Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฤติยาวดี สังขาว 203

กฤติยาวดี สังขาว 203

Published by poonarak8899, 2021-10-23 11:41:39

Description: กฤติยาวดี สังขาว 203

Search

Read the Text Version

analytical and critical studies of thai literature LITERATURE POINT OF VIEW ABOUT LITERATURE I would like to talk about “Literature “ LET’T START proud to present <3

A คำนำ [ preface ] สมุดบันทึกความรู้ เรื่อง “แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย” นี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของรายวิชาแนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย รหัสวิชา 21541401 มีจุดประสงค์เพื่อบันทึกความรู้ในแต่ละสัปดาห์ ซึ่ งสมุดบันทึกความรู้นี้มีเนื้ อหาเกี่ยวกับแนวทางในการศึกษา วรรณคดีไทย ความรู้สึกในการเรียน ปัญหาและอุปสรรคในการเรียน การประเมินผลการเรียนโดยผู้เรียน กฤติยาวดี สังขาว

สารบัญ B table of content A B คำนำ C สารบัญ 1 ประวัติส่วนตัว 4 ปฐมนิเทศ 10 ความหมายและองค์ประกอบของวรรณคดีไทย 14 ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์วรรณคดีไทย 26 ยุคสมัยของวรรณคดีไทย 31 ขนบวรรณคดีไทย 34 ตัวละครในแบบฉบับวรรณคดีไทย 45 วรรณคดีกับชีวิต 51 บทบาทและคุณค่าของวรรณคดีไทย 58 วิธีการศึกษาวรรณคดีไทย สร้างสรรค์ผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวรรณคดีไทย (นำเสนอความก้าวหน้ า) 60 สร้างสรรค์ผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวรรณคดีไทย (นำเสนอผลงาน) อ้างอิง 67

ประวัติส่วนตัว C get to know me CONTACT ME AND LET'S TALK! HI! I'M E-MAIL CHOMPOO [email protected] PERSONAL DETAIL INSTAGRAM ข้อมูลส่วนตัว @ooh_chompuyyy กฤติยาวดี สังขาว PHONE Name ; Krittiyawadee Sangkhaow Nickname ; Chompoo 090-843-3462 Date of birth ; 26 June 2002 FACEBOOK HOBBY งานอดิเรก Krittiyawadee Sangkhaow ฟังเพลง อ่านนิยาย ถ่ายรูป เล่นโซเชียล EDUCATIONAL BACKGROUND โรงเรียนอนุบาลอังสนา (อ.1-ป.6) โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล (ม.1-ม.6) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร SOFT SKILL ทักษะ Creativity Teamwork ความสามารถพิเศษ INTEREST การถ่ายภาพ การท่องเที่ยว เสียงเพลง Graphic design E การออกแบบชิ้นงาน ท้องฟ้า Photography RES UM

บันทึกการเรียนรู้ 1 สัปดาห์ที่ 1 “ปฐมนิเทศ” orientation MESSAGES now อาจารย์พฤฒิชา นาคะผิว “ข้อตกลงร่วมกัน” ขาดเรียนเกิน 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด ไม่มีสิทธิ์สอบปลายภาค การลาป่วยต้องมีใบรับรองแพทย์ประกอบทุกครั้ง การลากิจควรส่งจดหมายล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน **ยกเว้นกรณีฉุกเฉิน ส่งใบลาภายหลังได้ หากลักลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยไม่อ้างอิงตามหลักวิชาการ ชิ้นงานดังกล่าว จะได้ 0 คะแนน การแต่งกาย แนวทางการลาป่วย-ลากิจ มารยาทในชั้นเรียน การตั้งกลุ่มเฟซบุ๊กรายวิชา อุปกรณ์การเรียน แนวทางการเช็กชื่อ การเข้าชั้นเรียน ผู้ประสานงานรายวิชา [ หากเข้าเรียนสายเกิน 30 นาที โดยไม่มีเหตุจำเป็นถือว่าขาดเรียน ]

2 แนวทางการเรียน-การสอน [ smart(teacher) +smart(student ) ] 2 1 ใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ พูดให้น้อยลง ฟั งให้มากขึ้น ในการเรียน 3 จาก TEACHER เป็น COACH/FACILITATOR 4 เน้น ACTIVE LEARNING 5 HAVE FUN WHILE YOU LEARN LITERATURE 7 กรกฎาคม 2564

3 คอลัมน์จากใจฉัน Column from my heart <3 ความรู้สึกดี ๆ ที่เกิดขึ้น จากคนที่ไม่ชอบในด้านวรรณคดี พอได้มาฟังที่ อาจารย์พูดในวันนี้ ทำให้เปิดใจมากขึ้น อยาก ลองเรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ วันแรกของการเรียนวิชา นี้รู้สึกตื่นเต้นเป็นพิเศษและได้รู้จักเพื่อน ๆ มาก ขึ้นจากการแนะนำตัว :D ปัญหาอุปสรรค ด้วยความที่เป็นการเปิดเทอมอาทิตย์แรก และเป็นคาบแรกที่เรียนวิชานี้ จึงยังไม่มี ปัญหาอุปสรรคใด ๆ มีแต่ความตื่นเต้น กับสิ่งใหม่ ๆ ค่ะ เรื่องที่อยากรู้ต่อ ทำไมเราต้องเรียนเกี่ยวกับวรรณคดี แล้วกว่าจะมาเป็นวรรณคดีได้ มันมีที่มาอย่างไร การนำไปประยุกต์ใช้ จากการที่ได้ฟังอาจารย์พูดถึงการลองเปิดรับ อะไรใหม่ ๆ ทำให้คิดได้ว่าเราไม่ต้องเก่งในสิ่ง นั้นมาก่อนก็ได้ ขอแค่ลองเปิดใจ ค่อย ๆ เรียนรู้ พยายามในแบบที่ตัวเองถนัด ประเมินความตั้งใจของตนเอง เต็ม :4 ไม่หัก

บันทึกการเรียนรู้ 4 สัปดาห์ที่ 2 (14.07.2564) ความหมายและองค์ประกอบ ของวรรณคดี ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง ว ร ร ณ ค ดี ไ ท ย สมุดไทย ; รัชกาลที่ 3 จารึกวัดโพธิ์ ; วัฒนธรรมการพิมพ์ ปลายสมัยรัชกาลที่ 3 (หมอบรัดเลย์ หนังสือพิมพ์เล่มเล็ก) สมัยรัชกาลที่ 5 พิมพ์หนังสือจำหน่าย/จัดทำเป็นหนังสือที่ระลึก ว ร ร ณ ค ดี V S ว ร ร ณ ก ร ร ม สังเกตได้จาก : คุณภาพของหนังสือ รัชกาลที่ 1-6 หนังสือแต่งดี มีคุณภาพ #วรรณคดี รัชกาลที่ 6-ปัจจุบัน หนังสือคุณภาพดีแต่น้อยกว่าในสมัยก่อน #วรรณกรรม : กาลเวลา ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ว ร ร ณ ค ดี วรรณคดี หมายถึง แนวทางแห่งการแต่งหนังสือ วรรณ ; (สันสกฤต) แปลว่า หนังสือ คดี : (บาลี) แปลว่า การดำเนิน วรรณคดี = อกาลิโก (ไม่ขึ้นอยู่กับเวลา) เ ก ณ ฑ์ ก า ร จำ แ น ก ว ร ร ณ ค ดี • ลักษณะการเขียน • จุดมุ่งหมายสำคัญ • ลักษณะเนื้อหา • หลักฐานที่ได้มา useful hint or idea ปัจจุบันวรรณคดีจัดพิมพ์โดยกรมศิลปากร พจนานุกรมฉบับบัณฑิตราชยสถาน : หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี Literature : วรรณกรรณ Classical Literature : วรรณคดี

5 ทำไมเราต้องเรียน วรรณคดีไทย ความแตกต่างของการเรียนวรรณคดีไทย ในสมัยอดีตและสมัยปัจจุบัน การเรียนวรรณคดีไทยในอดีต : วรรณคดีไทยมีบทบาทในชนชั้นสูง วรรณคดี เป็นสื่อในการชี้นำความคิดของประชาชน : ชนชั้นนำจะมีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียน เรียนวรรณคดี เพราะเป็นแบบเรียนและ เป็นตำราประพันธศาสตร์ การเรียนวรรณคดีไทยในปัจจุบัน : เรียนเพราะเป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง เป็นเนื้อหาในหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความซาบซึ้ง และสามารถนำไปพัฒนาจิตใจของผู้เรียน เรียนเพื่อให้เข้าใจถึง สังคมและวัฒนธรรม เข้าใจภาษา เข้าถึงวรรณศิลป์ : เรียนเพื่อเข้าใจชีวิตเพราะวรรณคดีไทยเป็นเครื่องชี้นำทาง ปัญญาและแสดงอัตลักษณ์ของมนุษย์ วรรณคดีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ความสำคัญ ของชาติที่สะท้อนถึงแนวคิด วิถีชีวิต สังคมและวัฒนธรรมของชาติ ของ เป็นสิ่งที่ทำให้เรารับรู้เรื่องราวในอดีต วรรณคดีไทย ผู้ใดได้อ่านจะเกิดความรู้สึกร่วม ประทับใจ เข้าใจโลกและชีวิต

6 ลักษณะเฉพาะของวรรณคดี -แต่งดี มีศิลปะในการเสนอเรื่ อง -มีอารมณ์สะเทือนใจ ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์คล้อยตาม -มีประโยชน์ต่อผู้อ่าน อ้างอิงได้ -ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน ให้บทสอนใจตามสมควร 01 วัตถุประสงค์ของการแต่งวรรณคดี •เพื่อให้ความรู้ •เพื่อแสดงความรู้สึกนึกคิด •เพื่อประโยชน์ด้านบันเทิง 02 องค์ประกอบของวรรณคดี รู ป แ บ บ ร้ อ ย แ ก้ ว ร้ อ ย ก ร อ ง ฯ ล ฯ เ นื้ อ ห า เ นื้ อ เ รื่ อ ง ตั ว ล ะ ค ร ฉ า ก เ ว ล า แ น ว คิ ด ภาษา คำ ป ร ะ โ ย ค แ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย ก ล วิ ธี ใ น ก า ร เ ขี ย น

7 ร้อยแก้ว งานเขียนที่เป็นความเรียงธรรมดา ไม่มีการบังคับฉันทลักษณ์ เช่น นิยาย นิทาน ร้อยกรอง งานเขียนที่บังคับรูปแบบฉันทลักษณ์ อาจเรียกว่า กวีนิพนธ์หรือคำประพันธ์ จำแนกตามลักษณะการเขียน เกณฑ์การจำแนกวรรณคดี จำแนกตามจุดมุ่งหมายสำคัญ วรรณคดีบริสุทธิ์ มุ่งให้เกิดสุนทรียภาพทางอารมณ์ให้รู้สึกเพลิดเพลิน วรรณคดีประยุกต์ มุ่งในการนำไปใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง

8 เกณฑ์จำแนกวรรณคดีไทย จำแนกตามลักษณะเนื้อหา Click Click วรรณคดี พุทธศาสนา วรรณคดี คำสอน ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ พิ ธี ก ร ร ม ว ร ร ณ ค ดี ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ว ร ร ณ ค ดี แ ส ด ง อ า ร ม ณ์ ว ร ร ณ ค ดี เ พื่ อ ค ว า ม บั น เ ทิ ง เกณฑ์จำแนกวรรณคดีไทย จำแนกตามหลักฐานที่ได้มา Click Click วรรณคดี ลายลักษณ์ วรรณคดีที่เขียนไว้เป็ น วรรณคดี หลักฐาน จารึกไว้ในใบลาน มุขปาฐะ สมุดข่อย ศิลา ฯลฯ วรรณคดีที่ไม่ได้บันทึก เป็ นหลักฐาน แต่จำสืบต่อกันมา เล่าปากต่อปาก

9 HAVE A CUTE DAE <3 ค อ ลั ม น์ จ า ก ใ จ ฉั น ความรู้สึกดี ๆ ที่เกิดขึ้น ปัญหาอุปสรรค ในสัปดาห์นี้ได้ความรู้เกี่ยวกับ ในการทำงานกลุ่มที่อาจารย์แบ่งให้ใน วรรณคดีมากขึ้น รู้ว่าเราต้อง zoom ครั้งแรกเกิดข้อผิดพลาด เรียนวรรณคดีไปเพื่ออะไร และ เล็กน้อย ตอนแรกกดแก้ไขเอกสารไม่ การจำแนกวรรณคดีสามารถ ได้จึงไม่สามารถทำงานได้ แต่พอผ่าน จำแนกได้หลายวิธี ความรู้ที่ได้ ไปสักพักก็สามารถสร้างผลงานได้ตาม รับในวันนี้สามารถนำไป ปกติและการพูดคุยกันในการทำงาน ต่อยอดในอนาคตได้ค่ะ กับเพื่อน ๆ ยังติดขัดเพราะแต่ละคน ยังไม่คุ้นชินกัน เกิดการเขินอาย จึงไม่ค่อยเปิ ดกล้อง เปิ ดไมค์คุยกัน เรื่องที่อยากรู้ต่อ การนำไปประยุกต์ใช้ วรรณคดีหากขาด หากมีผู้สงสัยสามารถตอบได้ องค์ประกอบใด ว่าวรรณคดีและวรรณกรรม องค์ประกอบหนึ่ ง แตกต่างกันอย่างไร ยังจะได้รับการยกย่อง วรรณคดีมีเกณฑ์การจำแนก เหมือนเดิมหรือไม่ หลายประเภทแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับว่าผู้ถามอยากรู้ใน เรื่ องใด ประเมินความตั้งใจของตนเอง 3/4 หักไป 1 เพราะรู้สึกง่วงนอนในขณะที่เรียน

10 บันทึกการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 3 (21.07.2564) ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ว ร ร ณ ค ดี ไ ท ย สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม อิทธิพลตำนานและ นิทานพื้ นบ้าน อิทธิพลวรรณกรรม ต่างประเทศ (ตะวันออก+ตะวันตก) ผู้สร้างสรรค์วรรณคดี

11 สรุปองค์ความรู้ ปัจจัยที่ 1 ; สังคมและวัฒนธรรม - พุ ทธศาสนาและความเชื่อทำให้กวีไทย สร้างสรรค์วรรณคดีเพื่อเป็นพุ ทธบูชา - วัฒนธรรมอันดีงามทำให้กวีภูมิใจ จนนำไปแต่งเป็นวรรณคดี ทั้งด้านเศรษฐกิจและการเมือง - วรรณกรรมพื้นบ้านมีเรื่องราวที่ลึกซึ้ง ตำนานการตั้งถิ่นฐานของคนไทยโบราณ น่าอัศจรรย์ใจ กวีติดใจจึงนำเนื้อเรื่อง มาแต่งใหม่ ปัจจัยที่ 2 ; ตำนานและนิทานพื้ นบ้าน

12 ปัจจัยที่ 3 ; วรรณกรรมต่างประเทศ • ตะวั นออก วรรณกรรมอินเดีย เปอร์เซีย ชวา จีน และ มอญ ไทยนิยมรับเรื่องนิทานมาดัดแปลง • ตะวันตก เริ่มรับอิทธิพลในสมัยร.5 (มีการปฏิรูปการเมืองและสังคมครั้งสำคัญ) ทำให้กวีสร้างสรรค์งานร้อยแก้วมากขึ้น เกิดวรรณคดีประเภทเรื่องสั้น นวนิยาย และบทละครพู ด <3 ปัจจัยที่สำคัญที่สุด กวีนำประสบการณ์ที่ประทับใจมานิพนธ์เป็น วรรณคดี ปรุงแต่งด้วยภาษา ลักษณะนิสัย และยุคสมัย ของกวี ปัจจัยที่ 4 ; แรงบันดาลใจของกวี

คอลัมน์จาก 13 ใจฉัน COLUMN FROM MY HEART ความรู้สึกดี ๆ ที่เกิดขึ้น ตื่นเต้นในตอนที่อาจารย์แบ่งกลุ่มให้ใน zoom และสิ่งที่ประทับใจมาก ๆ คือกิจกรรมการเช็กชื่อก่อนเรียน เหมือนเป็นการได้ทบทวนตัวเอง ว่าช่วงนี้เป็นอย่างไรบ้าง ถ้ารู้สึกไม่ดีเราจะมีการให้กำลังใจตัวเองอย่างไร ถ้าคนรอบข้างเรารู้สึกแย่ เราอยากบอกอะไรกับเขาไหม และปิดท้ายด้วยข้อคิดและกำลังใจดี ๆ ได้อ่านแล้วรู้สึกใจฟูมาก ๆ ค่ะ ชอบกิจกรรมแบบนี้ที่อาจารย์ให้ทำมาก ๆ <3 ปัญหาอุปสรรค เกิดปัญหาการเล่นเกมใน Kahoot จึงต้องรอเล่นใน สัปดาห์หน้ า การทำงานกลุ่มตกแต่งชิ้นงานไม่ทัน แต่หวังไว้ว่าอยากให้ผลงานออกมาดูดีกว่านี้ค่ะ ;-; เรื่องที่อยากรู้ต่อ ต้องมีแรงบันดาลใจหรือใจรักขนาดไหนจึงจะ สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้เหมือน กวีหลาย ๆ ท่าน การนำไปประยุกต์ใช้ นำแบบอย่างของกวีมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การนำ ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาสร้างสรรค์ผลงานที่เรา สนใจ การหาแรงบันดาลใจให้ตัวเองในการทำอะไรสักอย่าง ประเมินความตั้งใจของตนเอง

14 บันทึกการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 5 (04.08.2564) #ยุคสมัยของวรรณคดีไทย Period of Thai literature next page.

15 acquire knowledge วรรณคดีไทยที่เกิดจากความเชื่อพุทธศาสนาของกวี • ลิลิตพระลอ •รามเกียรติ์ •ขุนช้างขุนแผน ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วรรณคดีเรื่อง “นิราศภูเขาทอง” •ขนบธรรมเนียมต่าง ๆ วรรณคดีที่ได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมพื้นบ้าน •ลิลิตพระลอ นิทานเวตาลได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมชนชาติ •อินเดีย โคลงโลกนิติมีที่มาจากวรรณกรรมประเภท •นีติหรือคติธรรมในการดำเนินชีวิต ละครดึกดำบรรพ์ของไทยมีที่มาจาก •วรรณกรรมตะวันตก ละครโอเปร่า บทละคร “รามเกียรติ์” ได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรม •มหากาพย์รามายณะ ”ราชาธิราช” มีเค้าเรื่องมาจากวรรณกรรมของชนชาติ •มอญ ตัวอย่างที่แสดงว่าผู้สร้างสรรค์วรรณคดีเป็นปัจจัย สำคัญในการแต่งวรรณคดี •ร.6 ทรงเชี่ยวชาญภารตวิทยาจึงทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง รามเกียรติ์ตามฉบับสันสกฤต

16 ทบทวนความรู้เรื่อง “ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย” ผู้ประดิษฐ์ลายสือไทย ; พ่อขุนรามคำแหง การปกครองสมัยสุโขทัย ; พ่อปกครองลูก ยุคสมัยที่มีระยะเวลายาวนานที่สุด ; อยุธยา ยุครุ่งอรุณแห่งความสุข ; สุโขทัย สยามส่งราชทูตไปฝรั่งเศสครั้งแรก ; สมัย อยุธยาตอนกลาง สยามเป็นเมืองขึ้นของพม่า ; สมัยอยุธยา พระเจ้าตากสินมหาราชเป็นกษัตริย์ ; ยุค ธนบุรี สยามรับอิทธิพลจากตะวันตกชัดเจน ; สมัยรัชกาลที่ 5 ไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบ ประชาธิปไตย ; สมัยรัชกาลที่ 7 กอบกู้เอกราชจากพม่า (เสียกรุงครั้งที่ 2) ; สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

17 ป ร ะ วั ติ ว ร ร ณ ค ดี ACTIVITY <3 วรรณคดี วรรณคดี สุโขทัย รัตนโกสินทร์ -ศิลาจารึกหลักที่ 1 (ร.1-ร.4) -สุภาษิตพระร่วง -ไตรภูมิพระร่วง -บทละครเรื่อง สังข์ทอง วรรณคดี -พระอภัยมณี อยุธยา -บทเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน -กาพย์ห่อโคลง -โคลงโลกนิติ ประพาส -นิราศภูเขาทอง -กาพย์เรื่องพระ ธารทองแดง ไชยสุริยา -ราชาธิราช วรรณคดี -บทละครเรื่อง รัตนโกสินทร์ อิเหนา -สามก๊ก (ร.5-ร.6) -ลิลิตตะเลงพ่ าย -บทละค รเรื่อง -นิราศนรินทร์ เงาะป่า -นิทานทองอิน -บทละครเรื่อง พระร่วง -สามัคคีเภท คำฉันท์ -หัวใจชายหนุ่ม

18 ว ร ร ณ ก ร ร ม ส มั ย สุ โ ข ทั ย 01 ไตรภูมิกถา หรือ ไตรภูมิพระร่วง 02 สุภาษิตพระร่วง 03 นางนพมาศ หรือ ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์

19 วรรณกรรม สมัยอยุธยา สมัยอยุ ธยาตอนต้ น ลิลิตโองการแช่น้ำ กาพย์มหาชาติ มหาชาติคำหลวง ลิลิตพระลอ ลิลิตยวนพ่าย

20 สมัยอยุธยาตอนกลาง ______โค_ล_ง_น_ิร_า_ศ _ห_ริภ_ุญ__ชั_ย___ _______ส_มุ_ท_ร_โฆ_ษ_ค_ำ_ฉั_น_ท์____ _________โค_ล_ง_ภ_า_ษิ_ต______ ________เส_ือ_โ_ค_ค _ำฉ_ัน_ท_์_____ พระราชพง_ศ_า_ว_ดา_ร_ก_รุ_ง_เก่_า_(ฉ_บ_ั_บ_ห_ลว_ง_ป_ร_ะ_เสริฐอักษรนิตย์) _________จ_ิน_ด_า_ม_ณ_ี ______ ____โ_ค_ล_งก_ำ_ส_ร_วล_ศ_ร_ีป_ร_า_ช_ญ์___ _______อ_นิ_รุ_ท_ธ_ค_ำฉ_ัน_ท_์_____ ______โค_ล_ง_อั_ก_ษ_ร_ส_าม_ห_ม_ู่____ โคลงเฉ_ลิ_ม_พ_ร_ะเ_กี_ย_รต_ิส_ม_เ_ด็_จ_พ_ร_ะน_า_ร_า_ย_ณ์มหาราช _______ก_า_พ_ย์_ห่_อ_โค_ล_ง______ ______โ_ค_ล_งท_ว_า_ท_ศ_ม_า_ส_____ _____________________คำฉันท์ดุษฎีสังเวย คำฉันท์กล่อมช้าง คำฉันท์คชกรรมประยูร _____ร_า_ชา_พ_ิล_า_ป_ค_ำ_ฉั_น_ท์_____ ______นิ_รา_ศ_น_ค_ร_ส_ว_รร_ค_์ _____

21 สมัยอยุธยาตอนปลาย คำฉันท์สรรเสริญพระเกียรติสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงปราสาททอง โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ จินดามณี ฉบับพระ เจ้าอยู่หัวบรมโกศ โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย นันโทปนันทสูตรคำหลวง พระมาลัยคำหลวง บทเห่เรือ บทเห่เรื่องกากี บทเห่สังวาส และบทเห่ครวญ กาพย์ห่อโคลงนิราศธารทองแดง กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก เพลงยาว พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ บุณโณวาทคำฉันท์ โคลงนิราศพระพุทธบาท ศิริวิบุลกิตติ์ บทละครครั้งกรุงเก่า เรื่อง มโนราห์ และเรื่องสังข์ทอง

ว ร ร ณ ก ร ร ม ส มั ย ธ น บุ รี 22 บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ลิลิตเพชรมงกุฎ อิเหนาคำฉันท์ โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน นิทานเรื่อง ปาจิตกุมาร กลอน อ่าน นิทานสุภาษิตเรื่อง พระโพธิสัตว์โกสามพิณ Time to lea literatur

23 รัชกาลที่ 1 ; หมวดศาสนจักร คัมภีร์มหาวงศ์ พงศาวดารลังกา ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา สังคีติยวงศ์ ชินกาลมาลีปกรณ์ ; หมวดอาณาจักร ; หมวดบันเทิงคดี วรรัรตณนกโกร สรินมทสรม์ัย สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ( ร.1-ร.3 ) รามเกียรติ์ อิเหนา สามก๊ก กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ขุนช้างขุนแผน นิราศนรินทร์ ลิลิตตะเลงพ่าย โคลงโลกนิติ

24 รัตนโกสินทร์ตอนกลาง ( ร.4-ร.6 ) พระราชพิธีสิบสองเดือน ไกลบ้าน เงาะป่า ความพยาบาท มัทนะพาธา เวนิสวาณิช สกุนตลา นิทานเวตาล กามนิต วรรณกรรมสมัยรัชกาลที่ 7 - ปัจจุบัน ความผิดครั้งแรก ละครแห่งชีวิต ข้างหลังภาพ เมืองนิมิต แผ่นดินของเรา คนบนต้นไม้ วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์

คอลัมน์จากใจฉัน มรู้สึ ก ดี ๆ ที่เ กิด 25 ควา ช้ วันนี้ได้เล่นเกมใน “ Kahoot “ สนุกมาก ๆ เลยค่ะ รู้สึกตื่นเต้นตลอดเวลา กดเลือกคำตอบแทบไม่ทัน ;-: ขึ้ น ตื่นเต้นในการเล่นเกมจนสติหลุด ก ทำให้บางข้อกดเลือกผิด = อดได้คะแนน ;/ ปัญหาอุปสรรค ด้วยความที่ไม่ถนัดประวัติศาสตร์ ทำให้ไม่ชอบเรียนในด้านนี้ เวลาเรียนจึงง่วงและงงค่ะ สามารถตามไปอ่านวรรณกรรมในสมัยต่าง ๆ ที่เราไม่เคยอ่านและเราสนใจ หลังจากได้ศึกษาเพิ่มเติมแล้ว นำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน า ร นำ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ เรืท่อำไงมอด่ทึีไย่องด่อ่้าดารยงูันบดาไรกกควราวูร้รตา่รยมอณกส*ย?นก่อใรจงรขมจอึทีงง่ จผูะ้ ประเมินความตั้งใจของตนเอง

26 บันทึกการเรียนรู้ การศึกษาขนบวรรณคดีไทย ! สัปดาห์ที่ 6 (11.08.2564)

27 การศึกษาขนบวรรณคดีไทย ขนบ หมายถึง น. แบบอย่าง แผน ระเบียบ ขนบทางวรรณคดีไทย = จารีตนิยมทางวรรณคดีไทย จารีตนิยม คือ วิธีการแสดงออกต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน ในการประพันธ์วรรณคดี ลักษณะจารีตนิยมทางวรรณคดีไทย ; แบบแผนทางฉันทลักษณ์ ; คำประณามพจน์และการลงท้าย ; แบบฉบับของตัวเอก ; ความเปรียบในเชิงต่าง ๆ ; บทพรรณนา

28 ขนบวรรณคดีไทย บทพรรณนาธรรมชาติ มุ่งพรรณนาให้ผู้อ่านเห็นภาพธรรมชาติที่ น่ารื่นรมย์ กวีเอ่ยชื่อสิ่งธรรมชาติและ อากัปกิริยาความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ให้มี ชีวิตชีวา บทอัศจรรย์ คำบรรยายความรู้สึกขณะร่วมเพศด้วยความ เปรียบเทียบ โดยใช้ประสบการณ์และความคิด ของกวี บทชมโฉม การกล่าวชมความงามของตัวละครในเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นตัวละครที่เป็นอมนุษย์ มนุษย์ หรือสัตว์ บทพรรณนาขบวนทัพ กล่าวถึงความยิ่งใหญ่เกรียงไกรของขบวนทัพ และความมีอำนาจของจอมทัพ บทพรรณนา เน้นความสำคัญของเหตุการณ์ให้เด่นชัดขึ้น บทสระสรงทรงเครื่อง บทพรรณนาการอาบน้ำแต่งกายของตัวละคร มักพบในการแสดงโดยเฉพาะละครใน

29 ประโยชน์ของการศึกษา ขนบการสร้างบทพรรณา ในวรรณคดีไทย 01 เข้าใจลักษณะสำคัญของ วรรณคดีไทย ; สีสันวรรณคดีไทย 02 เข้าใจแนวคิดการสร้างสรรค์งาน ข อ ง ก วี แ ต่ ล ะ ยุ ค ส มั ย 03 แสดงให้เห็นอัจฉริยภาพทางภาษา ข อ ง ก วี ไ ท ย 04 มีประโยชน์ต่อการวิจักษ์ วิจารณ์ วิ จั ย ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม

30 ได้ทำงานกลุ่มกับเพื่อน ตกแต่งสไลด์ไม่ทัน คนใหม่ ๆ รู้สึกสนุก ทำให้ผลงานอ่านยาก และตื่นเต้นมากค่ะ งานที่ได้รับมอบหมาย ความน่าสนใจน้อย ก็น่าสนใจมาก ๆ (บทอัศจรรย์) ปั ญ ห า อุ ป ส ร ร ค ความรู้สึกดี ๆ ที่เกิดขึ้น ถ้าไม่มีขนบ สามารถนำไปวิเคราะห์ได้ว่า วรรณคดี วรรณคดีเรื่องนั้น ๆ จะเกิดขึ้นได้หรือไม่ ? มีขนบวรรณคดีไทยแบบใด เ รื่ อ ง ที่ อ ย า ก รู้ ต่ อ การนำไปประยุกต์ใช้

31 สัปดาห์ที่ 7 บันทึกการเรียนรู้ 18.08.2564 นางเอกในแบบฉบับวรรณคดีไทย ; ต้องมีลักษณะเด่นตามแบบอุดมคติในด้านต่าง ๆ - รูปโฉม งดงาม เช่น นางสีดา นางมัทรี - ลักษณะนิสัย รักเดียว อยู่ในกรอบจารีตประเพณี แม่ศรีเรือน เช่น นางสีดา นางมัทรี นางบุษบา - เป็นผู้ถูกกระทำมากกว่าเป็นผู้กระทำ เช่น ทศกัณฐ์ลักพาตัวนางสีดา ขุนช้างข่มขืนวันทอง ท้าวสามนต์ขับไล่นางรจนา พระเอกในแบบฉบับวรรณคดีไทย ; ต้องมีลักษณะเด่นตามแบบอุดมคติในด้านต่างๆ - รูปโฉม งดงาม เช่น พระลอ ขุนแผน - ลักษณะนิสัย รักเดียว/เจ้าชู้ มีความรู้ความสามารถ กล้าหาญ มีความเป็นผู้นำ เช่น พระราม หนุมาน เจ้าชายสุทกุมาร - เป็นผู้กระทำมากกว่าเป็นผู้ถูกกระทำ เช่น หนุมาน พระสังข์

32 #ตัวละครฝ่ายปฏิปักษ์ในวรรณคดีไทย ตัวละครที่มีนิสัยชั่วร้าย สร้างความขัดแย้ง เหตุเกิดจากเรื่อง ความรัก/ความเกลียด/ความหลง โดยใช้เวทมนตร์และกำลัง ทำให้ตัวเอกต้องเดือดร้อน #นางเอกนอกขนบในวรรณคดีไทย ตัวละครหญิงที่มีลักษณะเด่นไม่เป็นไปตามแบบอุดมคติ - รูปสมบัติ ; รูปร่างหน้าตาอัปลักษณ์ เช่น นางผีเสื้อสมุทร นางยักษ์พันธุรัต นางจระเข้วิมาลา - คุณสมบัติ ; หญิงหลายใจ คบชู้สู่ชาย มีความรู้ มีความกล้าหาญ เป็นผู้นำ เช่น นางวาลี นางกากี นางโมรา - เป็นฝ่ายกระทำมากกว่าถูกกระทำ เช่น พระเพื่อนพระแพงพึ่งพาอำนาจคุณไสย เพื่อดลใจให้พระลอเดินทางมาหา พระเอกนอกขนบในวรรณคดีไทย ตัวละครชายที่มีลักษณะเด่นไม่เป็นไปตามแบบอุดมคติ - รูปสมบัติ ; รูปร่างหน้าตาอัปลักษณ์ เช่น ขุนช้าง - คุณสมบัติ ; ไม่มีความรู้ความสามารถ ขี้ขลาด ไม่มีความ เป็นผู้นำ เช่น พระปิ่นทอง - เป็นฝ่ายถูกกระทำมากกว่าเป็นฝ่ายกระทำ

คอลัมน์จากใจฉัน 33 ความรู้สึกดี ๆ ที่เกิดขึ้น now ได้คะแนนการนำเสนอ9/10 ดีใจมาก ๆ เลยค่ะ เพื่อน ๆ ในกลุ่มตั้งใจกันมาก ๆ และช่วยกันทำงาน นำเสนอชิ้นนี้ให้ออกมาดีที่สุด ปัญหาอุปสรรค now ในการหาข้อมูลมาทำงานนำเสนอค่อนข้างหายากค่ะ เพราะพระเอกในแบบฉบับวรรณคดีไทยที่ตรงตาม อุดมคติมีน้อย ส่วนมากใน1ตัวละครจะมีทั้งดีและชั่ว เรื่องที่อยากรู้ต่อ now จะทำอย่างไรให้สังคมสมัยใหม่ไม่ยึดติดกับความ “ปิตาธิปไตย” การนำไประยุกต์ใช้ now นำแบบอย่างที่ดีในด้านลักษณะนิสัยของตัวละครมา ปฏิบัตตาม ส่วนลักษณะนิสัยที่ไม่ดีให้เรียนรู้ไว้แต่ไม่ นำมาปฏิบัติ ประเมินความตั้งใจของตนเอง 18/08/64 Wednesday

34 สัปดาห์ที่ 9 บันทึกการเรียนรู้ *วรรณคดีกับชีวิต* 01.09.2564 รามเกียรติ์ไม่ใช่เรื่องไกลตัว รามเกียรติ์ในวิถีไทย (อดีต) • สำนวนและภาษา • คติชนวิทยา • ศิลปะแขนงต่างๆ

35 รามเกียรติ์ในวิถีไทย (ปัจจุ บัน) งานออกแบบของฝากเอกลักษณ์ไทย ของใช้เอกลักษณ์ไทย เอกลักษณ์ของประเทศไทย รามเกียรติ์กับหน่วยงานราชการไทย ร า ม เ กี ย ร ติ์ กั บ ส ถ า บั น ก ษั ต ริย์ ไ ท ย รามเกียรติ์กับสื่ อสมัยใหม่

สรุป 36 ทำไมรามเกียรติ์ ยังเป็นมรดกวรรณคดีที่ยังมีชีวิต มรดกวรรณคดี ตัวเรื่ อง ตัวบท รู ป แ บ บ ศิ ล ป ะ ที่ ถ่ า ย ท อ ด วรรณคดีเรื่ องนี้มาแต่ โบราณ ยังคงได้รับการ สื บ ท อ ด แ ล ะ ต ก ท อ ด ม า จ น ถึ ง ปัจจุ บัน ยังคงอยู่ในการรับรู้ ของคนยุ คนี้ ม ร ด ก ว ร ร ณ ค ดี ที่ มี ชี วิ ต ; วรรณคดีเรื่องนี้ไม่ได้ดำรงอยู่อย่าง เฉย ๆ แบบไร้ชีวิต แต่ว่าตกทอดมาแล้ว เป็นที่สนใจของผู้คน จนมีการนำมา ดัดแปลง พลิกแพลง ตีความ นำเสนอใน ลักษณะต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นมุมมอง อารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้คนที่มีต่อ ว ร ร ณ ค ดี เ รื่ อ ง นี้ •รามเกียรติ์มีการเปลี่ยนแปลง มีการถูก กล่าวถึง นำไปปรับใช้ จึงทำให้เรื่องนี้เป็น ว ร ร ณ ค ดี ที่ ยั ง มี ชี วิ ต

37 ค อ ลั ม น์ จ า ก ใ จ ฉั น ความรู้สึกดี ๆ ที่เกิดขึ้น คมำไกถาดา้การรัมบเๆรสีั1ยปค่นดะโบคาทนหาำ์ับกสใ่หนอจี้้มตานีกคาๆมกวาไาแปมรลถดสุ้้วาวขดมยใีนใจ ยัใวงน่ามรมีนีเะชหอรหืี่วอกมวิ่ตงจดางไาคกปหกทัีาวญ่นเ่เบารรทื่ีีจหนอ่ยีเ้ะาไงปนคปอ็ิุรนพดปแาวอยสมลร้อารวเรยกกรคีณ่ายคกะ็มรคคืคตดิอิ์ีดแที่ตลย้ัาวงม เไรด้ารสับาเปคม็เนวารืร่าวอมถรงไสนรดทำีณ้น่ดอว้ใควรจยยรด/าีถณวกทูิี่กธรยีูคั้ใลตงืดด่มีมอทีี่ชมไีมวาิ่ตทค่ำอใยห้ ประเมินความ ว่วสารเาปรม็ณนการวาคถรรดรนีนเำณำรื่ไไอปคปงปดวิีใเรทดีค่ะยทยีรัุ่งเากรมะีตียห์ช์ใีกไวชดิ้ไ้ตดว่้า ตั้งใจของตนเอง

38 สั ป ด า ห์ ที่ 1 0 บั น ทึ ก ก า ร เ รี ย น รู้ ว ร ร ณ ค ดี กั บ ชี วิต 08.09.2564

39 ว ร ร ณ ค ดี ไ ท ย ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ ง ไ ก ล ตั ว ตอน สัตวป่า ในหิมพานต์ ป่าหิมพานต์ หรือ จำแนกออกเป็น 3 หมู่ หิมวันต์ เป็นป่าใน วรรณคดีและความเชื่อ • สัตว์ทวิบาท ในเรื่องไตรภูมิตาม • สัตว์จตุบาท คติศาสนาพุทธและฮินดู • จำพวกปลา • ไตรภูมิพระร่วงมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย • ในป่าหิมพานต์เต็มไปด้วยสัตว์นานา ชนิดซึ่งล้วนแปลกประหลาดต่างจากสัตว์ ที่มนุษย์ทั่วไปรู้จัก • ป่าหิมพานต์ตั้งอยู่บนเชิงเขาพระสุเมรุ เป็นสัตว์หลายอย่าง สัตว์ในป่าหิมพานต์ ผสมกันแล้วตั้งชื่อขึ้น ปัจจุบัน ใหม่ เช่น มีการนำมาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ไกรสรจำแลง ดังนี้ ; มีหัวเป็นมังกร ร่างเป็นราชสีห์ • ภาพยนตร์/ละคร คชสีห์ • ศิลปะแขนงต่าง ๆ ; เป็นสิงห์ผสม มีช่วงหัวเป็นช้าง เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ไกรสรคาวี • หนังสือการ์ตูน/นิยาย ; ผสมระหว่างสิงโตและวัว จิตรกรบาง ท่านก็วาดให้มีหางเหมือนม้า

วรรณคดีมีชีวิต 40 ”ขุนช้างขุนแผน” ใ น วิ ถี ไ ท ย ปั จ จุ บั น ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ขุนช้างขุนแผน เป็นวรรณคดีที่มีเค้ามาจากเรื่องจริงในสมัยอยุธยา พัฒนาจากนิทานพื้นบ้านมาเป็นวรรณ คดีราชสำนักตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 มีการพิมพ์เผยแพร่ครั้ง แรกสมัยรัชกาลที่ 5 ต่อมา พ.ศ.2560 กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ทรงชำระวรรณคดีเรื่องนี้ โดยมีการตัด เติม แล ะแต่งใหม่บางส่วน เรียกว่าเป็นเสภาเรื่องขุนช้างขุน แผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ซึ่งเป็นฉบับแบบแ ผนมาจนทุกวันนี้ ศิ ลปะร่วมสมัย หมายถึง งานศิลปะที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน มี 4 ประเภท ได้แก่ การแต่งกาย ผลิตภัณฑ์ จิตรกรรมฝาผนัง ความเชื่อ (เครื่องราง) การปกครอง รัฐศาสตร์คือการเมืองการปกครอง ขุนช้างขุนแผนก็คือการเมืองการปกครองของไทย ลักษณะเด่นของการเมืองการปกครองของไทยตั้งแต่โบราณคือ “ความจงรักภักดี” ความจงรักภักดีของตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผนใช้เป็นเยี่ยงอย่างสำหรับข้าราชการ และคนอ่านโดยทั่วไป ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร ยกตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ สุพรรณบุรี ห้องวรรณกรรมเมืองสุพรรณจัด แสดงเรื่องราวสำคัญที่เกี่ยวกับเมืองสุพรรณบุรี ได้แก่ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ที่ได้รับการ ยกย่องจากวรรณคดีสโมสรให้เป็นเลิศประเภทกลอนเสภาห้องวรรณกรรมเมืองสุพรรณ สื่ อสมัยใหม่ ภาพยนตร์ เช่น ขุนแผนฟ้าฟื้ น วันทอง 2021 ละคร เช่น ละครเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน เพลง เช่น เพลงขุนช้างฮ้างฮัก เพลงสองใจ และเพลงน้ำตาขุนแผน การ์ตูน เช่น การ์ตูนเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา สำ น ว น นางวันทองสองใจ หมายถึง หญิงที่มีจิตใจโลเลมากรัก

วรรณคดีไทยใน 41 The Mask วรรณคดีไทย “THE MASK วรรณคดีไทย” เป็นรายการโทรทัศน์ประเภท REALITY MUSIC SHOW ซึ่งการแข่งขันจะมีการผสมผสานอัตลักษณ์ความเป็นไทยเข้าไปด้วย โดยเฉพาะหน้ากากซึ่งได้รับแรงบันดาลใจ มาจากตัวละครในวรรณคดีไทยหลาย ๆ เรื่อง หน้ากากมัจฉานุ หน้ากากชาละวัน ตัวละครจากเรื่อง รามเกียรติ์ ตัวละครจากเรื่อง ไกรทอง มัจฉานุเป็นลิง ผิวกายสีขาว ชาละวันเป็นจระเข้ อาศัยอยู่ใน ถ้ำทองใต้บาดาล ขณะอยู่ในถ้ำ มีหางเป็นปลา เป็นลูกของ จะกลายร่างเป็นคนที่มีรูปงาม หนุมานและนางสุพรรณมัจฉา ได้ และมีเมียสาว 2 ตัว คือ เป็นบุตรบุญธรรมของไมยราพ วิมาลา และเลื่อมลายวรรณ หน้ากากม้านิลมังกร หน้ากากเวตาล ตัวละครจากเรื่อง พระอภัยมณี ตัวละครจากนิทานเรื่อง เวตาล เป็นสัตว์ดุร้าย เวตาลมีรูปร่างหน้าตา เกิดจากม้า (แม่)กับมังกร (พ่ อ) อัปลักษณ์ เช่น ตากลมและ ม้านิลมังกรเป็นสัตว์พาหนะของ ถลน แก้มตอบ ท้องพลุ้ย แต่เวตาลป็นผู้ที่มีความสามารถ สุดสาคร สูงในการพู ดเสียดสีเยาะหยัน ที่มีความซื่อสัตย์ภักดีต่อเจ้านาย หน้ากากโสนน้อยเรือนงาม หน้ากากนางเมขลา ตัวละครจากเรื่อง ตัวละครที่ปรากฏในเรื่อง โสนน้อยเรือนงาม รามสูร พระมหาชนก โสนน้อยผู้ที่มีจิตใจดี และสมุทรโฆษคำฉันท์ รู้จักให้อภัย ไม่ถือโทษ เทพธิดาผู้ถือดวงแก้ว ล่อให้รามสูรขว้างขวาน ทำให้เกิด โกรธเคืองใคร ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า

MISS UNIVERSE THAILAND 42 2020 กับวรรณคดีไทย การประกวดมิสยูนิเวิร์สทางผู้ออกแบบชุดการประกวดแสดงให้เห็นถึง การส่งเสริมและอนุรักษ์ความเป็นไทย โดยให้สาวงามแต่ละท่าน แต่งชุ ดประจำชาติเพื่อจะยกระดับวรรณคดีไทยให้มีชื่ อเสี ยงในต่างประเทศ และจัดฉากพื้นหลังของเวทีเป็นธีมเกี่ยวกับวรรณคดีไทย ชื่อชุด อสุรี ศรีสมุทร ผู้สวมชุด อริสรา ปุเรชะตัง นำเสนออัตลักษณ์ที่เด่นชั ดจากรู ปร่างและ หน้าตาที่อัปลักษณ์ของนางยักษ์ผีเสื้อสมุทร เทคนิคการแปลงกายของชุด สู่นางวรรณคดีผู้เลอโฉม ชื่อชุด ออกรบ ผู้สวมชุด แพรววณิชยฐ์ เรืองทอง แนวคิดของชุดมาจากตอนสุวรรณมาลียกทัพเพื่อ ปกป้องเมืองผลึก สื่อถึงพลังของผู้หญิงที่เปี่ ยมไปด้วย ความเข้มแข็งและกล้าหาญ ผ่านชุดไทยประยุกต์ ชื่อชุด ไตรรงค์อนงค์นาถสุพรรณมัจฉา ผู้สวมชุด แพรววัชร ชมิด จากความงดงามของนางสุพรรณมัจฉาในเรื่อง รามเกียรติ์ เกิดเป็นแรงบันดาลใจในการ ออกแบบชุด โดยนำความงดงามของนาง สุพรรณมัจฉามาผสมผสานกับสีสันของปลากัด ไทย ชื่อชุด ลำหับชมไพร ผู้สวมชุด จรีรัตน์ เพชรโสม ใบตองรักและหลงใหลในธรรมชาติ เมื่อได้เข้าไปสัมผัส จึงได้รู้ว่าเป็นชีวิตที่สวยงาม ใบตองแสดงเป็นมันนิ เพื่ออยากให้รู้ว่าไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหน มุมไหน เป็นใคร บนโลกก็ควรได้รับโอกาสของการเป็นมนุษย์ ที่เท่ากัน ชื่อชุด รจนานารี ผู้สวมชุด อแมนด้า ชาลิสา ออบดัม ได้นำเสนอเรื่องราวของสิทธิเสรีภาพอันชอบธรรม นำเสนอทุกตัวละครภายใต้ชุดเดียว ผ่านงานหัตถกรรมอย่างงดงาม รจนา : ประชาชน มาลัย : ประชาธิปไตย การเสี่ยงมาลัย : เลือกตั้ง

พระอภัยมณีในวิถีไทย 43 พระอภัยมณี ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอน มีความยาว 94 เล่มสมุดไทย ประพันธ์นานกว่า 20 ปี เริ่มประพันธ์ พ.ศ. 2364 สิ้นสุดการประพันธ์ พ.ศ. 2388 เค้าโครงเรื่องแหวกประเพณีวรรณคดียุคเก่า พระอภัยมณีตีพิมพ์โดย โรงพิมพ์ของหมอสมิท ในสมัยรัชกาลที่ 5 ในยุคต่อมามีการถ่ายทอด วรรณกรรมชิ้นนี้ในรูปแบบต่าง ๆ มากมาย บรรจุในแบบการเรียนการสอน ของกระทรวงศึกษาธิการ กลายเป็นคติสอนใจที่ผู้คนทั่วไปจดจำกันได้ พระอภัยมณีในละคร/ภาพยนตร์ •ภาพยนตร์เรื่อง สุดสาคร •ละครโทรทัศน์เรื่อง บุรำปรัมปรา •ภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง สุดสาคร พระอภัยมณีในบทเพลง เพลง ไม่รักอย่าหลอก เพลง ผีเสื้อสมุทร เพลง เงือกทอง พระอภัยมณีกับรายการโทรทัศน์ •รายการ เก่งจริงชิงค่าเทอม •รายการศิลป์สโมสร •รายการ The Infinity ประติมากรรม งานออกแบบ แหล่งท่องเที่ยว สร้างสรรค์ • เงือกทอง “แหลมสมิหลา” • รูปนางเงือกทำโลโก้ • รูปปั้ นพระอภัยมณี นาง ผลิตภัณฑ์น้ำหอม เงือกและนางผีเสื้อสมุทร • ยาหม่องตราพระอภัยมณี หาดทรายแก้ว • ชุดครอบครัวพระอภัยมณี • ชายหาดปีกเตียน หินทราย สำหรับตกแต่ง • ตัดเย็บเสื้อผ้าเป็น ชุดนางเงือก ข้อคิด คติคำสอนและความจรรโลงใจ • ความรักควรมีสติ ไม่ลุ่มหลง • การรู้จักเคารพผู้ใหญ่ • รู้จักปล่อยวาง • รักที่เริ่มต้นด้วยการโกหก ย่อมจบลงด้วยความโศกเศร้า การนำไปใช้ในชีวิตจริง • เลือกคบคนที่จิตใจ ไม่ใช่ภาพลักษณ์ • รู้จักพึ่งพาอาศัยกัน • ไม่หลงเชื่อคนง่าย ใช้สติในการดำเนินชีวิต

44 คอลัมน์จากใจฉัน ความรู้สึกดี ๆ ที่เกิดขึ้น ปัญหาอุปสรรค จากการที่ได้ทำงานนำเสนอ ในการทำงานนำเสนอ และได้ฟังเพื่อนกลุ่มอื่น ยังบกพร่องในเรื่องของการ นำเสนอเกี่ยวกับวรรณคดี กับชีวิต ทำให้ได้ความรู้มากขึ้น เกริ่นนำในเรื่องที่ทำ แถมได้รู้อีกว่ายังมีวรรณคดี ก่อนเข้าสู่เนื้อหาที่ต้องการ อีกหลายเรื่องที่เราลืมไปแล้ว แต่จริง ๆ ในปัจจุบันคนไทย นำเสนอ บางส่วนได้นำมาทำเป็นหลาก จึงต้องมีการปรับแก้ หลายรูปแบบที่ดูแปลกใหม่และ น่าสนใจ เช่น เพลง ละคร นิดหน่อยค่ะ ของฝาก เรื่องที่อยากรู้ต่อ การนำไปประยุกต์ใช้ วรรณคดีที่ไม่โดดเด่น หากเรามีวรรณคดี/ ควรสื่อออกมาในรูปแบบใด วรรณกรรมที่ชอบอ่านแต่เป็น เรื่องที่มี จึงจะทำให้คนสมัยใหม่ คนสนใจน้อย เราอยากให้ หันมาให้ความสนใจมากขึ้น เรื่องนี้ได้รับความสนใจมากขึ้น เราอาจจะนำไปสร้างสรรค์ ในรูปแบบใหม่ เช่น ทำเป็น ผลิตภัณฑ์ ทำเพจให้ความรู้ ในอินสตราแกรม ประเมินความตั้งใจของตนเอง

สั ปดาห์ ที่ 11 45 15.09.2564 บันทึกการเรียนรู้ บทบาทของวรรณคดีไทย 1.เป็นเครื่องบันเทิงใจ ยกตัวอย่างเช่น • ลิลิตพระลอ • เงาะป่า ; เกี่ยวกับการเมือง ชนกลุ่มน้อย 2.ใช้ประกอบการแสดง • ละครนอก ; จังหวะเพลงรวดเร็ว ไม่มีวิจิตรบรรจง • ละครใน ; เชื่องช้า เน้นความงาม ไม่มีบทบริภาษ 3.มีไว้สั่งสอน ตามผนังวัด ; แพร่หลายสู่ ประชาชนมากขึ้น ส่วนมากพระ กษัตริย์ ขุนนาง มีโอกาสได้ศึกษา ผู้ชายจะอ่านหนังสือออกประมาณ 80%

46 4.มีไว้ส่งสาร ยกตัวอย่างเช่น • รัชกาลที่ 1 ให้แปลเรื่อง ราชาธิราช (มอญ) สามก๊ก (จีน) ไซ่ฮั่น ; ราชาธิราชและสามก๊ก เป็นเรื่องเกี่ยวกับขุนนาง ; ไซ่ฮั่น กษัตริย์แตกต่างจากอดีต คือ มีปัญญา ไม่มีเชื้อสายเทพเจ้า • โคลนติดล้อ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ การตำหนิติเตียนข้าราชการ 5.เป็นส่วนหนึ่งของพิธีต่าง ๆ เช่น ลิลิตโองการแช่น้ำ มหาชาติคำหลวง ประชุมกาพย์เห่เรือ ณ ค่าขอ วรรณคดีง ไทย คุ ช่วยนำเสนอภาพสังคมไทยบางแง่มุม ช่วยยกระดับจิตใจของผู้อ่าน (ความเชื่อเรื่องความดี/กรรม) แสดงให้เห็นภูมิปัญญาทางภาษา และวัฒนธรรมของคนไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook