Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย 22562 pdf

วิจัย 22562 pdf

Published by 1nutthawut, 2021-07-21 03:37:58

Description: วิจัย 22562 pdf

Search

Read the Text Version

งานวิจยั ในชนั้ เรียน เร่อื ง การพฒั นาการจดั การเรียนรโู ดยใชกระบวนการเรยี นรู 5 ขนั้ ตอน (5 STEPS) บูรณาการคา นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ในวิชาการงานอาชพี ของนักเรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปที่ 2 ผวู ิจยั นายณัฐวรรธน เลิศภกั ดีวัฒนกุล ตำแหนง ครู รบั เงนิ เดอื นอนั ดบั ค.ศ.2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นหวั หมาก สำนกั งานเขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร

การพัฒนาการจัดการเรยี นรโู ดยใชก ระบวนการเรียนรู 5 ขน้ั ตอน (5 STEPS) บรู ณาการคานิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ในวิชาการงานอาชีพ ของนักเรียนระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 นายณฐั วรรธน เลศิ ภักดวี ฒั นกุล ตำแหนง ครู รับเงินเดอื นอันดับ คศ.2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2563 โรงเรียนหวั หมาก สำนกั งานเขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร

คำนำ แบบรายงานการวิจัยฉบบั น้ีเปน การทำการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการจัดการเรยี นรูโดยใชก ระบวนการเรยี นรู 5 ขั้นตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ในวิชาการงานอาชีพ ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที่ 2 ประจำภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563 โดยการวิจัยครั้งน้ีมกี ารออกแบบเทคนิค กระบวนการจัดการเรียนรูท่ีมุงเนนผูเรียนเปนสำคัญเหมาะสมกับวัย และมีการประยุกตใชเทคโนโลยี ส่ือ ประกอบการการจัดการเรียนรู โดยใชคำถามและปญหาเปนฐาน การฝกทักษะปฏิบัติ มีการทำกิจกรรมกลุม โดยใชรูปแบบการสอนแบบรวมมือรวมใจ รวมท้ังมีการวดั และประเมินผลการเรียนรู เพ่ือใหก ารจดั การเรยี นรูที่ มปี ระสทิ ธภิ าพ และมเี นื้อหาสอดคลอ งตามหลกั สูตรแกนกลางข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ดังนั้น ในการจัดทำแบบรายงานการวิจัยช้ินน้ี ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวาจะเปนประโยชนตอการ เรียนการสอน และเปน การเรยี นการสอนท่นี กั เรียนจะไดร บั ความรูไดดี นายณัฐวรรธน เลิศภกั ดวี ัฒนกุล ผูท ำการวิจัย

สารบัญ หนา บทที่ 1 1. บทนำ 1 3 1.1 ความเปนมาและความสำคญั ของปญ หา 3 1.2 จุดมงุ หมายในการวิจยั 3 1.3 ความสำคัญของการวิจัย 4 1.4 ขอบเขตของการวิจยั 5 1.5 นิยามศัพทเ ฉพาะ 5 2. เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวขอ ง 6 2.1 รปู แบบกระบวนการเรยี นรู 5 ขนั้ ตอน 8 2.2 นโยบายคา นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 10 2.3 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 10 3. วิธดี ำเนนิ การวิจัย 10 เทคนคิ การวิจัย 10 ประชากรและกลมุ ตวั อยางท่ีใชในการวจิ ัย 11 เคร่ืองมือท่ีใชใ นการวิจยั 12 สถิติที่ใชในการวเิ คราะหข อมลู 12 4. ผลการวเิ คราะหขอมูล 14 ตารางแสดงคะแนนความสามารถในการทำแบบทดสอบกอ นเรียนหลังเรยี น 16 ตารางแสดงแบบประเมินคานยิ มหลกั ของคนไทย 17 5. สรุปผล อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ 6. บรรณานกุ รม

ช่ือเรื่อง การพัฒนาการจดั การเรยี นรโู ดยใชก ระบวนการเรยี นรู 5 ขัน้ ตอน (5 STEPS) บรู ณาการ ชอื่ ผูวจิ ัย คานิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ในวชิ าการงานอาชีพ ของนกั เรียนระดับชัน้ ประถม ภาคเรียนท่ี ศกึ ษาปที่ 2 ปการศกึ ษา นายณฐั วรรธน เลิศภักดีวัฒนกลุ โรงเรยี น 1 2563 หัวหมาก สำนกั งานเขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อ (1 เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรูกลุมสาระการงานอาชีพ โดยใช นวัตกรรมการจัดการเรียนรดู วยกระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ในระดับช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 2 หนวยการเรียนรูท่ี 1 งานบาน ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563 (2 เพ่ือเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการใชนวัตกรรมการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการ เรียนรู 5 ขนั้ ตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ กลุมตวั อยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/2 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563 โรงเรียน หวั หมาก โดยการสมุ แบบเฉพาะเจาะจง ( Purposive sampling จำนวนนักเรียน 18 คน ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลังการใชนวัตกรรมการจัดการเรยี นรูดวยกระบวนการ เรียนรู 5 ข้ันตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ สูงกวา กอ นการใชน วตั กรรม

บทที่ 1 บทนำ ความเปนมาและความสำคญั ของปญหา จากการปฏิรูปการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ที่หวังจะพัฒนาเด็กไทยและคนไทยใหเปนผูเรียนรตู ลอด ชีวติ อยางมคี ณุ ภาพ การจดั การเรยี นรูของครู จึงตองมีการวิเคราะหหลักสตู ร และการจดั การเรียนรทู ่ีเนนเด็ก เปน ศูนยกลาง ซ่งึ เปนที่มาของคำวา “กระบวนการเรยี นรู 5 ข้นั ตอน หรอื 5 STEPs” ซ่ึงเปนแนวการจัดการ เรียนการสอนโดยใชวิธีการสืบสอบหรือวิธีสอนแบบโครงงาน ซ่ึงประกอบดวย \"การต้ังคำถาม การแสวงหา สารสนเทศ การสรางความรู การส่ือสาร และการตอบแทนสังคม\" ซ่ึงจะเปนตัวชวยพัฒนาครูใหม ีคุณภาพ อีก ทั้งจะสามารถทำใหเด็กไทยเปน นักเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ซงึ่ รูปแบบกระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน หรอื 5 STEPs มลี ักษณะดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 การเรียนรูตั้งคำถาม หรือขั้นตั้งคำถาม เปนที่ใหนักเรียนฝกสังเกตสถานการณ ปรากฏการณตางๆ จนเกิดความสงสัย จากน้ันฝกใหเด็กตั้งคำถามสำคัญ รวมท้ังการคาดคะเนคำตอบ ดวย การสบื คน ความรจู ากแหลงตา งๆ และสรุปคำตอบชัว่ คราว ขนั้ ตอนที่ 2 การเรยี นรูแสวงหาสารสนเทศ เปนขั้นตอนการออกแบบ/วางแผนเพ่ือรวบรวมขอมูล สารสนเทศ จากแหลงเรยี นรตู างๆ รวมทั้งการทดลองเปนขั้นทีเ่ ด็กใชหลักการนิรภัย (Deduction reasoning) เพ่อื การออกแบบขอมลู ข้นั ตอนที่ 3 การเรียนรูเพื่อสรางองคความรู เปนข้ันตอนท่ีเด็กมกี ารคิดวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ การสื่อความหมายขอมูลดวยแบบตางๆ หรือดวยผังกราฟก การแปรผล จนถึงการสรุปผล หรอื การสรางคำอธิบาย เปนการสรางองคค วามรู ซึ่งเปน แกนความรปู ระเภท 1. ขอ เท็จจริง 2. คำนิยาม 3. มโนทัศน 4. หลกั การ 5. กฏ 6. ทฤษฏี ข้ันตอนท่ี 4 การเรียนรูเพื่อการส่ือสาร คือ ข้ันนำเสนอความรูดวยการมใชภาษาท่ีถูกตอง ชัดเจน และเปนท่เี ขาใจ อาจเปน การนำเสนอภาษา และนำเสนอดวยวาจา

2 ขั้นตอนที่ 5 การเรียนรูเพื่อตอบแทนสังคม เปนข้ันตอนการฝกเด็กใหนำความรูที่เขาใจ นำการ เรยี นรูไปใชป ระโยชนเพ่ือสว นรวม หรือเห็นตอประโยชนสวนรวมดวยการทำงานเปนกลมุ รวมสรางผลงานท่ี ไดจ ากการแกปญหาสังคมอยางสรา งสรรค ซ่งึ อาจเปนความรู แนวทางสงิ่ ประดษิ ฐ ซ่ึงอาจเปน นวัตกรรม ดว ย ความรบั ผิดชอบตอสงั คม อันเปน การแสดงออกของการเกือ้ กลู และแบงปนใหสงั คมมสี ันตอิ ยา งย่งั ยนื (นำ ตามที่คณะรักษาความสงบแหงชาติ ( คสช. ไดประกาศนโยบายคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ เพ่ือเสริมสรา งและปลกู ฝงใหแกเยาวชนและคนไทย ดงั นี้ 1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 2. ซื่อสตั ย เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ นส่ิงท่ดี ีงามเพอ่ื สว นรวม 3. กตัญูตอ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย 4. ใฝหาความรู หม่ันศกึ ษาเลาเรยี นท้ังทางตรงและทางออ ม 5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม 6. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย หวงั ดตี อผอู น่ื เผือ่ แผและแบง ปน 7. เขา ใจเรียนรกู ารเปน ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุขทถี่ กู ตอง 8. มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู อ ยรจู ักเคารพผูใ หญ 9. มีสตริ ตู วั รูค ิด รทู ำ รปู ฏบิ ตั ิตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว 10. รูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รจู ักออมไวใ ชเม่ือยามจำเปน มีไวพ อกิน พอใช ถาเหลือกแ็ จกจายจำหนาย และพรอมที่จะขยายกิจการเม่ือมคี วามพรอ ม เมอื่ มภี มู ิคมุ กันท่ดี ี 11. มีความเขม แข็งทั้งทางรา งกายและจิตใจ ไมย อมแพต ออำนาจใฝต่ำหรือกเิ ลส มีความละอาย เกรงกลวั ตอ บาปตามหลักของศาสนา 12. คำนงึ ถึงผลประโยชนของสว นรวมและของชาตมิ ากกวาผลประโยชนข องตนเอง การนำนโยบายคานิยมหลัก 12 ประการสูก ารปฏิบัติในสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดนำนโยบายคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ สูการปฏบิ ตั ิ โดยกำหนดแนวปฏิบตั ิในสถานศึกษาและเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ดำเนินการ ดังน้ี 1. ใหสถานศึกษาผนวกคานิยมหลัก 12 ประการ ในการจัดการเรียนรูทุกกลุมสาระการ เรยี นรู และจดั กิจกรรมพัฒนาผเู รยี นอยางเปน รูปธรรม เชน กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย มีการประกวด เลาเร่ืองอานทำนองเสนาะ ทองบทอาขยาน คัดลายมือ แตงเพลง กาพย กลอน ฯลฯ กลุมสาระการ เรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีกิจกรรมการเรียนรูตามแหลงประวัติศาสตร ทำโครงงาน/ โครงการตามแนวพระราชดำริ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน และกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ มี การประกวดวาดภาพ รองเพลงเก่ียวกบั วฒั นธรรมประเพณีไทย เปนตน

3 2. ใหสถานศึกษาปลกู ฝง และพฒั นาคา นยิ มหลกั 12 ประการใหกับนกั เรียนอยางสม่ำเสมอ และตอเน่ือง เนน การปฏิบัตจิ รงิ ในชีวติ ประจำวนั จนเกดิ เปนพฤตกิ รรมที่ย่งั ยนื ทัง้ นี้ ใหม กี ารพฒั นาและ ประเมนิ อยา งเขมขน ในแตละระดับชั้น โดยในระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 1-3 เนนในดา นมคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย (ขอ 1 กตญั ตู อพอแม ผูปกครอง ครบู าอาจารย (ขอ 3 มีระเบียบวินัย เคารพ กฎหมาย ผูนอ ยรจู ักการเคารพผใู หญ (ขอ 8 ดังน้ัน จึงไดคิดคนนวัตกรรมการจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน (5 STEPS) บูรณาการคานยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ ในวิชาการงานอาชีพ ของนกั เรียนระดับชนั้ ประถมศึกษาปที่ 2 เพ่ือออกแบบเทคนิคกระบวนการจัดการเรียนรูท่ีมุงเนนผูเรียนเปนสำคัญเหมาะสมกับวัย และมีการ ประยุกตใชเทคโนโลยี ส่ือ ประกอบการการจัดการเรียนรู โดยใชคำถามและปญหาเปนฐาน การฝกทักษะ ปฏิบัติ มีการทำกิจกรรมกลุมโดยใชรูปแบบการสอนแบบรวมมือรวมใจ รวมทั้งมีการวัดและประเมินผลการ เรียนรู เพื่อใหการจัดการเรียนรูมีประสิทธิภาพ และมีเนื้อหาสอดคลองตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 จดุ มุงหมายในการวจิ ยั 1. เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรูกลุมสาระการงานอาชีพ โดยใชนวัตกรรมการจัดการเรียนรูดวย กระบวนการเรียนรู 5 ขั้นตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ในระดับชั้น ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 งานบา น ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2563 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการใชนวัตกรรมการจัดการเรียนรูดวย กระบวนการเรยี นรู 5 ขนั้ ตอน (5 STEPS) บรู ณาการคานยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ ความสำคัญของการวิจัย การวิจัยคร้ังนท้ี ำใหไดท ราบผลการดำเนินการจัดการเรียนรใู นวิชาการงานอาชพี หนวยการเรยี นรูท ่ี 1 งานบาน โดยใชน วตั กรรมการจดั การเรียนรดู ว ยกระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน (5 STEPS) บรู ณาการคา นิยม หลักของคนไทย 12 ประการ และสามารถเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนและหลังการเรียนรู จากการเรยี นการสอนโดยนำนวัตกรรมดังกลาวมาใชได เพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการ เรียนรูในหนวยการเรียนรูอื่น นอกจากน้ีผลของการวิจัยยังทำใหนักเรียนสามารถเรียนรูไดอยางหลากหลาย เรียนรูไดดวยตนเอง สนใจ เขาใจเน้ือหาที่เรียนไดดีย่ิงขึ้น สงผลใหมีสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดีขึ้น รวมทั้ง สามารถนำไปใชและเปนพนื้ ฐานในการศึกษาตอในระดบั ทสี่ ูงข้ึนตอ ไปได

4 ขอบเขตของการวจิ ัย ประชากรท่ใี ชใ นการวจิ ัย การวิจัยในครง้ั น้ี ประชากรเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563 โรงเรียนหัวหมาก จำนวนนักเรียน 37 คน กลุมตัวอยา งทใ่ี ชในการวิจยั การวิจัยครง้ั นี้ใชก ลุมตัวอยา งเปนนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท ี่ 2/2 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนหวั หมาก โดยการสุม แบบเฉพาะเจาะจง ( Purposive sampling จำนวนนกั เรียน 18 คน เนอื้ หาทใ่ี ชใ นการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใชเน้ือหาการจัดการเรียนการสอนหนวยการเรียนรูที่ 1 วิชาการงานอาชีพ เรื่อง ประโยชนของงานบา นของชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนหัวหมาก ระยะเวลาทใี่ ชใ นการวิจยั การวจิ ัยในครั้งน้ีดำเนนิ การทดลองในภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2563 ตัวแปรทศ่ี ึกษา ไดแก 1. ตวั แปรอิสระไดแก นวัตกรรมการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู 5 ขั้นตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 2. ตัวแปรตาม ไดแก ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน นิยามศพั ทเฉพาะ 1. นวตั กรรมการจัดการเรียนรูด วยกระบวนการเรียนรู 5 ขั้นตอน (5 STEPS) บรู ณาการคานิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ หมายถงึ นวัตกรรมท่ีถูกนำมาพฒั นาตอ ยอดโดยบูรณาการคา นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน หมายถงึ คะแนนของนักเรียนท่ไี ดจากการทำแบบทดสอบกอ นและหลัง เรยี น เปน แบบทดสอบทผ่ี สู อนสรา งข้นึ และไดรับการตรวจสอบคุณภาพแลว

5 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ ง เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ งเรือ่ งการพฒั นาการจดั การเรยี นรูโดยใชก ระบวนการเรียนรู 5 ขน้ั ตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ในวิชาการงานอาชีพ หนวยที่ 1 งานบาน ของ นักเรยี นระดับชัน้ ประถมศึกษาปที่ 2 ผวู ิจยั ไดศึกษาเอกสาร และงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วของและไดน ำเสนอตามหวั ขอ ดังน้ี 1. รปู แบบกระบวนการเรียนรู 5 ขน้ั ตอน 2. นโยบายคา นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 3. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 1. รปู แบบกระบวนการเรยี นรู 5 ขั้นตอน จากการปฏิรูปการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ที่หวังจะพัฒนาเด็กไทยและคนไทยใหเปนผูเรียนรูตลอด ชีวติ อยางมีคณุ ภาพ การจดั การเรยี นรขู องครู จงึ ตองมีการวิเคราะหห ลกั สูตร และการจดั การเรียนรทู ่ีเนน เด็ก เปนศูนยกลาง ซง่ึ เปนที่มาของคำวา “กระบวนการเรยี นรู 5 ข้นั ตอน หรือ 5 STEPs” ซึ่งเปนแนวการจัดการ เรียนการสอนโดยใชวิธีการสืบสอบหรือวิธีสอนแบบโครงงาน ซ่ึงประกอบดวย \"การต้ังคำถาม การแสวงหา สารสนเทศ การสรางความรู การสื่อสาร และการตอบแทนสังคม\" ซ่ึงจะเปนตัวชว ยพฒั นาครูใหม ีคณุ ภาพ อีก ทง้ั จะสามารถทำใหเด็กไทยเปน นักเรียนรตู ลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ซึ่งรปู แบบกระบวนการเรยี นรู 5 ข้ันตอน หรอื 5 STEPs มลี ักษณะดังน้ี ขั้นตอนที่ 1 การเรียนรูตั้งคำถาม หรือข้ันตั้งคำถาม เปนที่ใหนักเรียนฝกสังเกตสถานการณ ปรากฏการณตางๆ จนเกิดความสงสัย จากนั้นฝกใหเด็กตั้งคำถามสำคัญ รวมท้ังการคาดคะเนคำตอบ ดวย การสบื คนความรูจากแหลงตางๆ และสรปุ คำตอบชวั่ คราว ขั้นตอนที่ 2 การเรียนรูแสวงหาสารสนเทศ เปนขั้นตอนการออกแบบ/วางแผนเพ่ือรวบรวมขอมูล สารสนเทศ จากแหลง เรยี นรตู างๆ รวมท้ังการทดลองเปนข้นั ทเ่ี ด็กใชหลักการนิรภัย (Deduction reasoning) เพ่อื การออกแบบขอ มลู ขนั้ ตอนท่ี 3 การเรียนรูเพื่อสรางองคความรู เปนข้ันตอนท่ีเด็กมีการคดิ วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ การส่ือความหมายขอมูลดวยแบบตางๆ หรือดวยผังกราฟก การแปรผล จนถึงการสรุปผล หรือการสรา งคำอธิบาย เปนการสรางองคความรู ซง่ึ เปน แกน ความรปู ระเภท

6 1. ขอ เทจ็ จริง 2. คำนิยาม 3. มโนทัศน 4. หลักการ 5. กฏ 6. ทฤษฏี ข้นั ตอนท่ี 4 การเรียนรูเพ่ือการส่ือสาร คือ ข้ันนำเสนอความรูดวยการมใชภาษาที่ถูกตอง ชัดเจน และเปนท่เี ขา ใจ อาจเปน การนำเสนอภาษา และนำเสนอดว ยวาจา ข้ันตอนท่ี 5 การเรียนรูเพื่อตอบแทนสังคม เปนขั้นตอนการฝกเด็กใหนำความรูที่เขาใจ นำการ เรียนรไู ปใชป ระโยชนเพื่อสว นรวม หรือเหน็ ตอประโยชนสวนรวมดวยการทำงานเปนกลมุ รวมสรา งผลงานที่ ไดจากการแกปญหาสงั คมอยางสรางสรรค ซ่งึ อาจเปนความรู แนวทางสิง่ ประดษิ ฐ ซ่ึงอาจเปน นวัตกรรม ดว ย ความรับผิดชอบตอสังคม อันเปนการแสดงออกของการเกื้อกูล และแบงปนใหสังคมมีสันติอยางยั่งยืน (น ำขอมูลมาจาก เว็บไซตทรูปลูกป ญ ญ า http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/ news/23289 2. นโยบายคานิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ตามท่ีคณะรักษาความสงบแหงชาติ ( คสช. ไดประกาศนโยบายคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ เพอ่ื เสรมิ สรา งและปลูกฝง ใหแกเ ยาวชนและคนไทย ดังน้ี 1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 2. ซื่อสัตย เสยี สละ อดทน มีอุดมการณในส่งิ ที่ดีงามเพอ่ื สวนรวม 3. กตัญูตอ พอ แม ผปู กครอง ครบู าอาจารย 4. ใฝหาความรู หม่ันศกึ ษาเลาเรยี นทั้งทางตรงและทางออ ม 5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม 6. มศี ีลธรรม รักษาความสัตย หวังดตี อผอู ่นื เผ่อื แผแ ละแบงปน 7. เขาใจเรียนรูการเปนประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุขที่ถกู ตอ ง 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูน อยรูจ กั เคารพผใู หญ 9. มีสติรูตวั รูคิด รทู ำ รูปฏิบัติตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั 10. รูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรัชญ าเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รูจักออมไวใชเมื่อยาม

7 จำเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็แจกจายจำหนาย และพรอมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพรอม เมื่อมี ภมู คิ ุม กันที่ดี 11. มีความเขมแข็งท้ังทางรา งกายและจติ ใจ ไมยอมแพตอ อำนาจใฝตำ่ หรอื กิเลส มีความละอาย เกรงกลัวตอ บาปตามหลักของศาสนา 12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชนของสว นรวมและของชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง การนำนโยบายคานยิ มหลัก 12 ประการสกู ารปฏบิ ัตใิ นสถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ไดน ำนโยบายคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ สู การปฏิบตั ิ โดยกำหนดแนวปฏิบัตใิ นสถานศึกษาและเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ดำเนินการ ดังน้ี 1. ใหสถานศึกษาผนวกคานิยมหลัก 12 ประการ ในการจัดการเรียนรูทุกกลุมสาระการ เรียนรู และจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรยี นอยางเปนรูปธรรม เชน กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย มีการประกวด เลาเร่ืองอานทำนองเสนาะ ทองบทอาขยาน คัดลายมือ แตงเพลง กาพย กลอน ฯลฯ กลุมสาระการ เรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีกิจกรรมการเรียนรูตามแหลงประวัติศาสตร ทำโครงงาน/ โครงการตามแนวพระราชดำริ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน และกลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะ มี การประกวดวาดภาพ รองเพลงเกย่ี วกบั วฒั นธรรมประเพณีไทย เปน ตน 2. ใหสถานศึกษาปลูกฝงและพัฒนาคานิยมหลัก 12 ประการใหกับนักเรียนอยางสม่ำเสมอ และตอเน่ือง เนนการปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน จนเกิดเปนพฤติกรรมที่ย่ังยืน ทั้งนี้ ใหมีการพัฒนาและ ประเมนิ อยา งเขมขน ในแตละระดับชน้ั ดังนี้ - ชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 เนนในดานการรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย (ขอ 1 ความกตัญู (ขอ 3 และการมรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย (ขอ 8 - ช้ันประถมศึกษาปที่ 4-6 เนนในดานซื่อสตั ย เสยี สละ อดทน (ขอ 2 ใฝหาความรู หมัน่ ศกึ ษาเลาเรียน (ขอ 4 และมคี วามเขม แขง็ ท้งั กายใจ (ขอ 11 - ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1-3 เนนในดานรกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทย ( ขอ 5 เขา ใจเรยี นรู ประชาธิปไตยทถ่ี ูกตอ ง (ขอ 7 และปฏบิ ัติตามพระ ราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (ขอ 9 - ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 เนนในดานมีศีลธรรม รักษาความสัตย (ขอ 6 ดำรงตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ( ขอ 10 และการเหน็ แกป ระโยชนสวนรว ม (ขอ 12 3. ใหสถานศึกษากำหนดวิธีการเรียนรูคานิยมหลัก 12 ประการ ใหเหมาะสมกับวัยและ ศกั ยภาพผเู รยี น เชน - ระดับประถมศกึ ษา ใหเรียนรูผ านบทเพลง นิทาน เหตุการณ หรือการศึกษาจากแหลง เรียนรูตางๆ อาทิ สถานทจี่ รงิ ทางประวัตศิ าสตร หนว ยงานตามโครงการพระราชดำริ พิพิธภัณฑ ฯลฯ

8 - ระดับมัธยมศึกษา ใหเ รียนรูผานการศกึ ษาเปรยี บเทียบ วิเคราะห สงั เคราะหชีวประวตั ิ บุคคลสำคัญ บุคคลที่ทำคุณประโยชนตอสวนรวม หรือเหตุการณสำคัญในอดีตและปจจุบัน เพื่อการ พัฒนาการอยูรว มกนั ในเชงิ สรา งสรรค 4. ใหผูบริหารสถานศึกษากำกับ ติดตาม นิเทศการดำเนินงานเกี่ยวกับคานิยมหลัก 12 ประการ ใหบ รรลุวัตถปุ ระสงค 5. ใหสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาติดตาม นิเทศ และประเมินผลสถานศึกษาท่ีดำเนินการ เก่ียวกับคา นิยมหลัก 12 ประการอยา งเปน รปู ธรรม และเกิดประสิทธผิ ลท่ีชดั เจน คา นิยม รายการคานิยม 12 ประการ เนนการปฏิบัตจิ ริง ขอท่ี ในชวี ติ ประจำวัน ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 1 มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 2 ซ่ือสตั ย เสยี สระ อดทน มอี ดุ มการณในสิ่งที่ดีงามเพือ่ สวนรวม 3 กตญั ตู อ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย 4 ใฝห าความรู หมนั่ ศกึ ษาเลาเรยี นทงั้ ทางตรงและทางออ ม 5 รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม 6 มีศีลธรรม รักษาความสัตย หวงั ดตี อผูอ นื่ เผื่อแผและแบงปน 7 เขาใจเรยี นรูก ารเปนประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ ทถ่ี ูกตอง 8 มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู อยรูจักการเคารพผูใหญ 9 มีสติรูตัว รคู ิด รทู ำ รูปฏิบตั ิตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั 10 รจู กั ดำรงตนอยโู ดยใชห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11 มคี วามเขม แข็งทั้งรา ยกาย และจิตใจ ไมย อมแพต ออำนาจฝายต่ำ หรอื กิเลสมีความละอายเกรงกลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา 12 คำนงึ ถึงผลประโยชนข องสวนรวม และของชาติมากกวา ผลประโยชน ของตนเอง https://www.pyo1.go.th/news/index.php?action=dlattach;topic=1116.0;attach=1410. (นำขอ มลู มาจาก เว็บไซตส ำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต ๑ https://sites.google.com /site/prachyasersthkicphxpheiyngm32m/ home/prachya-sersthkic- phx-pheiyng-kab-kar-suksa

9 3. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 3.1 ความหมายของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนเปนผลมาจากการจัดการเรียนการสอน โดยการใชน วัตกรรม ทางการเรยี นที่สรา งข้นึ ซ่ึงมผี ูใหค วามหมายของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นไว ดงั น้ี อนงค คำแสงทอง (2550 : 17) ไดสรุปวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถงึ ความรูหรือทักษะซึ่ง เกิดจากการทางานที่ประสานกัน และตองอาศยั ความพยายามอยางมาก ทง้ั องคป ระกอบทางดานสติปญญา และองคประกอบที่ไมใ ชสตปิ ญญาแสดงออกในรปู ของความสาเร็จสามารถวดั โดยใชแ บบสอบถามหรือคะแนน ครูให พัฒนาพงษ สีกา (2551 : 32) ไดใหความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน หมายถงึ ผลท่ีเกิดจากการ กระทาของบุคคล ซ่ึงเปนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเนื่องจากการไดรับ ประสบการณโดยการเรียนรูดวย ตนเอง หรือจากการเรียนการสอนในช้ันเรียนและสามารถประเมิน หรือวัดประมาณคาไดจากการทดสอบ หรอื การสังเกตพฤติกรรมทเี่ ปล่ยี นแปลง พิมพป ระภา อรญั มติ ร (2552 : 18) ไดใ หค วามหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง คณุ ลักษณะและความรคู วามสามารถท่ีแสดงถึงความสำเร็จที่ไดจ ากการเรยี นการสอนในวิชาตา งๆ ซึ่งสามารถ วัดเปน คะแนนไดจากแบบทดสอบทางภาคทฤษฎีหรือภาคปฏบิ ตั หิ รอื ท้งั สองอยาง 3.2 การวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน วนิดา ดีแปน (2553 : 24) ไดกลาววาการวัดและการประเมินผลการเรียน คือ กระบวนการ ตรวจสอบผูเรยี นวาไดพฒั นาไปถงึ จุดหมายปลายทางของหลกั สตู รและมีคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคเปนไปตามที่ กำหนดหรอื ไม รวมท้งั เปน สงิ่ ที่ทำใหทราบวาผูเรยี นเรยี นรูไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพมากนอ ยเพยี งใด โดยการวัด และการประเมินผลการเรียนมีจุดประสงคค ือ การจดั ตำแหนงเพ่อื เปน การวดั วาผูเรียนแตละคนมคี วามรูหรือ ทักษะเพียงพอหรือไม ซ่ึงจะทำใหทราบ จุดเดนจุดดอยของผูเรียนเปนการประเมินพัฒนาการของเด็กแลว นำไปทำนายเพ่ือเปนการแนะแนวทางในการประกอบอาชีพหรอื ศึกษาตอ นำไปประเมนิ คา ซ่ึงจะกระทำเม่ือ การสอนส้นิ สุดลง

10 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย เทคนคิ การวจิ ยั ผูว ิจัยใชเทคนคิ การวิจัยกงึ่ ทดลอง (Quasi-experiment) รปู แบบของการวิจัยโดยใชกลุมเดียว (One group, Pretest Posttest design) มีลักษณะของการทดสอบนักเรียนกอนเรยี น (Pretest) และการทดสอบ หลังเรียน (Posttest) ขัน้ ตอนของการดำเนินการวจิ ัยมีดังนี้ 1.1 ศึกษาหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา จุดประสงคการเรียนรูของวิชาการงานอาชพี หนวยท่ี 1 งาน บาน ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 2 เรอื่ ง ประโยชนของงานบาน 1.2 ศึกษาการนำนโยบายคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มาใชในการพัฒนานักเรียนใน ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1-3 1.3 สรางแบบทดสอบกอ นเรียนและหลังเรียน พรอ มทง้ั ตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบ 1.4 ออกแบบนวตั กรรมการจัดการเรียนรดู วยกระบวนการเรยี นรู 5 ขั้นตอน (5 STEPS) 1.5 ดำเนินกจิ กรรมตามกระบวนการเรยี นรตู ามลำดับ ดงั น้ี 1. ทดสอบกอนเรียน (Pretest) 2. จดั กิจกรรมกระบวนการเรียนรู 3. ทดสอบหลงั เรยี น (Posttest) 1.6 วเิ คราะหผ ลการทดสอบดว ยวิธกี ารทางสถติ โิ ดยใชค าสถิติ ดังน้ี 1. คาเฉลีย่ (X) เพ่อื หาระดบั คะแนนเฉล่ยี ของนกั เรียน 2. คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เพื่อหาคาการกระจายของคะแนนของนกั เรียน 3. คา t-test (Dependent) สำหรับกลุมตวั อยางทไี่ มเปนอิสระตอ กนั เพอ่ื เปรยี บเทียบความ แตกตา งของการทดสอบกอ นเรียนและหลงั เรียน ประชากรทใ่ี ชใ นการวิจัย ประชากรท่ีใชในการวจิ ยั ครง้ั นค้ี อื นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 2/2 โรงเรียนหัวหมาก ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563 จำนวน 18 คน

11 เครอ่ื งมอื ทใี่ ชในการเก็บรวบรวมขอมลู เครื่องมอื ท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบบันทึกคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน ท่ีผวู ิจัยสราง ขึ้นเองเพ่ือเก็บ ขอมูลจากการทำแบบทดสอบปรนัยเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 10 ขอ ครอบคลุมเนื้อหา สาระตามผลการเรียนรูที่คาดหวังท่ีกำหนดไวในแผนการจัดการเรียนรู ผูวิจัยไดตรวจสอบคุณภาพของ แบบทดสอบ ไดแก ความตรง ความเปน ปรนัย ความเชอ่ื มั่น อำนาจจำแนก และความยากงาย ดงั นี้ สถิตทิ ใ่ี ชใ นการวิเคราะหข อ มูล การวจิ ัยครง้ั นใ้ี ชค าสถิติ ดังน้ี คาสถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐานการวิจัยคาเฉล่ีย (X) ใชในการวิเคราะหระดับคะแนนเฉล่ียของกลุม คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ใชในการวิเคราะหการกระจายของคะแนนคาสัมประสิทธ์ิการกระจาย (C.V.) ใชตรวจสอบคุณภาพและ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

12 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข อมูล ตารางท่ี 1 แสดงคะแนนความสามารถในการทำแบบทดสอบกอนเรยี นและหลังเรยี น ลำดับ ชอื่ -นามสกุล Pre-test Post-test คะแนน เกณฑ คะแนน เกณฑ 1 เดก็ ชายกฤษฎี รักษาพนั ธ 5 พอใช 9 ดมี าก 2 เด็กชายอัครวุฒิ แกวเหมอื น 4 ปรบั ปรงุ 8 ดี 3 เดก็ ชายพรเทพ กองคูณ 5 พอใช 8 ดี 4 เด็กชายสรยทุ ธ เหมราช 6 พอใช 9 ดีมาก 5 เดก็ ชายพีรภัทร เกษมสขุ 7 พอใช 10 ดีมาก 6 เด็กชายธนากร แกว ชฟู อง 5 พอใช 9 ดีมาก 7 เดก็ ชายปณณวชิ ญ นาคนกึ 7 พอใช 10 ดีมาก 8 เดก็ ชายนันธนัฐ แสงวเิ ชยี ร 5 พอใช 10 ดีมาก 9 เดก็ ชายวรี ภทั ร หนศู ิล 4 ปรบั ปรงุ 8 ดี 10 เด็กชายธรี ชัย เหมราช 5 พอใช 10 ดมี าก 11 เดก็ หญงิ ชนัญชิดา โตมวง 4 ปรบั ปรงุ 8 ดี 12 เดก็ หญงิ ชนาภา หาระสาร 6 พอใช 9 ดมี าก 13 เดก็ หญิงกานตธดิ า มากมงั่ มี 5 พอใช 9 ดมี าก 14 เด็กหญงิ บัว ละอองทอง 5 พอใช 10 ดีมาก 15 เดก็ หญิงกชติ า สถติ ย 4 ปรบั ปรงุ 8 ดี 16 เด็กหญงิ วันวิสา ลาดมุณี 5 พอใช 9 ดีมาก 17 เด็กหญิงณัฐชา คำสม 5 พอใช 10 ดีมาก 18 เดก็ หญงิ พิรดา ศรีกระจา ง 4 ปรบั ปรงุ 9 ดีมาก เฉลย่ี 5.05 พอใช 9.05 ดีมาก รอยละ 50.50 90.50 จากผลการวิจัยพบวา ผูเรียนท่ีสอบในครั้งแรกมีคะแนนเฉลี่ย คิดเปนรอยละ 50.50 เม่ือทำการ ทดสอบหลงั การใชนวัตกรรมการจัดการเรียนรู ดวยกระบวนการเรียนรู 5 ขั้นตอน (5STEPS) สอนแลวผูเรียน ไดคะแนนเฉลย่ี คิดเปน รอยละ 90.50 วเิ คราะหขอ มลู ผเู รียนมีการพัฒนาในการทำแบบทดสอบกอ นเรยี นและหลงั เรยี น คิดเปน รอยละ 40.00

13 ตารางที่ 2 แสดงแบบประเมนิ คานิยมหลักของคนไทยคานิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 13 8 ที่ รายชอ่ื นกั เรียน ตองมีความ ัรกชา ิต ศาสนา พระมหาก ัษต ิร ย ซ่ือสัต ย เสียสละ อดทน ใฝหาความ ูร หมั่น ึศกษา เลาเ ีรยน ระ ัดบ ุคณภาพ ระ ัดบ ุคณภาพ 1. เดก็ ชายกฤษฎี รกั ษาพนั ธ 2 2 2 6 ดี 2. เด็กชายอัครวฒุ ิ แกวเหมอื น 3 3 3 9 ดีเยย่ี ม 3. เด็กชายพรเทพ กองคูณ 222 6 ดี 4. เดก็ ชายสรยทุ ธ เหมราช 333 9 ดเี ยี่ยม 5. เดก็ ชายพรี ภทั ร เกษมสุข 333 9 ดเี ยย่ี ม 6. เดก็ ชายธนากร แกว ชูฟอง 3 3 3 9 ดเี ยย่ี ม 7. เดก็ ชายปณณวิชญ นาคนกึ 333 9 ดเี ยย่ี ม 8. เด็กชายนนั ธนัฐ แสงวเิ ชยี ร 3 3 3 9 ดีเย่ียม 9. เด็กชายวรี ภทั ร หนศู ลิ 333 9 ดีเยี่ยม 10. เดก็ ชายธีรชัย เหมราช 222 6 ดี 11. เดก็ หญิงชนญั ชิดา โตมว ง 333 9 ดเี ยย่ี ม 12. เด็กหญงิ ชนาภา หาระสาร 3 3 3 9 ดเี ยยี่ ม 13. เดก็ หญิงกานตธ ิดา มากมงั่ มี 333 9 ดเี ย่ยี ม 14. เด็กหญงิ บวั ละอองทอง 3 3 3 9 ดเี ยี่ยม 15. เด็กหญิงกชติ า สถติ ย 333 9 ดีเยี่ยม 16. เด็กหญิงวนั วิสา ลาดมุณี 222 6 ดี 17. เด็กหญิงณัฐชา คำสม 333 9 ดเี ยี่ยม 18. เดก็ หญิงพิรดา ศรีกระจา ง 3 3 3 9 ดีเยี่ยม จากผลการวิจัยพบวา มีผเู รียน 14 คน มผี ลการประเมนิ คานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ อยูใน ระดับคณุ ภาพ “ดีเยี่ยม” และมนี ักเรียน 4 คน มผี ลการประเมนิ อยใู นระดบั คณุ ภาพ “ดี” วิเคราะหขอมลู ผเู รยี นสวนใหญมคี า นิยมหลักของคนไทยอยูใ นคณุ ภาพ “ดเี ยยี่ ม”

14 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ การวิจัยเพ่อื ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าการงานอาชีพ หลังจากใชนวัตกรรมการจดั การเรียนรู ดวยกระบวนการเรียนรู 5 ข้ันตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ของนักเรียน ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 2 จำนวน 18 คน ในคร้งั นีม้ ผี ลการวเิ คราะหข อ มูล ดงั น้ี ผลการวิเคราะหผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน หลังจากดำเนินการ จดั การเรียนรูดวยกระบวนการเรียนรู 5 ขั้นตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 2 จำนวน 18 คน พบวา การทดสอบกอนเรียนและการทดสอบหลัง เรียนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญท่ีระดับ 0.01 นอกจากน้ี ยัง พบวาการทดสอบกอนเรียนมีคาเฉล่ีย 50.50 ในขณะที่การทดสอบหลังเรียนมีคาเฉลี่ย 90.50 ซ่ึงเปนคาเฉลี่ยที่สูงข้ึน เมื่อ พิจารณาคาเบ่ียงเบน มาตรฐานของการทดสอบกอนเรียนกับหลงั เรียนซึ่งมีคา 40.00 ซ่ึงเปนคา เบี่ยงเบนมาตรฐานท่ีเพิ่มข้ึน แสดง ใหเห็นวา หลังเรียนนักเรียนมีคะแนนกระจายกันมากข้ึนแตไมมากนัก กลาวอีกนัยหนึ่งคือ การทดสอบหลัง เรียนมีคา การกระจายของคะแนนมากกวา การทดสอบกอ นเรยี น เปนเครือ่ งชี้วาการดำเนนิ การจัดการเรียนรนู ี้ สามารถเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใหส ูงข้ึน จากคาเฉลี่ย (X) และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) หลังเรียน ได คำนวณคาของประสิทธภิ าพการสอนของครูดวยคา สมั ประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) พบคา C.V. = 5.62% ซ่ึง ถอื วามีคุณภาพการสอนในระดบั ดมี าก จงึ กลาวไดวา การจดั การเรยี นรูดว ยกระบวนการเรียนรู 5 ขัน้ ตอน (5 STEPS) บูรณาการคานิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ ของนักเรียนระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ทำใหเ กิดประสิทธิภาพในการจัดการเรยี น การสอนในวิชาการงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 2 โดยมีระดับคุณภาพดีมาก สงผลใหนักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนเปนท่ีนาพอใจ รวมทั้งนักเรียนมีพฤติกรรมตามคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการอยูในระดับคณุ ภาพดเี ย่ียม

15 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551 . หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด. กาญจนา วัฒนาย.ุ การวิจัยในชัน้ เรียนเพือ่ พัฒนาการเรยี นการสอน. สถาบันพฒั นาผูบรหิ ารการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. วมิ ลรัตน สนุ ทรโรจน. (2549). นวตั กรรมตามแนวคิด Backward Design. ภาควชิ าหลกั สตู รและ การสอน คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, วจิ ารณ พานชิ ( 2555). วิถีสรา งการเรยี นรูเพือ่ ศษิ ยใ นศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ;มูลนิธสิ ดศร-ี สฤษดิว์ งศ สำนกั งานสง เสริมสังคมแหง การเรยี นรแู ละคณุ ภาพเยาวชน (2555) . ทักษะแหงอนาคตใหม : การเรยี นรูใน ศตวรรษที 21 (ออนไลน. www.glf.or.th/home/contenes/417.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook