Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12

Published by panisarafaye, 2021-12-23 14:49:11

Description: มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12

Search

Read the Text Version

พบกั บ. . . . . . ศ. ดร. พนั ชกร โกมล ผู้ เชี่ ยวชาญด้ านภาษี ตำแหน่ ง: รองอธิ บดี กรมสรรพากร ครบเครื่อง เรื่องภาษี (เงินได้บุคคลธรรมดา) 2 ชั่วโมงแห่งสาระและความเพลิดเพลิน 14 มกราคม 2565 | 9.00 ถึง 11.00 น. ผ่าน APPLICATION ZOOM เ ยี่ ย ม ช ม W W W . T A X V O I C E . C O . T H

ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้เป็นค่าบริการรายปีที่เรียกเก็บจากรายได้ ค่าจ้าง เงินเดือน ค่าคอมมิชชั่น และรายได้รับล่วงหน้า (เงินปันผล ดอกเบี้ย ค่าเช่า กำไรจากการซื้อขาย) ของประชาชน แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ บุคภคาษลีธเงรินรไมดด้ า ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นภาษีทางตรงที่จัดเก็บจากบุคคลทั่วไป หรือจากหน่วยภาษีที่มีลักษณะพิเศษ ตาม ที่กฎหมายกำหนด และมีรายได้เกิดขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยปกติจัดเก็บเป็นรายปี รายได้ที่เกิดขึ้นในปีนั้นๆ ผู้มีรายได้มีหน้าที่ต้องนำไปแสดงรายการตนเอง ตามแบบแสดง รายการภาษีที่กำหนด ภายในเดือนมกราคม - มีนาคมของปีถัดไป สำหรับผู้มีเงินได้บาง กรณีกฎหมายยังกำหนดให้ยื่นแบบเสียภาษีตอนครึ่งปี สำหรับรายได้ที่เกิดขึ้นจริงในช่วงครึ่ง ปีแรก เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีที่ต้องชำระและเงินได้บางกรณี กฎหมายกำหนดให้ ผู้จ่ายทำหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินได้ที่จ่ายบางส่วน เพื่อให้มีการทยอยชำระภาษี ขณะที่มีเงินได้เกิดขึ้นอีกด้วย โดยจะคิดคำนวณเป็นอัตราร้อยละจากเงินได้สุทธิ ซึ่งเงินได้ สุทธินี้มาจาก เงินได้พึงประเมินหักด้วยค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน โดยหน่วยงานรัฐบาลที่ มีหน้าที่จัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ กรมสรรพากร

ผู้ที่มีหน้าที่เสีย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา ผู้ตาย กองมรดก บุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่ง ถ้าผู้มีเงินได้พึงประเมินถึงแก่ ถ้ากองมรดกของผู้ตายยังไม่ได้แบ่ง และพาณิชย์ไม่ว่าจะเป็นผู้เยาว์ ความตายก่อนยื่นรายการเงิน และมีเงินได้ในปีภาษีที่ผ่านมาเกิน คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ ได้ที่ได้รับในระหว่างปีภาษีที่ 60,000 บาทให้ผู้ที่ดูแลกองมรดก ความสามารถหรือเป็นคนที่อยู่ใน ผ่านมาหรือก่อนที่ผู้ดูเเลของผู้ แล้วแต่กรณีนั้นๆ มีหน้าที่ยื่นแบบ ต่างประเทศก็มีหน้าที่ต้องเสีย ตายจะยื่นให้ ก็ให้เป็นหน้าที่ของ แสดงรายการภาษีเงินได้และชำระ ผู้จัดการมรดก ทายาทหรือผู้ ภาษีในนามกองมรดกของผู้ตาย ภาษีเงินได้ได้ ถ้ามีเงินได้ถึง ครอบครองทรัพย์แล้วแต่กรณี โดยจะต้องเสียภาษีถัดจากปีที่ผู้มี เกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ โดย ปฎิบัติแทนโดยการยื่นนั้นให้รวม เงินได้ถึงแก่ความตายจะกี่ปีก็ได้ ให้ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล ตราบเท่าที่กองมรดกยังมิได้แบ่ง ผู้พิทักษ์ หรือผู้จัดการกิจการ ทั้งเงินได้พึงประเมินและ แต่ถ้าแบ่งแล้ว ก็ให้บุคคลที่ได้รับ ของกองมรดกที่ได้รับตลอดปี แล้วแต่กรณีเป็นผู้ยื่นแบบให้ ภาษีเป็นยอดเงินได้พึงประเมินที่ มรดกนั้นๆ เป็นผู้เสียภาษีต่อไป จะต้องยื่นทั้งสิ้น ห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ถ้าห้างหุ้นส่วนมีเงินได้ในปีภาษีที่ผ่านมา บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงกระทำการที่มีเงินได้พึง เกิน 60,000 บาท ให้ผู้อำนวนการ หรือผู้ ประเมินที่ไม่ใช่ห้างหุ้นส่วนสามัญ ถ้าคณะบุคคลที่มิใช่ จัดการยื่นแบบแสดงรายการเกี่ยวกับเงิน ได้พึงประเมินในชื่อห้างหุ้นส่วนที่ได้รับใน นิติบุคคลมีเงินได้พึงประเมินในปีภาษีที่ผ่านมาเกิน ระหว่างปีที่ผ่านมา การเสียภาษีในกรณี 60,000 บาทให้ผู้อำนวยการ หรือผู้จัดการยื่นแบบแสดง เช่นนี้ ให้ผู้อำนวยการหรือผู้จัดการรับผิด รายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินในชื่อคณะบุคคลนั้น เสียภาษีในชื่อของห้างหุ้นส่วน จากยอด การเสียภาษีในกรณีนี้ ให้ผู้อำนวยการ หรือผู้จัดการ รับ เงินได้พึงประเมินทั้งสิ้นเสมือนเป็นบุคคล ผิดเสียภาษีในชื่อของคณะบุคคลนั้นจากยอดเงินได้พึง ธรรมดาคนหนึ่งโดยไม่มีการแบ่งแยก ทั้งนี้ ประเมินทั้งสิ้น เสมือนเป็นบุคคลธรรมดาคนหนึ่งโดยไม่มี ผู้เป็นหุ้นส่วนไม่จำเป็นต้องยื่นรายการ การแบ่งแยก ทั้งนี้คนใดคนหนึ่งในคณะบุคคลไม่จำเป็น ภาษีซ้ำ แต่ถ้าหากมีภาษีค้างชำระ ให้ผู้ ต้องยื่นรายการเงินได้ซ้ำแต่ถ้าคณะบุคคลนั้นมีภาษีค้าง เป็นหุ้นส่วนทุกคนรับผิดในเงินภาษีที่ค้าง ชำระ ให้ทุกคนรับผิดชอบในเงินภาษีที่ค้างชำระนั้นด้วย ชำระนั้นด้วย

ขั้นตอนการคำนวณ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้พึง ประเมิน หัก ค่าใช้จ่าย หัก ค่าลดหย่อน ต่าง ๆ เท่ากับ เงินได้ สุทธิ คูณ อัตราภาษี เท่ากับ ภาษีที่ต้องชำระ

เงินได้พึงประเมิน เงินได้พึงประเมินที่ต้องนำมาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา แบ่งออกเป็น 8 ประเภท เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40 (1)) ได้แก่ เงินได้ เนื่องจากการจ้างแรงงาน เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง ฯลฯ -เงินได้ประประเภทที่ 1 สามารถหักค่าใช้จ่ายได้ 50% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท (ในกรณีที่ผู้มีเงินได้ประเภทที่ 1 และ 2 ให้นำมารวมกัน แต่หักค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 100,000บาท ) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 (มาตรา 40 (2)) ได้แก่ เงินได้ เนื่องหน้าที่ หรือตำแหน่งงานที่ทำ หรือการรับทำงานให้ เช่น ค่านาย หน้า ค่าส่วนลด ค่าธรรมเนียม ฯลฯ -เงินได้ประประเภทที่ 2 สามารถหักค่าใช้จ่ายได้ 50% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท (ในกรณีที่ผู้มีเงินได้ประเภทที่1 และ 2 ให้นำมารวมกัน แต่หักค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 100,000บาท )

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3 (มาตรา 40 (3)) ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์หรือสิทธิ อย่างอื่น เงินปี หรือเงิน ได้ที่มีลักษณะ เป็นเงินรายปีอันได้มาจากพินัยกรรม นิติกรรมอย่าง อื่น หรือคำพิพากษาของศาล -เงินได้ประเภทที่ 3 สามารถนำมาหักค่าใช้จ่ายได้ 50% ของเงิน ได้ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 (มาตรา 40 (4)) ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร เงินลดทุน เงินเพิ่มทุน ผล ประโยชน์ที่ได้จากการโอนหุ้น ฯลฯ -ไม่สามารถนำมาหักค่าใช้จ่ายได้

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 (มาตรา 40 (5)) ได้แก่ เงิน ได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน เงิน หรือประโยชน์อย่างอื่น ที่ได้ เนื่องจาก - การให้เช่าทรัพย์สิน - การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน - การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน ซึ่งผู้ขายได้รับคืนทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้น โดยไม่ต้องคืนเงินหรือ ประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว - การให้เช่าทรัพย์สิน - การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน - การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อนซึ่งผู้ขายได้รับคืนทรัพย์สินที่ซื้อ ขายนั้น โดยไม่ต้องคืนเงินหรือประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว การหักเงินได้ประเภทที่ 5 มีดังนี้ -บ้านโรงเรือนสิ่งปลูกสร้าง หักค่าใช้จ่ายได้ 30% -ยานพาหนะ หักค่าใช้จ่ายได้ 30% -ที่ดินที่ใช้ในการเกษตร หักค่าใช้จ่ายได้ 20% -ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในการเกษตร หักค่าใช้จ่ายได้ 15% -ทรัพย์สินอื่น หักค่าใช้จ่ายได้ 10%

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 (มาตรา 40 (6) ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ เช่น วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลป วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือ วิชาชีพอื่นซึ่งจะได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดชนิดไว้ - การประกอบโรคศิลปะ หักค่าใช้จ่ายแบบเหมาได้ 60% - กฎหมาย วิศวกรรม สถาปัตยกรรม บัญชี ประณีต ศิลปกรรม หักค่าใช้จ่ายแบบเหมาได้ 30% เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 (มาตรา 40 (7)) ได้แก่ เงิน ได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ ในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ - เงินได้ประเภทที่ 7 หักได้ตามจริง ต้องมีหลักฐานแนบ และ ตามอัตราเหมา 60%

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (มาตรา 40 (8)) ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 7 แล้ว - เงินได้ประเภทที่ 8 สามารถหักได้ทั้งตามจริงและอัตรา เหมา 60%

ค่าลดหย่อน - ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท สำหรับผู้ที่มีเงินได้ที่ยื่นแสดงรายการ - ค่าลดหย่อนคู่สมรส 60,000 บาท สำหรับคู่สมรสที่จดทะเบียนถูกต้อง ตามกฎหมายและไม่มีเงินได้ หรือมีเงินได้ที่ยื่นแสดงรายการรวมกันในการ คำนวณภาษี - ค่าลดหย่อนบุตร คนละ 30,000 บาท ซึ่งคนที่ 2 เป็นต้นไป จะเพิ่มอีก 30,000 บาท สำหรับบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย สามารถหักได้ไม่จำกัด จำนวนคน แต่สำหรับบุตรบุญธรรม หรือในกรณีที่มีทั้งบุตรบุญธรรมและบุตร โดยชอบด้วยกฎหมาย สามารถหักได้ไม่เกิน 3 คน (นับเฉพาะที่มีชีวิตอยู่) - ค่าลดหย่อนฝากครรภ์และคลอดบุตร ตามที่จ่ายจริงสูงสุดไม่เกิน 60,000 บาท - ค่าเลี้ยงดูพ่อแม่ตนเองและพ่อแม่คู่สมรส คนละ 30,000 บาท - ค่าเลี้ยงดูผู้พิการหรือทุพพลภาพ คนละ 60,000 บาท

- ประกันสังคม ลดหย่อนได้ตามจริง สูงสุดไม่เกิน 5,850 บาท (เนื่องจาก ปีนี้มีการปรับลดอัตราเงินสะสมประกันสังคมสูงสุดจาก 750 บาทต่อเดือน มาเป็น 150 บาทต่อเดือน ในช่วงเดือน มี.ค. - พ.ค. 63 และปรับมาเป็น 300 บาทต่อเดือน ในช่วงเดือน ก.ย. - พ.ย. 63 จึงทำให้สิทธิประโยชน์สูงสุด ที่ได้รับนั้นลดลงกว่าปีก่อนๆ) - เบี้ยประกันชีวิต หักลดหย่อนได้ไม่เกิน 100,000 บาท - เบี้ยประกันสุขภาพตนเอง หักลดหย่อนได้ไม่เกิน 25,000 บาท แต่ เมื่อรวมกับประกันชีวิตแล้วจะต้องไม่เกิน 100,000 บาท - เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ ลดหย่อนภาษีได้ 15% ของเงินได้ ตามที่ จ่ายจริงสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท - เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา ได้ไม่เกิน 15,000 บาท

- กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) ลดหย่อนภาษีได้ 30% ของเงินได้ ตามที่จ่ายจริงสูงสุดไม่เกิน 500,000 บาท - กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ / กบข. / สงเคราะห์ครูเอกชน ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 500,000 บาท สามารถสะสมเพิ่มได้โดยขอเปลี่ยน % ที่ กำหนดไว้กับนายจ้าง - กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ตามที่จ่ายจริงสูงสุดไม่เกิน 13,200 บาท - กองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) ลดหย่อนภาษีได้ 30% ของเงินได้ ตามที่ จ่ายจริงสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท - กองทุนรวมเพื่อการออมพิเศษ (SSFX) ตามที่จ่ายจริงสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท

- เงินบริจาคแก่พรรคการเมือง ตามที่จ่ายจริงสูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท - เงินบริจาคเพื่อการศึกษา กีฬา พัฒนาสังคม และโรงพยาบาลรัฐ สามารถลดหย่อนได้ 2 เท่าของเงินบริจาค แต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหัก ค่าลดหย่อน - เงินบริจาคทั่วไป ลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้ หลังหักค่าลดหย่อน

อัตราภาษี - รายได้ 0-150,000 บาท ยกเว้นอัตราภาษี - รายได้ 150,001-300,000 บาท อัตราภาษี 5% (7,500) - รายได้ 300,001-500,000 บาท อัตราภาษี 10% (20,000) - รายได้ 500,001-750,000 บาท อัตราภาษี 15% (37,500) - รายได้ 750,001-1,000,000 บาท อัตราภาษี 20% (50,000) - รายได้ 1,000,001-2,000,000 บาท อัตราภาษี 25% (250,000) - รายได้ 2,000,001-5,000,000 บาท อัตราภาษี 30% (600,000) - รายได้ 5,000,000 บาทขึ้นไป อัตราภาษี 35%

- รายได้ 0-150,000 บาท ยกเว้นอัตราภาษี - รายได้ 150,001-300,000 บาท อัตราภาษี 5% (ภาษีที่ต้องเสีย สูงสุดในขั้นนี้คือ 7,500 บาท) - รายได้ 300,001-500,000 บาท อัตราภาษี 10% (ภาษีที่ต้องเสียใน ขั้นนี้คือ 20,000 บาท) - รายได้ 500,001-750,000 บาท อัตราภาษี 15% (ภาษีที่ต้องเสียใน ขั้นนี้คือ 37,500 บาท) - รายได้ 750,001-1,000,000 บาท อัตราภาษี 20% (ภาษีที่ต้องเสีย ในขั้นนี้คือ 50,000 บาท) - รายได้ 1,000,001-2,000,000 บาท อัตราภาษี 25% (ภาษีที่ต้อง เสียในขั้นนี้คือ 250,000 บาท) - รายได้ 2,000,001-5,000,000 บาท อัตราภาษี 30% (ภาษีที่ต้อง เสียในขั้นนี้คือ 600,000 บาท) รายได้ 5,000,000 บาทขึ้นไป อัตราภาษี 35%

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 (มาตรา 40 (6) ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ เช่น วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลป วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือ วิชาชีพอื่นซึ่งจะได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดชนิดไว้ - การประกอบโรคศิลปะ หักค่าใช้จ่ายแบบเหมาได้ 60% - กฎหมาย วิศวกรรม สถาปัตยกรรม บัญชี ประณีต ศิลปกรรม หักค่าใช้จ่ายแบบเหมาได้ 30% เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 (มาตรา 40 (7)) ได้แก่ เงิน ได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ ในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ - เงินได้ประเภทที่ 7 หักได้ตามจริง ต้องมีหลักฐานแนบ และ ตามอัตราเหมา 60%

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (มาตรา 40 (8)) ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 7 แล้ว - เงินได้ประเภทที่ 8 สามารถหักได้ทั้งตามจริงและอัตรา เหมา 60%

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 (มาตรา 40 (4)) ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร เงินลดทุน เงินเพิ่มทุน ผล ประโยชน์ที่ได้จากการโอนหุ้น ฯลฯ -ไม่สามารถนำมาหักค่าใช้จ่ายได้

ศู น ย์ ชุ ม ช น ซ า น ดิ แ อ ส เปิดไฟ ลดเสียง คืนแห่งภาพยนตร์ที่เป็นมิตร ต่อความรู้สึกสำหรับบุคคลออทิสติก 2 เมษายน 2562 • 18.00 น. ศาลาประชาคมซาน ดิแอส คนพิการเข้าถึงศาลาประชาคมได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook