Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ppt_charuaypon_119

ppt_charuaypon_119

Published by keerathi, 2018-05-22 05:07:09

Description: ppt_charuaypon_119

Search

Read the Text Version

ภาวะวกิ ฤตของการศึกษานอกระบบ ในสังคมไทย โดย ดร.จรวยพร ธรณนิ ทร์ ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ วนั ศุกร์ท่ี 21 กนั ยายน 2550 เวลา9.00-10.30น. ณ โรงแรมบางกอกพาเลซ กรุงเทพมหานคร

ความคาดหวงั การบริหารงานการศึกษา นอกระบบและตามอธั ยาศัยของกศน.•1. ให้กรอบแนวคดิ ให้เข้าใจสถานการณ์ และจุดยืนของ กจิ การ กศน.จากหลากหลายมุมมอง•2. ร่วมวเิ คราะห์ปัจจัยสาเหตุและผลโดยใช้เทคนิก เชิงบริหาร วชิ าการ และการระดมสมอง•3. จุดประกายให้เสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงสร้างสรรค์ท่ี น่าจะนาไปพฒั นางานได้จริงไม่เพ้อฝัน•4. เปิ ดประเดน็ ให้มกี ารค้นคว้าวเิ คราะห์/วจิ ัยเพ่ือนาไปสู่การ พฒั นาได้จริงในอนาคต

ภาวะวกิ ฤตของการศึกษานอกระบบในสังคมไทยโจทย์ท้าทายผ้บู ริหารงานกศน.•1.สังคมส่วนใหญ่มองการศึกษานอกระบบเป็ นทางเลือก สุดท้าย ไม่นิยมเรียน ผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ืองของ มหาวทิ ยาลยั ลดลง•2.สังคมมองผลผลติ ของการศึกษานอกระบบยงั ไม่มี คุณภาพ

โจทย์ท้าทายงานกศน. ภาวะวกิ ฤตของการศึกษานอกระบบในสังคมไทย•3.กล่มุ เป้าหมายการศึกษานอกระบบเป็ นผู้ด้อยฐานะทาง เศรษฐกจิ และย้ายถน่ิ สูง ไม่สามารถเข้ารับบริการ ร่วม กจิ กรรมได้ต่อเนื่อง• 4.ความพร้อมทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสารของหน่วยงาน/ผู้จดั บริการ ส่งผลให้ กล่มุ เป้าหมายเข้าถงึ แหล่งเรียนรู้ไม่เท่ากนั

ภาวะวกิ ฤตของการศึกษานอกระบบในสังคมไทย6. กระแสโลกาภวิ ตั น์และวตั ถุนิยม ทาให้ข้อมูลไหล บ่าเข้าถงึ ประชาชนได้เร็วและหลากหลาย ทาให้ ศีลธรรมเสื่อม การจดั การเรียนรู้ให้เป็ นคนดที าได้ ยากขนึ้7. คนทว่ั ไปไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างการศึกษานอก ระบบ การศึกษาตามอธั ยาศัยและการศึกษาตลอดชีวติ

ภาวะวิกฤตของการศึกษานอกระบบในสังคมไทย7. การบริหารจดั การในระดบั สานักทไ่ี ม่เป็ นนิตบิ ุคคลตามโครงสร้างปฏริ ูประบบราชการ2546 ทาให้ฐานะของหน่วยงานเป็ นเพยี งสานักขนาด ใหญ่ ตดั สินใจนิติกรรมไม่ได้ ไม่มอี ธิบดี/เลขาธิการและรองฯช่วย จดั การ• 8. ขาดกฎหมายรองรับการบริหาร ทาให้ขาดความขดั เจนในภารกจิ ขอบข่ายหน้าท่ีและอานาจบังคบั• 9. ยงั ติดยดึ แนวคดิ จดั การศึกษาเอง ทาให้ไม่ประสานส่งเสริมหน่วยอ่ืน เข้ามาร่วมทา ขาดแนวคดิ จดั การในรูปเครือข่าย• 10. ประเดน็ ต้องถ่ายโอนภารกจิ ไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยงั ร้อนแรง ขาดความชัดเจน

ภาวะวิกฤตของการศึกษานอกระบบในสังคมไทย11.บุคลากรของกศน.ยงั ขาดทกั ษะและประสบการณ์ในการจดั การศึกษาให้ สอดคล้องการพฒั นากาลงั คนโดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรม วสิ ัยทศั น์ ใหม่ของการการศึกษายุคเทคโนโลยใี หม่12. ยงั ขาดการขบั เคล่ือนอย่างใช้ยทุ ธศาสตร์และมีพลงั ให้การศึกษานอก ระบบและตามอธั ยาศัยเป็ นวาระแห่งชาติ13.ผู้บริหารและทมี งานกศน.ต้องการการพฒั นาทักษะการบริหารและ บริการลูกค้ายคุ ใหม่อย่างเป็ นระบบต่อเนื่องและเป็ นมืออาชีพ

โอกาสของกศน. จัดการศึกษาตลอดชีวติ• 1. ในอนาคตสังคมไทยจะเป็ นสังคมของผู้สูงอายุ ลูกค้ากล่มุ ใหญ่จะเน้น การศึกษาผู้ใหญ่สูงอายุ ต้องจดั ให้ง่าย สะดวก ความรู้รอบด้าน และเน้น คุณภาพชีวติ• 2. ยงั มีกล่มุ คนไทยในต่างประเทศทต่ี ้องการเรียนการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน อ่านออกเขยี นได้เป็ นภาษาไทย จะนาคนสอนไปจดั ในต่างแดน หรือส่ง ความรู้ผ่านอนิ เตอร์เน็ตไปให้• 3. กล่มุ แรงงานวยั ทางาน15ถึง59ปี ยงั ต้องการพฒั นาตนเองเพื่อยกระดบั ทกั ษะและประสบการณ์ให้เหมาะกบั งาน ขึน้ อยู่ทว่ี ธิ ีจัดการความรู้ให้คนเหล่านี้ เข้าถงึ โดยทางานไปเรียนไป ได้อย่างไร

ข้อเสนอแนะช่วยกศน.ฝ่ าวิกฤต1. ผ้บู ริหารกศน. ต้องมอี งค์ความรู้ขนั้ ตา่ 5 ประการ •1.นโยบายและผลงานบริหารของกศน.ปี 2550และ2551 •2.จดั ทาฐานข้อมูลพืน้ ฐานสาหรับผู้บริหารกศน. •3.ทศิ ทางการศึกษาในโลกยุคใหม่และอนาคต •4.แนวโน้มการจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาตาม อธั ยาศัย หรือการศึกษาตลอดชีวติ •5. ทกั ษะการจดั การและการบริหารการเปลย่ี นแปลง

จะฝ่ าวิกฤตของกศน.ได้อย่างไร• ต้องวางจุดยืนการจดั การศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัยของสานัก บริหารการศึกษานอกโรงเรียน(กศน.) ให้กศน.เป็ นตวั หลกั เป็ น เจ้าภาพแก้ปัญหาระดบั ชาติ• วเิ คราะห์จากบทบาทภารกจิ ความสาเร็จของการดาเนินงาน• มองทศิ ทางแนวโน้มการศึกษาของโลกมาปรับแนวของไทย• วางยุทธศาสตร์ในการขบั เคล่ือนใหม่• ช่วยกนั ระดมสมองเพื่อร่วมกนั พฒั นาอย่างเป็ นระบบ

10ทักษะการจัดการยคุ ใหม่สาหรับผ้บู ริหารงานกศน. ฝ่ าวิกฤต•1. การขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์•2. การจัดซื้อจัดจ้าง จดั หา การบริหารการเงินตามกฎระเบียบ•3. งานบริหารบุคคลทค่ี รบวงจร ต้งั แต่ สรรหา บรรจุ แต่งต้งั โยกย้าย ความดคี วามชอบ และการพฒั นาตลอดการทางาน•4.การใช้เทคโนโลยใี นการบริหารและจดั การศึกษา•5.ทกั ษะในการนาเสนอ ขายแนวคดิ การประชุม•6. ทกั ษะการบริหารในรูปคณะกรรมการ

10ทักษะการจัดการยคุ ใหม่สาหรับผ้บู ริหารงานกศนฝ่ าวิกฤต. •7. การเขยี นรายงาน การสรุปวเิ คราะห์ การเสนอโครงการ ขนาดใหญ่เข้าสู่การพจิ ารณาของคณะรัฐมนตรี •8. การประชาสัมพนั ธ์เผยแพร่ผลงาน การตลาดและการ ให้บริการแก่ลูกค้า •9.การสร้างความเข้มแขง็ การของบริหารจัดการในรูป เครือข่าย •10.การบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล ระบบควบคุม คุณภาพ และความเส่ียง

จดุ เน้นและกลยทุ ธ์การดาเนินงาน การศึกษานอก โรงเรียน ปี งบประมาณ 2550 •วสิ ัยทศั น์• กศน.เป็ นองค์กรในการส่งเสริมและพฒั นาประชาชน กลุ่มเป้าหมายให้เป็ นบุคคลใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนและแสวงหา ความรู้ได้ด้วยตนเองตามความต้องการอย่างต่อเน่ือง เพ่ือนาไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้บนพืน้ ฐานปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง

พนั ธกจิ ปี 2550• 1.จดั การศึกษาให้กบั ประชาชนกล่มุ เป้าหมายทอ่ี ยู่นอกโรงเรียนตาม ความต้องการและความจาเป็ น• 2. พฒั นาการเรียนรู้ให้กบั ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้มีคุณธรรม ความรู้และมีทกั ษะการดารงชีวติ บนพืน้ ฐานปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง• 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวติ• 4. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ จากสื่อเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาและ แหล่งเรียนรู้ให้ครอบคลุมทุกกล่มุ เป้าหมาย

เป้าหมายปี 25501. ประชากรวยั แรงงานอายุ 15–59 ปี จานวน 2.31 ล้านคนได้รับการศึกษาทส่ี อดคล้องกบั ความต้องการ• 1.1 ประชากรวยั แรงงานอายุ15–39 ปี จานวน 1.19 ล้านคน ได้รับ การศึกษาไม่น้อยกว่าระดบั มธั ยมศึกษา• 1.2 ประชากรวยั แรงงานอายุ 40–59 ปี จานวน 1.12ล้านคน ได้รับ บริการการศึกษาต่อเน่ืองและการศึกษาตามอธั ยาศัย2. ประชาชนกล่มุ เป้าหมายจานวน 100,000 คน จาก 895 อาเภอ/เขต มี ความรู้และทกั ษะการดารงชีวติ บนพืน้ ฐานปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง3. ภาคส่วนของสังคมจานวน 4,497 ภาคี มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการ เรียนรู้ตลอดชีวติ4. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายจานวน 6,400,000 คน รับบริการการเรียนรู้ตลอด ชีวติ จากส่ือเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาและแหล่งเรียนรู้

กลยทุ ธ์ / แนวทางการดาเนินงานปี 2550•กลยุทธ์ท่ี 1 เข้าถงึ กล่มุ เป้าหมายตัวชี้วดั :1) ฐานข้อมูลความต้องการการเรียนรู้ของกล่มุ เป้าหมายรายบุคคลและราย ชุมชน 2) แผนการเรียนรู้ตามความต้องการการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายรายบุคคล และรายชุมชน 3) ระบบการให้บริการข่าวสารข้อมูลสารสนเทศแก่กล่มุ เป้าหมายแนวทางการดาเนินงาน : 1.1 จดั กจิ กรรมสร้างกระแสให้คนในพืน้ ทเ่ี ห็น ความสาคญั ของการเรียนรู้ตลอดชีวติ 1.2 คดั เลือกพืน้ ทแ่ี ละกล่มุ เป้าหมายเพื่อเจาะลกึ จัด กจิ กรรมนาร่อง โดยดาเนินการ 1 อาเภอ 2 ตาบล เพื่อแสวงหารูปแบบในการจัด การศึกษานอกโรงเรียน

กลยทุ ธ์ท่ี 1 เข้าถงึ กล่มุ เป้าหมาย• 3) พฒั นาระบบฐานข้อมูลให้เชื่อมโยงกบั ภาคเี ครือข่าย จดั ทาข้อมูล รายบุคคลและรายกล่มุ• 4 )มีฐานข้อมูลทรี่ ะบุความต้องการในการเรียนรู้ของกล่มุ เป้าหมายใน พืน้ ที่• 5 )พฒั นาระบบให้บริการข่าวสารข้อมูลกบั กล่มุ เป้าหมายในทุกสถานศึกษา• 6 )จดั ทาแผนการเรียนรู้รายบุคคลรายครอบครัว และรายกลุ่ม ในแต่ละ ชุมชน• 7 )พฒั นาระบบคูปองส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ เพื่อสร้างแรงจูงใจ ให้กบั ผู้เรียนและผู้จดั การเรียนรู้

กลยทุ ธ์ท่ี 2 ปรับวธิ ีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนตัวชี้วดั : 2.1 ทุกสถานศึกษามีคลงั หลกั สูตรและส่ือทพี่ ร้อมให้บริการแก่ กล่มุ เป้าหมายโดยเฉพาะการประชาสัมพนั ธ์การให้บริการ• 2.2 สถานศึกษามีนวตั กรรมการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสม สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย (1สถานศึกษา 1 นวตั กรรม)• 2.3 มีรายงานการประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษา โดยเฉพาะผลสัมฤทธ์ิของผู้จบการศึกษาแต่ละหลกั สูตร• 2.4 สถานศึกษามรี ะบบการประเมนิ เทยี บโอนความรู้และ ประสบการณ์• 2.5 สถานศึกษามีระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา

กลยทุ ธ์ท่ี 2 ปรับวิธีเรียนเปลยี่ นวิธีสอน• แนวดาเนินงาน: 2.1 พฒั นาหลกั สูตร สื่อและกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั สภาพความต้องการของกล่มุ เป้าหมายโดยคานึงถึงคุณภาพและมาตรฐาน คุณค่าของปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความสมานฉันท์สันตวิ ธิ ี และวถิ ีชีวติ ประชาธิปไตย• 2.2 เร่งพฒั นาการศึกษาใน 3จังหวดั ชายแดนภาคใต้เพ่ือยกระดบั คุณภาพ การศึกษา พฒั นาคุณภาพชีวติ เพมิ่ โอกาสในการทางานและเสริมสร้างสมานฉันท์บนพืน้ ฐาน ของความหลากหลายทางวฒั นธรรม• 2.3 จัดทาคลงั หลกั สูตร คลงั ส่ือ คลงั เคร่ืองมือวดั ผลประเมนิ ผล คลงั เทคนิคกระบวนการจัดการเรียนรู้• 2.4 จดั กระบวนการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย เช่น การเรียนแบบกล่มุ แบบช้ัน เรียน แบบทางไกล e-Learning การศึกษาดูงาน เวทปี ระชาคม การเรียนจากแหล่งการ เรียนรู้ การเรียนจากการฝึ กปฏบิ ัตจิ ริงโดยจัดทาข้อมูลการเรียนรู้รายบุคคลรายกลุ่มและราย ชุมชน เพ่ือสะสมผลการเรียนรู้และประสบการณ์

กลยทุ ธ์ที่ 2 ปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอน• 2.5 พฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยยดึ หลกั คุณธรรมนาความรู้และให้ผ้เู รียนสามารถ เรียนรู้ด้วยตวั เองตามศักยภาพ• 2.6 ประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้วยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย โดยมุ่งเน้นการประเมนิ ความรู้ ทกั ษะ เจตคตแิ ละคุณธรรมจริยธรรมของผ้เู รียน• 2.7 นาการจดั การความรู้มาใช้เพ่ือปรับวธิ ีเรียนเปลยี่ นวธิ ีสอนให้สอดคล้อง กบั สภาพและความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย• 2.8 จัดบริการแนะแนวการศึกษาให้แก่กลุ่มเป้าหมายอย่างท่ัวถึง• 2.9 ส่งเสริมให้มกี ารเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน• 2.10 ส่งเสริมให้มกี ารประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษาแก่ผู้สนใจอย่างกว้างขวาง• 2.11 วจิ ยั และพฒั นากระบวนการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย• 2.12 พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอก

กลยทุ ธ์ท่ี 3 พฒั นาแหล่งการเรียนรู้ของชุมชนตวั ชี้วดั :3.1 ห้องสมุดประชาชนได้รับการพฒั นากจิ กรรมให้เป็ นห้องสมุดมชี ีวิต 3.2 มกี ารใช้เทคโนโลยเี พื่อการศึกษาทห่ี ลากหลายซึ่งเพมิ่ โอกาสการเข้าถึงความรู้ ของประชาชน 3.3 มกี ารส่งเสริมการเรียนรู้จากภูมปิ ัญญาท้องถ่นิแนวดาเนินงาน:3.1 พฒั นาแหล่งการเรียนรู้เพ่ือเสริมสร้างโอกาสการเรียนรู้ของประชาชน 3.2 เพม่ิ ช่องทางการเรียนรู้ตลอดชีวติ ด้วยเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา – วทิ ยกุ ระจายเสียง – วทิ ยโุ ทรทศั น์ – ส่ือMultimediaโดยพฒั นาเข้าสู่ระบบInteractive – e_Learning – ให้บริการในรูปแบบOnline 3.3 ส่งเสริมและพฒั นากระบวนการคดิ เชิงวทิ ยาศาสตร์ในการดาเนินชีวิต ให้กบั ประชาชนกล่มุ เป้าหมาย

กลยทุ ธ์ที่ 3 พฒั นาแหล่งการเรียนรู้• 3.4 ส่งเสริมและพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ให้มชี ีวติ เช่น ห้องสมุดประชาชน ศูนย์เรียนรู้หน่วยบริการการศึกษานอกโรงเรียนเคล่ือนท่ี• 3.5 ส่งเสริมแหล่งการเรียนรู้ ภูมปิ ัญญาและส่ือในชุมชนให้สามารถจดั กจิ กรรม การเรียนรู้เพ่ือตอบสนองความต้องการการเรียนรู้ของบุคคลและชุมชน เช่น หอ กระจายข่าว วทิ ยุชุมชน เคเบลิ้ ทวี ี• 3.6 ส่งเสริมให้มีการพฒั นาและนานวตั กรรมมาใช้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ ในแหล่งการเรียนรู้เพื่อสร้างโอกาสให้ประชาชนเข้าถงึ การเรียนรู้ตลอดชีวติ• 3.7 พฒั นาระบบการบริหารจดั การเพ่ือส่งเสริมให้เกดิ การเช่ือมโยงและใช้ ประโยชน์ร่วมกนั ระหว่างแหล่งการเรียนรู้ภูมปิ ัญญา และองค์ความรู้จาก ภายนอก

กลยทุ ธ์ท่ี 4 ผนึกกาลังภาคเี ครือข่าย• ตัวชี้วดั : 4.1 จานวนภาคเี ครือข่ายในแต่ละพืน้ ทที่ ร่ี ่วมจัดการศึกษานอก โรงเรียนร่วมกบั สถานศึกษาสังกดั กศน. 4.2 จานวนกจิ กรรมของสถานศึกษาท่ีมีภาคเี ครือข่ายร่วมจดั (ทุก กจิ กรรมของแต่ละสถานศึกษามีภาคเี ครือข่ายร่วมจัด) 4.3 ร้อยละของผู้รับบริการทรี่ ่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ของภาคเี ครือข่าย• แนวดาเนินงาน:4.1 แสวงหาและจดั ทาฐานข้อมูลภาคเี ครือข่ายในการจัดการ เรียนรู้ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ 4.2 สร้างความตระหนักและความเข้าใจกบั ภาคเี ครือข่ายเพ่ือ ร่วมจดั การเรียนรู้ตลอดชีวติ ในรูปแบบต่างๆ

กลยทุ ธ์ที่ 4 ผนึกกาลังภาคเี ครือข่าย• 4.3 สร้างแรงจูงใจให้เกดิ การร่วมคดิ ร่วมวางแผน ร่วมทา ร่วม แก้ปัญหาและร่วมพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในชุมชนกบั ภาคี เครือข่าย• 4.4 ส่งเสริมให้มีการระดมการใช้ทรัพยากรร่วมกนั กบั ภาคเี ครือข่าย• 4.5 จดั และพฒั นากจิ กรรมเครือข่ายสัมพนั ธ์• 4.6 ถอดบทเรียนการทางานร่วมกบั ภาคเี ครือข่าย เพื่อการปรับปรุง พฒั นาและขยายผลการทางาน• 4.7 วจิ ยั และพฒั นาการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือข่ายในการจดั การศึกษา

แนวทางในการบริหารจัดการงานกศน.1. ขบั เคลื่อนเป้าหมายและยุทธศาสตร์ของรมว.ศธ. ปี 2550การพฒั นาห้องสมุดประชาชนมชี ีวติ • การพฒั นาการเรียนรู้ด้วยตนเองสาหรับผู้ใหญ่ • การเทียบระดบั การศึกษา •ส่งเสริมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์สาหรับเยาวชน และประชาชน • ส่งเสริมให้ภาคเี ครือข่ายร่วมจดั การศึกษาให้กบั ประชากรวยัแรงงาน • ETV บ้านหลงั ใหญ่แห่งการเรียนรู้ • การพฒั นาการเรียนการสอนแบบทวภิ าษา

แนวทางในการบริหารจดั การปี 25502. เร่งดาเนินการตามRoadmapกศน. ในการยกระดบั การศึกษา ของประชากรวยั แรงงาน (อายุ 15-39 ปี )• ขยายการดาเนินงานเต็มรูปแบบตามRoadmap กศน. ในทุกอาเภอๆ ละ 2 ตาบล• เร่งปรับระบบการจดั สรรงบประมาณในรูปคูปองส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวติ โดยดาเนินการใน 1 ตาบล ทุกจงั หวดั• ขยายจุดบริการการประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษาในทุกจงั หวดั• ส่งเสริมให้ภาคเี ครือข่ายจัดและส่งเสริมสนับสนุนการจดั การศึกษานอก โรงเรียน 80 % และ กศน. ดาเนินการ 20 %

สรุปปริมาณผลงานจริงการบริการการศึกษานอกระบบ และตามอธั ยาศัย (1ตุลาคม2549- 31 พฤษภาคม 2550)1. จดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานนอกระบบเพ่ือยกระดบั ประชากรวยั แรงงาน 1,186,032 คน2. จดั การศึกษาต่อเน่ืองในระบบการศึกษาทางไกล 13,432 คน3. จดั โครงการ กศน. เสริมสร้างคุณธรรมนาความรู้สู่ชุมชน 3,000,000 คน4. จัดบริการการเรียนรู้ทางวทิ ยุและโทรทศั น์ 1,083,076 คน5. จัดบริการห้องสมุดประชาชนเพื่อส่งเสริมรักการอ่านและการเรียนรู้ 848 แห่ง ผู้รับบริการ 1,803,844 คน6. จัดกระบวนการเรียนรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ 1,557,347 คน7. จัดโครงการส่งเสริมความอบอุ่นและความเข้มแขง็ ให้กบั ครอบครัวและเยาวชน นอกโรงเรียน 25,000 คน8. จัดมหกรรม “นักอ่าน” มีผู้ร่วมงาน 300,000 คน9. จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพของประชาชน 267,944 คน10.จดั การศึกษาเพื่อพฒั นาผู้ด้อยโอกาส 45,164 คน

ความคบื หน้าล่าสุดเกยี่ วกบั การถ่ายโอนภารกจิ ของกศน.เสนอให้อปท.ทราบ ณวนั ที่ 22สิงหาคม2550• 1.ทอ่ี ่านหนังสือพมิ พ์ประจาหมู่บ้านและห้องสมุดประชาชนตาบลเมื่อ ถ่ายโอนไปแล้ว เป็ นหน้าทีอ่ ปท.ต้องทาเอง• 2.งานวชิ าชีพระยะส้ันเป็ นกจิ กรรมหน่ึงของการศึกษานอกระบบอยู่แล้ว อปท.จงึ ดาเนินการได้โดยไม่ต้องถ่ายโอน• 3. ห้องสมุดประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารีเป็ นห้องสมุดทด่ี าเนินงานตาม โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ จงึ ควรยกเว้นไม่ถ่ายโอน เช่นเดยี วกบั หอสมุดรัช มุงคลาภเิ ษก พระราชวงั ไกลกงั วลหัวหิน• 4. ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั เป็ นงานส่วนหนง่ึ ของศูนย์กศน.จงั หวดั และเป็ นสถานทพี่ บกลุ่มของศูนย์ฯจังหวดั และอาเภอ จงึ ควรยกเว้นการถ่ายโอน• 5.ควรปรับแก้ภารกจิ การศึกษานอกระบบให้อยู่ในประเภทท5ี่ เป็ นภารกจิ ทร่ี ัฐยงั คงดาเนินการอยู่ แต่อปท.จะดาเนินการเองกไ็ ด้

ขอบข่ายงานองค์ความรู้และฐานข้อมลู ขนั้ พนื้ ฐานของงานกศน.ก.การศึกษาตลอดชีวติ-ประเภทของการศึกษาท้งั หมด-การศึกษาตลอดชีวติ : ความหมายของการศึกษาตลอดชีวติ ,คุณลกั ษณะของการศึกษาตลอดชีวติ ,แนวคดิ ของการศึกษาตลอดชีวติ ,องค์ประกอบของการศึกษาตลอดชีวติ ,ความจาเป็ นและคุณค่าของการศึกษาตลอดชีวติ-หลกั การศึกษาตลอดชีวติ :นโยบายการจดั การศึกษาตลอดชีวติ หลกั การจดั การศึกษาตลอดชีวติ ,กจิ กรรมการศึกษาตลอดชีวติ

ขอบข่ายงานองค์ความรู้และฐานข้อมลู ขนั้ พนื้ ฐานของงานกศน.ข.แนวคดิ เกยี่ วกบั การศึกษานอกระบบโรงเรียน•ความหมายและคาทเี่ กย่ี วข้องกบั การศึกษานอกระบบโรงเรียน•แนวคดิ เกย่ี วกบั การศึกษานอกระบบโรงเรียน: แบบด้งั เดิม/แนวคดิ ใหม่• แนวคดิ ของนักการศึกษาเกยี่ วกบั การศึกษานอกระบบโรงเรียน• ลกั ษณะสาคญั / ความมุ่งหมาย/ หน้าท่ี/ ความจาเป็ นของการศึกษานอก ระบบโรงเรียน• หลกั การจดั /ประเภทของกจิ กรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน

ขอบข่ายงานองค์ความรู้และฐานข้อมูลขนั้ พนื้ ฐานของงานกศน.ค.หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบในการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน •หน่วยงานของรัฐ •หน่วยงานของรัฐวสิ าหกจิ •หน่วยงานของเอกชน •แนวทางทางานร่วมกบั เครือข่าย

ขอบข่ายงานองค์ความรู้และฐานข้อมูลพน้ื ฐานของงานกศน.ง. หลกั สูตรและรูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน • การจดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานในระบบโรงเรียน • การศึกษานอกระบบโรงเรียนสายสามญั • การศึกษานอกระบบโรงเรียนด้านทกั ษะและอาชีพ • การให้บริการข่าวสารข้อมูล • ห้องสมุดประชาชน/ทอ่ี ่านหนังสือประจาหมู่บ้าน • พพิ ธิ ภณั ฑ์ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน • การศึกษาตามอธั ยาศัย การศึกษาทางไกล การศึกษาต่อเน่ือง

ขอบข่ายงานองค์ความรู้และฐานข้อมลู ขนั้ พน้ื ฐานของงานกศน.จ. ปัญหาและแนวโน้มของการศึกษานอกระบบโรงเรียนในประเทศไทย •ปัญหาของการศึกษานอกระบบโรงเรียนและการศึกษา ตามอธั ยาศัยในประเทศไทย •แนวโน้มการศึกษานอกระบบโรงเรียนและการศึกษา ตามอธั ยาศัยในประเทศไทย

กฎหมายเกย่ี วข้องการจัดการศึกษาตลอดชีวิต • 1. พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542และแก้ไข2545 • มาตรา 8 พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาตพิ .ศ.2542 กาหนดให้การจัด การศึกษาต้องยดึ หลกั 1) เป็ นการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน 2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา 3) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็ นไปอย่างต่อเน่ือง • ท้งั 3ข้อถือเป็ น หลกั การพืน้ ฐานของการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เน่ืองจากการศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัยเป็ นการศึกษาในระบบ เปิ ด ท้งั โอกาสทเี่ ปิ ดให้ทุกคนและหลกั สูตรทเี่ น้นความหลากหลาย รวมท้งั เป็ นการจดั การศึกษา มุ่งใช้เครือข่ายส่งเสริมและสนับสนุนการ บริหารและจดั บริการทางการศึกษา

1.พรบ.การศึกษาแห่ งชาติพ.ศ.2542และแก้ ไข2545• มาตรา23 เนื้อหาหลกั สูตรสอดคล้องและเป็ นไปตามการจดั การศึกษา ท้งั การศึกษาในระบบ/นอกระบบ/ตามอธั ยาศัย ต้องเน้นท้งั ความรู้และ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการเนื้อหาต่อไปนี้ ตามความ เหมาะสมแต่ละระดบั การศึกษา (1) ความรู้เกย่ี วกบั ตนเองและความสัมพนั ธ์ของตนเองกบั สังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมท้งั ความรู้เกยี่ วกบั ประวัตศิ าสตร์ของสังคมไทย การเมือง การ ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์เป็ นประมุข (2) ความรู้และทกั ษะด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบารุงรักษาการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (3) ความรู้เกยี่ วกบั ศาสนา ศิลป วฒั นธรรม การกฬี า ภูมปิ ัญญาไทยและการประยุกต์ใช้ภูมิ ปัญญา (4) ความรู้และทกั ษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง (5) ความรู้และทกั ษะในการประกอบอาชีพและการดารงชีวติ อย่างมคี วามสุข

1.พรบ.การศึกษาแห่ งชาติพ.ศ.2542และแก้ ไข2545• มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงาน เกย่ี วข้อง (1) จัดเนื้อหาสาระและกจิ กรรมให้สอดคล้องกบั ความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถงึ ความ แตกต่างระหว่างบุคคล (2) ฝึ กทกั ษะ กระบวนการคดิ การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพ่ือป้องกนั และแก้ปัญหา (3) จัดกจิ กรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึ กปฏิบตั ิ ให้ คดิ เป็ นทาเป็ น เกดิ การใฝ่ รูต่อเนื่อง (4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานความรู้ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน รวมท้งั ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมทด่ี ี งาม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในทุกวชิ า (5) ส่งเสริมให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนการสอนและอานวยความสะดวก เพ่ือให้ ผู้เรียนมคี วามรอบรู้และสามารถใช้การวจิ ัยเป็ นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจ เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กนั จากสื่อและแหล่งวทิ ยาการประเภทต่าง ๆ (6) จัดการเรียนรู้ให้เกดิ ขนึ้ ได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี มกี ารประสานความร่วมมือกบั บดิ ามารดา ผู้ปกครองและ บุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพ่ือร่วมกนั พฒั นาผู้เรียนตามศักยภาพ

1.พรบ.การศึกษาแห่ งชาติพ.ศ.2542และแก้ ไข2545• มาตรา 37 วรรคสอง (2)และ (4)•จดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานทจี่ ัดในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ ตามอธั ยาศัย•จดั การศึกษาทางไกลให้บริการในหลายเขตพืน้ ท่ี เพื่อเสริมการ บริหารและการจัดการของเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาได้•สรุป การศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัยเป็ นวธิ ีการจัด การศึกษาทไ่ี ด้รับการยอมรับให้เป็ นเครื่องมือในการส่งเสริมและ สนับสนุนการปฏริ ูปการศึกษา

1.พรบ.การศึกษาแห่ งชาติพ.ศ.2542และแก้ ไข2545•หมวด 9 ต้งั แต่มาตรา 63-69 • ต้องการให้มกี ารนาสื่อและเทคโนโลยมี าใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อการจดั การศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัยให้เกดิ และเรียนรู้สาหรับ ประชาชน • รัฐต้องส่งเสริมการผลติ ส่ือเทคโนโลยี การพฒั นาบุคคลด้านการผลติ ผู้ใช้สื่อและผู้เรียน ตลอดจนงานวจิ ยั และพฒั นา • ให้มีการระดมทุนจดั ต้งั กองทุนพฒั นาเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาและมี หน่วยงานกลางทาแผนและประสานงานการวจิ ยั พฒั นาและการใช้ เทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา

2.ร่ างพรบ.การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั • มี4หมวด 28มาตรา • หลกั การจัด:ความต้องการของผู้เรียน/ต่อเนื่องตลอดชีวติ /เสมอภาค/กระจาย อานาจให้เครือข่าย/ศักยภาพกาลงั คน โดยเป้าหมายสร้างสังคมอุดมปัญญา • การส่งเสริมสนับสนุน:ให้สิทธิประโยชน์ยกย่องและสร้างความเข้มแขง็ ของ เครือข่ายร่วมจัด • คุณภาพมาตรฐาน: จดั ระบบประกนั คุณภาพภายใน • การบริหารจัดการ: มคี ณะกรรมการกศน. มีหน่วยงานกศน.ในส่วนกลางทมี่ ี โครงสร้างคล้ายกบั ก.ค.ศ.ในปัจจุบัน อยู่ภายใต้สานักงานปลดั กระทรวง ศึกษาธิการ และมอี ภ.กศน. ระดบั จังหวดั ให้มกี ศน.จังหวดั และศูนย์การเรียนรู้ ชุมชน

3. ร่าง พ.ร.บ.สถาบนั เทคโนโลยที างการศึกษาแห่งชาติ• จะมกี ารจดั ต้ังสานักงานเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาแห่งชาติ มฐี านะเป็ นองค์การ มหาชน อยู่ในกากบั ของ รมว.ศธ.• ทาหน้าทด่ี ูแลเรื่องสื่อและเทคโนโลยที างการศึกษา รวมท้งั ให้บริการการศึกษา ทางไกลแก่สถานศึกษาทอี่ ยู่ห่างไกล ขาดแคลนครู และยงั เข้าไม่ถงึ เทคโนโลยี• จะตดั หน่วยงานทท่ี าหน้าทท่ี างด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาของ กศน.ในปัจจุบนั อาทิ สถานีวทิ ยุโทรทศั น์เพื่อการศึกษา (ETV) เป็ นต้น มารวมกบั สานักงาน บริหารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือพฒั นาการศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการ การอดุ มศึกษา (สกอ.)• ผู้ทที่ างานอยู่ในปัจจุบันจะให้เลือกได้ว่า จะเป็ นเจ้าหน้าทขี่ ององค์การมหาชน หรือจะอยู่ในหน่วยงานเดมิ ต่อไป

ประเด็นการใช้ประโยชน์จากกฎหมายท่เี กยี่ วข้อง• 1. ทาความเข้าใจและเข้าถึงสารัตถะทแี่ ท้จริงหรือไม่ จาเป็ นต้องออก กฎกระทรวง ประกาศ ข้อบังคบั ทเี่ ป็ นส่วนเกย่ี วเน่ืองด้วยหรือไม่• 2. ได้มีการเผยแพร่ให้ผู้เกย่ี วข้อง ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียอย่างกว้างขวาง หรือไม่• 3.มกี ารจัดทาโครงสร้าง งบประมาณ แผนงาน โครงการและกจิ กรรมให้เป็ นไป ตามกฎหมายหรือยงั• 4.มกี ารบงั คบั ใช้กฎหมายจริงจงั หรือไม่ ใครคือผู้มีอานาจ และมกี ารกากบั ตดิ ตาม รายงานประเมินความก้าวหน้าหรือไม่• 5.เมื่อผ่านไประยะหน่ึงจะมกี ารแก้ไขกฎหมายในจุดอ่อนหรือไม่

ทศิ ทางการศึกษาในโลกยคุ ใหม่และอนาคต•1. ใช้การศึกษาสร้างสังคมฐานเศรษฐกจิ ความรู้• 2. ปัจจยั 7ตวั ของการปฏิวตั สิ ังคมฐานเศรษฐกจิ ความรู้•3. กรอบคดิ ในการสร้างความรู้•4. การศึกษาเพื่อการพฒั นาอย่างยง่ั ยืน•5. การปฏริ ูปการเรียนรู้ของโลกยคุ ใหม่

ทิศทางการศึกษาในโลกยคุ ใหม่และอนาคต1. ใช้การศึกษาสร้างสังคมฐานเศรษฐกจิ ความรู้• การสร้าง/การเข้าถงึ /การบริหารจดั การ/และการใช้องค์ความรู้เป็ น ปัจจยั สาคญั ของศักยภาพประเทศในการแข่งขนั บนเวทโี ลก• ต้องสร้างสังคมความรู้มาก่อนการสร้างสังคมฐานเศรษฐกจิ เพราะช่วย ให้คนปรับตวั ทนั การเปลยี่ นแปลงของสังคม• ปัจจยั พืน้ ฐานของทุกประเทศ:ต้องปรับตวั ทนั การเปลย่ี นแปลงโดยมี การคงสภาพและพฒั นาสมรรถนะไปพร้อมกนั

ทิศทางการศึกษาในโลกยคุ ใหม่และอนาคต2. ปัจจยั 7 ตวั ของการปฎวิ ตั สิ ังคมฐานเศรษฐกจิ ความรู้ • ปัจจยั ตัวท1่ี .มกี ารวจิ ยั พฒั นาริเร่ิมใช้ความรู้สร้างเทคโนโลยใี หม่ มากขนึ้ • ปัจจยั ตวั ที่ 2. เช่ือมโยงความรู้วทิ ยาศาสตร์มาใช้สร้างนวตั กรรมได้ เร็วขนึ้ ทนั ต่อการหมดอายุของสินค้าซ่ึงวงจรการตลาดเปลยี่ นเร็ว • ปัจจยั ตัวท่ี 3. การศึกษามีบทบาทสาคญั ในการเสริมศักยภาพของ แรงงานโดยเฉพาะการศึกษาตลอดชีวติ

2. ปัจจยั 7ตวั ของการปฎวิ ัตสิ ังคม ฐานเศรษฐกจิ ความรู้• ปัจจยั ตวั ที่ 4. เน้นการลงทุนในการใช้ สติปัญญาการวจิ ยั พฒั นาท่มี าจากสมองคน มากกว่าการลงทุนอ่ืน• ปัจจัยตวั ท่ี 5. สินค้ามคี ุณค่าเพมิ่ จากค่านิยม ยหี่ ้อ การตลาด การะกระจายสินค้า และการ โฆษณาประชาสัมพนั ธ์

ทิศทางการศึกษาในโลกยคุ ใหม่และอนาคต2. ปัจจยั 7ตวั ของการปฏวิ ตั สิ ังคมฐานเศรษฐกจิ ความรู้ • ปัจจยั ตัวที่ 6. การผลติ ทใ่ี ช้นวตั กรรมใหม่คือปัจจยั ธุรกจิ การแข่งขนั ครอบครองตลาดและทาให้ขยายตลาดโลก • ปัจจยั ตวั ที่ 7. ตลาดโลกาภวิ ตั น์ขยายตวั เร็วและแข่งขนั สูง -การค้าขาย/GDP จาก 38% ในปี 1990 เป็ น 52% ในปี 1999 - สินค้ามีคุณค่าเพม่ิ คดิ เป็ น TNCs 27% ของรายได้ ประชากรโลกglobal GDP

ทิศทางการศึกษาในโลกยคุ ใหม่และอนาคต3. กรอบคดิ ในการสร้างความรู้• เป็ นการเรียนทมี่ รี ูปแบบพเิ ศษ -การเรียนทปี่ รับสมรรถนะ -เป็ นการออกแบบเฉพาะตัวเป็ นรายบุคคล ใช้แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธ์ิมากขึน้• การนาความรู้ไปปรับองค์กรให้มีประสิทธิภาพ อยู่รอดได้• การฝึ กอบรมสร้างคนทม่ี ีอยู่ให้รู้มากขนึ้ สร้างสรรค์และมีฝี มือมากขนึ้• การปรับปรุงองค์กรในการลงทุนปรับโครงสร้างพืน้ ฐานการบริหารจัดการ เทคโนโลยขี ่าวสารและการส่ือสารโทรคมนาคม• การปรับประสิทธิภาพของประเทศให้เน้นการแข่งขันได้โดยพฒั นานวตั กรรม ท่ขี ายและใช้งานได้

ทิศทางการศึกษาในโลกยคุ ใหม่4 สหประชาชาติประกาศ 2548-2557 เป็ นทศวรรษแห่งการศึกษาเพอ่ื การพฒั นาอย่างยง่ั ยนื 1. เพ่ือแสดงถงึ บทบาททสี่ าคญั ของการศึกษา และการเรียนรู้เพื่อการ พฒั นาอย่างยงั่ ยืน 2. อานวยความสะดวกในการเชื่อมโยง และสร้างเครือข่าย การแลกเปลย่ี นและ การปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้ทศวรรษการศึกษาเพื่อการ พฒั นาอย่างยงั่ ยืน 3. ให้โอกาสเพื่อการแก้ไขและส่งเสริมวสิ ัยทศั น์ และการเปลยี่ นแปลงเข้าสู่การ พฒั นาอย่างยงั่ ยืนโดยใช้การเรียนรู้ทุกรูปแบบกบั จติ สานึกของสาธารณชน 4. เสริมสร้างคุณภาพการเรียนการสอนเพื่อการพฒั นาอย่างยงั่ ยืน 5. พฒั นายุทธศาสตร์ในทุกระดับเพ่ือสร้างศักยภาพให้กบั ทศวรรษการศึกษา เพื่อการพฒั นาอย่างยงั่ ยืน

4 กรอบงานการศึกษาเพอื่ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื 22ประเดน็1.พชิ ิตความยากจน 2. ความเสมอภาคทางเพศ3. ส่งเสริมสุขภาพ 4. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 5. จดั การทรัพยากรนา้6. แก้ปัญหาโรคเอดส์/HIV 7. การพฒั นาชนบท 8. การบริโภคอย่างยง่ั ยืน9. การท่องเท่ยี วอย่างยง่ั ยืน 10. สิทธิมนุษยชน 11. ความเข้าใจวัฒนธรรมระหว่างประเทศ 12. ความหลากหลายทางวฒั นธรรม 13. ชนกลุ่มน้อย14. ส่ือมวลชนและเทคโนโลยี 15. สันตภิ าพและสวสั ดิการสังคม16. การบริหารจัดการภาครัฐที่ดี 17. บรรยากาศโลก18. ชีวภาพที่หลากหลาย 19. ป้องกนั สาธารณภยั20. การพฒั นาเมืองอย่างยงั่ ยืน21. ความร่วมมือระหว่างประเทศ 22. เศรษฐกจิ การตลาด

5 การปฏริ ูปการเรียนรู้ของโลกยคุ ใหม่ (The LearningRevolution) โลกมสี ่ิงเปลีย่ นแปลง 16 ประการ 1. ยุคของการสื่อสารได้เร็วทนั ที 2. โลกไม่มีส่ิงกดี ขวาง ขีดก้นั พรมแดน 3. ค้าขายติดต่อก้าวกระโดดไปสู่เศรษฐกจิ โลก 4. ค้าขายและเรียนรู้ทางอนิ เตอร์เน็ตได้ 5. สังคมจดั ธุรกจิ บริการแบบใหม่เกดิ ขนึ้ ได้ตลอดเวลา 6. การจบั คู่ทางานร่วมระหว่างของเลก็ กบั ของใหญ่ทางานร่วมกนั ได้ 7. ยุคเรียกร้องนันทนาการและคุณภาพชีวติ 8. เปลย่ี นรูปแบบวธิ ีทางาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook