Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.7 แนวทางปฏิบัติการการประเมินผลโครงการ

2.7 แนวทางปฏิบัติการการประเมินผลโครงการ

Published by tooncreed, 2018-06-19 00:06:45

Description: -

Search

Read the Text Version

ผงั ขน้ั ตอนการจดั ทําโครงการประเมนิ ผลท่ี ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน ผ้รู ับผดิ ชอบ (หนว่ ย) ศกึ ษาความต้องการ การประเมินผลเป็นเครอ่ื งมอื สาํ คญั ของผู้บรหิ ารในการ ผอู้ าํ นวยการสาํ นกั งานจัด1 ของผ้ใู ช้หรือผ้ใู ห้ทนุ ปรับปรงุ และพฒั นางาน ดงั นน้ั ผ้ปู ระเมินจึงจาํ เปน็ ตอ้ งรวู้ า่ รปู ทดี่ นิ กลางและส่วน 1 วัน แท้จรงิ แล้ว ผใู้ ชผ้ ลการประเมินต้องการทราบอะไรบ้าง จงึ ตดิ ตามและประเมินผล จะทาํ ให้ผลการประเมินท่ไี ด้ตรงประเดน็ จรงิ ๆ ผูท้ ําหน้าที่ในการประเมินจะต้องทําความเขา้ ใจใน สว่ นติดตามและประเมนิ ผล รายละเอียดของโครงการอยา่ งลึกซ้ึงเสียกอ่ นโดยเฉพาะ ศกึ ษารายละเอียดของ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการควรทําความเขา้ ใจใหช้ ัดเจน2 โครงการในขนั้ ตอนนี ้3 กําหนดวตั ถปุ ระสงค์และ 1 วนั รวมทั้งกจิ กรรมต่างๆ ของโครงการทตี่ อบสนองให้โครงการ ขอบเขตท่ีจะประเมนิ ผล บรรลุวัตถุประสงค์ พนื้ ทโ่ี ครงการ ระยะเวลาการดําเนินงาน จดั ทําแผนปฏิบตั ิงาน คือ4 เค้าโครงการประเมนิ ผล  สภาพแวดลอ้ มของโครงการ ตลอดจนถึงผู้ทมี่ ีส่วนเก่ยี วข้อง กบั โครงการ การกําหนดวตั ถุประสงค์และขอบเขตของการประเมินผล สว่ นติดตามและประเมนิ ผล จะต้องกาํ หนดใหช้ ดั เจนวา่ จะประเมนิ ผลอะไร มีขอบเขต และหนว่ ยงานเจ้าของพืน้ ที่ การประเมนิ แคไ่ หน ทัง้ น้ี เพ่อื ใช้เป็นทิศทางในการออกแบบ ทีจ่ ะประเมนิ การประเมินในข้ันตอนตอ่ ไป กาํ หนดตัวช้วี ัดและเกณฑท์ ใ่ี ช้ ตัดสินหรือเปรียบเทยี บส่งิ ทีผ่ ้ปู ระเมนิ ผลจะต้องให้ 4 วนั ความสาํ คญั ในกําหนดตวั ชวี้ ัดนนั้ คอื ตัวชี้วดั ทถ่ี กู กาํ หนดขน้ึ ต้องสามารถตอบวัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ ผลได้ และ สามารถกําหนดเกณฑ์ การตัดสิน หรอื เปรยี บเทียบ เพือ่ ให้ การวัดทําได้อย่างเป็นรปู ธรรมแสดงใหเ้ ห็นถงึ การ เปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดข้ึนอยา่ งชัดเจน กําหนดกิจกรรม กําหนดวิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู และ สว่ นติดตามและประเมินผล วิธกี ารวิเคราะห์ข้อมลู เพื่อใหไ้ ด้มาซึ่งข้อมลู ตามความเป็น และหนว่ ยงานเจ้าของพนื้ ท่ี จรงิ สามารถใช้เป็นตวั แทนประชากรของโครงการได้ ดงั นน้ั ท่ีจะประเมิน นักประเมนิ ต้องใหค้ วามสาํ คัญในการเลอื กวธิ ีการสุม่ ตวั อย่าง วธิ กี ารเกบ็ รวมรวมขอ้ มูล และเทคนิคการวเิ คราะหข์ อ้ มูลให้ 42 วนั มีความสอดคล้องกนั นอกจากน้ี ตอ้ งมคี วามเหมาะสมกับ ลกั ษณะของโครงการ รวมท้ังต้องเลอื กเคร่อื งมือท่ใี ช้ในการ เกบ็ รวบรวมข้อมูลท่ีเหมาะสม(แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม หรอื แบบสังเกต) กาํ หนดระยะเวลาของแผนปฏิบตั งิ าน และ งบประมาณท่ีตอ้ งใชใ้ นการประเมิน รวมถึงการทดสอบแบบ ภาคสนาม

ผงั ขน้ั ตอนการจดั ทําโครงการประเมนิ ผลที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอยี ดงาน ผ้รู บั ผดิ ชอบ (หน่วย)5 ปฏิบตั ิงานภาคสนามเพ่อื เกบ็ การเก็บรวบรวบข้อมูลภาคสนามโดยการสัมภาษณ์เป็นการ สว่ นติดตามและ ข้อมลู 10 วัน สอบถาม หรอื สนทนากันอยา่ งมีจดุ มงุ่ หมายระหว่างบคุ คลสอง ประเมินผลและหน่วยงาน ฝ่ายคอื ฝา่ ยเก็บข้อมลู (ผสู้ ัมภาษณ)์ และฝ่ายใหข้ ้อมูล (ผู้ถูก เจ้าของพ้นื ที่ ท่จี ะประเมิน สัมภาษณ)์ เพอื่ ท่ีจะคน้ หาข้อมูลบางอย่างทเ่ี กย่ี วเน่ืองกบั เรือ่ งท่ี จะศึกษา ผสู้ มั ภาษณท์ ี่ดคี วรรบั ฟังมากกว่าการพดู เสนอแนะ ขอ้ คิดเหน็ เครอ่ื งมอื ในการสมั ภาษณ์กใ็ ชบ้ คุ คล หรอื คนเป็นผู้ วดั เช่นเดียวกนั กับเครอื่ งมอื ในการสังเกต โดยใชก้ ารสอบถาม แลว้ บนั ทึกเอาไว้ในแบบสัมภาษณ์ การท่ีจะมีความเที่ยงตรง ถูกต้องเชื่อถือได้แค่ไหนนัน้ จึงข้ึนอยู่กับ คณุ สมบตั ิของผ้สู มั ภาษณ์ ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ ซึ่งนับวา่ เปน็ กญุ แจสําคญั ของความสําเรจ็ ในการสมั ภาษณ์ การสมั ภาษณ์ มใิ ช่เปน็ เพียงแคก่ ารสนทนากันระหว่างบุคคลสองคนเท่านัน้ แตร่ วมถงึ การเรียนรู้จากผู้ใหส้ ัมภาษณ์ การสังเกตสีหนา้ ท่าทางรวมถึงความเปน็ ไปไดข้ องขอ้ มูลได้รบั จากผใู้ หส้ ัมภาษณ์ ดังนน้ั ขอ้ มลู ที่ได้จากการสมั ภาษณข์ ้นึ อย่กู ับความรคู้ วาม ชํานาญของผู้สมั ภาษณเ์ ปน็ ส่วนใหญ่ (Dekeba, 2011) แบบ สัมภาษณเ์ ป็นเครอ่ื งมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลทน่ี ับวา่ ให้ทง้ั ข้อมูลท่ีตรงกับความเป็นจรงิ ข้อมลู ทไ่ี ดล้ ะเอียดมากกว่า การใชเ้ ครื่องมอื ประเภทอื่นเพราะสามารถเกบ็ ขอ้ มูลได้ลึกซ้งึ และยังเหมาะกับการเก็บข้อมูลที่บางครง้ั ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ไม่รู้ หนังสือ หรือรู้หนังสือแตเ่ ขยี นไม่เก่งประเภทของการสัมภาษณ์ โดยท่ัวไปแบ่งเปน็ 2 แบบ คอื 1) การสมั ภาษณ์แบบมี โครงสรา้ ง และ 2) การสัมภาษณแ์ บบไม่มีโครงสร้าง 

ผังขน้ั ตอนการจดั ทาํ โครงการประเมนิ ผล ท่ี ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน ผูร้ บั ผดิ ชอบ (หนว่ ย) การที่จะนาํ ขอ้ มลู ปฐมภูมิไปใช้วเิ คราะห์ ผู้รวบรวมขอ้ มูลจะตอ้ ง ส่วนติดตามและ6 การตรวจสอบข้อมลู   5 วนั ปฏิบัติตามกระบวนการทส่ี าํ คัญ 3 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ 1. การตรวจสอบ ประเมินผล และหน่วยงาน แกไ้ ขข้อมูล (Data Editing) ในการเก็บขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ข้อมลู ปฐมภมู ิ เจ้าของพื้นท่ี ท่จี ะประเมนิ จะต้องระวงั ถึงความถกู ตอ้ งและความสมบรู ณข์ องคาํ ตอบเปน็ สําคญั ซ่ึงบางทขี อ้ มูลท่ีได้อาจเกดิ ความขดั แย้งกันไปในตวั เชน่ เกษตรกรตอบว่ามพี นื้ ที่ครอบครองทง้ั หมด 20 ไร่ แต่จรงิ ๆ มีโฉนด เปน็ ของตนเองมีเพียง 2 ไรเ่ ทา่ น้ัน ส่วนท่เี หลือเป็นการเชา่ ทาํ กนิ จงึ ทาํ ใหค้ วามหมายของขอ้ มูลเปล่ยี นไปหรือขอ้ มลู คลาดเคล่ือน และส่งผลใหผ้ ลการวจิ ัยคลาดเคลอื่ นไปด้วย ดังน้ันคาํ ถามและ คําตอบในแบบสอบถามตอ้ งมีความละเอยี ดรอบคอบ และมกี าร ตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้ถกู สัมภาษณว์ า่ มคี วามเขา้ ใจในคําถาม ตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องผปู้ ระเมนิ ผลหรือไม่ เพอ่ื ป้องกนั ความ คลาดเคลอ่ื นหรอื ข้ออคติ (Bias) อนั เกิดจากแบบสอบถาม อกี ท้งั ยงั ตอ้ งตรวจสอบวา่ ผถู้ ูกสัมภาษณ์ตอบคาํ ถามครบถว้ นหรือไม่ ซ่ึงบาง คําถามกม็ คี วามสาํ คัญจาํ เป็นทจ่ี ะตอ้ งใหผ้ ตู้ อบระบคุ าํ ตอบลงไปให้ ชดั เจน เช่น คําถามทใี่ หเ้ รยี งลาํ ดบั ความสําคญั หรือคําถามทใี่ ห้ เลอื กเพียงหน่ึงคําตอบ สว่ นบางคาํ ถามผตู้ อบอาจละเวน้ คาํ ตอบไป เช่น คาํ ถามทใ่ี ห้เลอื กคาํ ตอบไดม้ ากกวา่ หน่งึ คาํ ตอบ เปน็ ตน้ 2. การตรวจสอบข้อมูลทข่ี าดหายไป (Missing Data) การ ประเมินผล ส่วนใหญจ่ ะพบวา่ มีข้อมลู ไมค่ รบ เนือ่ งจากผตู้ อบไม่ใส่ คําตอบใหค้ รบตามทีผ่ ูป้ ระเมนิ ผลระบซุ ง่ึ ขอ้ มลู ทขี่ าดไปนสี้ ง่ ผล กระทบต่อความถกู ต้อง และความแม่นยาํ (Validity) ของผลการ ประเมินผล เพราะทาํ ให้ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากกลมุ่ ตัวอยา่ งมขี นาดเล็กลง จนทาํ ให้การคาํ นวณออกมาไมน่ า่ เชอื่ ถอื ดังน้นั การแกไ้ ขปัญหานี้ ทาํ ได้ 2 วิธี คอื 2.1 ตอ้ งเพม่ิ ขนาดกลุ่มตวั อย่างขึ้น เพอ่ื ใหค้ าํ ตอบมี ขนาดใหญ่ขึ้นจนสามารถคํานวณออกมาไดอ้ ยา่ งนา่ เชอ่ื ถอื หรือ รวบคาํ ตอบให้เหลอื นอ้ ยข้อลงเพือ่ ใหข้ นาดของขอ้ มลู ใหญ่ข้ึน 2.2 ทําการเฉลีย่ คา่ ของขอ้ มลู คาํ ตอบเพอ่ื มาใชแ้ ทนคา่ ในการ คํานวณวเิ คราะหห์ าผลสรุป ซึ่งสามารถทําไดเ้ ฉพาะการวิเคราะหท์ ี่ ปัจจยั ตวั แปรอย่ใู นรปู จาํ นวนตวั เลข เชน่ รายได้ จํานวนผลผลติ ราคาแตไ่ มส่ ามารถใช้ไดก้ ับขอ้ มลู ท่ไี ม่ได้เปน็ ตวั เลขได้ เช่น ชว่ งเวลาในการผลติ พฤตกิ รรมการบรโิ ภค ความพึงพอใจ 3. การแปลงคาํ ตอบ และการใส่ขอ้ มูล (Data and Data Entry) คือการระบคุ าํ ตอบแปลงใหเ้ ปน็ ตวั เลขเพอื่ นาํ ไปใชค้ ํานวณใน โปรแกรม ตวั อย่างเชน่ ระบใุ ห้เพศชาย = 1 และเพศหญิง = 0 ซึง่ ตวั เลขเปรยี บเสมอื นแทนคาํ ตอบนน้ั หรือเรยี กวา่ การกําหนดคา่ รหสั ตวั แปรห่นุ (Dummy Variable Coding) ซง่ึ จะไดผ้ ลลพั ธ์ออกมา ในรปู แบบใหม่ โดยอาจจะนาํ ตัวแปรหุน่ มาหาคา่ ผลรวม ค่าเฉลยี่ หรือคา่ ความแปรปรวน เปน็ ต้น

ผงั ขนั้ ตอนการจัดทาํ โครงการประเมนิ ผลท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน ผรู้ บั ผิดชอบ (หน่วย) การประมวลผลข้อมูล7  การประมวลผลขอ้ มลู สามารถทาํ ได้ 2 วิธี คือ ส่วนติดตามและ 1. การประมวลผลขอ้ มูลด้วยมอื (Manual Data Processing) ประเมินผล 15 วัน เป็นการประมวลโดยใชแ้ รงงานคนทาํ เปน็ สว่ นใหญ่ วธิ ีน้ใี ชใ้ น กรณที ี่มีขอ้ มลู ไม่มากนัก และการคดิ คํานวณทาํ อยา่ งง่ายๆ เช่น บวก ลบ คณู หาร อาจจะใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยบ้าง เช่นเครอื่ ง บวกเลข หรือเครื่องคาํ นวณไฟฟ้า เป็นต้น 2. การประมวลผลข้อมูลโดยการใชเ้ ครอื่ งประมวลผลขอ้ มูล (Electronic Computer)การใชเ้ ครอื่ งคอมพวิ เตอร์มกั ใชใ้ น การประมวลข้อมูลที่มจี ํานวนมากหรอื งานทต่ี ้องการความ รวดเรว็ หรอื ต้องใช้คณติ ศาสตรข์ ั้นสูง เนื่องจากเครื่อง คอมพวิ เตอร์สามารถทํางานได้รวดเรว็ และแก้ปัญหา คณติ ศาสตร์ยากๆ ซง่ึ เครือ่ งคาํ นวณธรรมดาไมส่ ามารถ คํานวณได้ หรือถ้าทําได้กช็ า้ มาก ฉะนั้นจึงเป็นประโยชนอ์ ย่าง มากในการประเมินผล การประมวลขอ้ มูลต้องใชโ้ ปรแกรมสั่ง ใหเ้ คร่ืองทาํ งานตามตอ้ งการ ฉะนน้ั ขอ้ จาํ กัดของการใชเ้ คร่ือง คอมพิวเตอร์จึงอยทู่ ่ีนกั ประเมินจะสามารถเขียนโปรแกรมให้ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรน์ น้ั ประมวลผล และคาํ นวณได้มากน้อย เพยี งใด แตใ่ นปัจจบุ นั สามารถประมวลข้อมูลท่เี ก็บรวบรวม โดยใชโ้ ปรแกรมสาํ เร็จรูป8 การวิเคราะห์ขอ้ มลู และการ ในการวเิ คราะห์ข้อมลู น้นั นกั ประเมนิ ผลจะต้องรู้ว่าจะใช้ ส่วนตดิ ตามและ แปลผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 47 วัน คา่ สถติ ติ วั ใด อย่างไร ซ่ึงการจะใชค้ า่ สถติ ิไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและ ประเมินผล  เหมาะสมน้ัน นักประเมนิ ผลจะต้องทราบว่าข้อมูลทน่ี ํามา วิเคราะห์เปน็ ข้อมูลมาตรวัดใด เพ่ือทีจ่ ะไดน้ ําไปใชก้ ับคา่ สถติ ิ ได้อย่างถกู ต้อง

  ผงั ขนั้ ตอนการจดั ทําโครงการประเมนิ ผลท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน ผู้รบั ผดิ ชอบ (หน่วย) การแปลผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเป็นการสรปุ ข้อมลู ทัง้ หมดให้ ผู้อ่านเขา้ ใจนักประเมินจะต้องนาํ ขอ้ มลู ที่ได้แบ่งแยกวเิ คราะห์ จากหลายๆ ส่วนผสมผสานเข้า ด้วยกนั และแปลขอ้ มูลให้อยู่ในขอบเขตของวัตถุประสงค์ของ งานนัน้ ๆ ซ่งึ สามารถแปลผลได้ 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. การแปลผลวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้คา่ สถติ ิพน้ื ฐาน เชน่ รอ้ ยละค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน คา่ การกระจาย หรือ อาจนาํ เสนอดว้ ย กราฟแผนภมู ิ แผนภาพตา่ งๆ การแปล ความหมายไม่ย่งุ ยาก เพยี งแตช่ ใ้ี ห้ผอู้ า่ นรวู้ ่าเร่ืองนนั้ ๆ มคี ณุ สมบัตเิ ดน่ หรอื ด้อยตามสถติ ิน้ันๆ อยา่ งไร โดยหยิบยกมา กล่าวเฉพาะทีส่ ําคัญๆ เทา่ น้ัน 2. การแปลผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยการทดสอบ สมมตฐิ าน เช่น การใชก้ ารทดสอบ t-test Z-test และ ANOVA เปน็ ต้น 3.การแปลผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากแบบสอบถาม ปลายเปิด เปน็ การตอบแบบสอบถามชนดิ ปลายเปดิ ผูต้ อบจะแสดง ความคดิ เห็นโดยอิสระ คําตอบจะมลี ักษณะและความคดิ เหน็ แตกตา่ งกันมาก อาจมีบางสว่ นไมต่ อบเลย หรอื ไม่แสดงความ คดิ เหน็ ซ่ึงทาํ ให้คาํ ตอบในแต่ละคําถามไม่ครบถ้วน หรอื ไม่ ตรงตามจํานวนเหมอื นกับคํา ถามปลายปดิ หรือแบบสํารวจ ดงั นัน้ การนาํ เสนอขอ้ มลู จากแบบสอบถามปลายเปดิ จึงใชก้ าร นับจาํ นวนหาความถี่ อาจเป็นการนบั จากผทู้ ี่ตอบ คําถามคลา้ ย ๆ กัน หรือเหมอื นกันมาจัดไวใ้ นขอ้ เดยี วกนั และ เรยี งคําตอบจากมากไปหานอ้ ยตามลําดับ หรอื อาจทาํ เปน็ ร้อย ละเพื่อใหผ้ ู้ตอบได้เขา้ ใจง่ายขึน้ 

  ผงั ขนั้ ตอนการจัดทําโครงการประเมนิ ผลท่ี ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน ผรู้ บั ผิดชอบ (หนว่ ย)9 การเขียนรายงาน การเขียนรายงานการประเมนิ เป็นข้นั ตอนสดุ ทา้ ยของการ ส่วนตดิ ตามและ และการเผยแพร่ ประเมิน ซึง่ ผปู้ ระเมนิ จะตอ้ งเรยี บเรยี งเสนอผลงานทีไ่ ด้จาก ประเมนิ ผลและสาํ นกั งาน 58 วัน การประเมนิ เพอื่ ให้ผู้เก่ียวข้องกับโครงการหรือผู้สนใจติดตาม จัดรปู ท่ดี นิ กลาง อ่านรายงานการประเมนิ ไดเ้ ขา้ ใจความเปน็ มาของการประเมนิ ขอบเขตของการประเมนิ วธิ กี ารประเมิน และผลการประเมนิ ผลการประเมนิ จะสามารถนําไปใชต้ ดั สนิ ใจในการปรับปรุง และพฒั นาโครงการในดา้ นใดได้บ้าง รวมท้งั ไดท้ ราบ ข้อเสนอแนะจากการประเมิน การนาํ เสนอผลการประเมนิ โครงการเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เก่ียวขอ้ งได้ใช้ประโยชน์จากผลการ ประเมินไมต่ ้องเสยี เวลาในการศึกษาในเร่ืองทํานองเดียวกัน เพอ่ื เปน็ เอกสารทีถ่ อื เป็นหลักฐานทางวิชาการทใ่ี ชอ้ า้ งถึงได้ เพื่อนําเสนอผลการประเมินผลแก่ผู้เก่ียวข้องทราบ เพ่อื ใชใ้ น การปรบั ปรุงการดําเนินการตอ่ ไป เพอ่ื นําเสนอผลการ ประเมนิ ผลแก่สาธารณชน เพือ่ ใช้เปน็ ขอ้ มูลในการศึกษา ค้นควา้ หรอื การอา้ งองิ ตลอดจนการนําไปประยกุ ต์ใช้ในการ แกไ้ ขปัญหาหรือการวางแผนการทํางานทค่ี ล้ายกันให้มี ประสทิ ธภิ าพต่อไป 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook