Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NCD for student

NCD for student

Published by thuchchaimd, 2020-03-20 00:12:44

Description: NCD for student

Search

Read the Text Version

ตวั อยา่ งการควบคุมป้องกนั โรคความดนั โลหิต และเบาหวาน

การดาเนินงานป้องกนั ควบคุม และดูแลผู้ป่ วยโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง Primary Secondary Tertiary prevention prevention prevention คัดกรอง DM & HT คลินิก NCD คุณภาพ คดั กรองและ ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ดแู ล คดั กรองความเส่ยี ง ปรบั เปลยี่ นสภาพแวดลอ้ ม CVD ภาวะแทรกซ้อน -บังคบั ใชก้ ฎหมาย -สรา้ งศักยภาพชุมชน STEMI & Stroke สอ่ื สารสารธารณะ Fast-tract

1. คดั กรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง • ประชาชนอายุ 15 ปีข้ึนไป ได้รบั การคดั กรองเบาหวาน/ความดัน โลหติ สูง • ชั่งน้าหนักและวัดสว่ นสูง เพื่อคานวณดชั นีมวลกาย (BMI) และวดั รอบพุง • วัดความดันโลหติ • ตรวจน้าตาลในเลือด • แจ้งผล/โอกาสเส่ียง และแนะนาการปฏิบัตติ นตามสถานะความเสี่ยง • สง่ ตัวไปตรวจยืนยนั ทีโ่ รงพยาบาลในรายสงสยั เปน็ ผปู้ ว่ ยรายใหม่

2. การดูแลรักษาในรายท่ีควบคุมได้ • ความหมาย • ผปู้ ่วยเบาหวานที่ควบคุมนา้ ตาลในเลือดได้ดี : HbA1C ครัง้ สดุ ทา้ ย < 7 หรอื ระดบั นา้ ตาลในเลือด 3 ครง้ั สดุ ท้ายติดตอ่ กัน ระหว่าง 70 -130 มก./ดล. • ผู้ป่วยความดนั โลหติ สงู ทคี่ วบคุมความดนั โลหติ ไดด้ ี : ความดันโลหติ 3 คร้งั สดุ ทา้ ยตดิ ต่อกนั ต่ากวา่ 140/90 มม.ปรอท •การดูแลตอ่ เนือ่ งสาหรบั ผูป้ ว่ ยทีส่ ง่ ตอ่ จากโรงพยาบาลกรณี long term care

คลินกิ NCD คณุ ภาพ (รพศ., รพท., รพช.) รพศ./รพท./รพช.พฒั นาคลินกิ คลนิ กิ NCDมกี ารติดตามผลลัพธก์ ารรกั ษาดแู ล NCD คณุ ภาพ ผปู้ ว่ ยDM,HT 1. มีทิศทางนโยบาย 2. มีการปรบั ระบบและ 1.การลดพฤตกิ รรมเสีย่ งของผปู้ ่วย 2.การคดั กรองการสูบบหุ รี่ กระบวนการบรกิ าร 3.การคดั กรองภาวะซึมเศร้า ประเมนิ ภาวะ 3. มีระบบสนบั สนนุ การจัดการ เครยี ดและการติดสุรา 4.ประเมินความเสี่ยงตอ่ โรคหวั ใจและหลอด ตนเอง เลอื ด(CVD Risk) 4. มีระบบสนบั สนุนการตัดสินใจ 5.ผูป้ ว่ ยDM/HT ควบคุมระดบั นา้ ตาล/ระดับ 5. มรี ะบบสารสนเทศ ความดันโลหิตได้ดี 6. การคัดกรองภาวะแทรกซอ้ น 7. การดแู ลรักษา/สง่ ตอ่ ผทู้ ี่มภี าวะแทรกซ้อน

3. ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมในกลุ่มเสีย่ ง (อว้ น สบู บหุ ร่ี pre-HT และ pre-DM) • ใชก้ ลยทุ ธค์ วามรอบร้ดู ้านสุขภาพ (Health Literacy) • ใช้คลนิ คิ DPAC ซง่ึ มีกรมอนามยั เปน็ เจา้ ภาพหลกั • ใชก้ ารปรึกษาพัฒนาพฤตกิ รรมสุขภาพ (Health coaching) • อ่ืนๆ

4. การส่ือสารสาธารณะ • 3อ 2ส • ออกกาลังกาย อาหาร อารมณ์ สุรา ยาสูบ • เน้นการสอ่ื สารเพื่อลดการบริโภคเกลอื โซเดียม โดยใหบ้ รโิ ภคลดลงครึ่งหนึง่ • อาการท่ีเปน็ สญั ญาณอันตรายของโรคหวั ใจขาดเลือด (ต้องรบี ส่งไปโรงพยาบาล) 1.เจบ็ แน่นหนา้ อก 2.ปวดร้าวไปแขนซา้ ย คาง • อาการทีเ่ ป็นสญั ญาณอนั ตรายของโรคหลอดเลอื ดสมอง (ต้องรีบสง่ ไปโรงพยาบาล) 1.มุมปากตก 2.แขนขาออ่ นแรง 3.พูดไมช่ ัด

5. การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม •สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ “ชมุ ชนสขุ ภาพดวี ถิ ีชีวติ ไทย” (บรู ณาการชุมชน ลดเส่ยี ง ลดโรค ชมุ ชนไร้พงุ หมูบ่ ้านปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม เป็น ต้น) •สง่ เสรมิ ตาบลจดั การสุขภาพ

6. จัดทาระบบข้อมูล •ระบบ 43 แฟม้ • ขอ้ มลู บุคคล • การคดั กรอง • การดแู ลรักษา การตดิ ตาม และผลตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร •ขอ้ มูลอนื่ ๆ เช่น ขอ้ มูลชมุ ชน จุดเนน้ คอื การนาข้อมูลไปใชแ้ ละการคืนขอ้ มูลแกผ่ รู้ บั บรกิ าร ครอบครวั และชมุ ชน

หน่วยงานรัฐทร่ี บั ผิดชอบการปอ้ งกันและควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ 1. สานกั งานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ 2. สานกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ 3. กระทรวงสาธารณสขุ 4. หนว่ ยงานอืน่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เช่น กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

Summary •Non-communicable diseases are now the most common cause of death world wide •Increasing rates in low and middle income countries because of change in lifestyles (Urbanisation) •Key risk factors have very large effects •Interventions are effective and can reduce burden •The need to combine results and have large studies

References • https://www.who.int/nmh/ncd • https://ncdalliance.org • http://www.un.or.th/ • Reddy KS, PHFIs Online Course on Global Public Health Non communicable Diseases Chapter Week 5 lectures. Back to cited text no. 1 • Borker SA. Geriatrics quiz for P.G. students. Ann Trop Med Public Health [Epub ahead of print]. Available from: http://www.atmph.org/preprintarticle.asp?id=150101\\. [cited on 2016 Apr 11]. Back to cited text no. 2 • http://www.world-heart-federation.org/what-we-do/world-heart-day/. [Last accessed on 2016 Apr 07]. Back to cited text no. 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook