Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่1 หน้าที่การดูแลรักษาตา

หน่วยที่1 หน้าที่การดูแลรักษาตา

Published by Pennapa Wesya, 2018-10-30 00:18:46

Description: ตาและการมองเห็นสี

Search

Read the Text Version

6. ตาและการมองเห็นสี รูป 3.33 ก. ส่วนประกอบของตาทสี่ าคญั ตาเป็นอวยั วะท่ีสาคญั ของคนประกอบดว้ ย ( ดงั รูป 3.33 ) เลนส์ตา เป็นเซลลน์ ูนรับแสงจากวตั ถุที่ตอ้ งการมองเห็น เรตินา เป็นเซลลร์ ับภาพของวตั ถุ แลว้ ส่งผา่ นปราสาทตาไปยงั สมอง ม่านตา ทาหนา้ ท่ีปรับความเขม็ ของแสงไปตกลงบนเรตนนาใหเ้ หมาะสม พวิ พลิ เป็นช่องเปน ดวงกลมที่สามารถปรับความกวา้ งไดด้ ว้ ยม่านตา กระจกตา อยดู่ า้ นนอกสุดทาหนา้ ท่ีเป็นส่วนป้ องกนั ลูกตา ถา้ เปรียบเทียบตากบั กลอ้ งถ่ายรูปจะมีลกั ษณะการทางานคลา้ ยคลึงกนั ดงั ตารางเปรียบเทียบระหวา่ งส่วนของลูกตาที่ทางานคลา้ ยกลอ้ งถ่ายรูป ดงั น้ี ตา กลอ้ งถ่ายรูป1. เลนส์ตา 1. เลนส์นูนของกลอ้ ง2. เรตนนา 2. ฟน ลม์ ถ่ายรูป3. ม่านตา 3. ไดอะแฟม ข. สายตาส้ันและสายตายาว เป็นความผดน ปกของการมองเห็นของตา การพนจารณาในเรื่องน้ีมีส่นงท่ีเก่ียวขอ้ งคือ สาหรับคนปกตน จุดใกล้ หมายถึง จุดหรือตาแหน่งของวตั ถุที่ใกลต้ าท่ีสุดที่ตาปกตนสามารถมองเห็นไดอ้ ย่างชดั เจน ซ่ึงประมาณ 25 เซนตนเมตร ดงั รูป 3.34

รูป 3.34 จุดไกล หมายถงึ ตาแหน่งของวตั ถุไกลที่สุดท่ีตาคนปกตนจะสามารถมองเห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจนซ่ึงประมาณระยะอนนั ตด์ งั รูป 3.35 รูป 3.35 สาหรับความผดน ปกตนของการมองเห็นท่ีเรียกวา่ สายตาส้นั และสายตายาวมีลกั ษณะสาคญั ดงั น้ี สายตาส้ัน เป็ นความผนดปกตนของตาที่มองวตั ถุไกลๆ ไม่ชดั เจนแต่มองวตั ถุใกลๆ้ ไดช้ ดั เจนอาจเดจากลูกตามีความยาวมากเกนนไปทาให้ภาพของวตั ถุท่ีอย่ไู กลๆ ไม่ไปตกบนเรตนนาแต่จะตกอยบู่ รนเวณดา้ นหนา้ ของเรตนนา วธน ีการแกไ้ ข ใชเ้ ลนส์เวา้ ทาแวน่ ตา ดงั รูป 3.36 รูป 3.36 สายตายาว เป็ นความผดน ปกตนของตาท่ีมองวตั ถุไกลๆ ไดช้ ดั เจน แต่มองวตั ถุใกลๆ้ ไม่ชดั เจนอาจเกนดจากลูกตาส้ันเกนนไปทาใหภ้ าพของวตั ถุ ที่อยใู่ นตาแหน่งท่ีควรจะเห็นชดั กลบั ไปตกเลยเรตนนาออกไปวธน ีแก่ไข ใชเ้ ลนส์นูนทาแวน่ ตา ดงั รูป 3.37

รูป3.37ตวั อย่าง 43 ชายสายตายาวผหู้ น่ึงเห็นจุดใกลต้ าท่ีสุดที่ 100 เซนตนเมตร จงหาแวน่ ตาท่ีทาใหจ้ ุดใกลข้ องเขาเห็นไดอ้ ยา่ งปกตนท่ีระยะ 25 เซนตนเมตรวธน ีทา ให้ f1 เป็นความยาวโฟกสั ของเลนส์ตา f2 เป็นความยาวโฟกสั ของเลนส์ท่ีทาแวน่ ตา เมื่อมองวตั ถุดว้ ยตาเปล่า ถา้ วตั ถุท่ีระยะ 100 cm จากตาจะมองเห็นภาพวตั ถุแต่ถา้ วตั ถุใกลต้ าเขา้ มาอีกจะมองเห็นไมช่ ดั จาก 1  1  1 ……… ( 1 ) s s' f  1 1 1 100 s' f 1 เม่ือใส่แวน่ ตาซ่ึงตอ้ งทาดว้ ยเลนส์นูนจะเห็นวตั ถุที่ระยะ 25 cm จากตาไดช้ ดั เจน กรณีน้ีการคนดจึงตอ้ งคนดแบบเลนส์บางสองอนั ประกบกนั ( ดูตวั อยา่ ง31 ) ได้ 1 1 1  1 ……….( 2 ) 25 s' f 1 f 2ในสมการ (1) และ (2) ระยะภาพ s/ จะเป็นตวั เดียวกนั เพราะเห็นภาพชดั เจนท้งั คู่(2) – (1) ; 1 1 1 25 100 f 2 1 3 f 2 100 f 2  3.33cmน้นั คือ ตอ้ งใชแ้ วน่ ตาที่ทาดว้ ย เลนส์นูนความยาวโฟกสั 3.33 cm

ค. การเหน็ สี เราทราบแลว้ วา่ ตามีเรตนนาทาหนา้ ที่เป็นฉากรับภาพของวตั ถุ ดงั น้นั การที่ตามองเห็นสีตา่ งๆ จึงเป็นหนา้ ที่ของเรตนนา เรตนนาประกอบดว้ ยเซลลร์ ับแสง 2 ชนนดคือ เซลล์รูปกรวย เป็นเซลลท์ ี่ไวต่อแสงท่ีมีความเขม็ ขน้ สูง และสามารถจาแนกแสงสีได้ โดยเซลลน์ ้ีจะประกอบดว้ ยเซลลส์ ามชนนดท่ีไวตอ่ แสงสีปฐมภูมนไดแ้ ก่ สีน้าเงนน เขียว และแดง เซลลท์ ้งั สามชนนดน้นั จะไวต่อแสงสีเหล่าน้ีต่างกนั เซลล์รูปแท่ง เป็นเซลลท์ ี่ไวตอ่ แสงท่ีมีความเขม็ ต่าแต่จาแนกสีไม่ได้ การบอดสี เป็ นความผนดปกตนของตาในการเห็นสีที่เพ้ียนไปจากความเป็ นจรนง โดยตามกั จะบอดเพยี งบางสี พบวา่ บอดสีแดงมากที่สุด หมายความวา่ ถา้ คนท่ีมีตาบอดสีแดง เซลลร์ ูปกรวยท่ีไวต่อแสงสีแดงเสียไป ขณะท่ีเซลลร์ ูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้าเงนนและสีเขียวยงั คงทางานตามปกตน7. สี ก. ชนิดของวตั ถุ กรณีน้ีเป็นการพนจารณาชนนดของวตั ถุแยกตามสมบตั นการดูดกลืนแสง เมื่อมีแสงตกกระทบวตั ถุซ่ึงสามารถแยกได้ 3 ชนนด คือ (ดงั รูป 3.38) วตั ถุโปร่งใส หมายถึง วตั ถุท่ียอมใหแ้ สงเดนนทางทะลุผา่ นไปไดอ้ ยา่ งงเป็นระเบียบ เช่น กระจกใส วตั ถุโปร่งแสง หมายถึง วตั ถุที่ยอมใหแ้ สงเดนนทางผา่ นทะลุไปไดอ้ ยา่ งไม่เป็นระเบียบ เช่นกระจกฝ้ า วตั ถุทบึ แสง หมายถึง วตั ถุท่ีไม่ยอมใหแ้ สงผา่ นไปไดเ้ ลย ข. การผสมสารสี กรณีวตั ถุโปร่งแสงหรือโปร่งใสที่เรามองเห็นเป็ นสีต่างๆ เช่น แผน่ พลาสตนกสีแดง น้นั แสดงวา่แผน่ พลาสตนกสีแดงดูดกลืนสีอื่นๆ ไวจ้ นเกือบหมดปล่อยแสงสีแดงผา่ นไปไดโ้ ดยสะดวกเราจึงเห็นสีแดงและถา้ นาแผน่ พลาสตนกสีแดงน้ีเขา้ ไปในหอ้ งมืดฉายดว้ ยแสงสีเขียว เราจะมองเห็นแผน่ พลาสตนกเป็นสีดา กรณีวตั ถุทึบแสง เช่น ปกสมุดสีแดง ที่เราเห็นเช่นน้ีเพราะแสงสีแดงสะทอ้ นที่ปกสมุดเป็นส่วนใหญ่ในขณะท่ีแสงสีอ่ืนๆ ถูกดูดกลืนเป็นส่วนใหญ่ และถา้ นาปกสมุดเขา้ ไปในหอ้ งมืดแลว้ ฉายดว้ ยแสงสีอ่ืนท่ีไม่ใช่สีแดง เช่น ฉายดว้ ยแสงสีน้าเงนน เราจะเห็นปกสมุดสีแดงเป็นสีดาเพราะสีน้าเงนนถูกดูดกลืนไว้เป็นส่วนใหญจ่ ึงไม่สะทอ้ นออกมา

วตั ถุท่ีเป็นสีต่างๆ เพราะเกนดจากสารสีปฐมภูมนผสมกนั สารสีปฐมภูมนมี 3 สี คือ สีเหลือง สีแดงม่วง และสีน้าเงนนเขียว ถา้ นาสารสีปฐมภูมนท้งั 3 สีมาผสมกนั ดว้ ยปรนมาณท่ีเท่าๆ กนั เราจะไดส้ ารสีดา การผสมระหวา่ งสารสีปฐมภูมนคูต่ า่ งๆ ไดส้ ารสีต่างๆ ดูไดจ้ ากรูป 3.39 เช่น ถา้ นาสารสีน้าเงนนเขียวมาผสมกบั สารสีเหลืองจะไดส้ ารสีเขียวเป็นตน้ รูป 3.39 ค.การผสมแสงสี สี ในที่น้ีหมายถึง ความรู้สึกของมนุษยใ์ นการมองเห็นคล่ืนแสงซ่ึงมี 7 สี ไดแ้ ก่ มว่ ง คราม น้าเงนน เขียว เหลือง แสดและแดง มีความยาวคลื่นประมาณ 430, 450, 500, 535, 580, 600, และ 700 นาโนเมตรตามลาดบั แสงขาวเมื่อผา่ นปรนซึมจะถูกแยกออกมามาใหเ้ ป็น 7 สีดงั กล่าวซ่ึงไดท้ ราบมาแลว้ สีของแสงที่ถือวา่ เป็น แมส่ ี หรือ แสงสีปฐมภมู น ( primary color ) ไดแ้ ก่ แดง เขียว และน้าเงนนสีเหล่าน้ีเป็นสีท่ีมีความบรนสุทธ์นไม่สามารถแยกออกเป็นสีอ่ืนๆ ไดอ้ ีกแลว้ สีอ่ืนนอกจากสามสีน้ีเกนดจากการผสมสีปฐมภมู น เช่น แสงสีเหลืองเกนดจากการใชแ้ สงสีแดงและเขียวผสมกนั ในอตั ราส่วนของความเขม็ แสง 1: 1 ( ดงั รูป 3.40 ) สีที่ไม่ใช่แมส่ ีเหล่าน้ีเรียกวา่ แสงสีประกอบ ( compound color ) สาหรับคูแ่ สงที่ผสมกนัแลว้ ไดแ้ สงขาว เช่น แสงสีเขียวกบั สีแดงมว่ งเรียกวา่ แสงสีเตนมเตม็ ( complementary color) รูป 3.40ตัวอย่าง44 คนปกตนเมื่อใหม้ องแผน่ กระดาษสีน้าเงนนนานประมาณ 1 นาที แลว้ ละสายตาไปมองแผน่ กระดาษสีขาว เขาจะมองเห็นกระดาษสีขาวเป็นสีอะไร

วธิ ีทา ตอนแรก ขณะมองกระดาษสีน้าเงนนเซลลร์ ูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้าเงนนของเรตนนาจะทางานหนกั มากจนเกนดความลา้ ตอนหลงั เมื่อเซลลร์ ูปกรวยที่ไวตอ่ แสงสีน้าเงนนเดความลา้ ทาใหต้ าบอดสีน้าเงนนชวั่ คราว ดงั น้นัเม่ือตามองผา่ นกระดาษสีขาวซ่ึงจะมีแสงสีทุกสีตกกระทบเรตนนา เซลลร์ ูปกรวยท่ีไวต่อแสงสีแดงและแสงสีเขียวเท่าน้นั ที่ยงั คงทางานตามปกตน จึงทาใหต้ าขณะน้ีเห็นแสงสีแดงและสีเขียวผสมกนั เทา่ น้นั ซ่ึงจะผสมออกมาแลว้ เห็นเป็ นสีเหลือง นนั่ คือ ตาจะเห็นกระดาษสีขาวเป็นสีเหลืองตวั อย่าง 45 กาหนดให้ R+O+Y+G+B+V = W R+BG = W และ B+Y = W โดยท่ี R, O, Y, G, B, V, W และ BG คือสี แดง แสด เหลือง เขียว น้าเงนน มว่ ง ขาว และสีน้าเงนนเขียว ท้งั สมาสมการเป็ นการนาแสงสีตา่ งๆ ผสมกนั แลว้ ไดแ้ สงขาว อยากทราบวา่ ถา้ ผสม R+O+G+B+Vจะไดแ้ สงสีอะไรวธิ ีทา ตามท่ีโจทยก์ าหนด R+O+Y+G+B+V = W ……( 1 ) R+BG = W ……( 2 ) B+Y = W ……( 3 ) จาก ( 1 ) ; R+O+G+B+V = W –Y ……( 4 ) จาก ( 3 ); B = W – Y ……( 5 ) ( 4 )=( 5 ); R+O+G+B+V = B นนั่ คือ การผสมแสงสี R+O+G+B+V จะไดแ้ สงสีน้าเงนน8. การถนอมสายตา การถนอมสายตามีหลกั วา่ ตอ้ งมองวตั ถุท่ีมีความสวา่ งพอเหมาะต่อการมองเห็น ผลท่ีเกนดต่อตาขณะที่มองวตั ถุที่มีความเขม้ แสงหรือความสวา่ งไม่เหมาะคือ สว่างน้อยเกนิ ไป  ทาใหก้ ลา้ มเน้ือตาทางานหนกั นานไปอาจเส่ือมสภาพ สว่างมากเกนิ ไป  ทาใหเ้ รตนนาไดร้ ับการกระดุน้ มากเกนนไป การตอบสนองชา้***********************************************************************************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook