แผนจัดการเรียนรู้ รายวชิ า ข้าวและวิถีไทย รหสั วิชา ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ครผู ูส้ อน นาย เจรญิ ชัย ศรีโสดา ตาแหน่ง นกั ศึกษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คาอธบิ ายรายวชิ าบังคบั เพ่มิ เติม รหัสวชิ า ข้าวและวิถีไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลา 40 ชวั่ โมงจานวน 1.0 หน่วยกติ ............................................................................................................................. ..................................... คาอธิบายรายวิชา ศึกษาความเปน็ มาของข้าวไทย พนั ธ์ุขา้ วท่หี ลากหลาย ความสัมพนั ธข์ องข้าวกบั วิถีชีวิตไทย หลักใน การปลกู ข้าวพชื เศรษฐกิจ ประโยชน์ของข้าว การค้าข้าวของโลก การบรโิ ภคข้าว การผลติ ข้าวโลก การแปร รูปข้าว การบรรจุภัณฑ์สุภาษิต/คาสอนเก่ียวกับข้าว ข้าวกับภูมิปัญญาไทย หลักการทางานร่วมกับผู้ อื่น คณุ ธรรมที่ควรมีในการทางาน หลักการจัดกิจกรรม รปู แบบการจัดกิจกรรม แนวทางในการอนรุ ักษ์ข้าวกับวิถี ชวี ติ ไทย โดยใช้ทกั ษะในการสอื่ สาร ทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ทกั ษะในการปลูกข้าว ทกั ษะการแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี มีความสามารถในการคิด ทักษะการทางาน มีความ สามารถในการใช้ทักษะในการ ดารงชวี ิต จดั นทิ รรศการข้าวกบั วถิ ีชวี ิตไทย แสดงกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษข์ ้าวกับวิถีชวี ติ ไทย เพือ่ ใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจสภาพการปลกู ขา้ วในปจั จุบัน และมีทักษะในการปลกู ดแู ลบารงุ รกั ษา เก็บเกี่ยวผลผลิต สามารถพัฒนาการผลิต และส่งเสริมการอนุรักษ์ข้าวไทยได้ มีความซื่อสัตย์ สุจริต รักชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ มีวินัย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิต สาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. บอกความเปน็ มา ความสัมพนั ธ์ของขา้ วกบั วถิ ีชีวติ ไทย 2. บอกความหมาย ประโยชน์ และความสาคัญของข้าวไทย 3. บอกชนดิ ประเภทของพนั ธุ์ข้าวได้ 4. มีทักษะในการปลูกข้าว 5. บอกคาทเี่ ปน็ ภาษาข้าว สุภาษิต คาสอนของขา้ วกบั ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ 6. บอกวิธีการ และแปรรปู ผลผลติ เปน็ บรรจภุ ณั ฑไ์ ด้ 7. บอกวิธกี ารจัดนทิ รรศการและนาเสนอข้าวกับวถิ ไี ทยได้ 8. มคี ณุ ธรรมและนสิ ยั รกั การทางาน จัดกิจกรรมสง่ เสริมและอนรุ กั ษข์ า้ วกับวถิ ีชีวิตไทย
โครงสรา้ งรายวชิ า ข้าวและวิถีไทย รหสั วิชา ขา้ วและวิถีไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมงจานวน 1.0 หนว่ ยกิต ลาดับ ชอื่ หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั จานวน นา้ หนัก ท่ี การเรยี นรู้ ช่วั โมง คะแนน 1 ตามรอยขา้ ว 1.บอกความเปน็ มา - ความเป็นมาของข้าวไทย 8 15 ความสมั พันธข์ องขา้ วกบั วิถี -ชนดิ พันธุข์ ้าว ประเภทของพันธข์ุ ้าว ชวี ิตไทย - ความสมั พันธข์ องข้าวกบั วิถชี วี ิตไทย 3.บอกชนิด ประเภทของพนั ธุ์ - ประเพณเี กี่ยวกบั ข้าว ข้าวได้ 2 ขา้ ว 2.บอกความหมาย ประโยชน์ - ประโยชนข์ องข้าว 6 11 เศรษฐกจิ และความสาคัญของข้าวไทย -การบริโภคข้าว -การผลิตข้าวของโลก 3 การปลูกข้าว 4.มที กั ษะในการปลกู ขา้ ว - หลักการปลกู ข้าว 10 21 - การเตรยี มดนิ ในการปลกู ข้าว - วัสดุ อุปกรณ์ในการปลูกข้าว - การดแู ลรักษาข้าว - การดูแลอุปกรณ์ในการปลกู ข้าว 4 ผลผลติ จาก 6.บอกวิธกี าร และแปรรูป - การแปรรูปขา้ ว 6 11 ข้าว ผลผลติ เป็นบรรจภุ ณั ฑ์ได้ -การบรรจภุ ณั ฑ์ - การดแู ลรักษาบรรจภุ ณั ฑข์ ้าว 5 ภาษาข้าว 5.บอกคาท่ีเป็นภาษาข้าว - สภุ าษิตคาสอนทเ่ี กย่ี วกบั ขา้ ว 4 10 สุภาษิต คาสอนของข้าวกบั - ข้าวกับภมู ิปญั ญาไทย ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ 6 วิถีชีวิตไทย 7.บอกวธิ กี ารจดั นทิ รรศการ - หลกั การทางานร่วมกบั ผูอ้ นื่ 6 12 และนาเสนอขา้ วกบั วถิ ีไทยได้ - คุณธรรมท่ีควรมใี นการทางาน 8.มคี ณุ ธรรมและนิสยั รกั การ -สง่ เสรมิ และอนุรักษ์ขา้ วกับวถิ ชี ีวิต ทางาน จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ไทย และอนรุ กั ษ์ขา้ วกับวถิ ชี วี ิต ไทย รวมระหว่างภาค 80 รวมสอบปลายภาค 20 รวม 40 100
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 หน่วยที่ 1 ตามรอยข้าว ชือ่ วิชา ข้าวและวถิ ีไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 4 คาบ เวลา 8 ชว่ั โมง ผูส้ อน นายเจรญิ ชัย ศรีโสดา โรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ผลการเรียนรู้ -บอกความเป็นมา ความสัมพนั ธ์ของข้าวกับวถิ ชี ีวติ ไทย -บอกชนิด ประเภทของพนั ธข์ุ ้าวได้ สาระสาคญั ดา้ นความรู้ - ความเปน็ มาของขา้ วไทย -พนั ธข์ุ ้าว -ชนิด ประเภทของพนั ธ์ขุ า้ ว - ความสมั พนั ธ์ของขา้ วกับวถิ ีชีวติ ไทย - ประเพณีเก่ียวกบั ข้าว จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1.บอกความหมาย ความสัมพนั ธ์ของข้าวไทยได้อยา่ งถูกตอ้ ง (K) 2.สามารถบอกชนดิ ของพนั ธุข์ า้ วไดถ้ กู ต้อง (P) 3.เห็นความสาคัญของข้าวไทย (A) สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลกั ษณะอนั พงึ่ ประสงค์ -รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ -ซื่อสัตยส์ ุจรติ -มีวนิ ัย -ใฝเ่ รยี นรู้ -อยอู่ ย่างพอเพียง -มุง่ มั่นในการทางาน -รกั ความเป็นไทย-มจี ิตสาธารณะ การประเมนิ ผลรวบยอดของชิ้นงาน ชิ้นงาน 1. รายงานองคค์ วามรู้เรื่องความเป็นมาชนดิ ประเภทพนั ธุ์ขา้ วและประเพณเี กย่ี วกบั ขา้ ว 2. ใบงานองค์ความรูเ้ รอ่ื ง ขา้ วกับการน้อมนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ภาระงาน 1. ทารายงานเรื่อง ความเปน็ มาชนดิ ประเภทพันธข์ุ ้าวและประเพณีเก่ียวกับข้าว 2. ทาใบงานเร่อื ง ขา้ วกับการนอ้ มนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
กิจกรรมการเรยี นรสู้ ือ่ การเรียนรู้ชั่วโมงท่ี 1- 4 ขน้ั นา -สนทนาหรอื เกรน่ิ เก่ยี วกบั ความเป็นมาของข้าวไทยโดยยอ่ -นักเรียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกบั ความสัมพันธข์ องข้าวกบั วิถีชวี ิตไทย ด้วยคาถามปลายเปิด ขน้ั พัฒนาผเู้ รียน 1. จดั แบ่งกลุ่มให้นกั เรียนศกึ ษาคน้ คว้า ใบความรเู้ ร่อื งที่ 1 เร่ือง ความเปน็ มาของขา้ วไทย 2. แตล่ ะกล่มุ ส่งตัวแทน นาเสนอรายงานจากศกึ ษาคน้ คว้า เก่ยี วกบั ความเปน็ มาของข้าวไทย นักเรียนแตล่ ะคน จดบันทึกการรายงาน ของเพ่ือน 3. ทารายงาน เรอ่ื ง ความเปน็ มาของข้าวไทย ขั้นสรปุ -นกั เรยี นและครูรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเพอ่ื สรุปข้อมูล เกย่ี วกับเรอ่ื ง ความเป็นมาของขา้ วไทย ส่ือการเรยี นรู้ - ใบความรู้เรอื่ งที่ 1 เร่อื ง ความเปน็ มาของขา้ วไทย - แหล่งเรยี นรู้ ค้นคว้าจากอนิ เตอร์เนต็ กจิ กรรมการเรยี นรูส้ ือ่ การเรียนรู้ชัว่ โมงที่ 5-8 ขน้ั นา -ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น เกยี่ วกับพันธุ์ข้าวท่ีรจู้ ัก ข้นั พฒั นาผเู้ รียน 1. นักเรยี นกลมุ่ เดมิ ศึกษาค้นควา้ ใบความรู้เร่ืองท่ี 2 เรื่อง พันธุ์ข้าว และทาใบงาน เรื่อง พันธ์ขุ า้ ว แลว้ จดบนั ทกึ 2. นักเรียนทาการศึกษาค้นคว้าใบความรู้เรื่องที่ 3เรื่อง ประเพณเี ก่ียวกบั ขา้ วและทาใบงาน เร่อื ง ประเพณีเก่ียวกบั ขา้ วแล้วจดบันทกึ 3. นกั เรียนแตล่ ะคน จดบนั ทกึ การรายงาน ขัน้ สรุป -ให้นกั เรยี นและครรู ว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ เพือ่ สรุป เกย่ี วกบั พันธข์ุ ้าวและประเพณเี กี่ยวกับข้าว ส่อื การเรียนรู้ - ใบความรูเ้ รือ่ งที่ 2 เรอ่ื ง พนั ธ์ุข้าว - ใบความรเู้ รอื่ งท่ี 3เรื่อง ประเพณีเก่ยี วกบั ข้าว - แหล่งเรยี นรู้ ค้นคว้าจากอนิ เตอรเ์ น็ต สอ่ื การเรียนรู้ - แหลง่ เรียนรู้ ค้นควา้ จากอนิ เตอรเ์ น็ต วธิ กี ารวัดผลและประเมนิ ผล - ประเมนิ การรายงาน - การตรวจใบงาน - การสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม
เครื่องมอื วดั ผลและประเมนิ ผล - แบบประเมนิ การรายงาน - แบบการตรวจใบงาน - แบบการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม การประเมินผล - เกณฑก์ ารประเมนิ รายงาน ประเด็นการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ 4 3 2 1 1.ดา้ นเนอ้ื หา เน้อื หาถูกต้องตรง เนอ้ื หาถูกตอ้ งตรง เน้ือหาถูกตอ้ งตรง เนือ้ หามคี วาม ถูกต้องบ้างแต่ขาด ประเด็นสมบรู ณ์ ประเดน็ แต่ยังขาด ประเด็นแต่มีนอ้ ย ความสมบรู ณ์ ครบถว้ น ความสมบรู ณ์ ความสมบูรณ์ ไม่น่าสนใจ 2. การนาเสนอ นาเสนอได้น่าสนใจ นาเสนอค่อนขา้ ง นาเสนอค่อน ใชภ้ าษาตรง นา่ สนใจ และ ใช้ ข้างหนา้ สนใจ แต่ ประเดน็ ไมว่ กวน ภาษาค่อนข้าง ใช้ภาษาวกวน ชดั เจน - เกณฑก์ ารวัดใบงาน 15-20 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดี แสดงว่า ผ่าน 10-14 คะแนน อยูใ่ นเกณฑ์ พอใช้ แสดงวา่ ผ่าน ต่ากว่า 10 คะแนน อย่ใู นเกณฑ์ ต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน เกณฑก์ ารประเมินสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรม (3) (2) (1) (0) การเขา้ ร่วมกจิ กรรม ไม่เคยเขา้ รว่ ม นา้ หนัก การเข้าร่วม การเขา้ ร่วม กิจกรรมเลย พอใช้ กจิ กรรมดเี ยยี่ ม กจิ กรรมดี ละเลยพฤติกรรมน้ัน ละเลยการแสดง บอ่ ยครั้ง หรอื มี คะแนนเกณฑ์ พฤติกรรมนน้ั เปน็ บางคร้ังโดยไมไ่ ด้ เจตนาทไ่ี ม่จะปฏบิ ัติ แบบสงั เกต แสดงพฤติกรรม แสดงพฤติกรรม เจตนา พฤติกรรม นนั้ เปน็ ประจาจน นัน้ เปน็ ประจาแต่ เปน็ กจิ นสิ ัย เป็นบางครัง้ โดย ไม่ได้เจตนา
ใบความรู้ รายวชิ า ขา้ วและวิถีไทย หน่วยท่ี 1ตามรอยข้าว ใบความรูเ้ รื่องที่ 1ความเป็นมาของขา้ วไทย ข้าวเปน็ พืชเศรษฐกิจท่มี ีความสาคัญของประเทศไทย ทงั้ น้ีเพราะการเกษตรส่วนใหญ่ของประเทศปลกู ขา้ วเปน็ พชื หลักปัจจุบันข้าวยงั เปน็ ที่ต้องการของตลาดทง้ั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ แต่ขา้ วท่ผี ลิตไดต้ ่อ ไร่ สว่ นมากยังมีผลผลิตตอ่ ไรต่ า่ อยู่ การผลิตขา้ วในปัจจบุ นั เกษตรกรมีความจาเป็นต้องใช้ปยุ๋ เคมีมากข้นึ ทาให้ ตน้ ทุนในการผลิตเพ่ิมสงู ขนึ้ ตามไปดว้ ยการใส่ปุ๋ยเคมใี ห้กับข้าวนับว่ามี ความสาคัญต่อการ เจรญิ เติบโตและ ผลผลิตของขา้ วเปน็ อย่างย่งิ ถา้ หากใชใ้ นปรมิ าณทมี่ ากเกินไปกจ็ ะ เป็นการสน้ิ เปลอื ง อีกทัง้ ยังมผี ลกระทบใน ระยะยาวตอ่ ความอดุ มสมบรู ณ์ของดนิ เพราะการใชป้ ุ๋ยเคมี ติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆจะทาลายความอดุ ม สมบรู ณ์ของแรธ่ าตุในดนิ ทาให้จุลนิ ทรีย์ทอี่ าศยั อยูใ่ นดนิ เช่น เช้อื รา แบคทีเรีย แอคติโนมัยซทิ และสิง่ มชี ีวิต อ่นื ๆทอ่ี าศยั อยู่ในดินมีจานวนลดลง มีผลทาให้ดนิ เสอ่ื มคุณภาพ ดนิ มสี ภาพเป็น กรด ดนิ จับตวั กนั เป็นกอ้ นแขง็ ข้าว เปน็ ธัญพืชทีอ่ ยู่ในวงศ์ (Family) Gramineae มชี อ่ื ทางวทิ ยาศาสตรว์ ่า Oryza sativa L. เป็นแหล่งอาหาร หลกั ทใ่ี ห้คารโ์ บไฮเดรตท่ีสาคัญในการดารงชวี ติ ของประชากรโลก เช่น การทาเปน็ ขนมหวานชนดิ ต่างๆ ขนมปงั ในดา้ น อุสาหกรรม ใช้ในการผลิตแอลกอฮอล์สาหรบั ใช้ผลิตวสิ ก้ี นักวชิ าการไดแ้ บง่ ประเภทขา้ วออกเปน็ 2 ชนดิ คอื ขา้ ว เอเชีย (Oryza sativa L.) และขา้ วแอฟรกิ า (Oryza glaberrima Steud.) ขา้ วเอเชียปลูกท่วั ไปในเอเชีย สหรฐั อเมริกา ออสเตรเลยี ยโุ รป และแอฟริกา สว่ นขา้ วแอฟริกา มกี าร ปลกู เฉพาะทางดา้ นทศิ ตะวนั ตกของ ทวปี แอฟริกาเทา่ น้ัน ขา้ วเป็นพชื ในเขตรอ้ น (tropical) ท่ตี อ้ งการอณุ หภมู ิและความชืน้ สงู สาหรับการเจริญ เติบโต ต้องการอุณหภมู ิ ในชว่ ง 22 – 30 ºC ดินทเ่ี หมาะสมสาหรบั การปลกู ขา้ ว เป็นสว่ นของดิน เหนยี ว เพราะมคี วามสามารถในการอุม้ นา้ ไดด้ ี มี ค่าความเป็นกรดเปน็ ด่าง 5.0 - 6.5 และมี อนิ ทรีย์วัตถุไม่นอ้ ยกวา่ 5% ในปจั จบุ ันพ้ืนท่เี พาะปลกู ข้าวสว่ นใหญอ่ ยใู่ นแถบเอเชีย ถึง 90 เปอร์เซน็ ต์ของข้าวทั้งหมด ทั่วโลก ส่วนประเทศอ่นื ๆ ท่ีเปน็ แหลง่ ปลกู ข้าวทส่ี าคญั เชน่ ประเทศบราซลิ โคลมั เบยี เปรู อียิปต์ สาธารณรัฐ มาลากาซี สเปน สหรฐั อเมริกา เม็กซโิ ก อิตาลี ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ เป็นตน้
จดุ กาเนดิ และประวตั ขิ า้ วไทย พนั ธุ์ข้าวท่ีมนษุ ยเ์ พาะปลูกในปัจจบุ ันพฒั นามาจากข้าวปา่ ในตระกูล Oryzagramineae สันนษิ ฐานว่า พืช สกลุ Oryzaมีถิ่นกาเนิดในเขตรอ้ นชื้นของทวปี Gondwanaland กอ่ นผนื ดนิ จะเคลอื่ นตัวและเคลือ่ นออกจากกันเป็นทวีปต่าง ๆ เม่อื 230-600 ลา้ นปมี าแล้วจากนนั้ กระจายจากเขตรอ้ นชืน้ ของแอฟริกา เอเชยี ใต้ เอเชียตะวันออกเฉยี งเหนอื ออสเตรเลีย อเมรกิ ากลางและใต้ ขา้ วสามารถเจริญเติบโตได้ต้งั แตค่ วามสูงระดับนา้ ทะเลถงึ 2,500เมตรหรือมากกว่า ทัง้ ในเขต รอ้ นและเขตอบอ่นุ ทง้ั ในทร่ี าบลุ่มจนถึงทส่ี ูง ครอบคลมุ พื้นที่ตั้งแต่เสน้ รงุ้ ท่ี 53 องศาเหนอื ถงึ 35 องศาใต้ มนษุ ย์ได้ คดั เลอื กข้าวปา่ ชนิดต่างๆ ตามความตอ้ งการของตน เพือ่ ให้สอดคลอ้ งกับระบบนเิ วศน์ มกี ารผสมพนั ธขุ์ ้ามระหว่างขา้ วทป่ี ลกู กบั วชั พืชทีเ่ กี่ยวข้อง เกิดขา้ วพื้นเมอื งมากมายหลายสายพันธ์ุ ซึง่ สามารถให้ผลผลติ สงู ปลูกได้ตลอดปี กอ่ ใหเ้ กิดพนั ธ์ุข้าวปลูก ทเี่ รียกว่า ข้าวลกู ผสมซ่ึงมีปริมาณ120,000 พนั ธ์ุทั่วโลก ขา้ วที่ปลูกในปจั จบุ นั แบ่งออกเป็นข้าวแอฟรกิ าและข้าวเอเชยี ข้าวแอฟรกิ า (Oryzaglaberrima) แพร่กระจายอยเู่ ฉพาะบรเิ วณเขตร้อนของแอฟริกาเท่านน้ั สนั นษิ ฐานว่าข้าวแอฟริกาอาจ เกิดข้ึนครง้ั แรกเม่อื ประมาณ 1,500 ปีก่อนครสิ ตศกั ราช ขา้ วเอเชยี เปน็ ขา้ วลกู ผสม เกิดจาก Oryza sativa กับข้าวป่า มถี น่ิ กาเนิดบริเวณประเทศอนิ เดีย บงั คลาเทศ และเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ปลกู กนั อยา่ งแพร่หลายตัง้ แตอ่ ินเดีย ตอนเหนอื ของบงั คลาเทศ บริเวณดนิ แดนสามเหล่ยี มระหว่างพมา่ ไทย ลาว เวยี ดนาม และจนี ตอนใต้ ขา้ วเอเชียแบ่งออกเปน็ 3 สายพนั ธุ์ ขา้ วสายพันธ์ุแรกเรียกวา่ สายพันธ์ุ Senicaหรือ Japonica ปลกู บริเวณแม้นา้ เหลอื งของจนี แพร่ไปยังเกาหลีและญี่ปุ่น เมือ่ ประมาณ 300 ปีก่อนครสิ ตศ์ ตวรรษ เป็นขา้ วเมลด็ ป้อม ข้าวสายพันธุ์ทสี่ อง เรียกว่า Indicaเปน็ ข้าวเมลด็ ยาวปลกู ในเขตรอ้ นแพร่สูต่ อนใต้ของอนิ เดีย ศรีลังกา แหลมมาลายู หม่เู กาะ ต่าง ๆ และลุม่ แมน่ ้าแยงซขี องจีนประมาณคริสตศ์ กั ราช 200 ข้าวสายพันธุ์ทส่ี าม คอื ข้าวชวา (Javanica) ปลูกในอินโดนีเชีย ประมาณ 1,084 ปีกอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช จากนน้ั แพรไ่ ปยัง ฟิลิปปนิ สแ์ ละญีป่ นุ่ ในขา้ วเอเชยี แพร่เข้าไปในยุโรปและแอฟรกิ า สอู่ เมรกิ าใต้ อเมริกากลาง เข้าส่สู หรัฐอเมริกาครง้ั แรก ประมาณครสิ ต์ศตวรรษท่ี 17 โดยนาเมลด็ พนั ธุไ์ ปจากหมู่เกาะมาดากสั กา สามารถแบ่งชนิดของข้าวทาไดห้ ลายแบบ ขึน้ อยกู่ บั มาตรการทใ่ี ชใ้ นการแบง่ เชน่ แบ่งตามประเภทของเนอ้ื แข็งในเมลด็ ข้าวสาร แบ่งไดเ้ ปน็ ข้าวเจา้ และข้าวเหนียว ซงึ่ มีต้นและลักษณะอยา่ งอ่ืนเหมือนกันทุกอย่าง แตกต่างกนั ที่ประเภทของเนอ้ื แขง็ ในเมล็ด เมลด็ ขา้ วเจา้ ประกอบด้วยแป้งอมโิ ลส (Amylose) ประมาณรอ้ ยละ 15-30 ส่วนเมล็ดข้าวเหนยี วประกอบด้วยแปง้ อมโิ ลเพ คตนิ (Amylopectin) เป็นส่วนใหญ่และมแี ปง้ อมิโลสเพียงเล็กน้อยประมาณร้อยละ 5-7 เท่าน้ัน แบง่ ตามสภาพพื้นทเี่ พาะปลกู
ข้าวไร่ ปลกู แบบนาข้ันบันได ขา้ วไร่ (Upland rice) เป็นขา้ วทปี่ ลกู ไดท้ ง้ั บนที่ราบและท่ีลาดชนั ไม่ต้องทาคันนาเก็บกักน้า นิยมปลูกกนั มากใบบรเิ วณ ทรี่ าบสงู ตามไหลเ่ ขาทางภาคเหนอื ภาคใต้ ภาคตะวันออกและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศ คิดเปน็ เน้ือที่เพาะปลูก ประมาณรอ้ ยละ 10 ของเนื้อท่เี พาะปลกู ทัว่ ประเทศ ขา้ วนาดา ข้าวนาสวนหรอื นาดา (Lowland rice) เปน็ ขา้ วท่ีปลูกในทีล่ มุ่ ทั่ว ๆ ไปในสภาพท่ีมีนา้ หล่อเลย้ี งต้นขา้ วต้งั แต่ปลกู จนกระท่งั ก่อนเก็บเกีย่ ว โดยที่สามารถรกั ษาระดบั นา้ ได้และระดบั น้าตอ้ งไมส่ ูงเกิน 1 เมตร ขา้ วนาสวนนิยมปลูกกนั มากแทบ ทุกภาคของประเทศคิดเปน็ เน้อื ท่เี พาะปลกู ประมาณร้อยละ 80 ของเนอื้ ที่เพาะปลูกทว่ั ประเทศ ขา้ วขึ้นน้า ขา้ วขนึ้ น้าหรอื ขา้ วนาเมือง (Floating rice) เปน็ ขา้ วที่ปลูกในแหล่งทไี่ มส่ ามารถรกั ษาระดับนา้ ได้ บางคร้งั ระดับนา้ ใน บริเวณทป่ี ลูกอาจสงู กว่า 1 เมตร ต้องใชข้ า้ วพันธุ์พิเศษทเ่ี รียกว่า ข้าวลอย หรอื ข้าวฟ่างลอย สว่ นมากปลกู แถบจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา สพุ รรณบุรี ลพบรุ ี พิจิตร อา่ งทอง ชัยนาทและสงิ ห์บุรี คิดเป็นเนือ้ ท่เี พาะปลกู ประมาณรอ้ ยละ 10 ของเนื้อ ท่ีเพาะปลกู ทั่วประเทศ แบง่ ตามอายกุ ารเกบ็ เกี่ยวแบง่ เปน็ ข้าวเบา ข้าวกลางและข้าวหนกั ข้าวเบามอี ายกุ ารเกบ็ เก่ียว 90-100 วัน ข้าวกลางมี อายุการเกบ็ เก่ียว 100-120 วนั และขา้ วหนักมอี ายกุ ารเกบ็ เก่ียว 120 วนั ขึ้นไป อายุการเกบ็ เกยี่ วนับแต่วันเพาะกล้า หรือหว่านขา้ วในนาจนเก็บเกี่ยว แบง่ ตามลกั ษณะความไวตอ่ ชว่ งแสงข้าวที่ไวต่อช่วงแสงจะมอี ายุการเกบ็ เกี่ยวท่ไี มแ่ น่นอน คอื ไมเ่ ป็นไปตามอายุของตน้ ขา้ ว เพราะจะออกดอกในช่วงเดอื นทมี่ คี วามยาวของกลางวนั สนั้ กว่ากลางคืน ในประเทศไทยชว่ งดงั กลา่ วเรม่ิ เดือนตุลาคม ฉะนนั้
ข้าวพวกนี้ตอ้ งปลูกในฤดูนาปี (ฤดฝู น) เท่านน้ั สว่ นข้าวท่ีไมไ่ วตอ่ ชว่ งแสงสามารถปลกู ไดท้ ุกฤดูกาล ขา้ วขาวมะลิ 105 เปน็ ข้าว ทีไ่ วตอ่ ชว่ งแสง ในขณะที่ข้าวปทุมธานี เปน็ ขา้ วท่ไี มไ่ วตอ่ ช่วงแสง พนั ธุแ์ ละช่วงเวลาปลูกขา้ วพนั ธุข์ า้ วมี 2 ชนิด คอื 1. ชนิดไม่ไวแสง สามารถเพาะปลูกไดท้ ้งั นาปี และนาปรัง มีอายเุ กบ็ เกี่ยว 110 – 130 วนั ส่วนมากให้ ผลผลิตต่อไร่ 100 ถงั เนื่องจากตอบสนองตอ่ ป๋ ยุ ดี ตวั อยา่ ง เช่น พนั ธุส์ ุพรรณบรุ ี1, สุพรรณบรุ ี2, ชยั นาท 1, กข. 23 ,เจา้ หอมคลองหลวง1 และเจา้ หอมสุพรรณบรุ ีช่วงเวลาปลูกทาไดต้ ลอดปี ข้นึ อยกู่ บั สภาพน้า แนะนา ใหเ้ ขตชลประทานโดยวธิ ีการปักดา หรือหวา่ นขา้ วตมอยา่ งไรก็ดี ไม่แนะนาใหป้ ลูกตดิ ตอ่ กนั ตลอดปี เป็น เวลานาน ควรปลูกคน่ั ดว้ ยพชื หมุนเวยี นบา้ งในบางฤดู จะช่วยตดั วงจรศตั รูพชื และรักษาสภาพดินท่ีใช้ เพาะปลูกขา้ ว ใหค้ งความสมบรู ณ์ 2. ชนิดไวแสง ปลูกไดเ้ ฉพาะนาปี มีวนั เกบ็ เก่ียวที่คอ่ นขา้ งแน่นอน ไม่วา่ จะปลูกเมอื่ ใด ส่วนมากให้ ผลผลิตไม่สูงมากเพราะตอบสนองต่อป๋ ุยต่า ตวั อยา่ ง เช่น พนั ธุข์ า้ วดอกมะลิ 105 , กข.15 , ขาวตาแหง้ 17 , เหลืองประทิว 123 , และปิ่ นแกว้ 56ช่วงเวลาปลูกทเ่ี หมาะสมประมาณเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม โดย นบั วนั เก็บเกี่ยวยอ้ นข้นึ มาใหข้ า้ วมีอายุ 92-120 วนั (ถา้ ใชว้ ธิ ีหวา่ นอายขุ า้ วจะส้นั ลง) ท้งั น้ีใหพ้ จิ ารณา ประกอบกบั สภาพน้า ในเขตนาน้าฝนอาจใชว้ ธิ ีหวา่ นขา้ วแหง้ หรือปักดา แบ่งตามรูปร่างของเมลด็ ขา้ วสาร ขา้ วเมล็ดส้นั (Short grain) ความยาวของเมล็ดไม่เกิน 5.50 มิลลิเมตร ขา้ วเมลด็ ยาวปานกลาง (Medium grain) ความยาวของเมลด็ ต้งั แต่ 5.51-6.60 มิลลิเมตร ขา้ วเมลด็ ยาว (Long grain) ความยาวของเมลด็ ต้งั แต่ 6.61-7.50 มิลลิเมตร ขา้ วเมล็ดยาวมาก (Extra-long grain) ความ ยาวของเมลด็ ต้งั แต่ 7.51 มิลลิเมตรข้ึนไป เมล็ดขา้ ว ขนาดและสีต่างๆ กนั . แบ่งตามฤดูปลูก ขา้ วนาปี หรือขา้ วนาน้าฝน คือ ขา้ วท่ีปลูกในฤดูการทานาปกติ เริ่มต้งั แต่เดือน พฤษภาคมถึงตลุ าคมและเก็บเกี่ยวเสร็จสิ้นล่าสุดไม่เกิน เดือนกมุ ภาพนั ธ์ ขา้ วนาปรัง คอื ขา้ วทีป่ ลกู นอก ฤดูการทานาปกติ เร่ิมต้งั แต่เดือนมกราคม ในบางทอ้ งทีจ่ ะเกบ็ เก่ียวอยา่ งชา้ ท่สี ุดไม่เกินเดือนเมษายน นิยม ปลูกในทอ้ งที่ท่มี ีการชลประทานดี เช่น ในภาคกลาง
หน่วยท่ี 1ตามรอยขา้ ว เรอื่ งท่ี 4-5 ความสมั พนั ธ์ของข้าวกับวิถีชีวิตไทย และ ประเพณเี ก่ียวกับขา้ ว :: ข้าวกบั พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย :: พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระเมตตาต่อ พสกนิกรชาวนาไทย ทรงท่มุ เทพระวรกายบาเพ็ญ พระราชกรณยี กจิ ด้าน การพัฒนาข้าวไทย และชีวติ ความเปน็ อย่ขู องชาวนา พระองค์ท่าน จงึ ทาให้แผ่นดินไทยกลายเป็น \"แผ่นดนิ ทอง\" ความทุกข์ ยากลาบากแปรเปล่ยี นเป็นความสขุ สบาย อยูแ่ บบพอเพียง ตลอดระยะเวลาทีท่ รงครองสริ ริ าชสมบัติ ทรงปฏบิ ัตพิ ระราช กรณยี กิจต่างๆ เกย่ี วกบั ข้าวและชาวนามากมาย พระบรมวงศานุวงศ์ทกุ พระองคต์ ่างกใ็ ห้ความสาคัญกบั ข้าวและชาวนาไทยมาโดยตลอด ศลิ ปะและวฒั นธรรมขา้ ว
จดุ กาเนิดพิธีกรรม และความเชอ่ื ทเี่ กยี่ วกบั ข้าว ถา้ จะพูดถงึ พิธีกรรมทเ่ี กย่ี วกบั ข้าวในสังคมไทย อาจพดู ได้ว่าหมายถึงพธิ กี รรมเกือบทง้ั หมดในสงั คมไทยทเี ดยี ว เพราะพิธีกรรมท่ีมคี วามหมายและมีความสาคัญตอ่ ชีวิตของคนไทย ซงึ่ ส่วนใหญ่เป็นชาวไร่ชาวนานัน้ ทสี่ าคัญท่สี ดุ กค็ อื พธิ กี รรมทเี่ กีย่ วกบั การทามาหากนิ และการทามาหากนิ ของคนไทยในสงั คมไทยนั้น ต้ังแต่อดตี กค็ อื การทาเกษตรกรรม การ เพาะปลกู ซึง่ กไ็ มพ่ น้ การทาไรท่ านาน่ันเอง จดุ มงุ่ หมาย ความหมาย และความสาคัญของพธิ ีกรรมที่เก่ยี วกับขา้ วหรอื เกยี่ วกบั การเพาะปลูกก็คือ เพ่อื ความอดุ มสมบูรณ์ ดงั นัน้ พิธีกรรมท้งั หมดหรอื จุดประสงค์หลักของพิธกี รรมท่เี กีย่ วกับข้าวจะแสดงให้เห็นถงึ วิธีการแก้ไขปัญหาของชาวบ้าน ท่ี สะท้อนให้เหน็ ถงึ ภูมิปญั ญาของชาวบา้ นในการเผชิญกบั ปญั หาเรอ่ื งปากเรื่องทอ้ ง เร่อื งความอย่รู อดของชาวบา้ นน่ันเอง พิธีกรรมดง้ั เดิมของสงั คมไทยก่อนการรับพุทธศาสนาหรอื ศาสนาฮนิ ดเู ข้ามาน้ัน ก็คงเป็นเรื่องของความพยายามจะตดิ ตอ่ กับ อานาจเหนอื ธรรมชาตหิ รอื วา่ ผีนนั่ เอง โดยเชอ่ื วา่ ผีมอี ทิ ธิพลเหนือผลผลติ และต่อสภาพแวดลอ้ ม ซง่ึ อาจจะเรยี กว่าใช้วธิ ีการ ทางไสยศาสตร์ ต่อมาเมือ่ มีการรบั พทุ ธศาสนาเข้ามาแลว้ ก็มีการผสมผสานกนั จนพิธีกรรมทีเ่ ป็นของชาวบ้านหลายๆ วธิ ีได้มีการปรับ รับไปเปน็ พระราชพธิ ี นอกจากนนั้ จะเห็นว่า พิธีกรรมทเ่ี กี่ยวกับขา้ วทั้งหมดนัน้ จรงิ ๆ แลว้ เปน็ พิธีท่ีทาข้ึนตามฤดกู าลซึ่ง สมั พันธ์กับการเพาะปลูก ปัญหาใหญท่ ่สี ดุ ของการทานาคือปญั หาเรื่องน้าฝน เพราะวา่ การทานาในสงั คมไทยในอดีตนน้ั เป็น นานา้ ฝน เป็นนาที่จาเป็นต้องพึ่งพิงกับธรรมชาตดิ ินฟ้าอากาศ ซง่ึ เป็นสง่ิ ทไ่ี มแ่ น่นอนและมนุษยไ์ มส่ ามารถจะควบคมุ ได้ เพราะฉะน้ัน จาเป็นต้องอาศัยอานาจลึกลับไสยศาสตร์เรยี กผสี างเทวดาให้มาชว่ ยปัดเปา่ ขจดั ภัยอนั ตรายตา่ งๆ และวิธีการท่ี ทากนั ก็คอื พยายามเอาอกเอาใจด้วยการเลีย้ งดูเอาใจ เซ่นการไหวภ้ ูตผหี รอื อานาจลึกลบั เหนอื ธรรมชาตติ า่ งๆ พธิ กี รรมทเ่ี กยี่ วกับขา้ วมีความสาคญั ต่อชาวบา้ นมากท่สี ดุ เพราะเกีย่ วขอ้ งกบั การทามาหากินเลี้ยงชีพ พธิ ีกรรมขา้ ว จดั ขนึ้ อยา่ งต่อเน่ืองตลอดปีตามลาดับการเพาะปลกู ข้าว โดยชว่ งที่สาคญั ทสี่ ดุ จะอยรู่ ะหว่างหลงั การเกบ็ เก่ยี วผลผลิตและก่อน เร่ิมฤดูกาลใหม่ พิธกี รรมขา้ วมี 4 ขั้นตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี พธิ ีกรรมก่อนการเพาะปลกู มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือบวงสรวง บูชาส่งิ ศักดิส์ ิทธหิ์ รือบรรพบุรษุ ให้คมุ้ ครองปอ้ งกันภยนั ตราย แก่ชีวติ และทรพั ย์สนิ ใหม้ คี วามสวสั ดมิ งคล มคี วามอุดมสมบูรณ์ ขอโอกาสและความเชือ่ มน่ั ในการดารงชวี ิตในรอบปีนน้ั ๆ อาทิ พิธีเล้ยี งขุนผขี นุ ด้า พิธแี ห่นางแมว เทศน์พญาคนั คาก สวดคาถาปลาช่อน พิธีปัน้ เมฆ พิธบี ญุ บ้ังไฟ พิธีบญุ ซาฮะ พิธกี รรมช่วงเพาะปลูก มีเป้าหมายเพื่อบวงสรวงบนบาน บอกกลา่ ว ฝากฝงั สิ่งท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ขา้ วหรือการเพาะปลกู แก่ เทพเจา้ หรอื สิ่งศักดิส์ ทิ ธ์ิ ขอใหก้ ารเพาะปลูกข้าวดาเนนิ ไปไดด้ ว้ ยดี ปราศจากอนั ตรายต่างๆ อาทิ พธิ แี รกไถนา พิธีเลยี้ งผตี า แฮก ตกกลา้ พิธีแรกดานา พธิ ีปกั ข้าวตาแฮก พธิ ีปกั กกตาแฮก พิธีกรรมเพ่ือการบารุงรักษา เพอ่ื ให้ข้าวงอกงาม ปลอดภยั จากสัตวต์ ่างๆ หนอนเพล้ยี พิธีกรรมประเภทน้ี จัดข้นึ ในชว่ ง ระหว่างการเพาะปลูกจนกระทงั่ เก็บเกย่ี ว อาทิ พธิ ีไลน่ า้ พธิ ปี กั ตาเหลว พธิ สี วดสังคหะ พธิ ีรับขวัญแมโ่ พสพ พธิ ีไล่หนู ไลน่ ก ไล่เพลี้ย ไล่แมลง และอืน่ ๆ โดยใช้น้ามนต์ ผ้ายนั ต์ ภาวนาโดยหว่านทราย หรือเครื่องราง พิธกี รรมเพอ่ื การเกบ็ เกี่ยว-ฉลองผลผลิต เพอื่ ใหไ้ ด้ผลผลิตมาก และเพอ่ื แสดงความอ่อนน้อมกตัญญูต่อข้าว ตลอดถงึ สิง่ ที่ เกย่ี วข้อง พิธกี รรมประเภทน้ี จัดขึน้ ในชว่ งฤดูกาลเก็บเก่ียว อาทิ พธิ รี วบข้าว พิธแี รกเกยี่ วขา้ ว พิธเี ชิญข้าวขวญั พิธวี าง ข้าวต๋างนา้ พิธปี ลงข้าว พิธขี นข้าวข้นึ ยุ้ง พธิ ีต้ังลอมข้าว พธิ ปี ิดยุง้ พิธเี ปดิ ยงุ้ พิธกี รรมและความเชอื่ เก่ียวกบั ข้าว ประเทศไทย มลี ักษณะของผคู้ นที่อยู่อย่างกระจายไม่หนาแนน่ ดังนนั้ ลกั ษณะของความเชอ่ื ทพ่ี บในสงั คมไทยจะ ไมไ่ ด้มีลกั ษณะเป็นอันหนง่ึ อนั เดยี วกนั ในแง่ทีว่ ่าแต่ละภมู ิภาคกม็ รี ะบบความเชอื่ ของตัวเอง ภาคใต้มวี ิธกี ารกาจดั หรอื แกป้ ญั หาเรื่องการทานาของตัวเองแบบหนงึ่ ทางอสี านก็อีกแบบหนงึ่ ผูท้ ป่ี กครองบา้ นเมืองจะทาอย่างไร จงึ จะรวมหรอื สร้าง บรู ณาการให้ผคู้ นที่เต็มไปด้วยชนเผา่ ต่างๆ ที่หลากหลายนี้ เป็นอันหนง่ึ อนั เดยี วกันได้ ก็จาเป็นตอ้ งมรี ะบบความเช่อื ทม่ี ี
อทิ ธฤิ ทธ์ิ มีประสิทธภิ าพท่ีสามารถจะเอาชนะหรือสร้างความเคารพยอมรับจากชนเผา่ ตา่ ง ๆ ได้ เม่ือสงั คมพัฒนาเป็นบา้ น เป็นเมอื ง จนกระท่ังทุกวนั นลี้ ักษณะของพิธกี รรมเกยี่ วกับขา้ วกเ็ ป็นเร่ืองทผ่ี สมผสานระหวา่ งพิธี ทง้ั พุทธซง่ึ มกี ารนมิ นต์ พระสงฆ์มาสวด ทาบุญทาทาน และก็มพี ิธีพราหมณ์ ซึง่ เอาขา้ วเขา้ มาเพอ่ื สรา้ งความอลงั การ ความศักดิ์สิทธิ์ ความน่าเช่อื ถอื ให้กับราชสานกั และพธิ ีกรรมอนั น้เี องท่สี ่งผลอิทธิพล และสะท้อนกลบั ไปยังความเชอ่ื ของชาวบา้ นอกี ตอ่ หนึ่ง จะเห็นว่า พธิ ีกรรมเก่ียวกบั ขา้ วในปัจจุบันน้ี จะเป็นเรือ่ งราวความเชื่อที่ค่อนขา้ งผสมผสานกนั ระหวา่ งความเช่ือในเรือ่ งของผี ความเช่ือ ท้องถ่นิ ความเช่ือในเร่อื งพุทธศาสนาและศาสนาฮนิ ดดู ้วย แถน\" เป็นเทพด้ังเดมิ ของชนเผา่ ไท ผีทม่ี ีอิทธิพลต่อการทามาหากนิ ต่อความเปน็ อยู่ของผคู้ น เพราะวา่ เปน็ ผทู้ ีส่ รา้ งทกุ สิง่ ทุก อยา่ งในโลกไม่วา่ จะเป็นดนิ นา้ ลม ไฟ หรือเครอ่ื งมอื เครอื่ งใชท้ กุ อยา่ ง พระยาแถนเปน็ ผสู้ รา้ ง อทิ ธิพลของพระยาแถนมีมากมาย เหลอื เกนิ จึงทาให้ผู้คนกลัวมากและเมือ่ มปี ัญหาอะไรกร็ ู้วา่ สาเหตุทจี่ ะปัดเปา่ ไดค้ ือต้องไปขอให้พระยาแถนชว่ ย เพราะฉะน้ันพิธีท่ี สาคญั มากต่อการทามาหากนิ และการปลกู ข้าวของคนไทยหรือคนถ่นิ ไทยลาว คอื พิธีจุดบ้ังไฟ เพอ่ื สง่ สารไปถงึ พระยาแถน ขอให้ ฝนตกต้องตามฤดูกาลพธิ กี รรมในประเพณีจดุ บงั้ ไฟ เปน็ พธิ ีทไ่ี มส่ ามารถทาขึ้นโดยคนเพยี งไม่กค่ี น แต่เป็นเร่ืองของคนทง้ั ชมุ ชนท้ัง สังคมตอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื รว่ มใจกันทีจ่ ะแกป้ ญั หาวกิ ฤตในสังคมตวั เองและบทบาทของพธิ กี รรมนี้ไมใ่ ช่ เพียงแตจ่ ะบันดาลใหฝ้ น ตกมาได้ตามความเชอื่ ของท้องถน่ิ แต่มคี วามหมายอีกมากมายต่อความเปน็ อยขู่ องชมุ ชนของสงั คมขา้ วในสงั คมไทย พิธกี รรมมี ความสาคัญตอ่ การสรา้ งจติ สานกึ ความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกนั การสรา้ งจรยิ ธรรม คณุ ธรรมของท้องถนิ่ โดยผ่านพธิ กี รรมต่างๆ พธิ ีกรรมและความเชอ่ื เกี่ยวกบั ข้าว พธิ กี รรมตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วกบั ขา้ วกจ็ ะเป็นเรอื่ งราวที่เก่ียวกับความเชอ่ื เรื่องแม่โพสพซง่ึ เช่ือว่าเป็นเทพที ี่คอยดแู ลรกั ษาพืช พันธ์ุ ธญั ญาหารต่างๆ ใหอ้ ุดมสมบูรณ์ แมโ่ พสพกเ็ หมอื นกับมนุษยท์ ต่ี อ้ งการความเอาใจใสเ่ หมอื นบคุ คลทั่วๆ ไปมนษุ ย์ ตอ้ งคอยดแู ลแม่โพสพเหมอื นดูแลตัวเอง ต้องมคี วามกตัญญู ต้องเคารพนบั ถอื มีกริ ิยาท่สี ุภาพเรียบรอ้ ยจะพดู จาหยาบ คายหรือพดู เสยี งดงั ไมไ่ ด้ แมโ่ พสพเป็นคนขวญั ออ่ นเพราะถ้าเกิดไม่พอใจจะหนไี ปเลยและตามประวตั เิ คยหนีไปหลาย คร้ังดว้ ยความน้อยใจ เวลามคี นพดู เสยี งดงั พอหนีไปที กอ็ ดอยากกันเป็นพันปี เพราะฉะนัน้ อันน้ี เป็นส่งิ ท่ีตอ้ ง ระมดั ระวงั มาก เวลาติดต่อกบั แมโ่ พสพควรใชค้ วามสุภาพออ่ นโยน และความกตัญญูกตเวทอี ย่างสงู ที่สดุ พิธกี รรมเก่ียวกบั แมโ่ พสพ กม็ ขี ั้นตอนต่างๆ พธิ ใี นภาคกลางจะเห็นวา่ จะดานา จะไถ อะไรก็ต้องเชิญแม่โพสพมาก่อน ต้ังแตข่ า้ วเรม่ิ ตง้ั ท้องกต็ ้องไปเอาอกเอาใจหาอาหาร เปร้ยี วหวาน มันเค็ม ไปบชู าแมโ่ พสพ หรือว่าเมือ่ เสรจ็ แลว้ จะนวด จะเอาขา้ วเข้ายุง้ ทุกอย่างน้จี ะต้องมีพิธกี รรมเขา้ ไปประกอบเพอ่ื กอ่ ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์หรอื ความม่นั ใจว่าปีนม้ี ี ขา้ วและปหี น้าต้องมีนะ หรือวา่ พันธุ์ข้าวท่ีมีต้องเก็บไวแ้ ละทาอย่างไรให้เกบ็ ได้ดี ไม่เสยี ไมห่ าย เพอ่ื ท่จี ะใชเ้ ป็น พันธใุ์ น ปีตอ่ ไป ลกั ษณะของพิธีกรรมเรอื่ งข้าวสว่ นใหญ่กจ็ ะเกยี่ วข้องกบั การทจ่ี ะพยายามเอาอกเอาใจขวัญของข้าว โดยมีแม่ โพสพเปน็ ตวั แทน ทาขวัญขา้ วเฉลวขวัญขา้ ว ของไหวแ้ มโ่ พสพ
การทาพิธีกรรมเก่ยี วกับขา้ ว นอกจากในสังคมที่เป็นบ้านเปน็ เมืองอยา่ งสังคมไทยแล้ว จะเหน็ วา่ ในสังคมอน่ื ๆ ทีย่ งั ไมไ่ ดพ้ ัฒนาเป็นบ้านเป็นเมือง การทาไร่ ทาข้าวไร่ ก็มีพิธีกรรมเหมือนกนั ในการทจ่ี ะดูแลข้าวของตัวเอง อย่างเช่นใน กลุ่มชาวเขา เขากม็ ีพิธีกรรมเวลาปลกู ขา้ วไร่ เขาจะมวี ันที่วนั ไหนจะไปเผาไร่ได้ วันไหนเผาไมไ่ ด้ เวลาขา้ วตั้งทอ้ งตอ้ งรู้ วา่ จะทาอยา่ งไร เขาถือว่าช่วงขา้ วตั้งทอ้ งหรือช่วงข้าวเกยี้ วพาราสี เขาจะบอกวา่ ห้ามไปไรใ่ นชว่ งนัน้ เพราะวา่ ข้าวกาลัง เกย้ี วพาราสกี นั หรอื เวลาขา้ วตัง้ ทอ้ งก็จะตอ้ งหาเงนิ ไปผูกเอาไว้ ต้องผกู เตี้ยๆ ดว้ ย เพราะว่าแม่ข้าวเขาตัวเตยี้ จะได้เก็บ เงินไปได้ถ้าเกิดไมเ่ อาเงนิ หรือเอากระดาษไปผกู เปน็ รูปเงนิ ใหแ้ ลว้ อาจจะไม่ดลบนั ดาลใหข้ ้าวอดุ มสมบูรณก์ ไ็ ด้ ฉะน้ัน ในกล่มุ ทุกกลมุ่ หรอื แมแ้ ต่พวกข่นิ ก็มีความเชือ่ เรือ่ งการปลูกขา้ วเหมือนกัน ก่อนการปลกู ข้าว ก็มกี ารสร้างตูบผีเอาไว้ เชญิ ผีซง่ึ เคยอยู่ท่ีทอ้ งนาขึน้ มาอย่บู นตบู เวลาจะไถจะไดไ้ มร่ ังควานผี มกี าร เซ่นไหว้ เวลาจะหยอดขา้ วก็ตอ้ งเร่ยี ไรเงนิ มาซื้อหมฆู ่าหมมู าเซ่นผี มาเอาใจผีอีก เพราะวา่ ถา้ ผีไมพ่ อใจปลกู ขา้ วแล้วจะ มีผลเสยี หรือถา้ หากว่าจะทาส่ขู วญั ขา้ วก็ต้องทาพิธเี ลยี้ งผอี ีก กต็ อ้ งไปซื้อสตั ว์เรยี่ ไรกันเอาเงินมาฆ่าเอาสัตว์มาสงั เวย และจะปดิ ตาเหลวเอาไว้ ตาเหลวเป็นสัญลักษณข์ องการป้องกันและบอกขอบเขต ไมใ่ หส้ ตั วป์ า่ ต่างๆ มาทาลายข้าวใน ไร่ จะเหน็ ว่ามีกฎหมายลงโทษคนท่ไี ปทามดิ ีมริ า้ ย ไปข้ีไปเย่ียว ชา้ ง มา้ วัว ควาย ไปละเมิดทาใหไ้ รน่ าขา้ วปลาเสยี หาย มกี ฎหมายบญั ญัตไิ ว้วา่ ให้ทาบัตรพลดี ไี หวห้ รือวา่ ต้องเซ่นไหว้ เพราะไม่ใชเ่ พยี งแต่ว่าเป็นการลงโทษคนทลี่ ะเมดิ ทาข้าว เสยี หายเทา่ น้ัน แต่ว่าเป็นลักษณะของความอบุ าทว์หรอื ส่งิ ท่ีทางเหนอื อาจเรียกวา่ \"ขึด\" คือถา้ เผือ่ วา่ ทาแล้วมันเสียหาย แกท่ ้องนาแก่ข้าวแลว้ ไม่ใชเ่ พยี งแต่ว่าคนคนน้ันหรือเจ้าของนาจะเดือดร้อน แตว่ า่ จะกอ่ ให้เกิดความอุบาทว์หรอื วิปรติ ไปท้งั หมดได้ เพราะฉะนั้นเพือ่ กันความเสยี หายของชมุ ชนจะต้องทาการบัตรพลดี ีไหว้ อันนเี้ ปน็ กฎหมายตราไว้เลย ประเพณีบุญบั้งไฟพระแมโ่ พสพ นอกจากพิธจี ดุ บงั้ ไฟที่แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความเดอื ดร้อนของผู้คน ทจ่ี าเป็นต้องขออานาจจากพระยาแถนชว่ ยเหลอื แล้ว ความอ่อนน้อมของคนไทยที่มตี อ่ อานาจเหนอื ธรรมชาติ จะเห็นได้จากการเรียกชือ่ สิ่งทม่ี คี วามสาคญั ตา่ ง ๆ ดว้ ยคาวา่ แม่ เช่น ขา้ วกจ็ ะมคี าวา่ \"แม่โพสพ\" เปน็ เทพธิดาแห่งขา้ ว แม่น้ันเปน็ ผูใ้ ห้กาเนิด เป็นผทู้ ่มี ีบทบาทสูงท่สี ดุ ในครอบครัว และสง่ิ ท่มี ีคุณประโยชน์ท้งั หลายในสังคมไทยนั้น มักจะใช้คาว่าแม่เปน็ คาเรียกชื่อไมว่ ่าจะเป็นแม่น้า แม่ธรณี ฯลฯ การ ใช้คาว่า \"แม\"่ เรยี กขา้ วกค็ อื เป็นการให้การยกย่องมากที่สดุ ข้าวมีความสาคญั ก็เพราะว่าข้าวเปน็ ผูใ้ ห้ชีวติ แก่มนษุ ย์ เพราะฉะน้ัน หน้าทที่ มี่ นษุ ย์ตอ้ งตอบแทนคือมนุษยต์ อ้ งเลีย้ งดฟู มู ฟกั เล้ยี งดขู า้ วด้วย ขา้ วมขี วญั ข้าว ซงึ่ เหมือนกับมนษุ ย์ ท่ียังมีชีวติ อยู่ ต้องมีขวัญ ขวญั นนั้ สามารถท่ีจะกระทบกระเทือนเจบ็ ไข้ได้ปว่ ยหรือไม่พงึ พอใจได้ เพราะฉะนั้นถา้ ตอ้ งการให้อยูด่ ีมสี ุข ตอ้ งเอาอกเอาใจขวญั ของข้าว
บนั ทกึ หลังการสอน หน่วยที่ 1 ตามรอยข้าว ด้านความรู้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ดา้ นทักษะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ดา้ นคุณลักษณะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ปญั หาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแก้ไข ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงช่ือ ...................................... ( นายเจริญชัย ศรโี สดา) ………../……………/………….
บันทกึ ความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ……………………………….. (……………………………………….) หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ………/………../………. บนั ทึกความเหน็ ของผตู้ รวจสอบแผนการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื ……………………………… (……………………………………..) รองผูอ้ านวยการกล่มุ บริหารวชิ าการ ……../…………/………. บันทึกข้อเสนอแนะของผูบ้ รหิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………. (……………………………………..) ผอู้ านวยการโรงเรยี น ……./……../…………
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 หนว่ ยที่ 2 ข้าวเศรษฐกจิ ชือ่ วิชา ขา้ วและวถิ ไี ทย กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 3 คาบ เวลา 6 ชว่ั โมง ผู้สอน นายเจรญิ ชยั ศรโี สดา โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ผลการเรยี นรู้บอกความหมาย ประโยชน์ และความสาคัญของข้าวไทย สาระสาคญั ดา้ นความรู้ - ประโยชน์ของขา้ ว -การค้าขา้ วของโลก -การบรโิ ภคข้าว -การผลติ ข้าวของโลก จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นกั สามารถบอกประโยชน์ของขา้ ว และการบริโภคพันธุ์ขา้ วได้ (K) 2.นักเรยี นสามารถผลิตขา้ วไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 3.นักเรยี นเหน็ ถึงความสาคัญของการบรโิ ภคขา้ ว( A) สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปญั หา - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอนั พงึ่ ประสงค์ -รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ -ซ่ือสัตยส์ ุจรติ -มวี นิ ยั -ใฝ่เรยี นรู้ -อยู่อย่างพอเพยี ง -ม่งุ ม่นั ในการทางาน -รกั ความเปน็ ไทย-มจี ติ สาธารณะ การประเมนิ ผลรวบยอด ชิน้ งาน 1. รายงาน ภาระงาน 1.การเขียนรายงาน 2.การทดสอบ
การประเมนิ ผล แบบรายงาน ประเด็นการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน 432 1 1.ดา้ นเน้อื หา เน้ือหาถกู ตอ้ งตรง เนื้อหาถูกตอ้ งตรง เนอื้ หาถูกต้องตรง เนือ้ หามีความ 2. การนาเสนอ ถูกตอ้ งบ้างแต่ขาด ประเด็นสมบูรณ์ ประเดน็ แตย่ งั ขาด ประเดน็ แต่มนี ้อย ความสมบรู ณ์ ไมน่ ่าสนใจ ครบถ้วน ความสมบูรณ์ ความสมบรู ณ์ นาเสนอไดน้ ่าสนใจ นาเสนอคอ่ นข้าง นาเสนอค่อน ใชภ้ าษาตรง นา่ สนใจ และ ใช้ ขา้ งหนา้ สนใจ แต่ ประเดน็ ไมว่ กวน ภาษาคอ่ นขา้ ง ใช้ภาษาวกวน ชัดเจน -แบบทดสอบ ระดับ ระดบั ระดับ ระดับ น้าหนกั คะแนน 4 3 2 1 เกณฑข์ อง ทาแบบทดสอบได้ ทาแบบทดสอบได้ ทาแบบทดสอบได้ ทาแบบทดสอบได้ แบบทดสอบ ถูกตอ้ งทุกขอ้ ถูกตอ้ งรอ้ ยละ 80 ถกู ตอ้ งรอ้ ยละ 60 ถกู ตอ้ งตา่ กวา่ รอ้ ย ข้ึนไป ขึน้ ไป ละ 60 -เกณฑ์การประเมินสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรม (3) (2) (1) (0) การเขา้ ร่วมกิจกรรม ไม่เคยเขา้ ร่วม น้าหนกั การเขา้ ร่วม การเข้ารว่ ม กิจกรรมเลย พอใช้ กิจกรรมดเี ย่ยี ม กิจกรรมดี ละเลยพฤติกรรมน้ัน ละเลยการแสดง บอ่ ยครัง้ หรอื มี คะแนนเกณฑ์ พฤติกรรมนนั้ เปน็ บางคร้ังโดยไมไ่ ด้ เจตนาท่ไี ม่จะปฏบิ ตั ิ แบบสังเกต แสดงพฤติกรรม แสดงพฤติกรรม เจตนา พฤติกรรม นนั้ เปน็ ประจาจน นั้นเป็นประจาแต่ เป็นกจิ นิสยั เป็นบางคร้งั โดย ไมไ่ ดเ้ จตนา
กจิ กรรมการเรยี นรูส้ ่ือการเรยี นรู้ ชั่วโมงท่ี 1-2 ขน้ั นา -ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เก่ียวกบั ประโยชนท์ ่ีได้จากขา้ ว ว่ามีอะไรบา้ ง เปน็ คาถาม ปลายเปิด ขั้นพัฒนาผเู้ รยี น 1. ศึกษาคน้ ควา้ เร่ือง ประโยชนข์ องขา้ ว จดบันทึกเน้ือหาสรปุ ในสมดุ 2. สมุ่ นักเรยี น ออกมารายงานเพือ่ นาเสนอหนา้ ช้ันเรียน เรือ่ งเกี่ยวกบั ประโยชนข์ องขา้ วมาใหเ้ ข้าใจ ขั้นสรุป -นกั เรยี น ครู สร้างความเขา้ ใจร่วมกัน สือ่ การเรียนรู้ - ใบความรเู้ รื่องที่ 1 เรือ่ ง ประโยชน์ของขา้ ว - แหล่งเรยี นรู้ ค้นคว้าจากอินเตอรเ์ น็ตและหอ้ งสมดุ กจิ กรรมการเรียนรสู้ ือ่ การเรียนรู้ ช่วั โมงที่ 3-6 ขน้ั นา - ใหน้ กั เรียนบอกเล่าถงึ สถานการณ์ สภาวะการผลติ แนวโนม้ การบริโภคข้าว และการคา้ ขายขา้ วใน ปจั จบุ นั ข้นั พัฒนาผู้เรียน 1. ศึกษาคน้ คว้า ในห้องสมดุ ใบความรู้ท่ี 2-4 เรื่อง เกย่ี วกับ การคา้ ข้าวของโลกการบริโภคขา้ วและ การผลิตข้าวโลก 2. จดบันทึกเนอื้ หาสรปุ ในสมดุ 3. นกั เรียนทาการทดสอบท้ายชัว่ โมง ขน้ั สรุป -นกั เรียนแตล่ ะคนสรา้ งความเขา้ ใจร่วมกนั สื่อการเรียนรู้ - แหล่งเรียนรู้ คน้ ควา้ จากอินเตอร์เนต็ - ห้องสมุด(วารสารเทคโนโลยีชาวบ้าน) - แบบทดสอบ
ใบความรู้ หนว่ ยท่ี 2 ขา้ วเศรษฐกิจ รายวิชา ข้าวและวถิ ีไทย หน่วยที่ 2ขา้ วเศรษฐกจิ ใบความรู้ที่ 1 เร่ือง ประโยชน์ของขา้ ว ประโยชนข์ องข้าวเพอื่ นๆ เราทานข้าวเป็นอาหารหลกั แตเ่ พ่อื นๆ ร้ไู หมว่าข้าวมปี ระโยชน์อยา่ งไรบา้ ง วนั นม้ี โี อกาส ได้อา่ นบทความเก่ียวกบั ขา้ วมีเนอ้ื หาดมี ากๆ เลยเอามาฝากเพอื่ นๆด้วย แลว้ เพ่อื นๆรไู้ หมว่า ข้าวมวี ิตามนิ แร่ธาตุ และสารอาหาร ทส่ี าคัญต่อร่างกายรวม 20 กว่าชนิดเลยทีเดยี วนะแตก่ วา่ ทจี่ ะเปน็ ข้าวมาใหเ้ ราทานกัน ต้องผา่ น กรรมวิธีสเี พอ่ื เอาเปลือกข้าวออก และข้าวทมี่ ีคุณค่าทางอาหารจะตอ้ งผา่ นการสีขา้ วเพียงเล็กน้อยเทา่ นัน้ ก็คอื สเี อา แค่เปลือกขา้ วออก เหลอื จมูกข้าว และราข้าวไว้เพราะจมกู ขา้ วและราข้าวน้ี (เย่ือหมุ้ เมล็ดขา้ ว)และขา้ วทมี่ ีคณุ ค่าทาง อาหาร กค็ อื ข้าวกล้อง ข้าวซอ้ มมอ้ื ขา้ วนงึ่ กอ่ นสี ข้าวเสริมวิตามิน วันน้ีเลก็ จะพาเพือ่ นไปรู้จกั ขา้ วกลอ้ งกัน ว่ามี ประโยชน์อยา่ งไร ขา้ วกล้องนใ้ี นสมยั กอ่ นเขาจะเรียกกันวา่ ข้าวซอ้ มมอื หรือข้าวแดง และที่เขาเรยี กกันวา่ ขา้ วซ้อมมือก็เพราะว่า ในสมัยกอ่ นเขาจะนิยม ตาข้าวทานเอง โดยจะใช้ครกกระเด่อื งตา จงึ เป็นท่มี าของชือ่ ขา้ วซ้อมมอื ในข้าวกลอ้ งนะคะ่ จะมสี ารอาหารประเภทโปรตีนอยู่ถงึ 7- 12 เปอรเ์ ซ็นต์เลยทเี ดียว แตก่ ข็ ึ้นอยู่กบั พันธุ์ขา้ ว และการขดั สขี า้ วด้วย นอกจากสารอาหารประเภทโปรตีนแลว้ ข้าวกลอ้ งยงั มี วิตามินต่างๆมากมายเลยทีเดียวเช่น - วติ ามินบรี วม ชว่ ยบรรเทาอาการอ่อนเพลยี แขน ขา ไมม่ ีแรง ปวดกล้ามเนอ้ื โรคผวิ หนังบางชนิด บารุงสมอง ทา ใหเ้ จรญิ อาหาร -วิตามินบี 1 ช่วยป้องกันโรคเหนบ็ ชา - วติ ามินบี 2 ซงึ่ จะชว่ ยป้องกนั โรคปากนกกระจอก รมิ ฝปี ากบวม รา่ งกายอ่อนเพลยี เบ่ืออาหาร ตาสแู้ สงไม่ได้ - แรธ่ าตุ ฟอสฟอรัส ซ่ึงจะชว่ ยในการเจริญเติบโตของกระดกู และฟัน - แรธ่ าตุ แคลเซยี ม จะช่วยลดอาการเป็นตะคริว - แร่ธาตทุ องแดง จะช่วยในการสรา้ งเมด็ เลือด - แรธ่ าตุเหลก็ ช่วยปอ้ งกนั โรคโลหติ จางและช่วยในการสร้างเมด็ เลือด นอกจากในขา้ วกลอ้ งจะมสี ารอาหารประเภทโปรตนี วิตามิน และแร่ธาตุประเภทตา่ งๆแลว้ ในขา้ วกลอ้ งก็ยงั มีไขมนั ดว้ ย เพ่ือนอ่านแลว้ อยา่ พึงตกใจ เพราะทานข้าวแล้วจะกลวั อ้วนเพราะนา้ มันในข้าวกล้อง เป็นนา้ มนั ที่ไม่มโี คเลสเตอรอล แต่ในข้าว กล้องจะมวี ิตามนิ อกี 1 ชนดิ วติ ามินชนิดน้ันกค็ ือ ไนอะซินไนอะซินเป็นวิตามนิ ทจ่ี าเป็นต่อผิวหนงั ลิน้ การทางานของกระเพาะอาหาร และลาไส้ และยังจาเป็นตอ่ ระบบประสาทดว้ ยเลยหาข้อมลู เกยี่ วกบั โรคท่จี ะเกิดจากการขาดไนอะซนิ มาให้เพอ่ื นๆได้ศกึ ษากันด้วย โรคทเ่ี กดิ จากการขาดไนอะซนิ นร้ก็คอื โรคความจาเสื่อม ท้องเสยี และอาการโรคผิวหนงั หยาบและอกั เสบแดง แลว้ ถ้าเพือ่ นๆทาน ขา้ วกล้องเหมือนอย่างเล็ก เพือ่ นกจ็ ะได้กากอาหารซ่งึ จะทาให้เพอื่ นๆท้องไมผ่ ูก และยังช่วยป้องกันมะเรง็ ในลาไสอ้ ีกดว้ ย หน่วยที่ 2 ขา้ วเศรษฐกจิ เรอื่ งที่ 2การคา้ ข้าว ในสมยั กอ่ น คนไทยปลกู ข้าวเพือ่ ใช้บรโิ ภคเองเปน็ หลกั ชาวนาจะนาข้าวเปลอื กท่ีเกบ็ เกยี่ วได้ไปตากแดด จนแห้งและเก็บไวใ้ นยุ้งฉาง เม่ือจะบรโิ ภคจึงนามาตาเปน็ ข้าวสารครัง้ ละจานวนนอ้ ยให้พอบรโิ ภคใน ระยะเวลาสัน้ ๆ ซ่งึ เปน็ ทม่ี าของสานวนทีว่ ่า \"ตาขา้ วสารกรอกหม้อ\" หมายถงึ ทาอะไรโดยไมเ่ ผือ่ เหลือเผ่ือ ขาด ต่อมาเม่ือมีการติดตอ่ กับชาวต่างชาติ การปลูกข้าวเพอ่ื ยังชีพจงึ ได้พัฒนาเปน็ สนิ ค้าสง่ ออกไป ต่างประเทศ
การคา้ ข้าวในปจั จุบนั ในแถบภาคเหนอื ตอนบนและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เมอ่ื ชาวนาผลิตข้าวเปลือกเจา้ ได้ ส่วนหนง่ึ จะใชบ้ ริโภค ภายในครวั เรือน โดยทยอยแบ่งสีท่ีโรงสขี นาดเล็ก (กาลังสี 1-12 ตนั ตอ่ 24 ชว่ั โมง) สว่ นท่เี หลอื จะขายใหแ้ ก่โรงสขี นาดกลาง (กาลังสี 30-60 ตัน ต่อ 24 ชั่วโมง) หรือพอ่ ค้าขา้ วเปลือก หรือผา่ นตลาดกลางขา้ วเปลอื ก ในภาคเหนอื ตอนล่างและภาคกลางท่เี ป็นแหล่งชลประทาน เมอื่ ชาวนาเกบ็ เกยี่ วข้าวเปลือกสดจะมีพอ่ ค้า ขา้ วเปลือกหรือตวั แทนโรงสมี ารับซื้อถึงท่ี บางรายจะนาขา้ วเปลือกไปขายให้แก่โรงสใี กลเ้ คยี ง โดยผลัก ภาระการลดความชน้ื ใหโ้ รงสหี รือขายผา่ นตลาดกลาง ดงั น้นั การประเมินคณุ ภาพจงึ ต้องมีการตรวจสอบ ระดบั ความชืน้ เมอ่ื พอ่ ค้าขา้ วเปลือกหรอื พ่อคา้ คนกลางตอ้ งการขายขา้ วเปลอื กให้โรงสจี ะนาตัวอยา่ ง ขา้ วเปลอื กไปใหโ้ รงสีตรวจสอบคุณภาพและตีราคาลว่ งหนา้ หากราคาเป็นท่ีพอใจของทง้ั สองฝา่ ย พอ่ ค้าคน กลางจงึ จะบรรทกุ ขา้ วเปลอื กมาสง่ ใหโ้ รงสขี นาดกลางในทอ้ งถิน่ เมอ่ื โรงสที ้องถิ่นสีเปน็ ขา้ วสารแล้ว ขา้ ว ส่วนหนงึ่ จะกระจายส่ผู ูบ้ รโิ ภคในทอ้ งถิน่ ใกล้เคยี ง ส่วนท่ีเหลอื จงึ จะสง่ ผ่าน หยง (นายหน้าหรือตัวแทนการ ติดต่อ) ไปยงั กรงุ เทพฯ ซงึ่ เป็นศนู ยร์ วมและกระจายขา้ วไปยังผ้บู รโิ ภคในจงั หวัดตา่ ง ๆ ทีผ่ ลติ ข้าวไม่พอ บรโิ ภค เช่น ภาคใต้ โรงสขี นาดกลางแถบชานเมอื งกรุงเทพฯ จะขายข้าวสารใหพ้ อ่ คา้ ขายส่ง พอ่ ค้าขาย ปลีก หรือขายตรงใหผ้ ้บู รโิ ภครายใหญ่ ๆ เช่น รา้ นอาหาร ภตั ตาคาร สว่ นการขายข้าวใหผ้ ู้ส่งออกใน ปริมาณมากและการซ้ือขายระหว่างโรงสีขนาดใหญ่ (กาลังสี 100 ตนั ตอ่ 24 ชั่วโมง) กับพอ่ ค้าสง่ ออกท่ี กรุงเทพฯ จะผ่านหยง ขนกระสอบขา้ วขน้ึ เรือ การขนย้ายขา้ วเปลือกจากนา โกดังข้าว ถา้ เป็นข้าวคุณภาพพิเศษ ท่ผี บู้ รโิ ภคนิยมมากกว่าขา้ วชนดิ อ่ืน เชน่ ข้าวหอมมะลิ ขา้ วเจก๊ เชย (เสาไห้) ขาวตาแห้ง ขาวกอเดียว โดยเฉพาะ ขา้ วหอมมะลิ (พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และ กข15 เป็นข้าวท่มี ีความโดดเด่นท่ีสุด นิยมใน กล่มุ ผ้บู รโิ ภคทง้ั ภายในและตา่ งประเทศ) กระบวนการรบั ซอ้ื ขา้ วเปลอื กจะพิถีพิถันกวา่ ขา้ วท่ัวไป โดยทโี่ รงสีทตี่ ้งั อยูใ่ นแหล่ง ปลูกข้าวพันธเุ์ หล่าน้ันจะรับซ้อื ขา้ วเปลือกจากชาวนาโดยตรงหรือจากพ่อคา้ คนกลางท่ตี ิดต่อ ซอ้ื ขายกันมานาน จนเกิดความ เชื่อใจในคุณภาพ การซ้อื ขายระหวา่ งโรงสกี บั ผสู้ ง่ ออกหรอื ร้านคา้ ส่งภายในประเทศจะผา่ นหยงขาประจา สาหรับพันธ์ุขา้ วต่างประเทศทน่ี ามาปลกู ในประเทศไทยเพอื่ การส่งออก อนั ได้แก่ ขา้ วบาสมา-ติ ขา้ วจาปอ นกิ า และข้าวญปี่ ่นุ ผู้สง่ ออกจะดาเนินการเกอื บท้งั หมด โดยทาสญั ญากับชาวนาใหผ้ ลติ ขา้ วและรบั ซื้อผลติ ผลทั้งหมด รวมทั้ง ว่าจ้างโรงสใี หส้ ขี า้ วให้ ชาวนาในภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือนิยมปลกู ขา้ วเหนียวเพอื่ การบริโภคในครวั เรอื น มากกวา่ ขาย จึงมกั เก็บข้าวเปลอื กไว้รอจนต้นฤดูฝนในปีถัดไป เม่ือแน่ใจว่ามฝี นมากพอสาหรับการปลูกข้าวจงึ จะขายให้โรงสี ขนาดเล็กในท้องถนิ่ การซ้ือขายขา้ วเหนียวระหวา่ งโรงสใี นแหลง่ ผลิตกับพอ่ คา้ ขายสง่ ในจังหวัดอนื่ มักดาเนินการผา่ น รา้ นหยง ในจงั หวัดนนั้ ท้ังน้ีแทบจะไม่ตอ้ งซ้อื ขายกันทกี่ รงุ เทพฯ ยกเวน้ จังหวดั ทางภาคใต้และเขตปริมณฑลของกรุงเทพฯ การส่งั ซ้ือ
ขา้ วเหนียวระหว่างโรงสกี ับพ่อคา้ สง่ ออกมักตดิ ต่อผา่ นหยงที่กรงุ เทพฯ เชน่ เดียวกบั ขา้ วเจ้า ยกเว้นการส่งออกไปประเทศลาว มักสั่งซอ้ื ที่กรงุ เทพฯ หรือโรงสีในแหลง่ ผลติ และสง่ มอบท่ีจงั หวัดหนองคาย จากกระบวนการค้าข้าวข้างตน้ จะเหน็ ได้วา่ ผูท้ มี่ บี ทบาทสาคัญ คอื พอ่ คา้ ขา้ วเปลอื ก ซึง่ ทาหนา้ ท่ีเป็นพ่อค้าคนกลางรับซอื้ และ รวบรวมขา้ วจากชาวนาในปรมิ าณมากไปขายต่อยงั โรงสขี นาดกลาง และขนาดใหญ่ พอ่ คา้ ข้าวเปลอื กมี 2 ประเภท คือ พ่อค้าข้าวเปลอื กใน หมู่บา้ น และพอ่ คา้ ขา้ วเปลอื กนอกหม่บู ้าน พ่อค้าข้าวเปลอื กใน หมู่บ้าน เป็นพอ่ ค้ารายย่อยในหม่บู ้านทีม่ ีเงนิ ทนุ หรือชาวนาทีม่ ีฐานะ ดี ขับรถบรรทกุ ออกเรไ่ ปตามหมบู่ ้านหรอื ทอ้ งถนิ่ ใกล้เคียงเพ่ือรับซ้ือ ขา้ วเปลือกจากชาวนา และนาขา้ ว เปลอื กทไ่ี ดไ้ ปขายโดยตรงให้โรงสี ขนาดกลางทสี่ ีข้าวขายใหผ้ บู้ รโิ ภคในท้องถิ่น หรอื นาไปขายที่ \"ตลาด กลางขา้ วเปลอื ก\" (สถานทที่ ี่ชาวนา พอ่ คา้ ข้าวเปลือก และโรงสี เจรจา ตกลงซ้อื ขายข้าว) โดยไดร้ ับผลประโยชน์จากกาไรค่าขนสง่ หรอื การเก็ง กาไรข้าวที่เก็บไว้ โรงสขี นาดใหญ่ ดงั นน้ั พอ่ ค้ากล่มุ น้ีจงึ มกั มยี งุ้ ฉางของตนเอง ส่วน พอ่ ค้าข้าวเปลอื กนอกหม่บู ้าน อาจเปน็ พ่อคา้ รบั ซื้อพชื ผลทางเกษตรทว่ั ไปที่ มีกจิ การอยู่ใกลแ้ หลง่ ผลิตหรือจงั หวดั ไกล ๆ มกั ตระเวนรับซอ้ื ข้าวเปลือกจากจังหวดั ทางภาคกลางและภาคเหนอื ตอนล่างทมี่ ี ผลผลิตขา้ วเปลือกเหลอื จากการขายในปรมิ าณมาก เชน่ นครสวรรค์ พิจติ ร กาแพงเพชร พิษณุโลก สโุ ขทัย ในชว่ งเก็บเกย่ี ว ขา้ วนาปี (มกราคม-เมษายน) และข้าวนาปรงั (มถิ นุ ายน-กนั ยายน) บางครงั้ อาจรบั ซอ้ื นอกชว่ งเวลาดงั กลา่ ว หากไปรบั ซื้อยัง พน้ื ทไ่ี กล ๆ จะจ้าง นายหน้า ซง่ึ เป็นคนในท้องถิน่ นนั้ ซงึ่ เปน็ ทร่ี ู้จักและไว้วางใจของคนในท้องถ่ิน ทาหน้าทตี่ ิดตอ่ ซ้ือข้าวเปลือก จากชาวนา เพื่อนามารวบรวมเก็บไว้ในยุง้ ฉางหรอื โกดังเพื่อเกง็ กาไรข้าว จงึ มคี าเฉพาะเรยี กพอ่ คา้ ข้าวเปลือกประเภทน้วี ่า \"ชาวยุ้ง\" นอกจากขายข้าวเปลือกให้แก่โรงสขี นาดกลางและขนาดใหญท่ ่ีอยู่ในแถบเดียวกนั หรือใกล้กรุงเทพฯ เชน่ สุพรรณบุรี นครปฐม อยธุ ยา ปทมุ ธานี หรือนาไปขายทต่ี ลาดกลางแล้ว พ่อค้ากลุ่มนบ้ี างคนอาจปลอ่ ยสินเช่ือให้เกษตรกร หรอื ให้ เกษตรกรกูป้ ัจจยั การผลติ เช่น เมลด็ พนั ธ์ุ ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช ในชว่ งตน้ ฤดูกาลเพาะปลกู โดยให้ชาวนาใช้หนคี้ ืนโดยขาย ขา้ วเปลือกให้แก่พ่อคา้ ตามเงินทต่ี กลงไวห้ ลงั จากฤดกู ารผลติ การสง่ ออกข้าวตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2470 เป็นต้นมา ปริมาณการส่งออกข้าวเพม่ิ ขึ้นเรือ่ ย ๆ จนถงึ ระดบั 2 ล้านตนั ในปี พ.ศ. 2520 (ช่วง 50 ปี) หรอื มีอตั ราเพิม่ เฉลย่ี 1 ล้านตันตอ่ 25 ปี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2521-2545 การสง่ ออกขา้ วเพม่ิ ขึน้ เปน็ 5 ลา้ นตัน หรือ เฉล่ยี 1 ลา้ นตันทกุ ๆ 5 ปี การส่งออกข้าวไทยทเี่ พมิ่ ขึ้นอย่างรวดเรว็ ในระยะนี้ดาเนินไปพร้อมกบั การเพิม่ ขน้ึ ของประชากรจาก 11 ล้านคนในปี พ.ศ. 2470 มาเป็น 63 ลา้ นคนในปี พ.ศ. 2547 และพ้ืนท่ปี ลูกข้าวของไทยก็เพิม่ ขึน้ 16 ล้านไร่ในปี พ.ศ. 2470 มาเปน็ 61 ล้านไรใ่ นปี พ.ศ. 2547
โกดังขา้ ว การสง่ ออกข้าวไทยในปจั จุบนั เปน็ การค้าแบบเสรีในลกั ษณะ ท่ผี ูส้ ่งออกตกลงกับผซู้ ้ือใน ตา่ งประเทศ นอกจากน้ยี ังมี ลักษณะการสง่ ออกขา้ วแบบรฐั บาลตอ่ รฐั บาล แตก่ ็ไม่มากนกั เม่อื เปรียบเทยี บกับเอกชน โดยในปี พ.ศ. 2544 เอกชนส่งออก ถึง 7,237,708 ตนั คิดเป็น 96.24 เปอรเ์ ซ็นต์ของการส่งออก ขา้ วท้ังหมด ขณะทีร่ ฐั บาลสง่ ออกเพียง 282,970 ตัน คิดเป็น 3.76 เปอรเ์ ซน็ ต์ของการส่งออก และในปี พ.ศ. 2546 ปริมาณ การส่งออกขา้ วไทยทาสถติ ิสงู ทสี่ ุดถงึ 7.597 ลา้ นตนั ทารายได้ ให้ประเทศ 76,368 ล้านบาท โดยสง่ ไปขายท่ัวโลก 173 ประเทศ ตลาดหลักของ ขา้ วไทยอยูใ่ นทวีปเอเชยี แอฟริกา ตะวันออกกลาง อเมรกิ า ยุโรป และโอเชียเนยี ตามลาดับ ขนกระสอบขึ้นเรือเพอ่ื สง่ ออก ขนกระสอบขึ้นเรอื เพ่ือสง่ ออก จะเห็นว่าวิวัฒนาการค้าขา้ วไทยท่ีผา่ นมานับศตวรรษ ได้สะท้อนถงึ ภูมปิ ญั ญาของคนไทย จากภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นมาสกู่ ารเรยี นรู้การใช้ เทคโนโลยีท่สี ูงขึน้ และนามาประยกุ ตใ์ ช้ให้เกดิ การพฒั นาอย่างมีประสิทธภิ าพ ตลอดจนวิธกี ารลงทนุ การบรหิ ารจัดการกจิ การขนาด เล็กในชุมชนไปสกู่ ารทาธรุ กิจการค้าเชิงพาณชิ ย์ขนาดใหญท่ เ่ี ข้มแขง็ จนขา้ วเป็นสนิ คา้ ออกทส่ี าคัญของประเทศไทย และสามารถ ครองความเป็นหนึง่ ของโลกดา้ นการค้าขา้ ว อย่างไรกต็ าม สถานการณก์ ารค้าข้าวอย่างเสรีในปจั จุบันมีการแข่งขันกนั รุนแรงยิง่ ข้ึน ทา ให้ไทยต้องปรับปรงุ ต้นทุนการผลิต ระบบการผลิต และกระบวนการสง่ ออก เพอ่ื เพิม่ ศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ในตลาดโลกและรักษา ความเปน็ ผู้นาการค้าข้าวในตลาดโลกต่อไป สถติ กิ ารส่งออกขา้ วไทยระหวา่ งปี พ.ศ. 2470 - 2546
ท่ีมา : สมาคมผสู้ ง่ ออกขา้ วตา่ งประเทศ หน่วยท่ี 2 ขา้ วเศรษฐกจิ เรื่องท่ี 3การบริโภคขา้ ว คนไทย ภาคเหนอื และภาคอสี านนิยมบรโิ ภคขา้ วเหนยี ว ส่วนชาวภาคกลางและ ภาคใต้บรโิ ภค ข้าวเจ้าเปน็ อาหารหลกั และบรโิ ภคขา้ วเหนียวเป็นขนมหวาน ขา้ วที่ คนไทยบรโิ ภคมที ง้ั ข้าวเจ้าและขา้ วเหนียว นยิ มนามาหุงให้สุกทง้ั เมล็ด โดยมวี ิธกี าร หงุ ดงั น้ี ข้าวเจ้า หุงขา้ วแบบเช็ดนา้ เร่ิมตน้ โดยลา้ งหรอื ซาวขา้ ว เพ่อื ขจัดฝนุ่ ผงและส่ิงแปลกปลอมต่าง ๆ ออกจนกระทั่งน้าล้างขา้ วใส แล้วจงึ เติมน้าปรมิ าณมากลงไป ต้มใหเ้ ดอื ด ในชว่ งน้ีตอ้ งหมัน่ คนอย่าใหเ้ มล็ดข้าวติดก้นหม้อ ต้มจนเมล็ดข้าวเกอื บสกุ เมอื่ สงั เกตเหน็ เมลด็ ข้าวยงั มไี ตขุ่นเปน็ จุดเล็ก ๆ อยูภ่ ายใน ให้รินนา้ ขา้ วออก หมอ้ ท่ใี ช้หุงข้าวแบบเช็ดนา้ นี้จึงต้องมหี ูสองขา้ งและฝาหม้อตอ้ ง มหี อู ย่ตู รงกง่ึ กลาง เวลาเช็ดน้าใช้ ไมข้ ดั ฝาหมอ้ ท่ีทาจากไมไ้ ผม่ าร้อยหูหมอ้ และฝาหม้อ เอียงหม้อเทน้าข้าวออกจนหมด แล้ว จึงนาไปดงบนไฟอ่อน ๆ จนนา้ แห้ง การหงุ ขา้ ววธิ นี ้จี ะได้ข้าวสวยก้นหม้อเปน็ แผ่นแขง็ เรยี กวา่ ขา้ วตงั หุงขา้ วแบบไม่เช็ดนา้ หลังจากซาวขา้ วแล้วจงึ เติมนา้ กะให้พอเหมาะกบั ขา้ ว นาไปต้มจนสกุ เมล็ดขา้ วจะดูดซับนา้ จนแหง้ การหงุ ขา้ ววิธีนคี้ นหุงตอ้ งมที ักษะในการคาดคะเนปรมิ าณน้าและความรอ้ น เช่น การใชน้ ิ้วหรอื ฝา่ มือวางบนขา้ วเพอ่ื ประมาณ ความลกึ ของนา้ หรอื รู้จักราไฟ (ลดไฟใหอ้ ่อนลง) อปุ กรณ์หุงขา้ วในสมัยก่อนมักใช้หมอ้ ดิน ตอ่ มาจึงเปลี่ยนมาเปน็ หม้อ อะลูมเิ นียม และพฒั นามาเปน็ หม้อหงุ ขา้ วไฟฟ้าท่ีมรี ะบบตัดไฟเมอ่ื นา้ ในหมอ้ แหง้
หุงขา้ วแบบไมเ่ ช็ดนา้ หงุ ขา้ วแบบเช็ดนา้ ข้าวตม้ นึ่งขา้ ว หลงั จากซาวข้าวแลว้ เตมิ นา้ ให้พอเหมาะเช่นเดยี วกับการหุงแบบไมเ่ ชด็ น้า ตา่ งกนั ตรงที่นาขา้ วไปนึง่ โดยใช้ความรอ้ น ของไอนา้ ทาให้ขา้ วสุก ภาชนะทใ่ี ส่ข้าวจึงเปน็ ขนั ท่ีจุข้าวสาหรับบรโิ ภคหน่ึงคนหรือลงั ถึงขนาดใหญ่ ที่บรรจถุ ว้ ยนง่ึ ได้หลายใบ ตม้ ข้าว เป็นการหงุ โดยใสน่ ้าปริมาณมาก ใช้ความรอ้ นตม้ เมล็ดขา้ วสุกซึ่งแช่อยู่ในนา้ ข้าวจนเมลด็ ข้าวสกุ เละกว่าขา้ วสวย เรียกวา่ ขา้ วต้ม ข้าวเหนยี ว นง่ึ ข้าว หลงั จากซาวเมลด็ ข้าวเหนียวแลว้ จะแช่นา้ ค้างคนื เพอื่ ใหข้ า้ วดูดซบั นา้ ไวเ้ รียกวา่ หมา่ ขา้ ว ถา้ เปน็ ขา้ วใหมอ่ าจลดเวลาแช่ขา้ วลงเหลือ 4-5 ชวั่ โมง อาจเตมิ เกลือเลก็ น้อย เพ่ือชว่ ย ให้ข้าวสารนุ่มเร็วขึ้น เมื่อแชข่ ้าวจนครบกาหนดแล้วจงึ เทน้าทิง้ และซาวขา้ วอีกคร้งั เทข้าวใส่ ในภาชนะน่ึงที่มชี ่องใหไ้ อน้าเดือดเข้าและสะเด็ดนา้ ได้ วางภาชนะนบ้ี นปากหม้อท่ีมนี า้ กาลงั เดอื ด ปิดฝาเพือ่ ใหไ้ อน้ารอ้ นหมุนเวียนอยภู่ ายในภาชนะ อาจใช้ผา้ ชบุ นา้ พอหมาดพันรอบ ปากหม้อกับภาชนะนง่ึ เพื่อชว่ ยใหไ้ อน้าร้อนแทรกเข้าไปในภาชนะนึ่งได้ดยี ่งิ ขึ้น นงึ่ นาน ประมาณ 20 นาที ขา้ วกส็ ุก หากพบวา่ เมล็ดขา้ วยังแข็งอยู่อาจพรมน้าเยน็ เล็กนอ้ ย และพลิก สว่ นบนไว้ขา้ งล่างแล้วน่ึงตอ่ อีกระยะหนง่ึ เมือ่ ข้าวสุกดีแลว้ จึงเทขา้ วสุกในกระด้ง (ถาดสาน ดว้ ยไมไ้ ผ)่ หรือโบม (ถาดไม้) สา่ ยเมลด็ ข้าวใหไ้ อน้าระเหยไปบางส่วน เม่อื ข้าวเหนียวสุกเรม่ิ ข้าวเหนียวนง่ึ เกาะตัวจึงถ่ายใส่ภาชนะที่มฝี าปดิ เพือ่ รกั ษาความชื้นข้าวไวแ้ ละ ชว่ ยใหข้ า้ วนมุ่ อยู่นาน ภาชนะทใ่ี ช้ในการน่ึงข้าวเหนียว ไดแ้ ก่ หวด (ภาชนะสานดว้ ยตอกไมไ้ ผ่ รปู ทรงกรวยก้น หวดวางบนหมอ้ ดิน ตดั ) มวย (ภาชนะทีใ่ ช้ในภาคอสี าน สานจากตอกไม้ไผ่ รปู ทรงกระบอก) ไหน่ึงข้าว (ภาชนะ ทีใ่ ช้ในภาคเหนอื ทาจากไม้ รปู รา่ งสว่ นกลางป่อง ส่วนปากและก้นจะสอบเลก็ ลง) ภาชนะที่ใช้นามาใสข่ า้ วเหนยี วนง่ึ มักทาจากไม้ไผ่ หวาย ต้นคลมุ้ หรอื ตน้ คลา้ ซ่ึงรักษา ความชน้ื ได้ดี เรียกว่า แอบ็ ขา้ ว (ภาษาเหนอื ) กระตบิ๊ ข้าว หรือ กอ่ งขา้ ว (ภาษาอสี าน) ปจั จบุ นั ตามร้านอาหารทว่ั ไปอาจเห็นการเก็บข้าวเหนียวสุกในกระติกนา้ พลาสติก เพราะหา งา่ ยแต่จะเกดิ ไอนา้ ที่ระเหยออกจากขา้ วเกาะตามผนังกระติกดา้ นในทาใหข้ ้าวแฉะ จึงตอ้ งใช้ ผ้าขาวบางรองและคลมุ ปากกระตกิ ไวก้ ่อนปิดฝาซึง่ ชว่ ยเกบ็ รกั ษาความช้นื ได้ดี
ตม้ ข้าวเหนียว การต้มข้าวเหนียวทาแบบเดียวกับขา้ วเจา้ แต่จะเหลอื นา้ ไว้ในหม้อพอ ขลกุ ขลกิ มนี ้าข้าวเหนยี วข้นเรียกว่า ขา้ วเปยี ก คณุ ค่าทางโภชนาการของขา้ ว สารอาหารที่ได้รับจากเมล็ดข้าวมีแปง้ เปน็ หลักเพราะมีคารโ์ บไฮเดรทสูงถงึ 71-77 เปอร์เซน็ ต์ และมโี ปรตนี เพียง 5-8 เปอรเ์ ซ็นต์ นอกจากนขี้ า้ วกลอ้ งยังเปน็ แหล่งวิตามนิ บี ท่ีสาคญั เพราะมีวติ ามิน บี1 (ไทอามนี ) บี2 (ไรโบฟลาวนี ) ไนอา ซนิ กรดแพนโทเทนิค และกรดโฟลคิ อยถู่ ึง 0.34, 0.05, 0.62, 1.50 และ 20.00 มิลลิกรัมตอ่ ขา้ ว100 กรมั ตามลาดับ เมื่อ ผา่ นการขดั สีเอาผวิ ราออกจนเหลือเป็นข้าวขาวหรือข้าวสาร วติ ามนิ เหลา่ น้จี ะเหลอื อยเู่ พยี ง 0.07, 0.03, 0.11, 0.22 และ 3.00 มลิ ลิกรมั ต่อขา้ ว100 กรมั ตามลาดับ ในเมล็ดขา้ วกลอ้ งมเี ส้นใยอาหารสูงกวา่ ข้าวสารถึง 2 หรอื 3 เทา่ เส้นใยอาหาร เหลา่ นี้มปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกายเพราะชว่ ยในการขับถา่ ยกากอาหารและ ดูดซบั สารพิษ สว่ นน้ามันขา้ วทม่ี อี ยู่ในชั้นรายงั มีสาร ออไรซานอล (Oryzanol) ทมี่ ีคณุ ประโยชน์ ชว่ ยลดความเสี่ยงในการเกิดมะเรง็ และควบคุมโรคเบาหวานอีกดว้ ย ในปัจจบุ ัน จงึ มีผู้บรโิ ภคบางกลมุ่ สนใจบรโิ ภคข้าวกลอ้ งเป็น \"อาหารสขุ ภาพ\" ผลิตภณั ฑจ์ ากขา้ ว นอกจากคนไทยจะบรโิ ภคข้าวสุกหุงทั้งเมล็ดแล้ว ยังแปรรูปขา้ วเปน็ ผลติ ภัณฑ์ตา่ ง ๆ สาหรับใช้อปุ โภคและบรโิ ภคเป็นที่ แพรห่ ลายโดยทว่ั ไป ได้แก่ 1. แปง้ ขา้ ว ผลิตจากปลายข้าวขาว ท่ีนามาบดหรือโมจ่ นละเอียด มีท้ังชนดิ แป้งขา้ วเจ้าและแปง้ ขา้ วเหนียว แปง้ ข้าวที่ผลิตใน ประเทศมี 3 ชนิด คือ แป้งข้าวโมเ่ ปยี กหรอื โม่นา้ เปน็ แป้งทผ่ี ลติ กนั แพร่หลายในปัจจุบัน แป้งขา้ วชนิดน้สี ามารถนาไปทาผลิตภัณฑต์ า่ ง ๆ ไดแ้ ก่ เสน้ กว๋ ยเตี๋ยว และขนม แปง้ ขนมโก๋ ผลิตจากปลายขา้ วเหนยี วที่แช่นา้ แล้วนึ่งให้สกุ อบลดความช้นื จนแหง้ แลว้ บดใหล้ ะเอยี ด แป้งชนดิ นห้ี ยาบ กว่าแปง้ ขา้ วโม่น้าทั่วไปเนอื่ งจากผลิตจากขา้ วสุก แปง้ ข้าวบริสุทธิ์ หรือ สตารช์ ขา้ ว (rice starch) เป็นแปง้ ทแี่ ยกเอาโปรตีนออกจนเหลอื อย่นู อ้ ยกว่า 1 เปอร์เซน็ ต์แปง้ ข้าว บรสิ ทุ ธ์นิ ใ้ี ชใ้ นอตุ สาหกรรมยา คือนาไปผสมกับผงยาและอัดเปน็ เมด็ ยา นอกจากนย้ี งั ใช้ในการผลิตแปง้ ขา้ วคดั แปร (modified starch) ชนิดต่าง ๆ สาหรบั อุตสาหกรรมตอ่ เน่อื งทง้ั ชนิดทเ่ี ปน็ อาหารและไม่ใช่อาหาร
แป้งขา้ วบริสทุ ธิ์ ผลิตภัณฑจ์ ากขา้ ว 2. เมล็ดขา้ ว นามาเป็นอาหารวา่ งและขนมชนดิ ต่าง ๆ เมลด็ ข้าวอ่อน ใชท้ าเป็น ข้าวยาคู หรือ นา้ นมข้าวยาคูปัจจุบันมีการพัฒนาเปน็ ผงขา้ วยาคู หรือ ผงนา้ นมข้าว อาจมกี าร เสรมิ โปรตีนจากถว่ั เหลืองใชเ้ ป็นสว่ นผสมอาหารวา่ งชนดิ ต่าง ๆ เช่น ไอศกรีม คกุ กี้ ถั่วตัด แครกเกอร์ เมล็ดข้าวเปลือก ใชท้ าข้าวเม่า หรอื ข้าวเม่าราง ข้าวตอก ขา้ วแตก หรอื ขา้ วตอกแตกและข้าวฮาง เมล็ดขา้ วเจ้า ใชท้ า ขนมอบกรอบหรือไรสแ์ ครกเกอร์ ขา้ วเมา่ ผลิตภัณฑ์จากขา้ วสวยตากแหง้ เช่น ขา้ วตู ขา้ วตาก ขา้ วตัง ขนมนางเลด็ ขนมไข่ มดแดง ข้าวสวยบรรจุกระป๋อง เป็นผลิตภณั ฑ์ใหม่ทผี่ ลิตจากขา้ วหอมมะลิ ข้าวบรรจุ ข้าวตู กระป๋องทีผ่ ลติ ในปัจจุบนั น้มี ีขา้ วสวยและขา้ วกล้องหอมมะลิ ขา้ วปรุงรส ขา้ ว เหนียว โจก๊ โจก๊ ปรุงรส (ไก่, หมู) และโจ๊กข้าวกล้อง ข้าวสวยบรรจุซอง เปน็ ผลิตภัณฑ์ใหม่ทบี่ รรจขุ ้าวสวยในซองท่ีทนต่ออุณหภมู สิ ูง ขา้ วกึง่ สาเรจ็ รูป (retort pouch) เพือ่ ให้สามารถเข้าสูก่ ระบวนการผลิตท่ีตอ้ งฆ่าเชอื้ จุลนิ ทรยี ์ เพียง อุ่นในตไู้ มโครเวฟก็สามารถบริโภคได้ ขา้ วกึ่งสาเร็จรปู ชนิดแหง้ เปน็ ผลติ ภัณฑใ์ หม่ทน่ี ามาบรโิ ภคได้หลงั ผ่านการหงุ ตม้ ในระยะเวลาสน้ั ๆ ได้แก่ โจ๊ก ข้าวตม้ เมล็ดข้าวเหนียว ใชท้ า ขา้ วหลาม ขนมหวาน ได้แก่ ข้าวหลาม ข้าวหลามตัด ข้าวต้มผัด ข้าวต้มมัดไต้ ข้าวตม้ น้า วุ้น ขา้ วเหนยี วป้งิ ข้าวเหนียวมลู ขา้ วเหนยี วตดั ข้าวเหนียวแดง ข้าวเหนยี วดา ข้าวหมาก ขา้ วเกรยี บว่าว ไรส์แครกเกอร์ เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ เมล็ดขา้ วกลอ้ ง ผลิตเป็นอาหารเสริม โดยนาขา้ วกล้องผสมกับถว่ั เหลอื ง ขา้ วโพด หรอื เมล็ดธัญพชื อ่ืน เปน็ ผลติ ภัณฑ์ผสมนมพร้อมดม่ื
เหลา้ อุ ขา้ วสวยบรรจุกระปอ๋ ง หนว่ ยที่ 2 ข้าวเศรษฐกิจเรอ่ื งท่ี 4สถานการณ์การผลติ ข้าวในตลาดโลก การผลติ การผลติ และการบริโภคขา้ วส่วนใหญ่อยู่ในทวปี เอเชยี เนอ่ื งจากมสี ภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมตอ่ การผลิตข้าว และมพี ฤติกรรมการบรโิ ภคขา้ วเป็นอาหารหลกั นอกจากน้ีจากท่ีมกี ารขยายตวั ของประชากรอย่างรวดเร็วใน ภมู ภิ าคดังกลา่ ว สง่ ผลให้มกี ารสนบั สนุนการผลติ ขา้ วเพ่ือใหเ้ พยี งพอต่อความตอ้ งการใชภ้ ายในประเทศ และ กอ่ ใหเ้ กดิ ความมนั่ คงดา้ นอาหาร (Food security) ในประเทศต่างๆ นอกจากนั้นยังสามารถอาศัยการส่งออก ขา้ วเปน็ แหล่งรายไดท้ สี่ าคัญของประเทศ สภาวะการผลิตข้าวของโลกมีการเปลย่ี นแปลง เพ่ิมและลดตามสภาวะการณผ์ ลติ ของประเทศผู้สง่ ออกและ นาเขา้ ขา้ วท่ีสาคัญในตลาดโลก ผลผลิตข้าวของโลกในชว่ งปีการผลิต 2545/46 – 2549/50 มีการขยายตัว เพมิ่ ข้นึ โดยตลอด (ภาพที่ 1) โดยมอี ตั ราการเจริญเติบโตของผลผลิตเฉลี่ยรอ้ ยละ 2.376 ขณะท่ีความตอ้ งการ ใช้ในประเทศท่ีเพิ่มข้ึนในอัตราเฉล่ยี รอ้ ยละ 0.616 ในขณะท่มี กี ารส่งออกและนาเข้าเพ่ิมขึน้ ในอัตรา เฉล่ยี รอ้ ยละ 6.406 มผี ลให้ปรมิ าณข้าวคงเหลือสะสมในสตอ็ กปลายปมี ีแนวโน้มลดลง ภาพที่ 1 ปรมิ าณผลผลิต สต๊อกข้าวปลายปี และดชั นรี าคา ของขา้ วในโลก ระหวา่ งปี 2545/46-2549/50
การค้า ปรมิ าณการค้าขา้ วของโลกในแต่ละปีไม่แน่นอน ขึน้ อยกู่ บั ภาวะการผลติ ของประเทศผผู้ ลติ และความตอ้ งการ บริโภคขา้ วของประเทศผู้บรโิ ภคข้าวรายใหญ่ท่สี าคัญ เช่น จนี อินเดีย อนิ โดนเี ซยี บงั คลาเทศ และฟิลปิ ปนิ ส์ โดยหากประเทศเหลา่ นี้มปี รมิ าณการผลติ ไมเ่ พยี งพอต่อการบริโภคและตอ้ งนาเขา้ ขา้ วเพม่ิ ข้ึน จะสง่ ผลให้ การค้าข้าวของโลกมปี รมิ าณสงู ขนึ้ และสง่ ผลให้ตลาดขา้ วจะเปน็ ของผ้ขู าย เน่ืองจากผู้ผลิตมีอานาจในการ ตอ่ รองราคาเพ่มิ สงู ข้ึน แต่หากประเทศดงั กลา่ วสามารถผลิตข้าวไดด้ ี การคา้ ข้าวของโลกจะมีปรมิ าณไม่ เปลย่ี นแปลงมากนกั แต่จะมีการแข่งขนั ราคากนั อยา่ งรนุ แรงเพราะตลาดเปน็ ของผู้ซื้อ ในปี 2548/49 ปริมาณ การค้าขา้ วของโลก เปน็ 27.691 ลา้ นตนั ขา้ วสาร ลดลงจากปี 2547/48 รอ้ ยละ 4.5 และเพิม่ ขนึ้ ในปี 2549/50 คดิ เป็นร้อยละ 4.4 หรือเพมิ่ ขึน้ ประมาณ 1.219 ล้านตนั ข้าวสาร ดัชนีราคาข้าวเพ่ิมขนึ้ (ภาพที่ 2) เน่อื งจากประเทศผนู้ าเข้าข้าวของโลกบางประเทศได้แก่ ประเทศอินโดนีเซยี ฟิลิปปินส์ มีผลผลิตขา้ วลดลง ในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมา (2545/46-2549/50) ประเทศผู้สง่ ออกขา้ วที่สาคญั ไดแ้ ก่ ประเทศไทย ส่งออกมากทส่ี ดุ รองลงมา เวียดนาม อินเดีย สหรฐั อเมริกา และปากสี ถาน (ภาพที่ 3) สว่ นประเทศผนู้ าเขา้ ท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ ฟิลปิ ปินส์ ไนจเี รยี อินโดนเี ซยี บราซิล และบังคลาเทศ (ภาพที่ 4)ภาพท่ี 1 ปรมิ าณผลผลิต สตอ๊ กข้าวปลายปี และดชั นีราคา ของข้าวในโลก ระหวา่ งปี 2545/46-2549/50 ปรมิ าณการคา้ ข้าวของโลกในแต่ละปีไม่ แน่นอน ขนึ้ อยู่กบั ภาวะการผลติ ของประเทศผู้ผลิตและความตอ้ งการบรโิ ภคข้าวของประเทศผบู้ ริโภคขา้ วราย ใหญท่ สี่ าคัญ เชน่ จีน อนิ เดีย อนิ โดนีเซีย บงั คลาเทศ และฟลิ ปิ ปนิ ส์ โดยหากประเทศเหลา่ น้มี ปี ริมาณการ ผลติ ไม่เพียงพอต่อการบรโิ ภคและต้องนาเขา้ ข้าวเพ่มิ ขึ้น จะส่งผลให้การค้าข้าวของโลกมปี รมิ าณสูงขนึ้ และ ส่งผลให้ตลาดขา้ วจะเปน็ ของผู้ขาย เนอ่ื งจากผู้ผลิตมอี านาจในการต่อรองราคาเพมิ่ สูงข้ึน แต่หากประเทศ ดงั กลา่ วสามารถผลิตขา้ วได้ดี การค้าข้าวของโลกจะมปี รมิ าณไม่เปล่ยี นแปลงมากนกั แต่จะมีการแขง่ ขนั ราคา กันอยา่ งรนุ แรงเพราะตลาดเป็นของผู้ซอื้ ในปี 2548/49 ปรมิ าณการคา้ ข้าวของโลก เป็น 27.691 ลา้ นตนั ข้าวสาร ลดลงจากปี 2547/48 รอ้ ยละ 4.5 และเพ่ิมขนึ้ ในปี 2549/50 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.4 หรอื เพม่ิ ข้นึ ประมาณ 1.219 ล้านตันขา้ วสาร ดัชนรี าคาข้าวเพม่ิ ขึ้น (ภาพที่ 2) เนือ่ งจากประเทศผูน้ าเข้าขา้ วของโลกบาง ประเทศไดแ้ ก่ ประเทศอินโดนเี ซยี ฟลิ ิปปินส์ มีผลผลติ ข้าวลดลง ในชว่ ง 5 ปี ทีผ่ า่ นมา (2545/46-2549/50) ประเทศผู้ส่งออกข้าวทีส่ าคัญ ได้แก่ ประเทศไทย สง่ ออกมากทีส่ ดุ รองลงมา เวียดนาม อินเดยี สหรัฐอเมรกิ า และปากีสถาน (ภาพท่ี 3) สว่ นประเทศผนู้ าเขา้ ที่สาคัญ ไดแ้ ก่ ฟลิ ิปปินส์ ไนจีเรีย อนิ โดนเี ซีย บราซิล และบงั
คลาเทศ (ภาพที่ 4) ภาพท่ี 2 ปริมาณข้าวทีซ่ ้ือ-ขาย ท้งั หมดในตลาดโลกระหวา่ งปี 2545/46-2549/50 ภาพท่ี 3 การส่งออกข้าวของประเทศสง่ ออกขา้ วทีส่ าคญั ในตลาดโลกท่ีสาคัญในตลาดโลกระหวา่ งปี 2545/46-2549/50 ภาพที่ 4 ประเทศนาเข้าข้าวท่ีสาคญั ในตลาดโลกระหวา่ งปี 2545/46-2549/50
ราคาข้าวในตลาดโลก ราคาข้าวของตลาดโลกโดยปกติผู้ส่งออกและผ้นู าเขา้ จะพจิ ารณาองิ จากราคาข้าวของประเทศ ไทย สหรฐั อเมริกา และออสเตรเลีย ในกรณขี องขา้ วคุณภาพดี ส่วนกรณรี าคาข้าวคุณภาพตา่ และปานกลาง จะพิจารณาจากราคาข้าวของไทย เวยี ดนาม พม่า และปากีสถาน ขณะท่ขี ้าวนึง่ และขา้ วกล้องพิจารณาจาก ราคาข้าวของไทยและสหรัฐอเมรกิ า ซ่งึ ราคาข้าวในตลาดโลกจะแตกต่างกันตามชนิดของข้าว ด้านการ เปลี่ยนแปลงราคาในตลาดโลกจะขน้ึ อยกู่ บั ภาวะและแนวโนม้ การผลิตขา้ วในทวปี เอเชีย ราคาขา้ วในตลาดโลกจะแตกตา่ งกันตามชนดิ ของข้าว สว่ นการเปลย่ี นแปลงราคาในตลาดโลกจะขนึ้ อยู่กบั ภาวะและแนวโนม้ การผลิตข้าวของประเทศในทวีปเอเชยี สว่ นราคาสง่ ออกขา้ วในตลาดโลกในชว่ งระหว่างปี 2548-2549 ราคาข้าวไทยยงั คงสูงกว่าข้าวจากประเทศสง่ ออกในเอเชีย (ภาพท่ี 5) เนื่องจากการแขง็ ตัวของ คา่ เงินบาท และคุณภาพเปน็ ทีต่ อ้ งการของผู้บริโภคโดยเฉพาะประเทศในตะวันออกกลางและเอเชีย สว่ นราคา ขา้ วจากเวยี ดนามค่อนข้างคงที่มาตลอด ซงึ่ จะเป็นทสี่ นใจของอินโดนีเซยี และฟลิ ิปปินส์ ภาพท่ี 5 ราคาข้าวคณุ ภาพดีของขา้ วสง่ ออก (FOB) ของประเทศสหรฐั ฯ ไทย และเวียดนาม
แบบทดสอบหน่วยท่ี 2ข้าวเศรษฐกิจ เรื่อง บอกความหมาย ประโยชน์ และความสาคัญของข้าวไทย คาส่งั ใหต้ อบคาถามตามทีโ่ จทยก์ าหนด 1) ข้าวกลอ้ ง คือ_________________________________________________________________ 2) ข้าวกลอ้ ง ข้าวซอ้ มมื้อมีประโยชนอ์ ย่างไร บ้าง_________________________________________ ___________________________________________________________________ 3) ในขา้ วกล้องมีวิตามนิ และแร่ธาตุ อะไรบ้าง____________________________________________ ___________________________________________________________________ 4) การคา้ ขา้ วในประเทศไทย มคี วามแตกตา่ งของต่างประเทศ อย่างไร__________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ 5) สถิติการส่งออกข้าวไทยระหวา่ งปี พ.ศ. 2470 – 2546ช่วงปใี ด ท่ีมกี ารสง่ ออกต่า ท่สี ุด___________
บนั ทกึ หลังการสอน หนว่ ยที่ 2 ข้าวเศรษฐกจิ ด้านความรู้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ดา้ นทกั ษะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ดา้ นคุณลกั ษณะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ปญั หาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแก้ไข ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ ...................................... ( นายเจริญชยั ศรโี สดา)
………../……………/…………. บนั ทึกความเหน็ ของผู้ตรวจสอบแผนการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ……………………………….. (……………………………………….) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ………/………../………. บันทึกความเหน็ ของผูต้ รวจสอบแผนการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอื่ ……………………………… (……………………………………..) รองผ้อู านวยการกล่มุ บริหารวิชาการ ……../…………/………. บนั ทกึ ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริหาร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………. (……………………………………..) ผอู้ านวยการโรงเรียน ……./……../…………
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 หนว่ ยท่ี 3 การปลูกขา้ ว ชอื่ วชิ า ข้าวและวถิ ไี ทย กล่มุ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 5 คาบ เวลา 10 ชั่วโมง ผู้สอน นายเจรญิ ชัย ศรโี สดา โรงเรยี น ราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ผลการเรยี นรู้ -มที ักษะในการปลูกขา้ วได้ สาระสาคญั - ทักษะในการปลูกข้าว จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.นกั เรียนบอกข้ันตอนการปลกู ข้าวได้อย่างถูกต้อง (K) 2.นักเรียนสามารถปลูกข้าวได้อย่างถกู ต้อง (P) 3.เหน็ ความสาคญั ของการปลูกข้าว (A) สาระการเรียนรู้ ความรู้ - หลกั ในการปลกู ขา้ ว ทกั ษะ/กระบวนการ -มีทกั ษะชีวติ ในการปลูกข้าว - มที ักษะการแก้ปญั หา - การใชเ้ ทคโนโลยี คุณลักษณะ -มงุ่ มั่นในการทางาน
-รักความเปน็ ไทย -มีวนิ ัย การประเมินผลรวบยอด ช้นิ งาน 1. รายงาน 2. การปลกู ข้าว ภาระงาน 1.รายงานการปฏบิ ัตงิ านการปลกู ขา้ ว ในพื้นทที่ ีก่ าหนดให้ (รับผดิ ชอบรายกลุม่ ) สถานท่ปี ฏบิ ัตงิ าน ได้แก่ - พืน้ ทป่ี ลูกขา้ ว สวนพอเพียง (9ไร)่ - พ้นื ท่ีปลูกข้าว สวนเกษตรสาธิต (12ไร)่ - พ้ืนทป่ี ลูกขา้ ว นอกนา การประเมินผล แบบรายงาน ประเดน็ การ ระดับคุณภาพ ประเมิน 4 3 2 1 1.ด้านเนอื้ หา เนอื้ หาถกู ต้อง เนือ้ หาถูกตอ้ งแตย่ งั เนื้อหาถูกต้องแตม่ ี เนือ้ หามคี วาม สมบรู ณ์ครบถว้ น ขาดความสมบรู ณ์ นอ้ ยความสมบูรณ์ ถกู ต้องบา้ งแต่ขาด ตรงประเด็น ตรงประเด็น ตรงประเด็น ความสมบูรณ์ 2. การนาเสนอ นาเสนอได้น่าสนใจ นาเสนอค่อนขา้ ง นาเสนอค่อน ไม่น่าสนใจ ใช้ภาษาตรงประเดน็ น่าสนใจ และ ใช้ ข้างหนา้ สนใจ แตใ่ ช้ ไม่วกวน ภาษาคอ่ นข้าง ภาษาวกวน ชดั เจน การปฏบิ ัติงาน ประเด็น ระดับคณุ ภาพ การประเมิน 4 321 เนื้อหา -ครอบคลุมองคค์ วามรู้ใน -ครอบคลุมองค์ -ครอบคลุมองค์ -เน้ือหาไม่น่าสนใจ การปลูกข้าว ลาดับใน ความรู้ในการปลกู ความรใู้ นการปลกู ไมเ่ ป็นขั้นตอน การนาเสนอเปน็ ข้ันตอนดี ข้าว ลาดับในการ ขา้ ว ลาดบั ในการ มาก นาเสนอเป็นข้ันตอน นาเสนอเปน็ ดี ขัน้ ตอนนอ้ ย วัสดุอุปกรณ์ - มีวัสดุอุปกรณ์ - มีวัสดุอปุ กรณ์ - มีวัสดุอุปกรณ์ -ไม่มีวสั ดอุ ปุ กรณ์ ประกอบการแสดง ประกอบการแสดง ประกอบการแสดง ประกอบการแสดง นา่ สนใจ/สามารถสอ่ื น่าสนใจ/สามารถส่ือ น่าสนใจ/สามารถ ความหมายไดด้ มี าก ความหมายได้ดี สื่อความหมายได้ น้อย
การแสดง -ทา่ ทางการเคล่อื นไหว -การเคลอื่ นไหว -การเคลอ่ื นไหว -การแสดงบทบาท หรือกรยิ า สมมตุ ไิ ม่นา่ สนใจ บทบาท เปน็ ไปอยา่ งล่นื ไหลให้ หรือกริยา ประกอบเล็กน้อย (0) สมมตุ ิ ผู้ชมมองเหน็ ภาพ สม สมบทบาท (1) ไม่เคยเข้าร่วม การเขา้ ร่วมกิจกรรม กิจกรรมเลย บทบาทดมี าก พอใช้ ละเลยพฤติกรรมน้ัน -เกณฑก์ ารประเมนิ สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม บ่อยครง้ั หรอื มี ละเลยการแสดง (3) (2) พฤตกิ รรมน้ันเปน็ เจตนาท่ีไมจ่ ะปฏิบตั ิ บางคร้ังโดยไม่ได้ นา้ หนกั การเขา้ รว่ ม การเข้ารว่ ม เจตนา กจิ กรรมดีเย่ียม กิจกรรมดี คะแนนเกณฑ์ แบบสังเกต แสดงพฤติกรรม แสดงพฤตกิ รรม พฤตกิ รรม นนั้ เป็นประจาจน นนั้ เปน็ ประจาแต่ เป็นกจิ นิสัย เปน็ บางคร้ังโดย ไมไ่ ด้เจตนา กิจกรรมการเรยี นรสู้ ่ือการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี 1-4 ขั้นนา -ใหน้ กั เรียนบอกเลา่ ถึงประสบการณ์ทเ่ี คยปลูกข้าวทีบ่ ้าน เกี่ยวกบั ข้นั ตอน วิธีการปลกู ขา้ วในแต่ละ ทอ้ งถิน่ ของนักเรยี น ว่าเป็นอย่างไรบ้าง ขน้ั พฒั นาผเู้ รียน 1. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม 3-5 คน ศึกษาค้นคว้า จากใบความรู้ เร่อื ง ขัน้ ตอน วธิ กี ารปลกู ข้าว 2. จัดทารายงาน เร่อื ง วิธีการปลกู ขา้ ว 3. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทน นาเสนอหนา้ ชั้นเรียน เรือ่ ง ข้นั ตอน วิธกี ารปลกู ขา้ วกลุ่มละ 5 นาที ขั้นสรุป -นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ ข้ันตอน วธิ ีการปลูกข้าวในลักษณะต่าง ๆให้เป็นองค์ความรทู้ ี่เป็นไปใน แนวทางเดียวกัน สอื่ การเรียนรู้ - ใบความรเู้ ร่อื ง ขนั้ ตอน วธิ ีการปลูกขา้ ว - แหล่งเรียนรู้ ค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ตและห้องสมดุ กิจกรรมการเรียนรู้ส่ือการเรยี นรู้ ช่ัวโมงท่ี 5-8 ขั้นนา -อธิบายเร่ือง ขน้ั ตอน วิธีการเตรยี มดิน อยา่ งงา่ ย และย่อ และถามความของเข้าใจนกั เรียน ขน้ั พัฒนาผูเ้ รียน 1.จัดกลุ่ม 8-10 คนและรบั ผิดชอบแปลงนาข้าว โดยแบง่ พื้นท่ีรับผดิ ชอบตามความเหมาะสม 2. ทาการอธบิ าย และสาธิต ขน้ั ตอนวิธกี าร การเตรียมพื้นทแี่ ปลงนาขา้ วที่ถูกต้อง
3. นักเรยี นทาการปฏิบัติงาน ตามกลมุ่ รบั ผิดชอบพน้ื ท่แี ปลงนาขา้ ว 4.เลขานุการกลมุ่ ทาการบนั ทึกขัน้ ตอน วธิ ีการ ปฏิบตั ิงาน หลังการร่วมกจิ กรรมของกล่มุ ขน้ั สรุป -ตรวจความเรียบร้อยพน้ื ที่ แปลงนาข้าวและใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ดูแลพื้นที่ทไี่ ดร้ บั ผดิ ชอบ สอื่ การเรยี นรู้ พนื้ ที่แปลงนาข้าวสาธิตไดแ้ ก่ - พืน้ ทีป่ ลูกขา้ ว สวนพอเพยี ง - พ้นื ท่ีปลูกข้าว สวนเกษตรสาธิต - พื้นท่ปี ลกู ขา้ ว นอกนา กจิ กรรมการเรยี นร้สู อ่ื การเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ 9-10 ขนั้ นา - สอบถามความเข้าใจของนักเรียน เรือ่ ง ปัญหาและอุปสรรค ท่ีเกิดขึน้ ในการปฏิบัติงาน ขน้ั พัฒนาผ้เู รียน 1. นกั เรียนในกลมุ่ สง่ ตวั แทน อธบิ ายเปรียบเทียบ ท่ีไดจ้ ากการศึกษา เน้อื หาวชิ าการ กบั การปฏบิ ัติ จริงมคี วามแตกตา่ งกนั อย่างไรบ้าง 2. นักเรยี นจดบันทึกสรุปรายงานในสมุด เกีย่ วกับ ข้ันตอนวธิ กี ารปลกู ข้าว สถานการณป์ ฏิบตั ิจรงิ มา ใหเ้ ข้าใจ 3.มอบหมายหน้าทีก่ ล่มุ ปฏิบัตงิ านในการรับผิดชอบดแู ลนาข้าว อยา่ งตอ่ เนื่อง ขัน้ สรปุ -นักเรยี น สรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกัน ส่ือการเรยี นรู้ - สมุดการจดบันทึกสรปุ รายงาน
บนั ทกึ หลังการสอน หน่วยที่ 3 การปลูกข้าว ดา้ นความรู้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ดา้ นทักษะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ดา้ นคุณลกั ษณะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ปญั หาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางการแกไ้ ข ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงช่อื ......................................
( นายเจรญิ ชัย ศรโี สดา) ………../……………/…………. บันทกึ ความเห็นของผตู้ รวจสอบแผนการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ……………………………….. (……………………………………….) หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ………/………../………. บันทกึ ความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ……………………………… (……………………………………..) รองผู้อานวยการกลุม่ บริหารวชิ าการ ……../…………/………. บนั ทึกขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………. (……………………………………..) ผอู้ านวยการโรงเรยี น
……./……../………… หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 หน่วยท่ี 4 ผลผลิตจากข้าว ชอ่ื วิชา ข้าวและวถิ ไี ทย กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 3 คาบ เวลา 6 ชั่วโมง ผูส้ อน นายเจริญชัย ศรีโสดา โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์31 จังหวดั เชียงใหม่ ผลการเรียนรู้ - นักเรยี นสามารถอภิปรายการแปรรปู จากผลผลติ ข้าวได้ สาระสาคญั - การแปรรปู ขา้ ว -การบรรจภุ ณั ฑ์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นกั เรยี นสามารถบอกข้นั ตอนการแปรรูปขา้ วไดอ้ ย่างถูกต้อง (K) 2.นกั เรยี นสามารถแปรรปู ขา้ วได้อยา่ งถกู ต้อง (P) 3.นกั เรยี นเห็นความสาคัญของการแปรรปู ขา้ ว (A) สาระการเรยี นรู้ ความรู้ - การแปรรปู ขา้ ว - การบรรจภุ ัณฑ์ ทกั ษะ/กระบวนการ - ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการทางาน - มีทักษะการแก้ปัญหา - มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะ -มงุ่ ม่นั ในการทางาน -มจี ิตสาธารณะ การประเมนิ ผลรวบยอด ชนิ้ งาน 1. ผลิตภัณฑแ์ ปรรูปจากขา้ วกลอ้ ง ข้าวข้าว ภาระงาน 1.การปฏิบัตกิ ารแปรรปู ผลผลติ จากข้าวกล้อง ข้าวข้าว การประเมินผล การปฏบิ ัติงาน ประเด็น ระดบั คณุ ภาพ การประเมนิ 4 32 1 เน้อื หา -ครอบคลุมองค์ความรู้ -ครอบคลมุ องค์ -ครอบคลุมองค์ -เน้อื หาไม่นา่ สนใจ ในการแปรรูป ลาดบั ความรู้ในการแปร ความรูใ้ นการแปรรูป ไมเ่ ป็นขั้นตอน ในการนาเสนอเป็น รูป ลาดบั ในการ ลาดบั ในการนาเสนอ ข้นั ตอนดมี าก นาเสนอเป็น เป็นข้ันตอนนอ้ ย ขั้นตอนดี วสั ดอุ ปุ กรณ์ - มวี สั ดุอปุ กรณ์ - มีวสั ดอุ ุปกรณ์ - มีวสั ดุอปุ กรณ์ -ไมม่ วี สั ดุอปุ กรณ์ ประกอบการแสดง ประกอบการ ประกอบการแสดง ประกอบการแสดง น่าสนใจ/สามารถส่ือ แสดงน่าสนใจ/ นา่ สนใจ/สามารถส่อื ความหมายไดด้ ีมาก สามารถสอ่ื ความหมายได้นอ้ ย ความหมายไดด้ ี การแสดง -ทา่ ทางการเคลื่อนไหว -การเคลื่อนไหว -การเคลื่อนไหว -การแสดงบทบาท บทบาท เปน็ ไปอยา่ งลืน่ ไหลให้ หรือกรยิ า หรือกริยา สมมุติไม่น่าสนใจ สมมตุ ิ ผชู้ มมองเห็นภาพ สม สมบทบาท ประกอบเล็กน้อย บทบาทดมี าก -เกณฑก์ ารประเมนิ สังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม (1) (0) (3) (2) น้าหนกั
คะแนนเกณฑ์ การเข้าร่วม การเขา้ ร่วม การเขา้ รว่ มกิจกรรม ไม่เคยเข้าร่วม กิจกรรมดีเยย่ี ม กิจกรรมดี พอใช้ กิจกรรมเลย แบบสังเกต พฤติกรรม แสดงพฤตกิ รรม แสดงพฤตกิ รรม ละเลยการแสดง ละเลยพฤติกรรมนน้ั บ่อยครั้ง หรือมี นน้ั เป็นประจาจน นนั้ เปน็ ประจาแต่ พฤตกิ รรมน้นั เปน็ เป็นกจิ นิสยั เปน็ บางครั้งโดย บางคร้งั โดยไมไ่ ด้ เจตนาท่ีไม่จะปฏบิ ัติ ไม่ไดเ้ จตนา เจตนา กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี 1-2 ขั้นนา -สนทนา และแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับข้าว ว่า “ ข้าว ” สามารถนามาแปรรปู เปน็ อะไรไดบ้ ้าง เป็นคาถามปลายเปิด ขั้นพฒั นาผู้เรยี น 1. ศึกษาคน้ คว้าในห้องสมุด เกย่ี วกับ ขา้ วนามาทาอาหารอะไรได้บา้ ง 2. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกัน นาเสนอจดั รายการอาหารทท่ี าด้วยขา้ วมา กล่มุ ละ 1 อย่าง 3. เขียนข้ันตอน วธิ ีการการแปรรูปอาหารทที่ าด้วยขา้ ว ลงในสมดุ ของนักเรียน 4. มอบหมายหน้าท่นี กั เรียนกลมุ่ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ในช่ัวโมงต่อไป ข้ันสรปุ - นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทีไ่ ด้หาขอ้ มูลโดยการศกึ ษาค้นคว้า เรื่อง การแปรรปู สร้างความเขา้ ใจรว่ มกนั สื่อการเรียนรู้ - แหลง่ เรียนรู้ คน้ คว้าจากอนิ เตอรเ์ นต็ กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่วั โมงที่ 3-4 ขั้นนา - อธบิ าย เกีย่ วกบั การแปรรูปอาหารที่ทาดว้ ยข้าว เพ่อื สร้างความเขา้ ใจอีกครงั้ ในกล่มุ นักเรยี น ขั้นพฒั นาผเู้ รยี น 1. นักเรยี นในกลุ่ม เตรียมอปุ กรณ์ 2. ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่ม ปฏบิ ัตงิ านการแปรรูปอาหารทท่ี าดว้ ยขา้ ว โดยกาหนดกลุ่มละ 1 อย่าง 3.ตรวจผลงาน ขั้นสรปุ -นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ประเมนิ การทางาน สื่อการเรยี นรู้ - อปุ กรณก์ ารการแปรรปู อาหารที่ทาดว้ ยขา้ ว กิจกรรมการเรยี นรู้
ชั่วโมงที่ 5-6 ข้นั นา-นกั เรยี นทบทวนความรูเ้ ร่อื ง การแปรรปู ขั้นพฒั นาผูเ้ รยี น 1. นกั เรียนกลมุ่ สรปุ การปฏบิ ตั ิงาน 2. ส่งสรุปผลการปฏบิ ัตงิ าน เพือ่ ตรวจสอบการทางานทก่ี ลุ่มได้รับมอบหมาย 3. นกั เรยี นเขยี นสรุปขั้นตอน วิธีการ การแปรรูปการแปรรูปอาหารท่ีทาด้วยข้าว ข้ันสรปุ - นักเรยี นทาความเข้าใจ เร่อื ง การแปรรูป บันทกึ หลงั การสอน หนว่ ยท่ี 4 ผลผลิตจากข้าว ดา้ นความรู้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ดา้ นทักษะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ดา้ นคณุ ลักษณะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกไ้ ข ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ...................................... ( นายเจรญิ ชัย ศรโี สดา) ………../……………/…………. บนั ทึกความเหน็ ของผู้ตรวจสอบแผนการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ……………………………….. (……………………………………….) หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ………/………../………. บนั ทกึ ความเหน็ ของผตู้ รวจสอบแผนการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื ……………………………… (……………………………………..) รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ ……../…………/………. บนั ทกึ ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………. (……………………………………..)
ผ้อู านวยการโรงเรยี น ……./……../………… หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 หนว่ ยท่ี 5 ภาษาข้าว ชอื่ วชิ า ข้าวและวถิ ีไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 4 คาบ เวลา 4 ชัว่ โมง ผ้สู อน นายเจรญิ ชัย ศรโี สดา โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ผลการเรียนรู้ -นักเรยี นสามารถรวบรวมภาษาข้าวภมู ิปัญญาไทยได้ สาระสาคัญ - รวบรวมภาษาขา้ วภูมปิ ญั ญาไทย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรยี นบอกความสาคญั ของสภุ าษติ คาสอนที่เกยี่ วกับขา้ วไดถ้ ูกตอ้ ง (K) 2.นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของสภุ าษิตคาสอนท่เี กยี่ วกบั ข้าวได้ถูกต้อง (P) 3.นกั เรียนเห็นถึงความสาคัญของสุภาษิตคาสอนท่ีเกยี่ วกับขา้ ว (A) สาระการเรยี นรู้ ความรู้ - สภุ าษิต/คาสอนเกย่ี วกับขา้ ว - ข้าวกบั ภมู ปิ ญั ญาไทย ทกั ษะ/กระบวนการ - ความสามารถการใชท้ กั ษะชวี ติ
- ความสามารถในการคิด - ทักษะการทางาน คุณลักษณะ - อยู่อย่างพอเพียง - รกั ความเปน็ ไทย - ใฝ่รูใ้ ฝ่เรยี น การประเมนิ ผลรวบยอด ชิน้ งาน 1. รายงาน ภาระงาน 1.การเขียนรายงาน การประเมินผล ระดับคุณภาพ แบบรายงาน 4321 ประเดน็ การ เนือ้ หาถกู ตอ้ ง เน้ือหาถูกต้องแต่ เนอ้ื หาถกู ต้องแตม่ ี เนอ้ื หามคี วาม ประเมิน สมบูรณค์ รบถ้วน ยงั ขาดความ น้อยความสมบูรณ์ ถูกตอ้ งบ้างแตข่ าด 1.ด้านเน้อื หา ตรงประเดน็ สมบูรณต์ รง ตรงประเด็น ความสมบรู ณ์ 2. การนาเสนอ ประเดน็ นาเสนอไดน้ ่าสนใจ นาเสนอค่อนข้าง นาเสนอคอ่ น ไม่น่าสนใจ ใชภ้ าษาตรง นา่ สนใจ และ ใช้ ขา้ งหน้าสนใจ แต่ ใช้ภาษาวกวน ประเด็น ไม่วกวน ภาษาค่อนขา้ ง ชัดเจน -เกณฑก์ ารประเมนิ สังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม (1) (0) การเขา้ รว่ มกจิ กรรม ไม่เคยเข้ารว่ ม (3) (2) กจิ กรรมเลย น้าหนัก การเขา้ ร่วม การเข้ารว่ ม พอใช้ กิจกรรมดีเยย่ี ม กจิ กรรมดี คะแนนเกณฑ์
แบบสงั เกต แสดงพฤตกิ รรม แสดงพฤติกรรม ละเลยการแสดง ละเลยพฤติกรรมนัน้ พฤติกรรม นน้ั เป็นประจาจน นน้ั เปน็ ประจาแต่ พฤตกิ รรมน้นั เป็น บอ่ ยคร้ัง หรือมี บางครัง้ โดยไม่ได้ เปน็ กจิ นิสัย เปน็ บางครัง้ โดย เจตนาท่ีไมจ่ ะปฏิบตั ิ เจตนา ไมไ่ ดเ้ จตนา กจิ กรรมการเรียนรสู้ ่อื การเรยี นรู้ ช่ัวโมงท่ี 1-2 ขน้ั นา -นกั เรียนสนทนาและแสดงความคิดเหน็ เรอ่ื ง คาพังเพย หรือสภุ าษิต/คาสอนเกย่ี วกับข้าว ขน้ั พัฒนาผู้เรียน 1. ให้นกั เรียนแต่ละคน ศกึ ษาคน้ ควา้ ในหอ้ งสมดุ เกี่ยวกับ คาพงั เพย หรือสภุ าษิต/คาสอนเกยี่ ว กับขา้ ว 2. เขยี น จดบันทกึ ลงในสมุด 3. ให้นักเรยี นแต่ละคนนามารายงานหน้าชัน้ ขนั้ สรปุ - นักเรยี น ครู สรา้ งความเข้าใจรว่ มกนั ในเร่ือง เกี่ยวกบั คาพังเพย หรอื สุภาษิต/คาสอนเกี่ยวกบั ข้าว ส่ือการเรยี นรู้ - แหล่งเรยี นรู้ ค้นควา้ จากอินเตอรเ์ นต็ และห้องสมดุ กจิ กรรมการเรยี นรูส้ อ่ื การเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ 3-6 ขั้นนา -สอบถามความเข้าใจในเรอ่ื ง สภุ าษติ /คาสอนเกย่ี วกับขา้ วทเี่ กีย่ วขอ้ งกับวิถีชีวติ ของคนไทยในอดีตจน ถึงปจั จบุ นั ขน้ั พฒั นาผเู้ รยี น 1. ใหน้ กั เรียนรวมกลุ่มกันนาข้อมลู เรอ่ื ง สุภาษิต/คาสอนที่ไดร้ ับผิดชอบมารวมกัน 2. กลมุ่ ทา การจดั บอรด์ ข้อความเกยี่ วกับสุภาษิต/คาสอนเกย่ี วกับข้าวมากล่มุ ละ 1 บอรด์ 3. ส่งตวั แทนนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน ครปู ระเมนิ ผลงาน และการรายงาน 4. ให้แต่ละกกลมุ่ นาผลงานมาติดตรงบรเิ วณหลังห้องเรยี น เพ่ือเป็นแหล่งความร้ตู ่อไป ขน้ั สรุป - นักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นให้เป็นองคค์ วามรูท้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษาคน้ คว้า เพือ่ ใหเ้ กิด ความเขา้ ใจร่วมกนั สื่อการเรยี นรู้ -บอร์ดสภุ าษิต/คาสอนเกี่ยวกับข้าวของกลมุ่ รับผิดชอบ
- แหลง่ เรียนรู้ ค้นควา้ จากอินเตอรเ์ นต็ กระดกู สนั หลงั ของชาติ ส่วนสาคญั ทีส่ ุดของชาติมกั หมายถึงชาวนา กนิ ขา้ วตม้ กระโจมกลาง ทาการโดยไมพ่ จิ ารณาให้รอบคอบ กินข้าวรอ้ นนอนตืน่ สาย มชี ีวิตอยู่อยา่ งสบาย กินน้าตาตา่ งขา้ ว มที กุ ขโ์ ศกมาในชวี ิตตลอดเวลา แกเ่ พราะกนิ ขา้ ว เฒ่าเพราะอยู่ แก่แตไ่ มม่ ีประโยชน์ นาน ข้าวเหลือเกลอื อิม่ บา้ นเมืองทีบ่ รบิ รู ณด์ ว้ ยข้าวปลาอาหาร ขวา้ งขา้ วเม่า ประเพณีโยนมะพรา้ วเข้าไปในทท่ี ่เี ขากาลังตาขา้ วเมา่ อยู่ เพ่ือแลกข้าวเมา่ ไปกนิ บ้าง ขา้ นอกเจา้ ข้าวนอกหม้อ การกระทาหรอื ความประพฤติ นอกเหนือคาสง่ั หรือแบบอย่างขนบธรรมเนยี ม ขา้ วคอยฝน หมายถงึ การรอคอย ข้าวแดงแกงรอ้ น บญุ คณุ ขา้ วผอกกระบอก ของกินเลก็ ๆ น้อยๆ และมกี ระบอกนา้ เล็กๆ กรอกน้าแขวนกิง่ ไม้ที่ทาขึ้นแล้วผกู ไวท้ บี่ นั ได น้า เรอื น ใชใ้ นพธิ ีตรษุ ขา้ วไมม่ ียาง คนท่ไี ด้รับบุญคุณไปแลว้ ไม่นกึ ถึงบุญคณุ เหมือนกับวา่ ขา้ วท่ีกินเขา้ ไปแล้วไมม่ ียางตดิ อยู่ ใหค้ นระลึกถึงบญุ คุณเลย ข้าวบดู ปลาร้า ชีวิตสมรสเมอ่ื นานวันกม็ กั จะเกดิ ความเบ่ือหน่ายซ่ึงกนั และกนั ขา้ วพึ่งนา ปลาพ่งึ น้า การพงึ่ พาอาศยั กนั ขา้ วยากหมากแพง ภาวะขาดแคลนอาหาร, ทุพภิกขภัย อะไรท่ีเป็นของใหม่ก็ถือวา่ ดีคนในสมยั โบราณถือว่า \"ขา้ วใหมป่ ลามัน\" คอื ข้าวท่ีเกบ็ เกย่ี วใน ขา้ วใหม่ปลามัน ครงึ่ ปหี ลัง เป็นข้าวทดี่ กี ว่าขา้ วเก่า และปลาเป็นอาหารคกู่ บั ข้าว \"ปลามนั \" หมายถงึ ปลาใน ฟดุ น้าลดมีมนั มาก รับประทานอร่อย จึงมาผกู เป็นสานวนพังเพยเปรียบเทยี บเช่น สามี ภรรยาท่ีเพงิ่ จะแตง่ งานกนั ใหม่ ๆ ยอ่ มจะอยูใ่ นระหว่างกาลังเสพสุขสมรสมีรสชาติ ข้าวนอกนา บุคคลทไ่ี มไ่ ด้เกดิ ในถิ่นนน้ั ๆ หรอื เป็นบุคคลท่ถี ูกผู้อ่ืนจัดวา่ ไมไ่ ด้เปน็ พวกพอ้ ง ควายขวดิ อยา่ ขวาง อยา่ เขา้ ขวางเหตุการณท์ ี่กาลงั รนุ แรง ความวัวไมท่ ันหาย ความควาย มเี ร่ืองไมร่ จู้ ักจบสิน้ เรอ่ื งน้ียังไมท่ นั เสรจ็ กเ็ กิดเรื่องใหมข่ ้นึ มาอกี เขา้ มาแทรก ควา่ ข้าวเมา่ ล้มคว่าหนา้ เคียวอยูใ่ นท้อง คดโกงไม่มศี ีลธรรม ฆ่าควายอยา่ เสยี ดายพริก ทาการใหญ่ ไม่ควรตระหน่ี
ใบงาน รายวิชา ขา้ วและวถิ ไี ทย ระดับช้ัน ม.1 หน่ายที่ 5 เร่ือง ภาษาขา้ ว ขา้ วกับสานวนสภุ าษิตไทย คนไทยได้สรา้ งบทสรุป จากประสบการณ์ชีวติ ของบรรพชน ถ่ายทอดเป็นภาษา ที่ให้แงค่ ิด มีทงั้ ที่ถ่ายทอดอย่าง ตรงไปตรงมา และ อยา่ งทใี่ ช้กลวิธที างภาษา เล่นคา เลน่ ความ เปรียบเทียบ เพอื่ ให้คดิ ขยายต่อไป เพื่อสั่งสอน ตาหนิ แก้ตวั ออกตวั หรอื เยาะเย้ยเสียดสี ที่เราเรียกกันว่า สานวนภาษติ ท่มี ีท่มี าจากการสังเกตธรรมชาตขิ องขา้ ว และ การทานา ตวั อย่าง เชน่ สภุ าษติ หมายถึง กินข้าวร้อนนอนตนื่ สาย เจา้ ขนุ มลู นาย กนิ ขา้ วต้มกระโจมกลาง ทาอะไรไมพ่ จิ ารณาให้รอบคอบ ตามปกตขิ ้าวตม้ เมอื่ ตักใส่ชาม ไว้ย่อมเยน็ ตามริมก่อน ส่วนตรงกลางกว่าจะเยน็ ก็กนิ เวลานาน ใครไม่พจิ ารณาก็ตัก ตรงกลางกนิ ทาใหข้ า้ วต้มลวกปาก ได้รับความลาบาก ขา้ วนอกหมอ้ หรอื ข้านอกเจา้ ทาหรือประพฤตินอกเหนือคาสัง่ หรือแบบยา่ ง ข้าวนอกหม้อ ขา้ วคอยฝน รอคอยดว้ ยความหวงั คุณขา้ วแดงแกงร้อน บุญคณุ คนทเี่ ตยอุปการะเล้ยี งดกู ันมา ข้าวไม่มยี าง ไม่นกึ ถงึ บุญคณุ ข้าวบดู ปลารา้ ชีวติ สมรสเม่อื นานวันเขา้ กอ็ าจจะเกดิ ความเบือ่ หน่ายขนึ้ ได้ หม้อข้าวไม่ทนั ดา คนทีแ่ ตง่ งานกนั ไมน่ านกม็ เี ร่อื งทะเลาะเบาะแวง้ กนั ขา้ วพึง่ พา ปลาพ่งึ นา้ พ่งึ พาอาศัยกัน ขา้ วยากหมากแพง ภาวะขาดแคลนอาหาร ข้าวเหลือเกลืออิม่ บา้ นเมอื งบริบรู ณด์ ้วยขา้ วปลาอาหาร เข้าอยทู่ ใ่ี ดตอ้ งปรบั ตวั ให้เขา้ กบั ที่นนั้ เจอะมวยดี เจอะผีเผา เจอะขา้ ว ทางานส่งิ ใดทหี ลงั ผู้อืน่ หรอื ช้ากว่าฤดกู าลจะเสยี เปรยี บ กิน ทานาลา่ เป็นขา้ ควาย มีเมยี สาย เป็นขา้ ลกู ทานาออมกล้า ทาปลาออมเกลือ ทาการสงิ่ ใดถ้ากลวั อดเปลอื งยอ่ มไดผ้ ลไม่บริบรู ณ์ เงนิ ทองขา้ วของ คนมง่ั มเี พราะมีสง่ิ ของทจ่ี ัดวา่ เป็นเครอ่ื งบง่ บอกความร่ารวย คอื เงนิ ทอง ขา้ ว และของ
Search