Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความน่ารู้ด้านการศึกษา _ “ ข้อคำนึง 7 ประการของการนำสื่อสังคมออนไลน์มาเป็นกรอบ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูควรรู้ ”

บทความน่ารู้ด้านการศึกษา _ “ ข้อคำนึง 7 ประการของการนำสื่อสังคมออนไลน์มาเป็นกรอบ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูควรรู้ ”

Published by Narongwit Singkibut, 2021-01-31 03:00:35

Description: บทความน่ารู้ด้านการศึกษา _ “ ข้อคำนึง 7 ประการของการนำสื่อสังคมออนไลน์มาเป็นกรอบ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูควรรู้ ”

Search

Read the Text Version

บทความนา่ รูด้ ้านการศกึ ษา : “ ขอ้ คํานงึ 7 ประการของการนาํ สอื สงั คมออนไลนม์ าเปนกรอบ  ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทีครูควรรู้ ” ​ เรยี บเรยี งโดย ณรงค์วิทย์ สงิ คิบุตร    ------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หนา้ | 1 ข้อคํานึง  7  ประการของการนําสอื สงั คมออนไลน์มาเปนกรอบในการจัดกิจกรรมการเรยี นการ สอนทคี รูควรรู ้   การประยุกต์ใช้สือสังคมออนไลน์ในการเรยี นการสอน  เปนการนําแหล่งข้อมูล  ภาพ  เสียง  และปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในเครือขา่ ยสังคมมาเปนสือ เครืองมือ  และใช้แหล่งความรู้ ทีหลากหลายบนเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์เปนสือกลางหรือชอ่ งทางในการเรียนการสอนสง่ ผลให้ผู้ เรียนได้เรียนรู้สิงต่างๆ  มากมายตามความสนใจ  ทําให้การเรียนรู้เกิดขึนได้ทุกเวลาทุกสถานที  แต่ในปจจุบันสือสังคมออนไลน์มีจํานวนมากมาย  ดังนัน  เมือจะนํามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการ สอนจะต้องคํานึงถึงองค์ประกอบของสือสงั คมออนไลนม์ าเปนกรอบในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ดังน ี   1)  การรว่ มมือ (Collaboration) ​เปนการแบง่ กลุ่มผู้เรียนออกเปนกลุ่มยอ่ ยตามประเด็น หัวข้อทีนักเรียนสนใจ  มีการกําหนดบทบาท  หน้าทีและความรับผิดชอบ  โดยสมาชิกทุกคนใน กลุ่มต้องรว่ มมือกันในการเรียนรู้หรือทํากิจกรรมโดยใช้สอื สังคมออนไลน์เปนเครืองมอื   เชน่   Group (กลุ่มรว่ มมือกันเรียนรู้ตามหัวข้อทีนกั เรยี นสนใจ) และ Member (การเปนสมาชิกในกลุ่ม)    2)  การสอื สาร  (Communication)  เ​ ปนการใช้ชอ่ งทางของสือสังคมออนไลน์ในการ ติดต่อสือสาร  พูดคุย  แลกเปลียน  สอบถาม ติดตาม แสดงความคิดเห็นเพือแลกเปลียนเรียนรู้กัน  ในสถานทีและเวลาทีแตกต่างกัน  เครืองมือสือสารควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการและ สภาพการใช้งานของผู้เรียนและสอดคล้องกับลักษณะกิจกรรม  เชน่   Facebook  จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์(E-mail) กระดานสนทนา(WebBoard) การพูดคุย(Chat)      3)  บรบิ ททางสงั คม  (Social  Context)  ​เปนองค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อม  ความ สัมพันธ ์ ชอ่ งทาง  สถานที  เวลา  และสถานการณ์หรือเรืองราวทีกําหนดให้ผู้เรียนเขา้ ไปรว่ มทํา กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้พืนทีของสือสังคมออนไลนท์ ีมีระบบการจัดการเรียนรู้ทีพัฒนาขนึ โดย สมาชิกทุกคนในห้องต้องเข้ารว่ มกลุ่มจึงจะสามารถทํากิจกรรมได้  และมีการเชือมโยงเพือการ สือสารกับกลุ่มในเฟสบุ๊ค (Facebook)    4)  เทคโนโลย ี (Technologies)  เ​ ปนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้หรือสิงอํานวย ความสะดวกโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือขา่ ยในรูปแบบของสอื สงั คมออนไลนเ์ ปนสือกลางในการ ติดต่อสือสารเพือเพิมศักยภาพในการเรียนรู ้ การสือสารในลักษณะของการโต้ตอบ  เชน่   Facebook , Blog , YouTube , E-mail (Disscusion , Web Board , Chat , Comment , Reply)  แบบทดสอบออนไลน์ รวมถึงการเชือมโยงไปยังแหล่งทรัพยากรสารสนเทศ อืนๆ    5)  การแบง่ ปน  (Sharing)  ​หรือการแลกเปลียนเรียนรู้เปนกระบวนการสาํ คัญในการ จัดการความรู ้ ข้อมูล  แหล่งข้อมูล  ภาพ  เสียง  เนือหาผา่ นสือสังคมออนไลน์เพือแบง่ ปนให้กับ สมาชิกในกลุ่มโครงงานและในเครือขา่ ย  เชน่  การแบง่ ปนโดยใช ้ Google Drive , Google Docs ,  Google Forms , Google Sheets , Google Presentation อืนๆ 

บทความนา่ รูด้ ้านการศกึ ษา : “ ขอ้ คํานงึ 7 ประการของการนาํ สอื สงั คมออนไลนม์ าเปนกรอบ  ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทีครูควรรู้ ” ​ เรยี บเรยี งโดย ณรงค์วิทย์ สงิ คิบุตร    ------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หนา้ | 2   6)  ความสมั พันธ์  (Connections)  โดยการให้สมาชิกทุกคนได้มีสว่ นรว่ มในการทํา กิจกรรมทังในสว่ นการแลกเปลียนเรียนรู้ชว่ ยเหลือซึงกันและกันทังภายในกลุ่ม  ระหว่างกลุ่มทุก คนอยา่ งสมาเสมอ  โดยกิจกรรมจะมุง่ เน้นการนําความรู้มาแลกเปลียนกัน  รว่ มแสดงความคิด เห็น  รวมถึงการตังประเด็นการศึกษา คําถาม วัตถุประสงค์และหัวข้อนันๆ เชน่  Group (กลุ่มตาม หัวข้อโครงงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม และกลุ่มแต่ละห้องเรียน)    7)  การใช้เครอื งมือรว่ มกันสรา้ งเนือหา  (Content  co-creation  Tools)  โ​ ดยการที สมาชิกในกลุ่ม  นอกกลุ่มและในเครือขา่ ยมีสว่ นรว่ มในการสรา้ งสรรค์  (Co-Creation)  และนํา เสนอข้อมูลเนือหา  (Content)  แสดงความคิดเห็นด้วยการโพสต์คอมเม้นต์  โต้ตอบกันได้อยา่ ง อิสระ  ทําให้เกิดการแลกเปลียนเรียนรู ้ โดยนักเรียนจะเปนทังผู้รับและผู้ให ้ เชน่   การแบง่ ปน  (Sharing)  การแสดงความคิดเห็น(Comment)  การโต้ตอบ(Reply)  การนําเสนอ  (YouTube)  การทําแผนทีความคิด (Mind Map)    อ้างอิง  คเชนทร ์ กองพิลา.  (2558).  แบบจําลองการเรียนการสอนโครงงานโดยใช้สือสังคมออนไลน์เปน ฐานเพือพัฒนาการคิดวิเคราะห์.  วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.