทย (บูรณาการ ขอ ที่ 1 ตองมีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  ซ่ึงเปนสถาบนั หลักของชาติ ขอท่ี 2 ซ่อื สัตย เสียสละ อดทน มอี ดุ มการณ ในสง่ิ ทดี่ งี ามเพ่อื สวนรวม ขอท่ี 4 ใฝหาความรู หมนั่ ศกึ ษา เลาเรียนทางตรงและทางออม ขอท่ี 10 รูจักดำรงตนอยูโ ดยใชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค 1. ใฝเ รยี นรู 2. มงุ มน่ั ในการทำงาน

การจัดกิจกรรมการเรียนรู (ใชก ระบวนการเรยี นรู 5 ขั้นตอน หรอื 5 STEPs) 1. ตง้ั คำถาม 1. นักเรียนสังเกตภาพไขไก, ปุยเปลือกไข, จุลินทรียสังเคราะหแสง และฮอรโมนไข ในสไลด นำเสนอของครู แลว รว มกันสนทนา โดยตอบคำถาม ดงั นี้ - นักเรียนรจู ักสงิ่ ทเ่ี หน็ ในสไลดหรือไม - จากภาพมอี ะไรบาง - ถานำปุย ตา งๆ เหลาน้ี มาใชบำรงุ ตนไมข องเราจะเปน อยางไร 2. แสวงหาสารสนเทศ 2. นักเรียน รวมกันศึกษาคนควาขอมูลเก่ียวกับ ประโยชนของปุยเปลือกไข, จุลินทรีย สังเคราะหแสง และฮอรโมนไข จากเว็บไซตท เี่ กย่ี วขอ งในอินเทอรเนต็ 3. สรางองคค วามรู 3. นักเรยี นรวมกนั แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ปุยทง้ั 3 ชนดิ โดยใชค ำถาม ดังน้ี - นักเรียนคิดวา ประโยชนของปยุ ท้ัง 3 ชนดิ คอื อะไร 4. นักเรียนรวมกนั คดิ ประเมินเกยี่ วกับประโยชนข องปยุ ทีท่ ำมาจากไขท้ัง 3 ชนดิ โดยใชค ำถาม กระตนุ ความคิด ดังนี้ - นักเรียนสามารถนำไขมาใชประโยชนในงานเกษตรไดอ ยา งไร 5. นักเรยี นรวมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับประโยชนของไขในงานเกษตรเปนแผนภาพ ความคดิ ลงในใบงานที่ 1 ประโยชนของไขใ นงานเกษตร ดังตัวอยา ง นำไปทำปยุ เปลอื กไข นำไปทำฮอรโ มนไข ประโยชน ของไข ในงานเกษตร นำไปทำจลุ ินทรียสังเคราะหแ สง

4. เรียนรูเ พอื่ สอื่ สาร 6. นักเรียนออกมานำเสนอแผนภาพความคิดของตนเองหนา ชน้ั เรยี น 5. ตอบแทนสงั คม 7. นกั เรียนรวมกนั รวบรวมขอ มูลเกย่ี วประโยชนของไขใ นงานเกษตร เพื่อเตรยี มนำไปเขียนเปน โปสเตอรนำไปติดท่ีปายประชาสัมพันธของโรงเรียน เมื่อเรียนจบหนวยการเรียนรูท่ี 1 งานเกษตร เพ่ือ เปนการเผยแพรความรกู ับนักเรียนและผูท ี่สนใจตอ ไป สือ่ และแหลง การเรียนรู 1. สไลดนำเสนอ เรือ่ ง ประโยชนข องไขใ นงานเกษตร 2. เคร่อื งคอมพวิ เตอรทเี่ ช่อื มตอระบบอินเทอรเน็ต 3. ใบงานที่ 1 แผนภาพความคิด เรอื่ ง ประโยชนข องไขในงานเกษตร 4. แหลงเรียนรอู นิ เทอรเ น็ต เชน เว็บไซต คลิปวิดีโอ การประเมนิ ผลการเรียนรู 1. ประเมินชิน้ งาน ใบงานที่ 1 แผนภาพความคิด เรอ่ื ง ประโยชนของไขในงานเกษตร (P) ดวยแบบประเมิน 2. ประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ดา นใฝเ รียนรู มงุ ม่นั ในการทำงาน (A) ดวยแบบประเมิน 3. ประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รียน ดว ยแบบประเมิน 4. ประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ดวยแบบประเมิน

แบบประเมนิ ตามสภาพจริง (Rubrics) แบบประเมินชน้ิ งาน (P) ใบงานที่ 1 แผนภาพความคดิ เรือ่ ง ประโยชนของไขในงานเกษตร รายการประเมนิ คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ 1. สรุปความรูได 4 (ดีมาก 3 (ดี 2 (พอใช 1 (ปรบั ปรุง ถูกตอง ครบตรง สามารถสรุป สรุปความรูไม ประเด็น ความรูไดค รบและ สามารถสรปุ สรปุ ความรูไมค รบ ถกู ตอ ง ตรงประเดน็ และ 2. การเช่อื มโยง ถกู ตอ งทกุ หัวขอ ความรไู ดครบ ทุกประเดน็ สามารถเชือ่ มโยง ความรูไดถูกตอง ความรไู ด แตไ ม ตามลำดับขั้น สามารถเช่ือมโยง ตรงประเด็นและมี เปน ไปตามลำดับ ความสมั พนั ธ ความรไู ดถูกตอ ง ความสมั พันธ ตามลำดบั ความถูกตองเปน 3. มคี วามคิด ความสัมพันธ สามารถเขียนผัง สรา งสรรคใ นการ สว นใหญ ความคิดได แต เขยี นผงั ความคดิ สามารถเขยี นผงั ขาดรูปแบบและ ความคิดไดใ น สามารถเช่ือมโยง สามารถเชอื่ มโยง ความสวยงาม รปู แบบทีถ่ กู ตอง และสวยงาม ความรูได และ ความรแู ละลำดบั ลำดบั ความ ความสมั พันธไ ด สมั พนั ธไ ด บาง คอ นขา งครบ สามารถเขียนผงั สามารถเขียนผงั ความคดิ ไดถูกตอง ความคิดได และมี และมขี อ บกพรอ ง ขอบกพรอ งเปน เพียงเลก็ นอ ย บางสวน คะแนนตดั สนิ ระดับคณุ ภาพ คะแนน คุณภาพ 10 -12 ดมี าก 7 – 9 ดี 4 – 6 พอใช 1 – 3 ควรปรบั ปรุง

แบบประเมนิ ดา นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (A) รายการ เกณฑก ารประเมนิ ประเมนิ 1. ใฝเรียนรู ดเี ย่ยี ม ดี ผา น ไมผ า น 2. มุงมนั่ ใน (3 (2) (1) (0 การทำงาน ศกึ ษาคนควา ศกึ ษาคนควา ศึกษาคนควา ไมศ กึ ษาคนควา หาความรูจาก หาความรูจาก หาความรูจากหนังสอื หาความรู หนังสอื เอกสาร หนงั สือ เอกสาร เอกสาร สิง่ พิมพ สงิ่ พิมพ สิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยตี า ง ๆ สอ่ื เทคโนโลยีตา งๆ ส่ือเทคโนโลยตี างๆ แหลงเรยี นรทู ้งั แหลงเรยี นรทู งั้ แหลงเรียนรทู ้ัง ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก โรงเรยี น โรงเรียน เลือกใชส่อื โรงเรียน มีการบันทึกความรู ไดอยา งเหมาะสม มกี ารบันทึกความรู มกี ารบนั ทกึ ความรู สรุปเปน องคความรู สรปุ เปนองคค วามรู นำเสนอและ นำเสนอและ แลกเปล่ยี นความรู แลกเปล่ียนองค กบั ผอู นื่ ได ความรดู วยวิธกี าร ทหี่ ลากหลาย ต้งั ใจและรบั ผิดชอบ ตั้งใจและรบั ผิดชอบ ตัง้ ใจและรับผดิ ชอบ ไมตัง้ ใจปฏิบตั ิ ในการปฏบิ ตั ิหนาท่ี ในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ ในการปฏบิ ัตหิ นา ท่ีท่ี หนาท่ีการงาน ท่ีไดร ับมอบหมายให ที่ไดร บั มอบหมายให ไดร ับมอบหมายให สำเร็จมกี าร สำเร็จมีการ สำเร็จมกี ารปรบั ปรุง ปรับปรงุ และ ปรบั ปรงุ และ และพฒั นาการ พัฒนาการทำงานให พัฒนาการทำงานให ทำงานใหด ีขน้ึ ดขี นึ้ ดวยตนเองและ ดีขึน้ ดว ยตนเอง เปนแบบอยา งทีด่ ี

เกณฑคะแนนระดับคณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัตชิ ัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดเี ยี่ยม หมายถึง พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิชัดเจน และบอยครัง้ (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิเปนบางครงั้ (1 คะแนน ผา น หมายถึง ไมเ คยปฏบิ ตั พิ ฤติกรรม (0 คะแนน ไมผาน หมายถึง คุณภาพ เกณฑก ารสรปุ ผล ดเี ยี่ยม คะแนน 5-6 ดี 3-4 ผา น 2-1 ไมผ าน 0

แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น ระดับคณุ ภาพ สมรรถนะทป่ี ระเมนิ ดเี ยย่ี ม ดี ผาน ไมผ า น (3 (2 (1 (0) 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1.1 มีความสามารถในการรบั - สงสาร 1.2 มีความสามารถในการถา ยทอดความรู ความคิด ความเขาใจของตนเอง โดยใชภาษาอยางเหมาะสม 1.3 ใชวิธกี ารส่อื สารท่ีเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห 2.2 มคี วามสามารถในการสรา งองคความรู 3. ความสามารถในการแกป ญหา 3.1 มีความสามารถในการแกปญหาและอปุ สรรคตางๆ ทเ่ี ผชิญได 3.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู ประยุกต ความรู มาใชในการปอ งกันและแกป ญ หา 4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ 4.1 ทำงานกลุม รวมกับผอู ืน่ ได 4.2 นำความรูท่ไี ดไปใชป ระโยชนในชวี ิตประจำวัน 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 5.1 เลอื กใชเทคโนโลยีไดอยา งเหมาะสม 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี สรปุ ผลการประเมนิ

เกณฑคะแนนระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบัติชัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดีเย่ียม หมายถงึ พฤติกรรมทีป่ ฏิบัตชิ ัดเจน และบอ ยคร้งั (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั เิ ปนบางครั้ง (1 คะแนน ผา น หมายถึง ไมเ คยปฏิบตั ิพฤติกรรม (0 คะแนน ไมผาน หมายถงึ คุณภาพ เกณฑก ารสรปุ ผล ดีเยยี่ ม คะแนน 13-15 ดี 9 – 12 ผา น 1–8 ไมผ าน 0

แบบประเมินคา นยิ มหลกั ของคนไทย เกณฑการประเมิน รายการประเมิน ดเี ยย่ี ม ดี ผา น ไมผ า น (0 ขอที่ 1 ตองมคี วามรกั ชาติ (3 (2) (1) ไมแสดงออก ศาสนา พระมหากษัตริย และตอตาน ซึ่งเปน สถาบันหลกั ของ รักและแสดงออก รักและแสดงออก รกั และแสดงออก ความเปน ไทย ชาติ ขอที่ 2 ซื่อสัตย เสียสละ ถงึ ความเปนไทยใน ถงึ ความเปนไทย ถึงความเปนไทย ไมปฏบิ ัติ อดทน มีอุดมการณใ น กิจกรรมทไ่ี ดร ับ สิ่งท่ีดีงามเพ่อื สว นรวม การรวมกจิ กรรม แตน อ ย แตไ มแสดงออก มอบหมายดว ย ตนเองและลอก ขอ ท่ี 4 ใฝหาความรู มาก ผูอ่นื เสมอ หมั่นศกึ ษา เลาเรยี น ไมกระตอื รอื รน ทางตรงและทางออม ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมท่ี ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมท่ี ปฏบิ ตั ิกิจกรรมท่ี ไมมคี วาม ขอ ท่ี 10 รจู กั ดำรงตนอยู ไดร ับมอบหมาย ไดร บั มอบหมาย ไดรบั มอบหมาย พอประมาณใช โดยใชหลกั ปรชั ญาของ จา ยฟมุ เฟอ ย เศรษฐกิจพอเพยี ง รจู ัก ดว ยตนเองและ ดว ยตนเองแตย งั ดว ยตนเองและ และไมค อยเขา อดออมไวใชเ มื่อยาม สงั คมปรบั ตัว จำเปน มีไวพอกินพอใช ถกู ตอ งโดยพึง่ พา ลอกผอู น่ื บา ง ลอกผอู ่ืน เขา สังคมไมได ถา เหลือ กแ็ จกจาย จำหนาย และพรอมทีจ่ ะ ผูอ่นื ขยายกิจการเมือ่ มีความ พรอม เมอื่ มภี ูมิคมุ กันทีด่ ี กระตือรอื รน กลา กระตือรอื รน กลา มคี วาม แสดงออกในทาง แสดงออกและ กระตอื รอื รน แต สรางสรรคแ ละเปน เปนประโยชนบ า ง นานๆ คร้งั จึงกลา ประโยชน แสดงออก ดำเนนิ ชวี ิตอยาง ดำเนนิ ชีวิตอยาง ดำเนินชวี ิตอยา ง พอประมาณ มี พอประมาณ มี พอประมาณ มี เหตุผล รอบคอบ เหตุผล รอบคอบ เหตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม และ มีคุณธรรม และ และภมู ิคุมกนั และ ภูมคิ ุมกันท่ดี ใี นตัว ภูมิคมุ กนั ที่ดใี นตัว เขา สงั คมนานๆ ปรับตัวใหอ ยใู น และเขาสงั คมบา ง ครั้ง สงั คมไดอยางมี ความสุข

เกณฑคะแนนระดบั คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดเี ยยี่ ม หมายถงึ พฤติกรรมทีป่ ฏิบัติชัดเจน และบอยคร้ัง (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติเปนบางคร้ัง (1 คะแนน ผาน หมายถงึ ไมเ คยปฏิบัติพฤติกรรม (0 คะแนน ไมผ า น หมายถึง คุณภาพ เกณฑก ารสรุปผล ดีเยย่ี ม คะแนน 10-12 ดี 7-9 ผา น 4-6 ไมผ าน 1-3

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 3 กลุมสาระการเรยี นรู การงานอาชพี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 5 หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 งานเกษตร จำนวน 1 ช่วั โมง เรื่อง ชนิดและประโยชนข องปยุ ทที่ ำจากไข วันที่ 30 พฤษภาคม 2562 ………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….……….. สาระสำคญั เราสามารถแบงชนิดของปุยท่ีทำมาจากไขได 3 ชนิด ไดแก ปุยเปลือกไข, ฮอรโมนไข และ จลุ ินทรียส ังเคราะหแสง เพ่ือนำไปใชบำรุงตนไม พืชผัก เจรญิ เตบิ โต ลำตน เหนียว ออกดอก ออกผลเร็ว ขึ้น บำรุงรากใหแ ขง็ แรง รวมทงั้ ชว ยลดกรดในดิน และเพม่ิ ไนโตรเจนใหก บั ดนิ มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ช้ีวัด มาตรฐานการเรยี นรู ง 1.1 เขา ใจการทำงาน มีความคิดสรา งสรรค มีทักษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแกปญ หา ทกั ษะการทำงานรว มกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสยั ในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใชพ ลังงาน ทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ ม เพือ่ การดำรงชวี ติ และครอบครัว ตวั ชวี้ ัด ง 1.1 ป.5/1 อธบิ ายเหตผุ ลการทำงานแตล ะขนั้ ตอนถกู ตองตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/2 ใชทกั ษะการจดั การในการทำงานอยางเปนระบบ ประณตี และมคี วามคดิ สรางสรรค จดุ ประสงคการเรียนรู 1. อธิบายประโยชนข องไขท ี่นำมาใชใ นงานเกษตร (K) 2. จำแนกชนดิ ของปยุ ท่ีทำมาจากไข (P) 3. เหน็ ความสำคญั ของการนำไขมาใชป ระโยชนในงานเกษตร (A)

สาระการเรียนรู 1. ประโยชนของปยุ เปลอื กไข 2. ประโยชนของฮอรโ มนไข 3. ประโยชนของจุลินทรียสังเคราะหแ สง สมรรถนะสำคัญของผูเรียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ หา 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี คานยิ มหลักของคนไทย (บูรณาการ ขอที่ 6 มศี ีลธรรม รกั ษาความสตั ย หวังดตี อ ผูอ ืน่ เผ่ือแผและแบง ปน ขอท่ี 7 เขาใจการเรยี นรกู ารเปนประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ ที่ถกู ตอ ง ขอท่ี 8 มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผนู อยรูจักการเคารพผูใหญ ขอที่ 9 มสี ตริ ตู วั รูคดิ รูทำ รูปฏิบัตติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค 1. ใฝเ รยี นรู 2. มงุ มัน่ ในการทำงาน

การจดั กิจกรรมการเรียนรู (ใชก ระบวนการเรยี นรู 5 ข้นั ตอน หรือ 5 STEPs) 1. ต้ังคำถาม 1. ครูทบทวนความรูในช่ัวโมงเรียนที่แลว ดวยการเปดสไลดแผนภาพความคิด เร่ือง ประโยชน ของไขใ นงานเกษตร ท่มี ีชนดิ ของปุยที่ทำมาจากไข 3 ชนดิ ดงั นี้ 1 การทำปุยเปลอื กไข 2 การทำปุยฮอรโมนไข 3 การทำปุยจุลินทรยี สงั เคราะหแสง แลว แบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาจับฉลากเพ่ือเลือก หัวขอปุย แลวชวยกันคิดวัสดุอุปกรณที่ตองใชในการทำปุยที่แตละกลุมไดรับมาใหถูกตองและครบถวน มากทส่ี ุด หลงั จากน้นั ตัวแทนกลุมออกมานำเสนอหนาชั้นเรยี น นกั เรียนกลุมใดทบ่ี อกวัสดุอุปกรณทใี่ ชใ น การทำปยุ ไดถ ูกตองและครบถว นที่สดุ ถอื เปนผูช นะ 2. แสวงหาสารสนเทศ 2. นกั เรียนทั้ง 3 กลมุ รวมกันศึกษาคนควาขอมูลเก่ียวกับประโยชนของปุยเปลือกไข, ฮอรโมน ไข และจลุ ินทรยี ส งั เคราะหแสง จากเวบ็ ไซตห รอื คลิปวีดโิ อที่เกย่ี วของในอินเทอรเ นต็ 3. สรา งองคความรู 3. นกั เรียนรว มกนั แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ปุยท้ัง 3 ชนิด โดยใชค ำถาม ดงั นี้ - ปยุ ทัง้ 3 ชนดิ มอี ะไรบาง และมีประโยชนอยา งไร - นักเรยี นคิดวาประโยชนของปยุ ทง้ั 3 ชนิด แตกตางกนั หรอื ไม เพราะอะไร 4. นักเรียนรว มกนั คดิ ประเมนิ เกย่ี วกับชนดิ และประโยชนของปุยที่ทำจากไข โดยใชค ำถาม กระตนุ ความคดิ ดงั น้ี - นักเรียนสามารถนำปุยท้ัง 3 ชนดิ มาใชประโยชนในงานเกษตรไดอ ยา งไร 5. นักเรียนแตละกลมุ รวมกันสรปุ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับชนิดและประโยชนของปยุ ทที่ ำจาก ไขเ ปนแผนภาพความคดิ ลงในใบงานที่ 2 ชนิดและประโยชนข องปยุ ที่ทำจากไข ดังตัวอยา ง

1. เรงผล เรงดอก 1. รากแขง็ แรง 2. ลำตน เหนยี ว ไมเปราะ 2. ขั้วเหนยี ว ดอกไมห ลุดงาย หรือหกั งา ย 3. ออกดอก ออกผล 3. บำรุงราก ใหกบั พชื ผัก เจรญิ เติบโต 4. มีสารฆา เชอื้ แบคทีเรีย ชนดิ ของ ปุยท่ีทำ จากไข จลุ ินทรีย 1. ลดกรดในดิน สังเคราะหแ สง 2. เพมิ่ ไนโตรเจน 3.เปน ปุย ท่ปี ราศจากสารเคมี ทำใหพ ชื ผักโตเร็ว 3 เทา 4. เรียนรเู พอ่ื สอ่ื สาร 6. ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอพรอมกับแผนภาพความคิดเกี่ยวกับชนิดและ ประโยชนข องปยุ ท่ีทำจากไขหนาชัน้ เรยี น 5. ตอบแทนสังคม 7. นักเรยี นแตละกลมุ ชวยกันรวบรวมขอ มูลเก่ียวกับชนดิ และประโยชนข องปยุ ทีท่ ำจากไข ของ กลุมตนเอง เพื่อเตรียมนำไปเขียนเปนโปสเตอรนำไปติดท่ีปายประชาสัมพันธของโรงเรียน เมื่อเรียนจบ หนว ยการเรยี นรูที่ 1 งานเกษตร เพอื่ เปนการเผยแพรค วามรกู ับนกั เรยี นและผูทีส่ นใจตอ ไป สอื่ และแหลง การเรียนรู 1. สไลดนำเสนอ เรือ่ ง ประโยชนข องไขในงานเกษตร 2. เครอ่ื งคอมพิวเตอรท ีเ่ ชอื่ มตอ ระบบอนิ เทอรเนต็ 3. ใบงานท่ี 2 แผนภาพความคิด เรอ่ื ง ชนิดและประโยชนข องปยุ ท่ที ำจากไข 4. แหลง เรยี นรูอินเทอรเ นต็ เชน เวบ็ ไซต คลิปวดิ ีโอ

การประเมนิ ผลการเรียนรู 1. ประเมนิ ชนิ้ งาน ใบงานที่ 2 แผนภาพความคิด เรือ่ งชนดิ และประโยชนของปุย ทท่ี ำจากไข (P) ดวยแบบประเมิน 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงานรายกลุม (P) ดวยแบบประเมิน 3. ประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค ดา นใฝเ รยี นรู มุงมั่นในการทำงาน (A) ดวยแบบประเมนิ 4. ประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น ดว ยแบบประเมิน 5. ประเมนิ คานิยมหลกั ของคนไทย ดวยแบบประเมิน

แบบประเมนิ ตามสภาพจริง (Rubrics) แบบประเมนิ ชิน้ งาน (P) ใบงานท่ี 2 แผนภาพความคดิ เรอ่ื ง ชนิดและประโยชนของปยุ ทท่ี ำจากไข รายการประเมิน คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ 1. สรปุ ความรไู ด 4 (ดีมาก 3 (ดี 2 (พอใช 1 (ปรับปรงุ ถูกตอ ง ครบตรง สามารถสรุป สรุปความรูไ ม ประเดน็ ความรูไดครบและ สามารถสรุป สรุปความรไู มค รบ ถูกตอ ง ตรงประเดน็ และ 2. การเชอ่ื มโยง ถูกตองทกุ หวั ขอ ความรไู ดครบ ทุกประเด็น สามารถเชื่อมโยง ความรูไดถ ูกตอง ความรูได แตไ ม ตามลำดับขัน้ สามารถเชอ่ื มโยง ตรงประเด็นและมี เปน ไปตามลำดับ ความสมั พนั ธ ความรูไดถ กู ตอ ง ความสัมพันธ ตามลำดบั ความถกู ตองเปน 3. มีความคดิ ความสัมพันธ สามารถเขียนผัง สรา งสรรคใ นการ สว นใหญ ความคดิ ได แต เขียนผังความคดิ สามารถเขยี นผงั ขาดรูปแบบและ ความคิดไดใน สามารถเชื่อมโยง สามารถเช่ือมโยง ความสวยงาม รูปแบบท่ีถกู ตอง และสวยงาม ความรูได และ ความรแู ละลำดับ ลำดับความ ความสัมพันธไ ด สัมพนั ธไ ด บา ง คอนขางครบ สามารถเขยี นผัง สามารถเขียนผงั ความคิดไดถ ูกตอ ง ความคิดได และมี และมขี อ บกพรอง ขอบกพรอ งเปน เพียงเล็กนอ ย บางสว น คะแนนตดั สนิ ระดับคณุ ภาพ คะแนน คุณภาพ 10 -12 ดมี าก 7–9 4–6 ดี 1–3 พอใช ควรปรบั ปรุง

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงานรายกลมุ (P) รายการประเมิน ดมี าก เกณฑการประเมิน ปรบั ปรงุ 1.ความถกู ตองของเนอ้ื หา มเี นือ้ หาสาระ มีเน้อื หาสาระ ครบถว นสมบูรณ ดี พอใช ไมค รบถวนแต 2.วธิ กี ารนำเสนอของกลุม มีเนอ้ื หาสาระ มเี น้ือหาสาระ ภาพรวมของ รปู แบบการ คอนขา งครบถวน ไมครบถวนแต สาระทัง้ หมด 3.ใชภาษาถูกตอ ง นำเสนองาน อยใู นเกณฑตอง เหมาะสม แปลกใหม ภาพรวมของ ปรับปรงุ นาสนใจ ลำดับ สาระทั้งหมดอยู รปู แบบการ เรือ่ งราวไดดมี าก ในเกณฑพ อใช นำเสนองานไม ใชภาษาถูกตอ ง นาสนใจ ลำดบั เหมาะสม ออก รูปแบบการ รูปแบบการ เรือ่ งราวไดไมด ี เสียงไดถ ูกตอ งดี นำเสนองาน นำเสนองาน มาก ลำดับความ นา สนใจ ลำดับ นาสนใจ พอใช ใชภ าษาถกู ตอ ง ไดช ัดเจนเขาใจ เร่อื งราวไดด ี ลำดบั เรื่องราวได เหมาะสม ออก งาย พอใช เสยี งไดไมถูกตอ ง ใชภ าษาถกู ตอง ลำดบั ความไม เหมาะสม ออก ใชภาษาถูกตอ ง ชดั เจน เสยี งไดถูกตองดี เหมาะสมออก ลำดบั ความไดด ี เสยี งไดถกู ตอง พอใช พอใชลำดบั ความ ไดพอเขา ใจ คะแนนตดั สนิ ระดับคุณภาพ คะแนน คุณภาพ 10 -12 ดมี าก 7–9 4–6 ดี 1–3 พอใช ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ ดา นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (A) รายการ ดเี ย่ยี ม เกณฑก ารประเมนิ ไมผ า น ประเมนิ (3 (0 ดี ผา น (2) (1) 1. ใฝเรียนรู ศกึ ษาคนควา ศกึ ษาคนควา ศึกษาคนควา ไมศ กึ ษาคนควา หาความรูจาก หาความรูจาก หาความรูจากหนังสอื หาความรู หนังสอื เอกสาร หนงั สือ เอกสาร เอกสาร สิง่ พิมพ สงิ่ พิมพ สิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยตี า ง ๆ สอ่ื เทคโนโลยีตา งๆ ส่ือเทคโนโลยตี างๆ แหลงเรยี นรทู ้งั แหลงเรยี นรทู งั้ แหลงเรียนรทู ้ัง ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก โรงเรยี น โรงเรียน เลือกใชส่อื โรงเรียน มีการบันทึกความรู ไดอยา งเหมาะสม มกี ารบันทึกความรู มกี ารบนั ทกึ ความรู สรุปเปน องคความรู สรปุ เปนองคค วามรู นำเสนอและ นำเสนอและ แลกเปล่ยี นความรู แลกเปล่ียนองค กบั ผอู นื่ ได ความรดู วยวิธกี าร ทหี่ ลากหลาย 2. มุงมนั่ ใน ต้งั ใจและรบั ผิดชอบ ตั้งใจและรบั ผิดชอบ ตัง้ ใจและรับผดิ ชอบ ไมตัง้ ใจปฏิบตั ิ การทำงาน ในการปฏบิ ตั ิหนาท่ี ในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ ในการปฏบิ ัตหิ นา ท่ีท่ี หนาท่ีการงาน ท่ีไดร ับมอบหมายให ที่ไดร บั มอบหมายให ไดร ับมอบหมายให สำเร็จมกี าร สำเร็จมีการ สำเร็จมกี ารปรบั ปรุง ปรับปรงุ และ ปรบั ปรงุ และ และพฒั นาการ พัฒนาการทำงานให พัฒนาการทำงานให ทำงานใหด ีขน้ึ ดขี นึ้ ดวยตนเองและ ดีขึน้ ดว ยตนเอง เปนแบบอยา งทีด่ ี

เกณฑคะแนนระดับคณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัตชิ ัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดเี ยี่ยม หมายถึง พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิชัดเจน และบอยครัง้ (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิเปนบางครงั้ (1 คะแนน ผา น หมายถึง ไมเ คยปฏบิ ตั พิ ฤติกรรม (0 คะแนน ไมผาน หมายถึง คุณภาพ เกณฑก ารสรปุ ผล ดเี ยี่ยม คะแนน 5-6 ดี 3-4 ผา น 2-1 ไมผ าน 0

แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น ระดับคณุ ภาพ สมรรถนะทป่ี ระเมนิ ดเี ยย่ี ม ดี ผาน ไมผ า น (3 (2 (1 (0) 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1.1 มีความสามารถในการรบั - สงสาร 1.2 มีความสามารถในการถา ยทอดความรู ความคิด ความเขาใจของตนเอง โดยใชภาษาอยางเหมาะสม 1.3 ใชวิธกี ารส่อื สารท่ีเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห 2.2 มคี วามสามารถในการสรา งองคความรู 3. ความสามารถในการแกป ญหา 3.1 มีความสามารถในการแกปญหาและอปุ สรรคตางๆ ทเ่ี ผชิญได 3.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู ประยุกต ความรู มาใชในการปอ งกันและแกป ญ หา 4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ 4.1 ทำงานกลุม รวมกับผอู ืน่ ได 4.2 นำความรูท่ไี ดไปใชป ระโยชนในชวี ิตประจำวัน 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 5.1 เลอื กใชเทคโนโลยีไดอยา งเหมาะสม 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี สรปุ ผลการประเมนิ

เกณฑคะแนนระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบัติชัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดีเย่ียม หมายถงึ พฤติกรรมทีป่ ฏิบัตชิ ัดเจน และบอ ยคร้งั (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั เิ ปนบางครั้ง (1 คะแนน ไมเ คยปฏิบตั ิพฤติกรรม (0 คะแนน ผา น หมายถึง ไมผาน หมายถงึ เกณฑก ารสรปุ ผล คุณภาพ คะแนน ดีเยยี่ ม 13-15 9 – 12 ดี 1–8 ผา น 0 ไมผ าน

แบบประเมินคานยิ มหลักของคนไทย รายการประเมิน ดเี ยย่ี ม เกณฑก ารประเมิน ไมผา น ดี ผาน (0 (3 (2) (1) ไมป ฏบิ ตั ติ าม ปฏบิ ัติตามหลัก ปฏบิ ตั ติ ามหลกั หลักศลี ธรรม ขอที่ 6 มีศีลธรรม รักษา ประพฤติตามหลัก ศลี ธรรม รจู ักการ ศลี ธรรม รจู กั การ ไมร จู ักการ แบง ปนและ แบง ปน และ แบงปน และ ความสัตย หวังดีตอผูอ่ืน ศลี ธรรม รูจ ักการ ชวยเหลอื ผอู ื่น ชวยเหลอื ผอู ่นื ชวยเหลอื ผอู ่นื บาง นานๆ ครงั้ เผอ่ื แผแ ละแบงปน แบง ปน และ ไมเ คารพสทิ ธิ เคารพสทิ ธขิ อง เคารพสิทธิของ ของผอู ่นื และ ชว ยเหลอื ผอู ่นื ผอู ื่น และปฏบิ ตั ิ ผอู นื่ และปฏบิ ัติ ไมป ฏิบตั ติ น ตนตามหลัก ตนตามหลกั ตามหลกั สม่ำเสมอ ประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตย บา งเปนบางครงั้ แตนานๆ ครั้ง ขอท่ี 7 เขาใจการเรียนรู เคารพสิทธขิ อง ไมตรงตอเวลา ตรงตอเวลา ให ตรงตอ เวลา ให และไมความ การเป น ประชาธิปไตย ผอู น่ื และปฏิบตั ิ ความเคารพและ ความเคารพและ เคารพและ ปฏิบตั ิตามคำส่ังดี ปฏิบตั ิตามคำสั่ง ปฏิบตั ิตาม อันมีพระมหากษัตริยทรง ตนตามหลกั คำสั่ง เปนบางครัง้ เปน ประมุขทีถ่ กู ตอ ง ประชาธปิ ไตย ไมส ุภาพ เรียบรอ ย และ ขอที่ 8 มีระ เบียบ วินั ย ตรงตอเวลา ให ขาดความ รอบคอบในการ เคารพกฎหมาย ผนู อยรูจัก ความเคารพและ ทำงาน การเคารพผูใ หญ ปฏิบัติตามคำส่งั ดี มาก ขอท่ี 9 มีสติ รูตัว รูคิด สภุ าพเรียบรอย สภุ าพเรียบรอ ย สภุ าพเรียบรอ ย และมีความ และมีความ รูทำ รูปฏิบัติตามพระราช- และมคี วาม รอบคอบในการ รอบคอบในการ ทำงานเปน ทำงาน แตน านๆ ดำรัสของพระบาทสมเด็จ รอบคอบในการ บางคร้งั คร้ัง พระเจา อยหู วั ทำงานดีมาก เกณฑค ะแนนระดบั คณุ ภาพ พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ตั ิชัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดีเยีย่ ม หมายถงึ พฤตกิ รรมท่ีปฏิบัติชัดเจน และบอยครง้ั (2 คะแนน ดี หมายถงึ พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิเปน บางครง้ั (1 คะแนน ไมเคยปฏิบตั ิพฤตกิ รรม (0 คะแนน ผาน หมายถึง ไมผ า น หมายถงึ

เกณฑการสรุปผล คณุ ภาพ คะแนน ดีเยยี่ ม 10-12 7-9 ดี 4-6 ผา น 1-3 ไมผา น

แผนการจดั การเรียนรูท่ี 4 กลุมสาระการเรยี นรู การงานอาชพี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 งานเกษตร จำนวน 1 ชัว่ โมง เรอ่ื ง วธิ กี ารผลิตปยุ ท่ที ำจากไข วนั ที่ 6 มิถุนายน 2562 ………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….……….. สาระสำคญั การที่เราจะผลิตปุยที่ทำจากไข ไมวาจะเปนการทำปุยเปลือกไข, ฮอรโมนไข และจุลินทรีย สงั เคราะหแสง สงิ่ ที่เราจำเปนตองศกึ ษาและเรียนรู คือ วิธีการผลิตปุยแตล ะชนิด ตั้งแตการเตรียมวัสดุ อุปกรณ สวนผสมตางๆ ในการทำใหถูกตอง ครบถวน เพ่ือจะไดทำปุยออกมามีคุณภาพท่ีดีและมี ประสทิ ธิภาพ มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ชีว้ ดั มาตรฐานการเรยี นรู ง 1.1 เขา ใจการทำงาน มคี วามคิดสรา งสรรค มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทำงานรว มกนั และทักษะการแสวงหาความรู มีคณุ ธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนกึ ในการใชพลงั งาน ทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ ม เพือ่ การดำรงชีวิต และครอบครัว ตัวชวี้ ัด ง 1.1 ป.5/1 อธิบายเหตุผลการทำงานแตละข้นั ตอนถูกตองตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/2 ใชทกั ษะการจัดการในการทำงานอยางเปนระบบ ประณีต และมคี วามคดิ สรางสรรค จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายวิธกี ารทำปยุ ที่ทำจากไข 3 ชนดิ (K) 2. จำแนกวสั ดแุ ละอุปกรณทใ่ี ชท ำปยุ ทท่ี ำจากไข 3 ชนิด (P) 3. เห็นความสำคญั ของการนำไขม าใชป ระโยชนในงานเกษตร (A)

สาระการเรียนรู 1. วิธีการทำปยุ เปลอื กไข 2. วิธีการทำฮอรโมนไข 3. วธิ ีการทำจุลนิ ทรียส ังเคราะหแ สง สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกปญ หา 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี คา นิยมหลักของคนไทย (บรู ณาการ ขอ ที่ 6 มศี ีลธรรม รักษาความสัตย หวังดตี อ ผอู ื่น เผ่อื แผและแบงปน ขอที่ 7 เขา ใจการเรียนรกู ารเปนประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุขที่ถกู ตอ ง ขอที่ 8 มีระเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผูน อ ยรจู ักการเคารพผูใหญ ขอที่ 9 มีสติรตู ัว รคู ิด รูทำ รปู ฏบิ ัติตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค 1. ใฝเ รียนรู 2. มงุ มน่ั ในการทำงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู (ใชก ระบวนการเรยี นรู 5 ขนั้ ตอน หรอื 5 STEPs) 1. ตงั้ คำถาม 1. ครูทบทวนความรูในชั่วโมงเรียนท่ีแลว ดวยการเปดสไลดแผนภาพความคิด เรอ่ื ง ชนิดและ ประโยชนของปุยทที่ ำจากไข 2. ครแู ละนกั เรียนรว มกันสนทนา โดยใชคำถาม ดังน้ี - ถาการผลิตปุย ท้ัง 3 ชนดิ นี้ ตอ งมคี วามรูเรอ่ื งใดบา ง

2. แสวงหาสารสนเทศ 3. นักเรยี นทั้ง 3 กลุม รวมกันศกึ ษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับการทำปุยเปลือกไข, ปุยฮอรโมนไข, ปยุ ฮอรโมนนมสด และจลุ ินทรียสงั เคราะหแสง รวมทั้งวัสดุอุปกรณท ่ีใชในการทำปุย ท่กี ลมุ ของนักเรียน รบั ผิดชอบ จากเว็บไซตหรือคลิปวดี ิโอท่ีเกี่ยวของในอินเทอรเน็ต และจดบันทึกชื่อเว็บไซตท่ีนักเรียนได เขา ไปศกึ ษาคนควา เพ่ืออางองิ 3. สรา งองคความรู 4. นักเรยี นรวมกันแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับปยุ ทงั้ 3 ชนิด โดยใชคำถาม ดงั น้ี - นกั เรียนคิดวาวสั ดุอุปกรณท ใ่ี ชใ นการทำปยุ แตล ะชนดิ เหมือนหรือแตกตา งกนั 5. นกั เรียนรวมกนั คิดประเมนิ เกี่ยวกบั การทำปุย ทง้ั 3 ชนดิ โดยใชคำถามกระตนุ ความคิด ดังน้ี - นักเรียนคิดวา วิธกี ารทำปยุ ทัง้ 3 ชนดิ มีวธิ ีการและข้ันตอนทแี่ ตกตา งกันอยา งไร อธิบาย 6. นักเรียนรวมกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการผลิตปุย ดวยไขเปน แผนภาพความคิดลงใน ใบงานท่ี 3 วิธีการผลิตปุยท่ีทำจากไข ดังตัวอยาง วตั ถุประสงค 1. ใชบ ำรุงตน ไม 1. ไขไ ก 3 ฟอง 2. ปรบั สภาพดนิ 2. ผงชูรส 3 ชอ นโตะ การทำจลุ นิ ทรยี  3. นำ้ เปลา 1.5 ลิตร/ขวด สังเคราะหแ สง สงิ่ ท่จี ัดเตรียม วัสดุอุปกรณ 4. ชาม 5. ชอน ศึกษาวธิ ีการ วิธีการทำจุลนิ ทรียส งั เคราะหแ สง ใ 1. ตอกไขใสช ามและนำชอ นมาตีใหเ ขา กนั 2. ใสผงชรู ส 3 ชอ นโตะ 3. ใสก ะป 1 ชอ นโตะ 4. ใชชอนคนสว นผสมใหเขา กนั 5. นำน้ำสะอาดใสขวด 1.5 ลติ ร นำไปตากแดดใหน้ำอุน 6. นำสว นผสมเติมลงในขวด 1 ชอนโตะ 7. ปดฝาใหส นทิ เขยาขวด

4. เรยี นรเู พ่ือสอ่ื สาร 7. ตัวแทนนกั เรียนแตละกลมุ ออกมานำเสนอแผนภาพความคิด รวมถงึ วธิ ีการและข้นั ตอนการ ทำปุย วสั ดุอปุ กรณ ส่ิงทีต่ อ งจัดเตรียมในการทำปุยของกลุมตนเองหนา ชน้ั เรียน 5. ตอบแทนสงั คม 8. นักเรียนแตละกลุมชวยกันรวบรวมขอมูลเก่ียววิธีการและข้ันตอนการทำปุย รวมท้ังวัสดุ อปุ กรณส่ิงทีต่ องจัดเตรียมในการทำปยุ ของกลมุ ตนเองเพอื่ นำไปเขียนลงกระดาษชารตใหเ พ่ือนๆไดศ ึกษา ขอมูล รวมทั้งใหแตกลุมเตรียมวัสดุอุปกรณในการผลิตปุยท่ีกลุมรับผิดชอบ มาสาธิตการทำในชั่วโมง เรียนครั้งหนา เพอ่ื การเผยแพรความรูการทำปุยแตล ะชนดิ ใหท กุ คนในชั้นเรยี นไดดูและศึกษาวิธีการทำ ส่ือและแหลงการเรียนรู 1. สไลดน ำเสนอ เร่อื ง ชนิดและประโยชนข องปุย ท่ที ำจากไข 2. เคร่อื งคอมพิวเตอรที่เช่ือมตอ ระบบอินเทอรเนต็ 3. ใบงานที่ 3 แผนภาพความคิด เรอ่ื ง วธิ กี ารผลิตปุย ท่ที ำจากไข 4. แหลง เรยี นรอู นิ เทอรเนต็ เชน เวบ็ ไซต คลิปวดิ ีโอ การประเมนิ ผลการเรยี นรู 1. ประเมินช้ินงาน ใบงานที่ 3 แผนภาพความคดิ เร่อื ง วิธกี ารผลติ ปุยที่ทำจากไข (P) ดวยแบบประเมนิ 2. ประเมินการนำเสนอผลงานรายกลุม (P) ดวยแบบประเมนิ 3. ประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ดานใฝเ รยี นรู มงุ มัน่ ในการทำงาน (A) ดว ยแบบประเมิน 4. ประเมินสมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น ดว ยแบบประเมิน 5. ประเมินคานยิ มหลกั ของคนไทย ดว ยแบบประเมนิ

แบบประเมินตามสภาพจรงิ (Rubrics) แบบประเมนิ ชนิ้ งาน (P) ใบงานที่ 3 ชนดิ และประโยชนข องปุยท่ีทำจากไข รายการประเมนิ คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ 1. สรปุ ความรูได 4 (ดมี าก 3 (ดี 2 (พอใช 1 (ปรบั ปรุง ถูกตอ ง ครบตรง สามารถสรุป สรปุ ความรูไม ประเด็น ความรูไดค รบและ สามารถสรปุ สรุปความรไู มค รบ ถกู ตอ ง ตรงประเด็นและ 2. การเชอื่ มโยง ถูกตองทุกหัวขอ ความรูไดครบ ทกุ ประเด็น สามารถเชื่อมโยง ความรไู ดถกู ตอง ความรไู ด แตไม ตามลำดับขัน้ สามารถเชอ่ื มโยง ตรงประเดน็ และมี เปน ไปตามลำดับ ความสมั พันธ ความรูไ ดถ กู ตอ ง ความสมั พนั ธ ตามลำดบั ความถูกตอ งเปน 3. มคี วามคิด ความสัมพันธ สามารถเขียนผัง สรา งสรรคในการ สวนใหญ ความคิดได แต เขยี นผงั ความคิด สามารถเขยี นผัง ขาดรปู แบบและ ความคดิ ไดใ น สามารถเชอื่ มโยง สามารถเชอ่ื มโยง ความสวยงาม รปู แบบท่ีถูกตอ ง และสวยงาม ความรูไ ด และ ความรูและลำดบั ลำดบั ความ ความสมั พันธไ ด สมั พนั ธได บา ง คอนขางครบ สามารถเขียนผัง สามารถเขยี นผงั ความคิดไดถ กู ตอ ง ความคดิ ได และมี และมีขอบกพรอ ง ขอบกพรองเปน เพยี งเล็กนอ ย บางสว น คะแนนตดั สนิ ระดับคณุ ภาพ คะแนน คณุ ภาพ 10 -12 ดีมาก 7–9 4–6 ดี 1–3 พอใช ควรปรับปรงุ

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงานรายกลมุ (P) รายการประเมิน ดมี าก เกณฑการประเมิน ปรบั ปรงุ 1.ความถกู ตองของเนอ้ื หา มเี นือ้ หาสาระ มีเน้อื หาสาระ ครบถว นสมบูรณ ดี พอใช ไมค รบถวนแต 2.วธิ กี ารนำเสนอของกลุม มีเนอ้ื หาสาระ มีเนือ้ หาสาระ ภาพรวมของ รปู แบบการ คอนขา งครบถวน ไมครบถวนแต สาระทัง้ หมด 3.ใชภาษาถูกตอ ง นำเสนองาน อยใู นเกณฑตอง เหมาะสม แปลกใหม ภาพรวมของ ปรับปรงุ นาสนใจ ลำดับ สาระทั้งหมดอยู รปู แบบการ เรือ่ งราวไดดมี าก ในเกณฑพ อใช นำเสนองานไม ใชภาษาถูกตอง นาสนใจ ลำดบั เหมาะสม ออก รูปแบบการ รูปแบบการ เรือ่ งราวไดไมด ี เสียงไดถ ูกตอ งดี นำเสนองาน นำเสนองาน มาก ลำดับความ นา สนใจ ลำดับ นา สนใจ พอใช ใชภ าษาถกู ตอ ง ไดช ัดเจนเขา ใจ เร่อื งราวไดด ี ลำดบั เรื่องราวได เหมาะสม ออก งาย พอใช เสยี งไดไมถูกตอ ง ใชภ าษาถกู ตอง ลำดบั ความไม เหมาะสม ออก ใชภาษาถูกตอ ง ชดั เจน เสยี งไดถูกตองดี เหมาะสมออก ลำดบั ความไดด ี เสยี งไดถกู ตอง พอใช พอใชลำดบั ความ ไดพอเขา ใจ คะแนนตดั สนิ ระดับคุณภาพ คะแนน คุณภาพ 10 -12 ดมี าก 7–9 4–6 ดี 1–3 พอใช ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ ดา นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (A) รายการ ดเี ย่ยี ม เกณฑก ารประเมนิ ไมผ า น ประเมนิ (3 (0 ดี ผา น (2) (1) 1. ใฝเรียนรู ศกึ ษาคนควา ศกึ ษาคนควา ศึกษาคนควา ไมศ กึ ษาคนควา หาความรูจาก หาความรูจาก หาความรูจากหนังสอื หาความรู หนังสอื เอกสาร หนงั สือ เอกสาร เอกสาร สิง่ พิมพ สงิ่ พิมพ สิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยตี า ง ๆ สอ่ื เทคโนโลยีตา งๆ ส่ือเทคโนโลยตี างๆ แหลงเรยี นรทู ้งั แหลงเรยี นรทู งั้ แหลงเรียนรทู ้ัง ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก โรงเรยี น โรงเรียน เลือกใชส่อื โรงเรียน มีการบันทึกความรู ไดอยา งเหมาะสม มกี ารบันทึกความรู มกี ารบนั ทกึ ความรู สรุปเปน องคความรู สรปุ เปนองคค วามรู นำเสนอและ นำเสนอและ แลกเปล่ยี นความรู แลกเปล่ียนองค กบั ผอู นื่ ได ความรดู วยวิธกี าร ทหี่ ลากหลาย 2. มุงมนั่ ใน ต้งั ใจและรบั ผิดชอบ ตั้งใจและรบั ผิดชอบ ตัง้ ใจและรับผดิ ชอบ ไมตัง้ ใจปฏิบตั ิ การทำงาน ในการปฏบิ ตั ิหนาท่ี ในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ ในการปฏบิ ัตหิ นา ท่ีท่ี หนาท่ีการงาน ท่ีไดร ับมอบหมายให ที่ไดร บั มอบหมายให ไดร ับมอบหมายให สำเร็จมกี าร สำเร็จมีการ สำเร็จมกี ารปรบั ปรุง ปรับปรงุ และ ปรบั ปรงุ และ และพฒั นาการ พัฒนาการทำงานให พัฒนาการทำงานให ทำงานใหด ีขน้ึ ดขี นึ้ ดวยตนเองและ ดีขึน้ ดว ยตนเอง เปนแบบอยา งทีด่ ี

เกณฑคะแนนระดับคณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัตชิ ัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดเี ยี่ยม หมายถึง พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ิชัดเจน และบอยครัง้ (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิเปนบางครงั้ (1 คะแนน ผา น หมายถึง ไมเ คยปฏบิ ตั พิ ฤติกรรม (0 คะแนน ไมผาน หมายถึง คุณภาพ เกณฑก ารสรปุ ผล ดเี ยี่ยม คะแนน 5-6 ดี 3-4 ผา น 2-1 ไมผ าน 0

แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น ระดับคณุ ภาพ สมรรถนะทป่ี ระเมนิ ดเี ยย่ี ม ดี ผาน ไมผ า น (3 (2 (1 (0) 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1.1 มีความสามารถในการรบั - สงสาร 1.2 มีความสามารถในการถา ยทอดความรู ความคิด ความเขาใจของตนเอง โดยใชภาษาอยางเหมาะสม 1.3 ใชวิธกี ารส่อื สารท่ีเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห 2.2 มคี วามสามารถในการสรา งองคความรู 3. ความสามารถในการแกป ญหา 3.1 มีความสามารถในการแกปญหาและอปุ สรรคตางๆ ทเ่ี ผชิญได 3.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู ประยุกต ความรู มาใชในการปอ งกันและแกป ญ หา 4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ 4.1 ทำงานกลุม รวมกับผอู ืน่ ได 4.2 นำความรูท่ไี ดไปใชป ระโยชนในชวี ิตประจำวัน 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 5.1 เลอื กใชเทคโนโลยีไดอยา งเหมาะสม 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี สรปุ ผลการประเมนิ

เกณฑคะแนนระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบัติชัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดีเย่ียม หมายถงึ พฤติกรรมทีป่ ฏิบัตชิ ัดเจน และบอ ยคร้งั (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั เิ ปนบางครั้ง (1 คะแนน ไมเ คยปฏิบตั ิพฤติกรรม (0 คะแนน ผา น หมายถึง ไมผาน หมายถงึ เกณฑก ารสรปุ ผล คุณภาพ คะแนน ดีเยยี่ ม 13-15 9 – 12 ดี 1–8 ผา น 0 ไมผ าน

แบบประเมินคานยิ มหลกั ของคนไทย รายการประเมิน ดีเยยี่ ม เกณฑการประเมนิ ไมผา น ดี ผาน (0 (3 (2) (1) ไมปฏบิ ตั ติ าม ปฏิบัติตามหลัก ปฏบิ ัตติ ามหลกั หลกั ศลี ธรรม ขอที่ 6 มีศีลธรรม รักษา ประพฤตติ ามหลัก ศีลธรรม รจู กั การ ศลี ธรรม รูจักการ ไมรจู กั การ แบงปนและ แบง ปนและ แบง ปน และ ความสัตย หวังดีตอผูอื่น ศลี ธรรม รูจักการ ชว ยเหลือผอู ืน่ ชว ยเหลอื ผูอนื่ ชวยเหลือผอู ่นื บาง นานๆ ครั้ง เผอื่ แผแ ละแบง ปน แบงปน และ ไมเ คารพสิทธิ เคารพสทิ ธิของ เคารพสิทธขิ อง ของผูอ่นื และ ชว ยเหลือผอู นื่ ผอู ื่น และปฏบิ ตั ิ ผอู ่ืน และปฏิบัติ ไมปฏบิ ัตติ น ตนตามหลกั ตนตามหลัก ตามหลกั สมำ่ เสมอ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย ประชาธปิ ไตย บา งเปนบางครงั้ แตน านๆ คร้งั ขอท่ี 7 เขาใจการเรียนรู เคารพสิทธิของ ไมต รงตอ เวลา ตรงตอเวลา ให ตรงตอเวลา ให และไมค วาม การเปน ประชาธิปไตย ผูอืน่ และปฏบิ ัติ ความเคารพและ ความเคารพและ เคารพและ ปฏบิ ัตติ ามคำสั่งดี ปฏิบัตติ ามคำสง่ั ปฏบิ ตั ิตาม อันมีพระมหากษัตริยทรง ตนตามหลกั คำสั่ง เปน บางครัง้ เปนประมุขท่ถี ูกตอง ประชาธปิ ไตย ไมส ภุ าพ เรยี บรอย และ ขอที่ 8 มีระ เบียบ วินั ย ตรงตอเวลา ให ขาดความ รอบคอบในการ เคารพกฎหมาย ผูน อ ยรูจัก ความเคารพและ ทำงาน การเคารพผใู หญ ปฏิบัติตามคำสั่งดี มาก ขอท่ี 9 มีสติ รูตัว รูคิด สุภาพเรียบรอย สุภาพเรยี บรอ ย สุภาพเรยี บรอ ย และมคี วาม และมีความ รูทำ รูปฏิบัติตามพระราช- และมคี วาม รอบคอบในการ รอบคอบในการ ทำงานเปน ทำงาน แตน านๆ ดำรัสของพระบาทสมเด็จ รอบคอบในการ บางครงั้ ครงั้ พระเจา อยูห วั ทำงานดีมาก

เกณฑคะแนนระดบั คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ัดเจน สม่ำเสมอ (3 คะแนน ดเี ยยี่ ม หมายถงึ พฤติกรรมทีป่ ฏิบัติชัดเจน และบอยคร้ัง (2 คะแนน ดี หมายถึง พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติเปนบางคร้ัง (1 คะแนน ผาน หมายถงึ ไมเ คยปฏิบัติพฤติกรรม (0 คะแนน ไมผ า น หมายถึง คุณภาพ เกณฑก ารสรุปผล ดีเยย่ี ม คะแนน 10-12 ดี 7-9 ผา น 4-6 ไมผ าน 1-3

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 5 กลมุ สาระการเรยี นรู การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 งานเกษตร จำนวน 1 ช่วั โมง เรื่อง ปฏบิ ัติการผลิตปุยทท่ี ำจากไข วนั ที่ 13 มถิ นุ ายน 2562 ………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….……….. สาระสำคญั เราสามารถนำไขมาทำเปนปุยเพ่ือนำไปใชป ระโยชนทางการเกษตรได เชน การทำปุยเปลือกไข, ฮอรโ มนไข และจุลนิ ทรยี สังเคราะหแสง เพ่ือนำไปใชบำรุงตนไม พชื ผัก เจรญิ เติบโต ลำตนเหนียว ออก ดอก ออกผลเร็วข้ึน บำรงุ รากใหแข็งแรง รวมท้ังชวยลดกรดในดนิ และเพิม่ ไนโตรเจนใหกบั ดิน มาตรฐานการเรยี นรู / ตวั ชวี้ ัด มาตรฐานการเรียนรู ง 1.1 เขา ใจการทำงาน มีความคิดสรา งสรรค มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกป ญหา ทกั ษะการทำงานรวมกนั และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนสิ ัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิง่ แวดลอม เพือ่ การดำรงชีวิต และครอบครัว ตัวชว้ี ัด ง 1.1 ป.5/1 อธิบายเหตุผลการทำงานแตละขั้นตอนถูกตอ งตามกระบวนการทำงาน ง 1.1 ป.5/2 ใชทกั ษะการจดั การในการทำงานอยางเปนระบบ ประณีต และมคี วามคิด สรางสรรค จดุ ประสงคการเรยี นรู 1. อธบิ ายวิธีการผลติ ปุย ทีท่ ำจากไข 3 ชนิด (K) 2. ปฏิบัตกิ ารทำผลติ ปยุ ท่ีทำจากไข 3 ชนดิ (P) 3. เห็นความสำคญั ของการนำไขม าใชป ระโยชนใ นงานเกษตร (A) สาระการเรียนรู 1. วิธีการทำปยุ เปลอื กไข 2. วธิ กี ารทำปุยฮอรโ มนไข 3. วิธีการทำปุยจลุ ินทรียสังเคราะหแสง

สมรรถนะสำคญั ของผูเ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ หา 4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี คา นยิ มหลกั ของคนไทย (บรู ณาการ ขอ ที่ 6 มีศีลธรรม รกั ษาความสตั ย หวังดตี อ ผูอื่น เผือ่ แผแ ละแบง ปน ขอที่ 7 เขา ใจการเรยี นรูก ารเปนประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ ทถี่ ูกตอ ง ขอ ที่ 8 มีระเบยี บวินัย เคารพกฎหมาย ผนู อยรจู กั การเคารพผูใหญ ขอ ที่ 9 มสี ติรตู วั รคู ิด รูทำ รูปฏิบัตติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค 1. ใฝเรยี นรู 2. มงุ มนั่ ในการทำงาน การจดั กิจกรรมการเรียนรู (ใชก ระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน หรอื 5 STEPs) 1. ต้งั คำถาม 1. ครูทบทวนความรใู นชัว่ โมงเรียนที่แลว ดวยการเปด สไลดแผนภาพความคิด เรื่อง วิธีการผลิต ปยุ ทท่ี ำจากไข 2. ครแู ละนักเรียนรว มกันสนทนา โดยใชคำถาม ดงั นี้ - กอนการผลิตปุยท่ีทำจากไข สิง่ ทตี่ อ งเตรียมมีอะไรบา ง 2. แสวงหาสารสนเทศ 2. นักเรียนแตละกลุม จัดฐานใหความรูเร่ืองการทำปุยท้ัง 3 ชนิด โดยวางวัสดุอุปกรณท่ีใชใน การผลิตปุยไวบนโตะ และติดกระดาษชารตท่ีฐานของกลุมตนเอง จากนั้นใหน ักเรียนแตละกลุมสลับเขา ฐานแตล ะฐาน เพื่อศึกษาวิธีการทำจากกระดาษชารตทีแ่ ตละกลุม จดั ทำไว

3. สรา งองคความรู 3. นกั เรยี นรว มกนั แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับปยุ ท้ัง 3 ชนิด โดยใชค ำถาม ดังนี้ - จากการเขาฐาน วัสดอุ ปุ กรณทีใ่ ชใ นการผลิตปุยแตล ะชนดิ เหมอื นหรือแตกตา งกันอยางไร - จากการเขาฐาน ขน้ั ตอนและวิธกี ารผลติ ปยุ แตละชนิด เหมือนหรือแตกตา งกันอยางไร 4. นกั เรียนรว มกันคดิ ประเมนิ เกย่ี วกบั การทำปุย ทั้ง 3 ชนดิ โดยใชคำถามกระตนุ ความคิด ดังนี้ - นักเรยี นคิดวาวธิ ีการทำปยุ ท่ีนกั เรียนคนความาสามารถนำไปปรบั ปรุงหรือพัฒนาสูตรใหด ี ขนึ้ ไดหรอื ไม เพราะเหตุใด 4. เรยี นรูเพ่อื สอื่ สาร 5. ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอวัสดุอุปกรณที่ใชในการผลิตปุย และสาธิตการ ผลิตปยุ ของกลมุ ตนเองหนาชนั้ เรยี น โดยเรียงลำดับการนำเสนอและสาธิตไปทลี ะกลุม 5. ตอบแทนสังคม 6. นักเรียนแตละกลุมชวยกันรวบรวมขอมูลเก่ียววิธีการและข้ันตอนการทำปุย รวมทั้งวัสดุ อุปกรณสิ่งที่ตอ งจดั เตรียมในการทำปยุ ของกลุม ตนเอง เพ่อื เตรียมนำไปเขยี นเปน โปสเตอรนำไปตดิ ทีป่ า ย ประชาสมั พันธข องโรงเรียน เมือ่ เรียนจบหนวยการเรียนรูท่ี 1 งานเกษตร เพอื่ เปนการเผยแพรความรูกับ นักเรยี นและผูท ีส่ นใจตอไป ส่ือและแหลงการเรยี นรู 1. วสั ดุและอปุ กรณท่ใี ชก ารผลิตปยุ เปลอื กไข ฮอรโมนไข และจลุ ินทรียสงั เคราะหแสง 2. กระดาษชารต ใหความรเู รอื่ งการผลติ ปุยเปลอื กไข ฮอรโ มนไข และจุลนิ ทรียส ังเคราะหแ สง การประเมินผลการเรียนรู 1. ประเมนิ การนำเสนอผลงานรายกลมุ (P) ดวยแบบประเมิน 2. ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ดา นใฝเรยี นรู มงุ มัน่ ในการทำงาน (A) ดวยแบบประเมิน 3. ประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รียน ดวยแบบประเมนิ 4. ประเมินคา นิยมหลกั ของคนไทย ดว ยแบบประเมิน

แบบประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Rubrics) แบบประเมินการนำเสนอผลงานรายกลมุ (P) รายการประเมิน ดีมาก เกณฑการประเมิน ปรับปรุง 1.ความถกู ตอ งของเน้อื หา มีเน้อื หาสาระ มีเน้อื หาสาระ ครบถว นสมบรู ณ ดี พอใช ไมค รบถวนแต 2.วิธีการนำเสนอของกลุม ภาพรวมของ รูปแบบการ มีเนือ้ หาสาระ มีเนอ้ื หาสาระ สาระทั้งหมด 3.ใชภ าษาถกู ตอ ง นำเสนองาน คอ นขา งครบถวน ไมค รบถวนแต อยูในเกณฑตอง เหมาะสม แปลกใหม ปรบั ปรงุ นาสนใจ ลำดบั ภาพรวมของ รปู แบบการ เร่ืองราวไดด มี าก สาระทงั้ หมดอยู นำเสนองานไม ใชภาษาถูกตอง ในเกณฑพอใช นา สนใจ ลำดบั เหมาะสม ออก เรื่องราวไดไ มด ี เสียงไดถ ูกตอ งดี รูปแบบการ รูปแบบการ มาก ลำดับความ นำเสนองาน นำเสนองาน ใชภ าษาถูกตอง ไดชัดเจนเขา ใจ นาสนใจ ลำดบั นา สนใจ พอใช เหมาะสม ออก งาย เรอื่ งราวไดดี ลำดบั เรอื่ งราวได เสยี งไดไมถ ูกตอ ง พอใช ลำดบั ความไม ใชภ าษาถูกตอง ชดั เจน เหมาะสม ออก ใชภาษาถกู ตอง เสียงไดถูกตอ งดี เหมาะสมออก ลำดับความไดดี เสยี งไดถกู ตอ ง พอใช พอใชลำดบั ความ ไดพอเขา ใจ คะแนนตัดสนิ ระดบั คณุ ภาพ คะแนน คณุ ภาพ 10 -12 ดีมาก 7–9 4–6 ดี 1–3 พอใช ปรบั ปรุง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook