Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรม Best Practiecs JAME MODEL

นวัตกรรม Best Practiecs JAME MODEL

Published by Jame Jettarin, 2021-09-14 03:43:37

Description: นวัตกรรม Best Practiecs JAME MODEL

Search

Read the Text Version

1

ก คำนำ เอกสารฉบับนี้ไดจ้ ดั ทำขนึ้ เพอ่ื เป็นการนำเสนอผลงานหรือนวัตกรรม วธิ ีการปฏบิ ตั ิงานท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) วชิ า คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ซ่ึงได้นำเสนอถงึ ความสำคัญ ของผลงานหรือนวตั กรรม จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดำเนนิ งาน การพฒั นาชอ่ งทางการเรียนรู้ เพอ่ื จัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL อนั ประกอบไปดว้ ย ข้นั ตอนที่ 1 : J (Join) ขน้ั ตอนท่ี 2 : A (Attitude) ข้นั ตอนที่ 3 : M (Minimize) ขน้ั ตอนท่ี 4 : E (E-learning) รวมทงั้ ไดน้ ำเสนอผลการดำเนินงานปัจจัยความสำเร็จบทเรียนที่ได้รบั และการเผยแพรjเพ่ือเปเ็ อกสาร ประกอบการคัดเลอื กผลงานหรอื นวตั กรรม วธิ ีการปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ ผู้นำเสนอหวงั เป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบบั นี้คงจะชว่ ยอำนวยความสะดวกให้กับคณะกรรมการประเมินผลงานหรือนวัตกรรม วิธกี ารปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) ได้เปน็ อยา่ งดี เจตริน ธรรมโชโต

สารบัญ ข เรอื่ ง หน้า ก คำนำ ข สารบญั 2 1. ความสำคัญของนวัตกรรม/วิธีปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลศิ 2 2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดำเนนิ งาน 3 3. ข้ันตอนการดำเนนิ งานพฒั นานวตั กรรม 4. ผลการดำเนินงาน/ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ 5 5. ปจั จัยความสำเร็จ 5 6. บทเรียนทไี่ ดร้ บั 6 7. การเผยแพร/่ การได้รบั การยอมรับ 6 ภาคผนวก เอกสารอา้ งอิง 8

1 รายงานการประกวดนวัตกรรม/วธิ ีปฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลิศ(Best Practices) เพอ่ื ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพผ้เู รียนในโลกศตวรรษที่ 21 (Chainat Innovation Awards) ปกี ารศึกษา 2564 ...................................... ชอ่ื ผลงาน การพฒั นาช่องทางการเรียนรู้เพื่อจัดการเรยี นการสอนวิชาคณติ ศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL ชอื่ ผเู้ สนอผลงาน นายเจตริน ธรรมโชโต ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย โรงเรียน เนินขามรัฐประชานุเคราะห์ หมายเลขโทรศัพท์ 089 - 9101800 E-Mail [email protected] ประเภทผสู้ มัคร  สถานศกึ ษา  ผู้อำนวยการสถานศึกษา  รองผู้อำนวยการสถานศึกษา  ครผู สู้ อน ประเภทนวตั กรรม  นวัตกรรมดา้ นการบริหารจดั การ (สถานศึกษา/ผู้อำนวยสถานศึกษา/รองฯ)  นวัตกรรมดา้ นการจดั การเรียนรแู้ บบทั่วไป (ครูผู้สอน)  นวตั กรรมดา้ นการจดั การเรียนรูแ้ บบออนไลน์ (ครผู ูส้ อน)

2 1. ความสำคัญของนวตั กรรม/วธิ ปี ฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบ แผน สามารถวเิ คราะห์ปัญหา หรอื สถานการณไ์ ดอ้ ย่างรอบคอบและถ่ีถ้วน ชว่ ยใหค้ าดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือ ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ให้ทัดเทยี มกับนานาชาติ ความมุ่งหมายหนึ่งของการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) คือการพัฒนา ผู้เรียนให้เกดิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสารและ การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การเช่ือมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็น ความสามารถของผู้เรียนที่จะนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซ่ึงความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะการเชื่อมโยงทาง คณิตศาสตร์ ทั้งนี้เนื่องจากผู้เรียนที่มองเห็นการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ จะมองเห็นความสัมพันธ์ ของเนื้อหาต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทางคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ผู้เรียนจะเข้าใจเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ได้อย่างลึกซ้ึง และมีความคงทนในการเรียนรู้ ตลอดจนเห็นวา่ คณติ ศาสตร์มีคณุ คา่ นา่ สนใจ และสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ จริงได้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงมุ่งจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสง่ เสริมให้ผู้เรียนเกดิ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ได้อยา่ งลึกซึ้งและ ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนสนองความมุ่งหมายหนึ่งของการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ต่อไป 2. วตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนินงาน 2.1 วตั ถุประสงคข์ องการดำเนนิ งาน 1) เพือ่ ให้ผูเ้ รียนสามารถศกึ ษาหาความรู้ได้ตามเวลาทเี่ หมาะสม 2) เพื่อให้ผู้เรยี นสามารถทบทวนความรู้ได้ดว้ ยตนเอง 3) เพ่อื ให้ผเู้ รยี นมที ัศนคตทิ ่ีดีตอ่ วิชาคณติ ศาสตร์ 2.2 เปา้ หมายของการดำเนินงาน 1) ผู้เรียนสามารถทบทวนหรือศึกษาหาความรู้ได้ตามเวลาที่เหมาะสมและสร้าง ทศั นคตทิ ีด่ ตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ 2) ครไู ด้กระบวนการมาพฒั นาในการจัดการเรยี นการสอนและเกิดการพัฒนาใน วิชาชีพ

3 3) ผู้บริหารได้แนวทางในการพัฒนากลยุทธ์นำมาบริหารสถานศกึ ษา 4) สถานศกึ ษาไดร้ บั การยอมรับจากชมุ ชน และเปน็ แนวทางให้สถานศกึ ษาอืน่ ๆ 3. ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานพัฒนานวตั กรรม การพฒั นาช่องทางการเรียนรู้เพอ่ื จดั การเรยี นการสอนวิชาคณติ ศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL โดยมีขัน้ ตอนการดำเนินงานดังน้ี ภาพที่ 1 แสดงการใช้นวัตกรรมเพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน JAME MODEL ขัน้ ตอนที่ 1 J : Join : เข้ารว่ มพูดคุยและช้ีแจงช่องทางการเรยี นรู้ในรู้แบบต่าง ๆ กับ ผู้เรยี น เพือ่ หาช่องทางในการจัดการเรยี นรู้ระหว่างครูกบั ผเู้ รียนได้อยา่ งเหมาะสม ขน้ั ตอนที่ 2 A : Attitude : สรา้ งสถานการณ์พูดคยุ กับผู้เรียนอย่างสนุกสนาน นำเสนอเน้ือหาอย่างนา่ สนใจ เพื่อสร้างทัศนคติทด่ี ตี ่อวชิ าคณติ ศาสตร์ใหแ้ กน่ กั เรยี น ข้ันตอนที่ 3 M : Minimize : ลดทอนเนื้อหา/ตัวช้ีวัดทไี่ ม่คอ่ ยสำคญั เลอื กใช้เน้อื หาท่ี สำคัญตอ่ การนำไปต่อยอดหรือใชใ้ นชีวิตประจำวัน สรุปเนื้อหาให้มีความเข้าใจงา่ ย เนน้ การนำไปใช้ ขน้ั ตอนที่ 4 E : E-learning : เปดิ ช่องการศึกษาผ่าน Electronic ให้ผเู้ รยี นเข้ามา ศึกษาได้ตลอดเวลา เช่น Wedsite , Youtube , google classroom ฯ และช่องทางการตดิ ต่อ สอบถามระหว่างครูและนักเรียน เชน่ Messenger , Line , Google meet ฯ

4 ขน้ั ตอนของการวางแผน (Plan) ได้แก่ 1) วิเคราะห์ผู้เรยี นเปน็ รายบุคคลในวิชาคณิตศาสตร์ 2) ศกึ ษาหลักสูตรสถานศึกษา 3) จัดทำแผนการจดั การเรยี นร้แู ละออกแบบกจิ กรรม 4) พัฒนาสอ่ื ท่ีใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน 5) จัดเตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ ข้ันตอนดำเนนิ งาน (Do) การพัฒนาช่องทางการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL มีขั้นตอนการดำเนินการให้สอนคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID – 19 ในปัจจุบนั ที่เน้นการสอนออนไลน์นักเรียน โดยยึดตามความสามารถในการเข้าถึงการเรียนรู้ที่แตกต่างกันของ ผู้เรยี น ดังนี้ ภาพที่ 2 แสดงการใชน้ วตั กรรมจดั การเรียนการสอน โดยใช้ JAME MODEL ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาด COVID – 19

5 ข้นั ตอนตรวจสอบ (Check) ได้แก่ 1) การนิเทศ กำกบั ติดตาม วัดและประเมินผลการดำเนินงาน 2) จดั ทำเอกสารสรปุ รายงานผลการจัดการเรยี นการสอน 3) การจัดนทิ รรศการผลงานของผ้เู รียนในโอกาสตา่ ง ๆ ขั้นตอนการปรับปรุงและพัฒนา (Act) ได้แก่ ผู้เรียนสามารถนำความรู้มา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เรียนต่างห้องเรียน ต่างชั้นเรียน และต่าง สถาบัน การสร้างเครอื ขา่ ยกบั โรงเรยี นเครอื ข่าย 4. ผลการดำเนนิ งาน/ประโยชน์ที่ได้รับ ในการนำนวตั กรรมการพัฒนาชอ่ งทางการเรยี นรู้เพ่ือจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ใช้ JAME MODEL สง่ ผลให้ผู้เรียน ครู ผ้บู รหิ าร และสถานศึกษา เกดิ ภาพความสำเรจ็ ดงั นี้ 1) ผู้เรียนสามารถทบทวนหรือศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเอง หลังจากดำเนินการตาม การจัดการเรยี นรู้ โดยใช้ JAME MODEL 2) ครมู แี นวทางการจัดการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาวธิ ีการเรียนรู้ทางคณติ ศาสตร์ 3) ผู้บริหาร และสถานศึกษามีนวัตกรรมในการพัฒนาวิธีการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ของผู้เรียน 5. ปัจจยั ความสำเร็จ ในการพฒั นาช่องทางการเรียนร้เู พอ่ื จัดการเรยี นการสอนวชิ าคณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL ไดม้ ุ่งเน้นการมีสว่ นร่วมของบุคคลทเี่ กยี่ วข้องดังน้ี 1) ผู้เรียนมีความพร้อมในการเรียนรู้ รักการเรียนรู้ รู้จักการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง นำไปส่กู ารสรา้ งองค์ความร้ดู ้วยตนเอง ใหค้ วามรว่ มมือในการพัฒนานวัตกรรม ร่วมกิจกรรมท่ี โรงเรียนจดั ขึ้นด้วยความเต็มใจ ยอมรบั การเปล่ยี นแปลงท่ีจัดพัฒนาตนเอง 2) ครูมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนร่วมใจกนั อยา่ งเต็มท่ีและเต็มใจ นำความรู้มาพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนและการออกแบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพยิ่งขึ้น อุทิศตนเพื่อการพัฒนาผู้เรียนทั้งในวันราชการและวันหยุด เสียสละงบประมาณ บางสว่ นในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ให้เกดิ กบั ผูเ้ รยี น รกั การเรยี นรู้ รู้จักการปรบั เปลย่ี นการจดั การ เรียนการสอน มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้เรียนการการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยให้ ความรว่ มมอื ในการพัฒนานวัตกรรม 3) ผู้บริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุน ส่งเสริม นิเทศ กำกับติดตามและให้ขวัญ กำลังใจอย่างเต็มท่ี ให้คำปรึกษาอย่างต่อเนื่อง ร่วมประชุมเพื่อรับฟังความก้าวหน้าในการพัฒนา ผู้เรียน จัดหางบประมาณและสื่อการเรียนการสอนในการสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการพฒั นา แหลง่ เรียนรภู้ ายในสถานศกึ ษาและภายนอกสถานศกึ ษา 4) ผู้ปกครอง ชุมชน เชื่อมั่นและศรัทธา ให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนมี ส่วนร่วมในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนานวัตกรรม ร่วมสนับสนุนงบประมาณในการ ดำเนินกจิ กรรม

6 5) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้การสนับสนุน ส่งเสริม มีส่วนร่วมในการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมีส่วนร่วมในการวางแผน การดำเนินงาน การประเมินผลและการสรุปผล ให้ขอ เสนอแนะในการพฒั นางาน 6) ชมุ ชน หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน การประเมนิ ผลและการสรุปผล ให้ขอ เสนอแนะในการพฒั นางาน 6. บทเรียนท่ไี ดร้ ับ การพัฒนาช่องทางการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL อย่างต่อเนื่องส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสอดคล้องตาม วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายทีร่ ะบุได้ครบถว้ นดังนี้ บทเรียนทไ่ี ดร้ บั (Lesson Learned) การพัฒนาช่องทางการเรยี นรูเ้ พ่อื จัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL สรุปสง่ิ ท่ีเรียนรู้และพฒั นานวัตกรรมให้ดีขึน้ ดงั นี้ 1) จากการที่ผู้บริหาร ครู และผู้เรียน ให้ความสำคัญเรื่องการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ JAME MODEL ส่งผลต่อการพัฒนาช่องทางการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์อย่างชัดเจน ครูและผู้เรียน มีความรับผดิ ชอบ เอาใจใส่ในนวัตกรรม “การพัฒนาช่องทางการเรยี นรู้เพื่อจัดการเรียนการสอนวิชา คณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL” มากขึ้น ส่งผลให้ผู้เรียนเข้าศึกษาเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ได้ หลากหลายช่องทาง และประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริงได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ครไู ด้กระบวนการมาพัฒนาใน การจัดการเรียนการสอน เกิดการพัฒนาในวิชาชีพ สถานศึกษา ได้รับการยอมรับจากชุมชน เป็น แนวทางใหก้ ับสถานศึกษาอนื่ ๆ 2) ความสำเร็จของนวัตกรรม “การพัฒนาช่องทางการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนการสอน วิชาคณติ ศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL” นอกจากจะต้องมรี ะบบการบริหารจัดการท่ีดีแล้ว ยังข้ึนอยู่ กบั วิสยั ทศั นแ์ ละความท่มุ เทของผู้บรหิ ารและครูอยา่ งจรงิ จงั จึงจะประสบความสำเรจ็ ได้อยา่ งย่งั ยนื 7. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรับ การเผยแพร่ 1) ประชาสัมพนั ธ์นวัตกรรม “การพฒั นาช่องทางการเรียนรเู้ พ่ือจัดการเรียนการสอนวิชา คณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL”เพ่อื สร้างเครอื ขา่ ย 2) ส่งต่อและเผยแพร่นวัตกรรม “การพัฒนาช่องทางการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL” ให้กบั เพือ่ น ๆ ครผู ูส้ อนคนอนื่ ๆ 3) ชว่ ยสอน สนับสนุนการสรา้ งนวัตกรรม “การพัฒนาชอ่ งทางการเรียนรเู้ พ่อื จัดการเรียน การสอนวชิ าคณติ ศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL” ให้กบั ครูในโรงเรียนเนินขามรฐั ประชานุเคราะห์

7 การไดร้ บั การยอมรับ การพัฒนาช่องทางการเรยี นรู้เพื่อจดั การเรยี นการสอนวชิ าคณติ ศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL ได้รบั การนิเทศการจัดการเรียนรู้จากครูผู้ทรงคณุ วุฒิ หวั หนา้ ฝา่ ย และผบู้ ริหาร สถานศึกษา และได้รบั ข้อเสนอแนะ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาตอ่ ไป ขอรับรองวา่ รายงานนวตั กรรม/วธิ ีปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลศิ (Best Practices) เรอ่ื ง การพฒั นาช่องทางการ เรียนรู้เพอื่ จัดการเรียนการสอนวชิ าคณิตศาสตร์ โดยใช้ JAME MODEL ของนายเจตรนิ ธรรมโชโต สังกัด สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาอุทยั ธานี ชยั นาทฉบบั น้ี เปน็ ผลงานทเี่ กดิ จากการปฏิบตั ิงานใน หนา้ ท่ี ไมเ่ ปน็ สว่ นหนึ่งของการศึกษาเพื่อรบั ปรญิ ญาใด ๆ หรือเป็นผลงานทางวชิ าการเพ่ือขอมหี รือเล่ือน วิทยฐานะ และเปน็ ผลงานท่ีดำเนินการมาแล้วในปีการศึกษา 2563 ถึง 2564 และไมเ่ คยไดร้ บั รางวลั ใน ระดบั ประเทศหรือเทียบเทา่ มากอ่ น ลงชอื่ ....................................... ผสู้ มคั ร (นายเจตรนิ ธรรมโชโต) ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย วนั ที่ 25 เดือน สงิ หาคม 2564

8 ภาคผนวก

9 ภาพบรรยากาศการพดู คุยกบั นกั เรียนผ่านโปรแกรม Google Meet

10 ภาพบรรยากาศการเรียนออนไลน์ผ่านโปรแกรม Google Meet

11 ช่องทางการตดิ ตอ่ กับนักเรยี นแต่ละชอ่ งทาง

12 เวบ็ สำหรบั ให้นกั เรียนสามารถศกึ ษาได้ดว้ ยตนเอง

1 เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2560). ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. โรงเรียนเนินขามรฐั ประชานเุ คราะห์. (2563). รายงานผลการประเมินมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2562. ชัยนาท โรงเรียนเนนิ ขามรัฐประชานุเคราะห์. (2563). รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2562. ชยั นาท โรงเรยี นเนนิ ขามรัฐประชานุเคราะห์. (2563). รายงานผลการดำเนินการโครงการ TFE (Teams For Education) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓. ชยั นาท

2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook