v หนงั สอื เรยี นสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าเลอื ก การทาํ นา รหสั วชิ า อช02001 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั เชียงใหม่ สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาํ หน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพอ่ื การศึกษาตลอดชีวติ สาํ หรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เชียงใหม่
ก คาํ นาํ หนังสอื เรยี นรายวิชาเลือกวิชา การทาํ นา รหัสวิชา อช02001 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จัดทําข้ึนเพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ ประสบการณ์ ซึ่งเป็นไปตามหลักการและปรัชญาการศึกษานอกโรงเรียน และพระราชบัญญัติส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มศี ักยภาพในการประกอบอาชพี และสามารถดาํ รงชีวติ อยใู่ นสังคมได้อย่างมคี วามสขุ เพื่อให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ สถานศึกษาต้องใช้หนังสือเรียนท่ีมี คุณภาพ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา หนังสือเล่มนี้ได้ประมวลสาระความรู้ กิจกรรมเสริมทักษะ แบบวัดประเมินผลการเรียนรู้ไว้อย่าง ครบถ้วน โดยองค์ความรู้น้ันได้นํากรอบมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรกําหนดไว้ นํารายละเอียดเนื้อหา สาระมาเรียบเรยี งอยา่ งมีมาตรฐานของการจัดทําหนังสือเรียน เพ่ือให้ผู้เรียน สามารถอ่านเข้าใจง่าย และศึกษา คน้ ควา้ ดว้ ยตนเองได้อย่างสะดวก คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนวิชา การทํานา รหัสวิชา อช02001 เล่มน้ีจะเป็นสื่อท่ี อาํ นวยประโยชนต์ อ่ การเรยี นร้ตู ามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นสมั ฤทธผ์ิ ลตามมาตรฐาน ตัวช้วี ัดท่กี ําหนดไวใ้ นหลักสตู รทกุ ประการ คณะผ้จู ดั ทาํ สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เชียงใหม่
สารบัญ ข เรอ่ื ง หน้า คาํ นํา ก สารบัญ ข คําอธิบายรายวชิ า ค บทท่ี 1 ชอ่ งทางและการตดั สนิ ใจเลอื กประกอบอาชีพทํานา 1 2 แผนการเรยี นรูป้ ระจําบท 5 กิจกรรมทา้ ยบท 7 บทที่ 2 ความสําคญั ประโยชน์ และประเภทของขา้ ว 8 แผนการเรียนรู้ประจาํ บท 24 กจิ กรรมท้ายบท 26 บทที่ 3 การจดั การการตลาด 27 แผนการเรียนร้ปู ระจาํ บท 34 กิจกรรมทา้ ยบท 35 บทท่ี 4 การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 36 แผนการเรยี นร้ปู ระจําบท 44 กจิ กรรมท้ายบท 45 บทที่ 5 คุณธรรมในการประกอบอาชีพ 46 แผนการเรยี นรู้ประจาํ บท 51 กิจกรรมทา้ ยบท 52 บทที่ 6 ปัญหา อปุ สรรค ในการประกอบอาชีพ 53 แผนการเรยี นรปู้ ระจาํ บท 58 กิจกรรมท้ายบท 59 บรรณานุกรม 60 คณะผู้จัดทาํ 61 คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรุงแก้ไข
ค คาํ อธิบายรายวิชา การทํานา รหัส อช02001 จํานวน 3 หนว่ ยกติ (120 ช่ัวโมง) สาระการประกอบอาชีพ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติที่ดใี นงานอาชีพ มองเหน็ ช่องทางและการตัดสนิ ใจ ประกอบอาชีพได้ตามความต้องการและศกั ยภาพของตนเอง 3.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะในอาชีพที่ตดั สินใจเลอื ก 3.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการจดั การอาชีพอย่างมีคุณธรรม ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั 1. เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับการทาํ นาขา้ วแบบเกษตรธรรมชาติ 2. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นสามารถทาํ นาข้าวแบบเกษตรธรรมชาติ เกษตรอนิ ทรยี ์ตามแนวพระราชดําริได้ ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเร่ืองตอ่ ไปน้ี ช่องทางและการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพทํานา ความสําคัญ และประโยชน์ของข้าว ประเภทของ การทํานา สายพันธุ์ข้าว ข้ันตอนและวิธีการเพาะต้นกล้า การวางแผนการการปลูกข้าว วิธีการและข้ันตอนการ ปลูก โรคและแมลงศัตรูข้าวการเก็บเก่ียวและการจัดการการตลาด การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม คณุ ธรรมในการประกอบอาชพี ปัญหา อปุ สรรคในการประกอบอาชีพ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ สํารวจสภาพพื้นทีก่ ารทาํ นา ศึกษา วิเคราะห์พนั ธข์ุ า้ วทเ่ี หมาะสมกับสภาพของพื้นที่ ข้ันตอนการทํานา การจดั การการผลติ กระบวนการตลาด มกี ารแลกเปลีย่ นการเรียนรูซ้ ึ่งกันและกนั ฝึกการทํานา แล้วสรุปเป็นอง ความรู้ การวัดและประเมนิ ผล ประเมนิ จากสภาพจริง ผลงาน การสังเกต ความสนใจในกระบวนการเรยี นรู้ ความรับผิดชอบ ซ่ือสตั ย์ ขยัน อดทนต่อการทํางาน ตามข้นั ตอนการเรยี นรู้
ง คําอธบิ ายรายวิชา การทํานา รหสั อช02001 จํานวน 3 หนว่ ยกติ (120 ชวั่ โมง) สาระการประกอบอาชพี ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเจตคตทิ ี่ดีในงานอาชพี มองเหน็ ช่องทางและการตัดสินใจ ประกอบอาชพี ไดต้ ามความต้องการและศักยภาพของตนเอง 3.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะในอาชีพทตี่ ัดสินใจเลือก 3.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชพี อย่างมคี ณุ ธรรม ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชว้ี ัด เน้อื หา จาํ นวน ชัว่ โมง 1 ชอ่ งทางและการตัดสินใจเลือก อธิบายช่องทางและการ วเิ คราะหค์ วามเป็นไปไดจ้ ากขอ้ มูล ดงั น้ี 6 ประกอบอาชพี ทาํ นา ตัดสินใจเลอื กประกอบอาชพี 1. ข้อมลู ตนเอง 2. ขอ้ มลู ทางวชิ าการ ทาํ นาได้ 3. ขอ้ มลู ทางสงั คม ส่ิงแวดล้อม 2 ความสาํ คญั และประโยชน์ของ อธบิ ายความสําคัญและ ความสาํ คญั และประโยชน์ของขา้ ว 3 ข้าว ประโยชน์ของขา้ วได้ 6 1. การเตรยี มดินทาํ นาหว่าน 3 ประเภทของการทํานา อธบิ ายประเภทของการทาํ นา 2. การเตรียมดนิ ทาํ นาดํา ลกั ษณะต่าง ๆ ได้ 4 สายพันธข์ุ องขา้ ว เลือกสายพนั ธขุ์ องขา้ วที่ สายพันธข์ุ ้าวต่าง ๆ 6 เหมาะสมกบั ทอ้ งถน่ิ ได้ (ของทอ้ งถ่ิน) เช่น ข้าวหอมมะลิ 5 ข้ันตอนและวิธกี ารเพาะกล้า อธิบายข้ันตอนและวิธกี ารเพาะ ขัน้ ตอนและวิธกี ารเพาะต้นกลา้ 10 ตน้ กลา้ ได้ 6 แผนการปลกู ข้าว วางแผนการปลกู ขา้ ว และคดิ การวางแผนการปลูกขา้ ว ค่าใชจ้ า่ ย 8 ค่าใชจ้ ่ายในการปลกู ข้าวได้ 7 ขัน้ ตอนและวธิ กี ารปลูก อธิบายขัน้ ตอนและสามารถ ขนั้ ตอนและวธิ กี ารปลูก 20 ปลูกข้าวได้ 8 การดูแลรกั ษา ดูแลรักษาข้าวได้ การใหน้ ํา้ และการให้ปยุ๋ โดย 15 หลีกเล่ยี งสารเคมี 9 การปอ้ งกนั และกําจัดศตั รู ป้องกนั และกาํ จดั ศตั รขู า้ วได้ การปอ้ งกนั ศัตรพู ชื และการกาํ จดั 15 ขา้ ว ศตั รพู ชื โดยหลกี เล่ยี งสารเคมี
จ ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชวี้ ดั เน้อื หา จํานวน ชั่วโมง 10 การเกบ็ เกีย่ ว อธบิ ายการเก็บเก่ียวขา้ วได้ 1. การพิจารณาอายุข้าวท่เี ก็บเกี่ยว 2. วธิ ีการเกบ็ เกย่ี ว 6 11 การจัดการการตลาด อธบิ ายกระบวนการตลาดได้ 3. การดแู ลหลังการเก็บเกย่ี ว 4. 10 12 การทําบัญชี 1. การวเิ คราะหก์ ารตลาด 2. ช่องทางการจําหน่าย 13 การอนุรกั ษ์ 3. การขายและการสง่ เสรมิ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สงิ่ แวดล้อม การขาย 4. การกาํ หนดราคาขาย 14 คุณธรรมในการประกอบ อาชีพ ทําบัญชีการผลิตขา้ วได้ 1. บญั ชที รัพย์สนิ 6 2. บญั ชีรายรับ – รายจา่ ย 15 ปัญหา อปุ สรรค ในการ ประกอบอาชพี อธิบายการอนุรกั ษ์ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ 3 ทรพั ยากรธรรมชาติและ และสง่ิ แวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อมในการปลกู ขา้ วได้ อธิบายคุณธรรมในการ 1. ความรบั ผิดชอบ 3 ประกอบอาชพี ได้ 2. ความซือ่ สัตย์ 3. ความขยนั อดทน ฯลฯ อธบิ ายปญั หา อปุ สรรคในการ 1. ปญั หาด้านกระบวนการผลติ 3 ประกอบอาชพี ได้ 2. ปัญหาดา้ นการตลาด
บทท่ี 1 ช่องทางและการตดั สนิ ใจเลือกประกอบอาชพี ทาํ นา __________________________________________________________________
2 แผนการเรยี นรู้ประจาํ บท บทท่ี 1 ช่องทางและการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพทาํ นา สาระสาํ คญั ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีในกระบวนการคิด มองเห็นช่องทางการตัดสินใจ เลือกประกอบอาชีพจากการใชข้ ้อมูล 3 ดา้ นในการตดั สนิ ใจ ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง 1. อธบิ ายการใช้ขอ้ มูลตนเอง ขอ้ มูลวชิ าการ และข้อมลู สงั คมส่งิ แวดล้อมได้ 2. สามารถวิเคราะห์ขอ้ มลู 3 ด้าน ประกอบการตัดสินใจ 3. มแี นวทางการแกป้ ัญหาจากขอ้ มูล ขอบขา่ ยเนอื้ หา 1. ข้อมลู ตนเอง 2. ข้อมลู ทางวิชาการ 3. ขอ้ มลู ทางสงั คมสิ่งแวดลอ้ ม กิจกรรมการเรียน 1. ศึกษาเอกสารการสอนบทที่ 1 2. ปฏบิ ัติกิจกรรมตามทีไ่ ด้รับมอบหมายในเอกสารการสอน 3. ทําแบบฝกึ หัดทา้ ยบท สือ่ การสอน 1. เอกสารการสอนบทท่ี 1 2. แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 3. สอื่ บุคคล 4. ส่อื CD 5. คนต้นแบบ ประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลตนเองจากการทาํ แบบฝึกหัดทา้ ยบท 2. ประเมนิ ผลจากการทาํ รายงาน 3. ประเมินผลจากการฝึกปฏบิ ตั ิ 4. ประเมนิ ผลจากการสอบปลายภาคเรียน
3 บทที่ 1 ช่องทางการตดั สินใจประกอบอาชพี ปรัชญา “คิดเป็น” อยู่บนพ้ืนฐานความคิดที่ว่าความต้องการของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน แต่ทุกคนมี จุดรวมของความต้องการคือความสุข คนเราจะมีความสุขเม่ือเราและสังคมสิ่งแวดล้อมประสมกลมกลืนกันได้ โดยการปรับปรุงเราให้เข้ากับสังคมส่ิงแวดล้อมให้เข้ากับตัวเราให้ประสมกลมกลืนกัน หรือเข้าไปอยู่ใน สิ่งแวดล้อมทเี่ หมาะสมกบั ตน จนที่สามารถทาํ ไดเ้ ชน่ น้ี เพือ่ ใหต้ นมีความสุข ตอ้ งเป็นผมู้ ีความคิด ความสามารถ คิดแก้ปัญหา รู้จักตนเอง รจู้ กั ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม จงึ จะเรียกไดว้ า่ ผ้นู ้ันเปน็ คนคิดเป็น ความหมายของการ “คิดเป็น” ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ ได้ให้คําอธิบายเกี่ยวกับ “คิดเป็น” ว่า “บุคคลท่ี คิดเป็นจะสามารถเผชิญปัญหาในชีวิตประจําวันได้อย่างมีระบบ และสามารถพินิจพิจารณาสาเหตุของปัญหาที่ เขากําลังเผชิญอยู่และรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางเกี่ยวกับทางเลือก จะพิจารณาข้อดี ข้อเสียของ แต่ละเร่ือง โดยใช้ความสามารถเฉพาะตัวของตนเอง และสถานการณ์ท่ีตนเองกําลังเผชิญอยู่ประกอบการ พิจารณา” การคิดเป็น เป็นการคิดแก้ปัญหา มีจุดเร่ิมต้นท่ีปัญหาแล้วพิจารณาย้อนไตร่ตรองถึงข้อมูล 3 ประเภท คือ ข้อมูลตนเอง ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมและข้อมูลวิชาการ ต่อจากน้ันก็ลงมือกระทํา ถ้าหากสามารถทําได้ ปัญหาก็หายไป กระบวนการก็ยุติลง แต่หากยังไม่พอใจแสดงว่ายังมีปัญหาอยู่ บุคคลก็จะเริ่มกระบวนการ พจิ ารณาทางเลือกใหมอ่ ีกครัง้ และกระบวนการน้ียตุ ิลงเมื่อบคุ คลพอใจและมคี วามสุข สรุปความหมายของการ “คิดเป็น” 1. การวิเคราะห์ปัญหาและแสวงหาคําตอบหรอื ทางเลือกเพอ่ื ปัญหาและดับทกุ ข์ 2. การคิดอย่างรอบคอบเพ่อื แกป้ ัญหาโดยอาศยั ข้อมลู ตนเอง ข้อมูลสงั คมและสิง่ แวดล้อมและขอ้ มลู วชิ าการ เป้าหมายของ “คดิ เปน็ ” เป้าหมายสุดท้ายของคน “คิดเป็น” คือ ความสุข คนเราจะมีความสุขเมื่อตัว เราและสงั คมสิ่งแวดลอ้ มประสมกลมกลืนกันอยา่ งราบรืน่ ท้งั ทางดา้ นวัตถุ กายและใจ แนวคิดหลกั ของ “คิดเป็น” 1. มนุษย์ทกุ คนลว้ นตอ้ งการความสขุ 2. ความสขุ ทีไ่ ดน้ นั้ ข้นึ อยู่กบั การปรบั ตัวเองให้สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดล้อมตามวิธีการของตนเอง 3. การตัดสนิ ใจเป็นการคดิ วิเคราะหโ์ ดยใชข้ ้อมูล 3 ดา้ น คอื ด้านตนเอง ดา้ นสังคม และดา้ นวิชาการ 4. ทุกคนคิดเป็น เท่าท่ีการคิดและตัดสินใจทําให้เราเป็นสุข ไม่ทําให้ใครหรือสังคมเดือดร้อน ความคิดท่เี ป็นพลวัตสามารถปรบั เปลย่ี นไดเ้ สมอ เมอื่ ขอ้ มูลเปลี่ยนแปลงไป เปา้ หมายชีวิตกเ็ ปลย่ี นไป คดิ อยา่ งไรเรียกว่า “คดิ เปน็ ” “คิดเป็น” เป็นการคิดแบบพอเพียง พอประมาณ ไม่มากไม่น้อยเป็นทางสายกลาง สามารถอธิบายได้ ด้วยเหตุผล พร้อมที่จะรับผลกระทบท่ีเกิดโดยมีความรอบรู้ในวิชาการท่ีเก่ียวข้องอย่างรู้จริง สามารถนําความรู้ มาใช้ประโยชน์อย่างมีคุณภาพ ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต ซ่ึงแนวคิดนี้สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นการบูรณาการเอาการคิด การกระทํา การแก้ปัญหา ความ เหมาะสม ความพอดี มารวมไว้ในคําว่า “คิดเป็น” คือการคิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาเป็นอย่างเหมาะกับงาน เกิดความพอดี แกป้ ญั หาไดด้ ว้ ยการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพื่อใหเ้ ปน็ คน “คดิ เปน็ ”
4 ลกั ษณะของคนคิดเปน็ ลกั ษณะของคนคดิ เปน็ มี 8 ประการ 1. มีความเชือ่ วา่ ปญั หาท่ีเกิดขน้ึ เปน็ สิ่งธรรมดา สามารถแก้ไขได้ 2. การคิดที่ดีตอ้ งให้ขอ้ มูลหลาย ๆ ดา้ น (ตนเอง สังคม วชิ าการ) 3. รู้ว่าข้อมูลเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ 4. สนใจทจ่ี ะวิเคราะหข์ อ้ มลู อย่เู สมอ 5. รู้ว่าการกระทําของตนมผี ลตอ่ สงั คม 6. ทําแล้ว ตดั สนิ ใจแลว้ สบายใจ และเตม็ ใจรับผิดชอบ 7. แกป้ ญั หาชีวติ ประจาํ วนั อยา่ งมรี ะบบ 8. รจู้ กั ชง่ั นํ้าหนกั คุณคา่ กบั สง่ิ รอบ ๆ ดา้ น สมรรถภาพของคนคิดเปน็ 1. เผชิญปญั หาในชวี ติ ประจาํ วันอย่างมีระบบ 2. สามารถทีจ่ ะแสวงหาและใชข้ ้อมลู หลาย ๆ ดา้ น ในการคิดแก้ไขปัญหา 3. รู้จกั ชงั่ นา้ํ หนกั คุณคา่ และตดั สินใจหาทางเลอื กใหส้ อดคลอ้ งกบั ค่านิยม ความสามารถและ สถานการณ์หรอื เงื่อนไขสว่ นตวั และระดบั ความเป็นไปได้ของทางเลอื กตา่ ง ๆ
5 กิจกรรมท้ายบท บทท่ี 1 เร่อื ง ช่องทางการตดั สนิ ใจประกอบอาชพี ใบงานที่ 1 จงอธิบายความหมายของปรชั ญาคิดเปน็ ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
6 ใบงานท่ี 2 จงยกตวั อย่างลักษณะของคนคิดเป็นทที่ ่านประทบั ใจ พรอ้ มใหเ้ หตผุ ลประกอบ ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
7 บทที่ 2 ความสาํ คัญ ประโยชน์ และประเภทของขา้ ว ___________________________________________________________________________
8 แผนการเรยี นรปู้ ระจําบท บทที่ 2 ความสําคัญ ประโยชน์ และประเภทของข้าว สาระสําคญั ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติท่ดี ี มองเหน็ ความสาํ คญั และประโยชนข์ องขา้ ว ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวัง 1. อธบิ ายความสําคัญและประโยชนข์ องขา้ วได้ 2. อธิบายขัน้ ตอนการทํานาตง้ั แต่การเตรียมดินจนถึงการเกบ็ เกี่ยวไดถ้ ูกตอ้ ง 3. มีทกั ษะการบรหิ ารจัดการ วางแผนการตลาดและทาํ บญั ชไี ดอ้ ยา่ งรอบคอบ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา 1. ประเภทของขา้ วทปี่ ลูก 2. สายพันธข์ุ า้ ว 3. การเลือกพืน้ ที่และการเตรยี มดนิ 4. วิธีการปลูกข้าว 5. การป้องกันและกําจัดวัชพืช 6. การปอ้ งกนั และกาํ จัดศัตรูพชื 7. การเก็บเก่ยี ว กิจกรรมการเรยี น 1. ศกึ ษาเอกสารการสอนบทที่ 2 2. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามที่ได้รับมอบหมายในเอกสารการสอน 3. ทําแบบฝกึ หดั ท้ายบท ส่อื การสอน 1. เอกสารการสอนบทท่ี 2 2. แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 3. ส่ือ CD 4. สื่อบุคคล (ผ้เู ชย่ี วชาญด้านขา้ ว) ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลตนเองจากการทาํ แบบฝกึ หัดทา้ ยบท 2. ประเมินผลจากการทาํ รายงาน 3. ประเมนิ ผลจากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ 4. ประเมนิ ผลจากการสอบปลายภาคเรียน
9 บทท่ี 2 ความสาํ คัญ ประโยชน์ และประเภทของข้าว ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญทั้งการบริโภคภายในประเทศและส่งออกไปในตลาดโลก จากข้อมูล สาํ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรในปี พ.ศ. 2543 ประเทศไทยผลิตข้าวได้รวม 24.2 ล้านตันข้าวเปลือกใช้เพ่ือการ บริโภค ทําพันธุ์และอ่ืน ๆ ในประเทศรวม 13.6 ล้านตัน ข้าวเปลือก ส่งออกไปขายในตลาดโลก 9.2 ล้านตัน ข้าวเปลือก หรือ 6.1 ล้านตันข้าวสาร มีมูลค่า 67,914 ล้านบาท และในปี พ.ศ. 2544 ประเทศไทยสามารถ ผลิตข้าว ได้รวม 27 ล้านตันข้าวเปลือกใช้เพ่ือการบริโภคทําพันธ์ุและอื่น ๆ ในประเทศ รวม 15 ล้านตัน ขา้ วเปลอื ก ส่งออกไปขายในตลาดโลกประมาณ 12 ลา้ นตันข้าวเปลือก หรอื 7 ล้านตันข้าวสาร การผลิตข้าวมีแนวโน้มมากกว่าความต้องการของตลาดโลก ท้ังน้ีเนื่องจากผลของการควบคุมจํานวน ประชากรในประเทศต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากข้ึนโดยเฉพาะประเทศท่ีกําลังพัฒนา นอกจากนี้เทคโนโลยีใน การ ผลิตข้าวมีความกา้ วหนา้ มากข้ึน ทําใหผ้ ู้ซื้อขา้ วสามารถผลิตขา้ วใชใ้ นประเทศได้มากขน้ึ ปรมิ าณการนําเข้า จึงลดลง ข้าวเป็นสินค้าเกษตรท่ีมีเป้าหมายเพ่ือการส่งออก ดังน้ันราคาข้าวจะถูกกําหนดจากปริมาณความ ต้องการ และปริมาณข้าวในตลาดโลก ถ้าปริมาณข้าวมีมากกว่าความต้องการ ราคาข้าวในตลาดโลกจะลดลง และราคาข้าว ในประเทศไทยก็จะลดลงด้วย ต้นทุนการผลิตข้าวของเกษตรกรไทยค่อนข้างสูงโดยเฉพาะการ ปลูกข้าวนาปี ข้อมูลการผลิตในช่วงปี 2538 – 2543 ข้าวนาปีมีต้นทุนการผลิตต่อต้นเฉล่ีย 4,160 บาทในปี 2538/39 และเพิ่มขึ้น ประมาณ 4,800 บาท ในปี 2542/43 ในขณะที่ข้าวนาปรังมีต้นทุนการผลิตต่อต้นเฉล่ีย 2,700 บาทในปี2538/39 และเพิ่มขึ้นเป็นประมาณ 3,200 บาท ในปี 2541/42 ถึงแม้ราคาข้าวนาปีท่ี เกษตรกรได้รับจะสูงกว่าข้าวนาปรัง แต่ผลตอบแทนสุทธิต่อตัน ก็ยังน้อยกว่าข้าวนาปรังโดยเฉลี่ยประมาณ 1 เท่าตัว โดยในปี 2541/42 ข้าวนาปี มีผลตอบแทนสุทธิต่อตัน 914 บาทและข้าวนาปรัง มีผลตอบแทนสุทธิ ต่อตัน 1,825 บาท ทั้งน้ีเนื่องจากผลผลิตต่อไร่ของข้าวนาปีอยู่ในระดับตํ่า และการเพ่ิมผลผลิตทําได้ยาก เนือ่ งจากขอ้ จาํ กัดของพ้ืนที่การปลกู ซึง่ ไม่สามารถ ควบคุมนํ้าได้ รวมท้งั สภาพแวดล้อมไมเ่ หมาะสม - พันธุ์ข้าวทแี่ นะนําใหเ้ กษตรกรปลูก ยังไม่สามารถครอบคลุมพืน้ ทกี่ ารปลูกไดอ้ ยา่ งเหมาะสม - เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม (Good Agriculture Practice : GAP) ยังไม่มีรายละเอียดท่ีจะใช้ แนะนาํ เฉพาะพื้นท่ี หรอื เฉพาะพนั ธ์ุ - การวิจัยและพัฒนาด้านการแปรรูปส่วนใหญ่เป็นการแปรรูปแบบง่าย ๆ มีมูลค่าเพิ่มน้อยและยังไม่ สามารถนาํ ไปสกู่ ารเป็นผนู้ ําในการแปรรปู สอู่ ตุ สาหกรรมการส่งออก - การประชาสมั พันธ์และการถ่ายทอดเทคโนโลยสี ูเ่ กษตรกรมีคอ่ นขา้ งน้อย - การค้าขา้ วภายใต้องค์การค้าโลก (WTO) ถูกกีดกนั มากขึ้น โดยอา้ งถงึ การรักษาสภาพแวดล้อม - ถึงแม้ผลผลิตเฉล่ียของประเทศจะอยู่ในระดับตํ่า โดยเฉพาะข้าวนาปี ซ่ึงประมาณมากกว่าร้อยละ 50 อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 และ กข6 เป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามพ้ืนท่ี ทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหลายพ้ืนที่มีศักยภาพที่สามารถปลูกข้าวดอกมะลิ 105 ได้ผลผลิตสูงถึง 500 - 600 กิโลกรัม/ไร่ - พื้นท่ีในเขตชลประทานซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีที่มีศักยภาพในการเพิ่มผลผลิตมีการขยายตัวมากขึ้น โดยจาก ข้อมูลของกรมชลประทาน พ้ืนที่ชลประทานของประเทศเพ่ิมจาก 28,685,480 ไร่ ในปี 2537 เป็น 29,931,635 ไร่ ในปี 2541 - กรมวิชาการเกษตร มีทรัพยากรข้าวท่ีหลากหลายซึ่งสามารถนํามาใช้ในการพัฒนาพันธุ์ ความ ตอ้ งการของตลาด ทง้ั ภายในและตา่ งประเทศได้ ท้ังในด้านการบริโภคโดยตรงและแปรรปู - กรมวิชาการเกษตร มีเทคโนโลยีการผลิตท่ีเหมาะสม (GAP) เพ่ือปรับใช้สําหรับการผลิตข้าวใน นเิ วศต่าง ๆ เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลผลิตข้าว ทด่ี ีทงั้ ปรมิ าณและคณุ ภาพ - จากข้อตกลงทางการค้าภายใต้ WTO ไทยมโี อกาสทส่ี ่งสง่ ออกข้าวเขา้ ไปตลาดโลกได้
10 - ผลิตภัณฑ์จากข้าวยังมีโอกาสอีกมากในตลาดโลกเนื่องจากความต้องการใช้เป็นอาหารเพ่ือ อาหาร สาํ เร็จรปู และ เคร่อื งสําอางมีเพ่ิมมากข้นึ ประโยชนแ์ ละความสาํ คญั 1. ข้าวเป็นอาหารหลักของไทย 2. ขายเป็นสินคา้ ออกที่สาํ คญั ทาํ รายได้ใหแ้ กป่ ระเทศเปน็ อนั ดบั หน่งึ 3. สามารถเพิม่ ผลผลิตให้สงู ขึน้ 4. ทาํ รายไดแ้ ก่เกษตรกร การแบง่ ประเภทของข้าวทปี่ ลกู การแบ่งประเภทของข้าวในประเทศไทยมีการแบ่งออกได้หลายรูปแบบด้วยกันขึ้นอยู่กับลักษณะบาง ประการของขา้ ว ซึง่ พอจะแยกแยะไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี 1. แบ่งประเภทตามคุณสมบัติในการข้ึนอยู่หรือตามสภาพภูมิประเทศหรือตามวิธีการปลูก ซึ่งแบ่ง ออกเป็นตามวธิ 3 ประเภท คือ 1.1 ข้าวนาสวน (lowland rice) คือข้าวที่ปลูกในนาท่ีราบลุ่มทั่ว ๆ ไปในสภาพท่ีมีน้ําขังหล่อ ต้น ขา้ วต้ังแต่ปลูกจนกระทงั่ กอ่ นเก็บเกี่ยว โดยสามารถที่จะรักษาระดบั นํา้ ได้ และระดับนํา้ ตอ้ งไม่สงู 1.2 เกินกว่า 1 เมตร นํ้าท่ีใช้หล่อเลี้ยงต้นข้าวเหล่าน้ีอาจจะมาจากน้ําฝนหรือนํ้าชลประทาน ข้าว นาสวนนี้มีการปลูกกันมากแทบทุกภาพของประเทศไทย คิดเป็นเนื้อท่ีประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของพ้ืนท่ีปลูก ข้าวของประเทศ ข้าวข้ึนน้ําหรือข้าวนาเมือง หรือข้าวฟางลอย (floating rice หรือdeep- water rice) เป็น ข้าวท่ีปลูกในสภาพท่ีไม่สามารถรักษาระดับน้ํา บางคร้ังระดับนํ้าในบริเวณที่ปลูกสูงกว่า 1 เมตรข้าวพวกน้ีมี คุณสมบัติพิเศษในการยืดตัวหนีนํ้าได้ส่วนมากมีการปลูกกันแถบจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ลพบุรี พิจิตร อ่างทอง ชยั นาท และสงิ หบ์ ุรี ซ่ึงมเี น้ือทป่ี ระมาณ 10 เปอรเ์ ซ็นต์ ของพืน้ ท่ปี ลูกของประเทศ 1.3 ข้าวไร่(upland rice หรือhill rice) เป็นข้าวที่ปลูกในสภาพท่ีไม่ต้องมีนํ้าขังในพ้ืนที่เพาะปลูก ส่วนใหญน่ ิยมปลกู ในสภาพพนื้ ทดี่ อนหรือท่ีสงู ตามไหล่เขาต่าง ๆ ลกั ษณะของการปลกู ก็คล้าย ๆ กับพืชไร่อ่ืน ๆ การปลูกโดยการหว่าน หยอดหลุม หรือโรยเป็นแถว การปลูกจะทํากันในฤดูฝนเพราะต้องอาศัยน้ําฝน ข้าว ประเภทน้ีนยิ มปลูกกันมากตามไหลเ่ ขาทางภาคเหนือ ใต้ ตะวนั ออก และตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของประเทศ 2. แบ่งประเภทตามคุณสมบัติของแป้งในเมล็ดข้าวสาร หรือตามคุณสมบัติทางเคมีภายในเมล็ด ซึง่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื 2.1 ข้าวจ้าว (non-glutinous rice) เป็นข้าวท่ีเมล็ดข้าวสารประกอบด้วยแป้งชนิดธรรมดา (starch endosperm) 90 เปอร์เซน็ ตซ์ งึ่ แปง้ ส่วนน้มี ีสว่ นประกอบใหญ่ ๆ อยู่ 2 ส่วนด้วยกันคือ amylopectin (ซ่ึงเป็น polymer ของ D-glucose ที่ต่อกนั เปน็ branch chain) ประมาณ 70 - 90 เปอร์เซ็นตแ์ ละ amglose (ซ่ึงเป็น palymer ของ D-glucose ท่ีต่อกันแบบ linear chain) เมล็ดข้าวสารมีสีขาวใส หลังจากหุงหรือนึ่ง แลว้ จะได้ข้าวสกุ ทีม่ สี ขี ุ่นและรว่ น 2.2 ข้าวเหนียว (glutinous rice หรือwaxy rice) เป็นข้าวที่เมล็ดข้าวสารประกอบด้วยพวก soluble starch endosperm และมี dextrin ในเมล็ดแป้ง แป้งของข้าวเหนียวประกอบด้วย amylopectin เป็นส่วนใหญ่คือรวม 95 เปอร์เซ็นต์ และมี amylose เล็กน้อยหรือบางทีไม่มีเลยเมล็ดข้าวสารของข้าวเหนียว จะมลี กั ษณะสขี าวขุน่ นึ่งแล้วจะไดข้ า้ วสกุ ที่เหนยี วจับตัวตดิ กันแน่นและมลี กั ษณะใส อัตราสว่ นของ amylopectin และ amylose ในเมล็ดข้าวสารนน้ั เป็นปัจจัยสาํ คญั ทีท่ ําให้ข้าว มีคุณสมบัติในการหุงต้มและรับประทานแตกต่างกัน คือข้าวจ้าวมีอะไมโลสสูง จะดูดนํ้าและขยายปริมาตรใน ระหวา่ งการหุง ต้มได้มากกวา่ ขา้ วที่มี amylose ตํ่าทําให้ข้าวสุกมีลักษณะแข็งและร่วนทึบแสงไม่เล่ือมมัน ส่วน ขา้ วเหนยี วหรือขา้ วที่มอี ะไมโลสตา่ํ จะดดู นํ้าและขยายตวั ได้นอ้ ยกวา่ ข้าวจ้าว ข้าวสุกจะมีลักษณะเหนียวและนุ่ม กว่า 3. แบ่งประเภทตามกําหนดระยะเวลาสุกแก่ของข้าว หรือตามอายุการเก็บเกี่ยว ซึ่งหลักเกณฑ์ในการ แบ่ง ในข้อน้ีไมแ่ น่นอน และมกั ข้นึ อย่กู บั สภาพของแต่ละทอ้ งถ่นิ แตก่ ็พอจะแยกออกได้เป็น 3 ประเภท คอื
11 3.1 ข้าวพันธ์ุเบา (early maturing variety) ได้แก่พันธ์ุข้าวท่ีมีอายุสุกไว โดยกําหนดเก็บเก่ียว ตั้งแต่ 90 - 100 วันนับต้ังแต่เร่ิมเพาะกล้าหรือหว่านข้าวในนาในฤดูการทํานาปี ข้าวพันธุ์กลางนี้ในฤดู สามารถเก็บเกีย่ วได้ในชาในฤดกู ารทํานาปี กนั ยายน ถงึ ตุลาคม 3.2 ข้าวพันธ์ุกลาง (medium maturing variety) ได้แก่พันธ์ุข้าวท่ีมีอายุสุกแก่ปานกลาง เก็บ เก่ียวตง้ั แต่100 – 200 วนั หลงั จากท่เี ร่ิมเพราะกลา้ หรือหว่านขา้ วในนา ข้าวพันธุ์กลางนี้ในฤดูนาปีสามารถเกี่ยว ไดใ้ นชว่ งเดือน ตลุ าคมถงึ พฤศจกิ ายน 3.3 ขา้ วพันธ์หุ นัก (late maturing variety) ไดแ้ กพ่ ันธ์ุข้าวที่มีอายุสุกแก่ช้าโดยมีกําหนดเก็บเก่ียว ตั้ง แต่ 120 วันข้ึนไปหลังจากทีเ่ ริ่มเพราะกล้าหรือหว่านข้าวในนาในฤดูการทํานาปีข้าวพวกน้ีสามารถเก็บเกี่ยว ไดใ้ นชว่ งเดือน ธนั วาคม ถึงมกราคม 4. แบ่งประเภทตามการตอบสนองตอ่ ชว่ งแสง (photoperiodism) ซ่ึงแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื 4.1 ข้าวท่ีตอบสนองต่อช่วงแสงหรือข้าวที่ไวต่อช่วงแสง(photoperiod sensitive rice)ได้แก่ข้าว ที่ต้อง อาศัยช่วงแสงวันส้ัน(short day)ในการชักนําให้เกิดการออกดอกเป็นข้าวท่ีมีกําหนดการออกดอกใน ช่วงเวลาท่ี แน่นอนหรือถ้าคลาดเคลื่อนก็เพียงเล็กน้อย ข้าวประเภทนี้ต้องทําการปลูกในฤดูนาปี (ฤดูฝน) แล้ว จะออกรวงในฤดูหนาว ถ้าเป็นข้าวทไี่ มไ่ วแสงมากกจ็ ะเปน็ ข้าวพันธุ์เบา คอื จะออกดอกในเดอื นกันยายน ถ้าเป็นข้าวไวแสงมากก็จะเป็นข้าวพันธ์ุหนัก ซึ่งจะออกดอกในเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม ข้าวพันธ์พุ ื้นเมอื งส่วนใหญใ่ นบา้ นเราเป็นข้าวประเภทนี้ 4.2 ข้าวที่ไม่ตอบสนองต่อช่วงแสง หรือข้าวที่ไม่ไวต่อช่วงแสง (photoperiod insensitive rice) ได้แก่ ข้าวที่ไม่ต้องอาศัยช่วงแสงในการชักนําให้เกิดการออกดอก โดยจะออกดอกตามอายุที่กําหนด ซึ่งขึ้นอยู่ กับพันธ์ุ ดังน้ันจึงสามารถปลูกได้ทุก ๆ ฤดูกาล ข้าวพวกน้ีมีอายุเก็บเก่ียวต้ังแต่ 110-130 วัน ในบ้านเราสวน ใหญแ่ ล้วมักจะ ใชป้ ลกู ในฤดนู าปรัง ข้าวพวกน้ไี ดแ้ ก่ ขา้ วพนั ธป์ุ รบั ปรงุ แล้วคอื พวกข้าวกข. ทั้งหลายและข้าวบาสมาติก(บส.) ซึ่งเป็นข้าวท่ีกําลังมีการปลูกเพ่ือส่งไปขายยังต่างประเทศ ในขณะนี้ก็เป็นข้าว ทอี่ ยู่ในประเภทนี้ 5. แบ่งประเภทตามรปู ร่างของเมลด็ ข้าวสาร ซง่ึ ไดแ้ ก่ 5.1 ขา้ วเมล็ดสั้น (short grain) ไดแ้ ก่ ข้าวที่มีความยาวของเมล็ดไม่เกนิ 5.50 มลิ ลิเมตร 5.2 ขา้ วเมลด็ ยาวปานกลาง (medium long grain) ได้แกข่ า้ วทม่ี คี วามยาวของเมล็ดตัง้ แต่ 5.5 ถงึ 6.60 มลิ ลเิ มตร 5.3 ขา้ วเมล็ดยาว (log grain) มคี วามยาวของเมลด็ ตง้ั แต่ 6.61 ถึง 7.50 มลิ ลเิ มตร 5.4 ขา้ วเมลด็ ยาวมาก (extra-long grain) มคี วามยาวของเมลด็ ตัง้ แต่ 7.51 มลิ ลิเมตร การทํานา การทํานาเป็นอาชพี หลักของคนไทยประชากรไม่นอ้ ยกวา่ 80 % มอี าชีพด้วยการทาํ นา เพราะประเทศไทยมภี ูมปิ ระเทศและลมฟ้าอากาศ อากาศเหมาะสมแก่การทาํ นาอย่างยิง่ มปี ริมาณฝนตกมากและติดตอ่ กนั นาน ลกั ษณะพืน้ ทรี่ าบลมุ่ มนี ํา้ ขังอยูท่ ัว่ ไป ฤดูฝนจะปลูกพืชอย่างอื่นกไ็ ม่ เหมาะสมเท่ากบั ปลูกข้าว ประชากรส่วนใหญ่จงึ มอี าชพี ทาํ นาจนเปน็ ท่ี ท่ีทราบกันทัว่ ไปวา่ ชาวนาเป็นกระดกู สันหลังของชาติ ประเภทของการทาํ นา การทาํ นาแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท คือ 1. นาดํา 2. นาหว่าน 3. นาปรงั หรอื นาดอน 4. นาไร่
12 พันธแุ์ ละการคัดเลือกพันธุ์ ลกั ษณะข้าวทดี่ ี 1. เจริญงอกงามเรว็ มีความต้านทานต่อโรค แมลงและศัตรตู ่าง ๆ 2. การแตกกอดี แตกกอเป็นจํานวนมาก แตกกอในระยะสนั้ และรวดเร็วไมท่ ยอยกันแตก 3. ปลูกได้ทุกฤดกู าล 4. ลําตน้ ตรงไมล่ ้มง่าย 5. ใหผ้ ลผลติ สูง รวงใหญ่ ยาว เมล็ดไดข้ นาด ประมาณเมลด็ ในรวงมาก ตงั้ แต่ 350 – 500 เมลด็ 6. เมล็ดสมบูรณ์ ไมล่ ีบ ไมบ่ ิดเบยี้ ว 7. เปน็ พนั ธุ์ทดี่ ีเด่น ทง้ั ปริมาณและคณุ ภาพ 8. ความงอกของเมลด็ ไมต่ า่ํ กว่า 85 % 9. เหมาะสมกบั สภาพพ้ืนที่นาตา่ ง ๆ พนั ธ์ขุ ้าวทด่ี ที ที่ างราชการสง่ เสริมให้ปลูกแต่ละท้องถน่ิ ทุกวันนี้ รัฐบาลได้พยายามหาพันธุ์ข้าวท่ีดีมาส่งเสริมให้ชาวนาปลูก เพื่อให้การทํานาของชาวนาได้ผล ผลิตสูงข้ึน และมีคุณภาพดี จึงควรใช้พันธ์ุข้าวท่ีดีท่ีทางราชการแนะนําตามความเหมาะสมของแต่ละท้องถิ่น ดังนี้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ชนิดขา้ ว ระยะเกบ็ เกี่ยว ความสูงกอ่ นเกบ็ เก่ียว (ซม.) (สปั ดาห์) ระยะฟกั ตวั เหนยี ว 125 – 130 วัน เจ้า 125 – 130 วนั 135 1 ท่ี ชื่อพันธุ์ เจา้ 125 – 130 วนั 1 หางยี 71 เหนียว 125 – 130 วัน 120 3 2 นํ้าสะกยุ 19 เจา้ 125 – 130 วัน 3 ขา้ วดอกมะลิ 105 เหนยี ว 125 – 130 วัน 150 8 4 เหนยี วสนั ปา่ ตอง เหนยี ว 115 – 120 วัน 5 ขา้ วปากหม้อ 148 เจ้า 120 – 130 วนั 160 5 6 ก.ข. 2 เจ้า 115 – 125 วนั 7 ก.ข. 4 140 6 8 ก.ข. 7 9 ก.ข. 9 100 – 115 4 100 – 115 4 100 – 115 1 100 – 120 5 ข้าวขึน้ นํ้า ชนดิ ข้าว ระยะเก็บเกย่ี ว ความสงู กอ่ นเกบ็ เกยี่ ว (ซม.) (สปั ดาห์) เจา้ 125 – 130 วนั -6 ที่ ช่อื พันธ์ุ เจ้า 125 – 130 วัน -6 1 ข้าวตะเภาแกว้ เจา้ 125 – 130 วนั -4 2 เลบ็ มือนาง 111 เหนียว 125 – 130 วนั -7 3 ปิน่ แก้ว 4 นางฉลอง หมายเหตุ พนั ธข์ุ า้ วทีม่ ีระยะฟกั ตวั นาน ควรผึง่ แดดอยา่ งนอ้ ย 2 แดด จะช่วยทาํ ให้ความงอกของเมล็ดดขี ้ึน
13 ฤดปู ลูกขา้ ว ข้าวปลูกได้ท้ังฤดูฝนและฤดูแล้ง แล้วแต่สภาพของท้องถิ่น บางท้องถ่ินที่มีการชลประทานดี มีคลอง ส่งน้ําถึงก็สามารถปลูกข้าวได้ทุกฤดูแต่ท้องถ่ิน ส่วนมากทํานาในฤดูฝน คือเร่ิมต้ังแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือน ตลุ าคมจะเก็บเกยี่ วในเดือนตุลาคมหรือเดือนพฤศจิกายน ส่ิงสําคัญก็คือต้องมีคันนามั่นคงสามารถกักน้ําไว้เลี้ยง ต้นข้าว เคร่ืองมือในการทํานาดํา โค กระบือ เคร่ืองประกอบอ่ืน ๆ มีไถคราด เครื่องสูบน้ํา เคร่ืองพ่นยา มีด จอบ พลั่ว เคียวเก่ียวข้าว ปริมาณของเครื่องมือต้องมีให้พอ และเป็นสัดส่วนท่ีพอเหมาะในการทํานาเพื่อให้ การปักดําและเก็บเกี่ยวเสร็จตามฤดกู าล การทาํ นาดาํ การทํานาดําทาํ เปน็ 2 ขน้ั ตอน คอื ข้นั ตอนท่ี 1 หมายถงึ ตอ้ งตกกลา้ ก่อน จนกระทั่งกล้าโตพอสมควร ตามปกติกล้ามีอายุ 25 – 30 วันแต่ ไม่เกิน 45 วนั ขน้ั ตอนท่ี 2 หมายถึง ถอนตน้ กล้าไปปักดาํ ในแปลงนาทเ่ี ตรียมไว้ การเลอื กท่ีแปลงตกกล้า 1. ควรอยู่ใกล้นํา้ 2. เป็นดินที่มีความอดุ มสมบรู ณ์ หรือดกี ว่าแปลงนาอ่ืน ๆ 3. ควรเปน็ แปลงที่อย่ใู นทด่ี แู ลสะดวก เช่น อยู่ใกลท้ ่พี กั 4. อย่าใชแ้ ปลงนาทเ่ี คยเปน็ โรคอยู่เดิมทําแปลงตกกลา้ 5. ควรเปน็ ที่ ๆ มรี ะดบั ดินสมํา่ เสมอ 6. อย่าใช้แปลงนาทม่ี รี ม่ ไมใ้ หญบ่ ัง การเตรยี มแปลงตกกล้า 1. ไถดะครง้ั ท่ี 1 ตอนทฝี่ นตกชุกแลว้ ทิง้ ไว้ใหห้ ญ้าตาย ขงั น้าํ ไว้ประมา ณ 1 สปั ดาห์ 2. ไถแปร คอื ไถครงั้ ที่ 2 เพื่อพลิกดินอกี ครงั้ หน่ึง 3. คราดหลังจากไถแปรเสร็จแล้วก็คราดได้เลย ในการคราดนี้ต้องให้มีนํ้าอยู่ในแปลงนา ทําการ คราด .หลาย ๆ ครงั้ ไมใ่ หห้ ญา้ เกิดขึ้นปะปนกบตน้ กลา้ 4. เกบ็ เศษหญา้ ออกจากแปลงนา เพอื่ ไมใ่ ห้หญ้าเกดิ ข้นึ ปะปนกบต้นกลา้ 5. ปล่อยน้าํ ออกจากแปลงนาหลงั จากคราดเรียบรอ้ ยแล้วให้เหลอื แต่ดิน 6. หลังจากคราดแล้วปรับท่ีให้ราบเรียบเสมอกัน ปล่อยน้ําออกจากแปลงนา แบ่งแปลงกล้าออกเป็น แปลงย่อยให้แปลงกล้านูนตรงกลางนิดหน่อย แปลงย่อยหนึ่ง ๆ มีความกว้าง 3 - 4 เมตร หรือตามต้องการ ระหวา่ ง แปลงต่อแปลงให้มีรอ่ งน้ํา มีทางเดินกว้างประมาณ 50 ซม. เมอ่ื ฝนตกลงมานา้ํ จะไหลได้สะดวก การทําแปลงตกกลา้ มปี ระโยชน์ ดงั น้ี 1. สะดวกในการหว่านเมล็ดขา้ วลงในแปลงกลา้ ได้สม่ําเสมอ 2. สะดวกในการป้องกันโรคและแมลง หนอน ศตั รูของกลา้ 3. สะดวกในการควบคมุ น้าํ ระบายน้าํ ออก และเข้าได้ทัว่ ถงึ กนั 4. สะดวกในการแบง่ พนั ธ์ขุ า้ วต่าง ๆ ไมใ่ ห้ปะปนกัน
14 การใสป่ ยุ๋ ในแปลงตกกลา้ 1. ใช้ปยุ๋ ซปุ เปอร์ฟอสเฟท (20% P2 05) อตั รา 40 กรมั (4 ขดี ) ต่อ 1 ตารางเมตรใส่ปุย๋ กอ่ น 1 วัน 2. หากแปลงนาที่ตกกล้ามีความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ํา เช่นดินทรายให้ใช้ปุ๋ยซุบเปอร์ฟอสเฟท จํานวน 40 กรัม รวมกับปุ๋ยแอนโมเนียมซัลเฟต (20% N) 10 กรัม ใส่ต่อเนื้อท่ีตกกล้า 1 ตารา ใช้ปุ๋ยสูตร 16–20-0 หรอื สูตร 18–22-0 อัตรา 10–30 กรมั ต่อ 1 ตารางเมตร สตู รใดสตู รหน่งึ 3. หวา่ นป๋ยุ ให้ท่ัวทั้งแปลง ใช้มือลูบปุ๋ยให้จมลงไปในดิน วันต่อมาจึงนําเมล็ดพันธ์ุข้าวที่หุ้มจนงอกพอ เหมาะแล้วมาหว่าน การหว่านเมล็ดข้าวบนแปลงตกกล้าท่ีใส่ปุ๋ยแล้ว โดยไม่ได้ลูบให้ปุ๋ยจมดินก่อน จะทําให้ ความงอกของขา้ วเสยี ไป 4. หลังจากหว่านกล้า 10 วัน เห็นใบกล้าเหลือง ควรใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต เพิ่มลงไปในอัตรา 10 กรมั ตอ่ 1 ตารางเมตร การเตรยี มเมลด็ พนั ธุ์ขา้ วเพอ่ื ตกกลา้ เมล็ดพันธ์ุข้าวที่ใช้ในการตกกล้าควรจะใช้พันธ์ุของกรมการข้าว ซ่ึงผ่านการคัดอย่างดีมาแล้ว และให้ ผลผลิตสงู กวา่ พันธพุ์ น้ื เมืองประมาณ 10 – 20% หากใช้พันธ์ุพ้ืนเมืองจะต้องทําความสะอาดเสียก่อน ในขณะ เดียวกันการแยกเมล็ดลบี และไม่สมบูรณอ์ อกดว้ ยการฝัดหรือแช่นํ้าเกลือ ในอัตราส่วน ผสมน้ํา 1 ปิ๊ป ต่อเกลือ 5 กก. เม่ือคัดเมล็ดที่ไม่สมบูรณ์ซึ่งลอยอยู่ข้างบนออกแล้ว จึงนําไปล้างนํ้าอีกครั้ง แล้วนําเมล็ดไปบรรจุ กระสอบขนาดมาตรฐาน 4 ถังปิดปากกระสอบให้หลวม ๆ นิดหน่อยแล้วแช่ในน้ําท่ีสะอาด แช่น้ําในลําห้วยลํา ธารที่มีน้ําไหลผ่านเสมอย่ิงดี ถ้าไม่มีลําธารอาจจะแช่ในภาชนะอื่น ๆ ก็ได้แช่นํ้านานประมาณ 12 ช่ัวโมง แล้ว ยกกระสอบ ข้นึ ใหน้ ้ําไหลออก แล้วนําไปหุ้มคือเอากระสอบนําไปวางบนขอนไม้ในที่ร่ม ๆ ลมโกรกได้สะดวกดี แล้วหาฟาง หรอื กระสอบชุบนาํ้ คลมุ พยายามกลบั กระสอบจากข้างลา่ งข้ึนข้างบนทุก 12 ชั่วโมงหรืออาจจะเร็ว กว่าน้ีก็ได้ เพื่อ ให้มคี วามชมุ่ ชืน้ ถา้ แหง้ เกนิ ไปก็พรมนํา้ เสยี บ้าง ทําเชน่ น้ีอยู่ประมาณ 36 – 48 ชวั่ โมงหลงั จาก หุ้ม 48 ชั่วโมงแล้วถ้าข้าวยังงอกไม่ดีก็ควรหุ้มต่อไปแต่ไม่ควรเกิน 72 ช่ัวโมง ข้าวที่งอกใช้ได้ดีรากจะงอกยาว ไม่เกิน 1 เซนติเมตรข้าวท่ีงอกดีแล้วก็พร้อมที่จะนําไปหว่านในแปลงกล้าได้ ปริมาณเมล็ดพันธุ์ในการทํานาดํา แปลงกล้า 1 ไร่ใช้เมล็ดข้าวตกกล้าจํานวน 20 ถังแต่ถ้าเมล็ดพันธุ์ท่ีทําความสะอาดดี มีเปอร์เซ็นต์ความงอก เช่นพันธ์ุข้าวดี ของกรมการข้าวในจํานวนเมล็ดพันธุ์เพียง 10 ถังก็พอ ฉะน้ันการใช้เมล็ดพันธ์ุมากน้อยเพียงใด กย็ ่อมเปลยี่ นแปลง ไปตามคุณภาพของเมล็ดพนั ธุ์ และขึ้นอยกู่ ับความนยิ มของแตล่ ะทอ้ งถิน่ การหวา่ นกลา้ คอื การหว่านเมล็ดข้าวท่ีงอกในแปลงกล้าเมล็ดพันธุ์ที่เกาะเม่ืองอกได้ขนาดพอถึง เวลา ตกกล้าก็เทออกจากภาชนะที่เพาะรากเมล็ดข้าวมักจะทับกัน และจับกันเป็นกระจุก จึงต้องทําให้เมล็ดข้าวแยก จากกันแลว้ ใสก่ ระบงุ นาํ ไปหว่านในแปลงซึ่งเตรียมไว้ หว่านให้สมํ่าเสมออย่าให้หนาจนเกินไป จะทําให้เบียดกัน ต้นกล้าจะเจริญงอกงามไม่เต็มที่ ทําให้ต้นเล็กและอัตราเนื้อท่ีใช้ในการตกกล้าอ่อนแอ อัตราเนื้อที่ใช้ในการตก กล้า 1 ไร่ ใช้เมล็ดตกกล้าประมาณ 20 ถัง กล้า 1 ไร่ใช้ดํานาได้ 20 ไร่ ต้นกล้าจํานวน 80 – 100 มัดของ ชาวนาดํานาได้ประมาณ 1 ไร่ ตามอัตรานี้จะเห็นได้ว่าค่อนข้างสูง เพราะเป็นอัตราท่ีชาวนาใช้กันท่ัว ๆ ไป ซ่ึง อาจจะเป็นพันธุ์ข้าวท่ีมีคุณภาพไม่ค่อยดีนัก เช่น สกปรก มีสิ่งอ่ืนเจือปนมาก ความงอกไม่ดี ถ้าใช้พันธุ์ข้าวที่ได้ วิเคราะห์คุณภาพดีแล้ว มีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูง จะใช้อัตราตกกล้าเพียง 10 ถังต่อไร่ เพราะว่าแปลงกล้าที่ใช้ อัตรานี้ มีความเจริญเติบโตแข็งดีกว่าท่ีข้ึนหนา ๆ ความเสียหายมีน้อย กล้าที่แข็งแรงเม่ือนําไปปักดําก็ สิ้นเปลอื งนอ้ ยกว่าและตัง้ ตวั ได้เรว็ การดูแลรกั ษาแปลงตกกลา้ 1. หลังจากการหว่านข้าวกล้าดินในแปลงจะต้องมีความชุ่มชื้นพอที่จะทําให้เมล็ดข้าวเจริญต่อไปได้ ต่อเมื่อรากจับกนั ดีแล้วจึงคอ่ ยระบายนํา้ เข้าแปลงตกกลา้ เพอ่ื ตน้ กล้าจะไดเ้ จริญและยดึ ตวั เร็วข้ึน 2. เม่ือต้นกล้าสูงประมาณ 15 เซนติเมตรหรือประมาณ 1 คืบควรมีน้ําในแปลงสูงประมาณ 5 – 10 เซนติเมตร ข้อสาํ คัญอยา่ ใหแ้ ปลงตกกลา้ ขาดนาํ้ จะทาํ ใหร้ ากกล้ายาว ถอนเอาไปปกั ดาํ ลาํ บาก
15 3. ในระยะท่ีต้นกล้าเจรญิ เตบิ โตจะตอ้ งดแู ลปอ้ งกนั กาํ จดั โรคแมลงเพลี้ยหนอนเพือ่ ให้ไดต้ น้ กล้า สมบรู ณท์ ส่ี ดุ ถ้าหากตน้ กลา้ แคระแกรนใหใ้ ส่ปุ๋ยแอมโมเนยี มซัลเฟตในอัตราไมเ่ กนิ 100 กโิ ลกรัมต่อไร่ 4. เมื่อต้นกล้ามีใบ 6 - 7 ใบ หรืออายุประมาณ 25 – 30 วัน ก็ถอนกล้านําไปปักดําได้ ไม่ควรปล่อย ใหต้ น้ กลา้ มีอายเุ กนิ 45 วัน 5. การถอนต้นกล้า ควรทําด้วยความระมัดระวังอย่าให้ต้นชํ้า เมื่อถอนได้ 1 กําควรแกว่งในน้ําให้ดิน หรอื โคลนท่จี ับอย่กู บั รากหลดุ ไป ไม่ควรฟาดตน้ กล้ากบั หนา้ แข้ง หรอื ฝ่าเทา้ เพราะจะทําใหต้ ้นกลา้ ช้ําหรอื หัก 6. เม่ือถอนต้นกล้าแล้ว ให้มัดเป็นมัด ๆ เพ่ือสะดวกในการนําไปปักดํา กล้าที่จะนําไปปักดําควรตัด ปลาย ใบท้ิงเสยี เพื่อใหต้ ้นกล้าตงั้ ตวั ไดเ้ รว็ และไมถ่ กู ลมพดั ลอยนาํ้ ไปไดง้ ่าย 7. สําหรบั กล้าประเภทพันธ์ขุ ้าวเตีย้ ไม่ต้องตัดปลายก่อนนาํ ไปปักดาํ สง่ิ ทต่ี อ้ งปฏิบตั ิในแปลงนาดาํ คอื 1. การทําคันนา แบ่งแปลงนาเพ่ือกักน้ําไว้ในฤดูปักดํา โดยทําตามระดับของพื้นที่ ถ้าเป็นท่ีลาดเอียงก็ ทําให้เป็นข้ัน ๆ แต่ละคันนามีเนื้อที่ไม่มาก ถ้าเป็นที่ราบระดับไม่ต่างกันมาก คันนาก็น้อยลง แปลงนาแต่ละ แปลง จะมขี นาดไมเ่ ท่ากัน สดุ แล้วแต่พืน้ ท่แี ละความตอ้ งการของชาวนาจะจดั ทาํ 2. จัดระบบเรื่องน้ําเพ่ือให้ผลเป็นท่ีแน่นอนถ้ามีแหล่งนํ้าธรรมชาติ ควรมีคูส่งนํ้าเข้าไปยังแปลงนาทุก แปลง ถ้าจะใช้นา้ํ จากชลประทานหรอื ตง้ั เครอื่ งสูบน้ําเองข้อควรพิจารณาก็คือระบบส่งน้ําควรให้ระดับของพื้นคู ส่งน้ําสูงกว่าระดับนา เมื่อเวลาต้องการน้ําก็จะสามารถเปิดเข้าไปได้ เป็นระบบอิสระท่ีไหลผ่านไปยังทุก ๆ แปลง ส่วนระบบระบายนํ้าจําเป็นจะต้องทําด้วยน้ําท่ีมีปริมาณมากหรือระดับนํ้าสูงจําต้องระบายออก ความ จําเป็นในเร่ืองการถ่ายเทนํ้าในแปลงนา ถ้าสามารถบังคับนํ้าให้ไหลเข้าออกได้ตลอกเวลา การแตกกอของข้าว และการเจรญิ เตบิ โตก็จะดขี ึน้ เพราะอากาศในดินไดถ้ ่ายเทอยเู่ สมอ วชั พืชในนาจะนอ้ ยลง ผลผลิตขา้ วจะสงู ขึ้น การเตรยี มดนิ ในแปลงนาดํา การเตรียมดินในแปลงนาดําน้ี ทาํ หลงั จากการเตรียมแปลงกลา้ และตกกล้าเรียบร้อยแล้ว 1. แปลงปักดํา จะต้องไถดะ เพื่อหมักหญ้าให้ผุพังเน่าเปื่อยเสียก่อน ควรหมักท้ิงไว้ประมาณ 3 สัปดาห์ 2. การคราด เมอื่ ไถแปรเสร็จแล้วให้ทําการคราดทันที ถ้ามีหญ้าหรือวัชพืชหลงเหลืออยู่ก็ต้องเก็บออก ให้หมด อย่าท้ิงไว้ในแปลงนาให้เกิดการเน่า ซ่ึงจะทําให้มีสารพิษเกิดข้ึนทําอันตรายแก่ต้นข้าวท่ีปักดําใหม่ ๆ ชะงัก ความเจริญเติบโต ถ้าหากเอาวัชพืชออกไม่หมด หญ้าหรือวัชพืชอาจไม่ตายและเจริญเติบโต แย่งอาหาร ของตน้ ขา้ วได้ 3. เม่อื คราดเสร็จแล้ว ระบายนํา้ ออกให้เหลอื เพียงเล็กนอ้ ย แลว้ ทําการปักดาํ ไดท้ นั ที 4. อัตราเฉล่ียของปุ๋ยท่ีใช้คือแอมโมเนียมซัลเฟท (20%N) 20 กก. ปุ๋ยซุบเปอร์ฟอสเฟต (20%P2 ๐5) 20 กก. ปอแตสเซ่ียมครอไรด(์ 60% K2๐) 10 กก.ตอ่ เนอ้ื ท่ี 1 ไรป่ ุ๋ยที่ใช้กับข้าวเวลาน้ีคือ ตามสูตร 16–20-0 ใช้ ในอตั รา 15 – 20 กก. ต่อเน้อื ท่ี 1 ไร่
16 การปักดาํ 1. จับต้นกล้าประมาณ 3-4 ต้นปักลงไปในดินเป็นแถว เพ่ือสะดวกในการเข้าไปกําจัดวัชพืชป้องกัน กาํ จัดโรคแมลง ศตั รูข้าว และการใสป่ ุ๋ย 2. ระยะปลูกระหว่างแถวและระหว่างต้น ควรห่างกันประมาณ 20–25 เซนติเมตรทั้งนี้แล้วแต่ความ อุดม สมบูรณ์ของดิน ดนิ เลวปลกู ถ่ี ดินดีปลูกหา่ ง การดูแลรักษาแปลงปกั ดํา 1. ภายหลังจากการปักดําเสร็จแล้ว ต้องตรวจดูอาจจะมีต้นข้าวลอยขึ้น เนื่องจากปูกัดหรือแปลงนา อาจจะขาดนาํ้ ตอ้ งรีบซ่อมทันที 2. รกั ษาระดับน้ําอยา่ ให้สูงเกนิ ไป ควรให้มรี ะดับความสงู 30% ของความสงู ต้นข้าวจะต้งั ตวั ได้ต้องใช้ เวลาประมาณ 10–15 วัน หลังปักดํา 10 วนั ควรใหม้ ีน้าํ 10–15 เซนตเิ มตร 3. เม่ือข้าวอายุได้ 1 เดือนควรจะทําการปราบวัชพืช เพื่อไม่ให้วัชพืชรบกวนต้นข้าวจะเป็นเหตุให้ ผลผลิตขา้ วตกตา่ํ 4. ควรใส่ปุ๋ยตน้ ข้าว เปน็ 2 ระยะ - ระยะแรก ใส่ปุ๋ยรองพ้ืนก่อนปักดํา 1 วัน โดยใช้ปุ๋ยสูตร 16–20-0 สูตร 18 สูตร 20–20-0 สูตร ใดสูตรหนึ่งจํานวน 20 กโิ ลกรัมต่อไร่ - ระยะท่ี 2 ใส่ปุ๋ยก่อนข้าวออกดอกประมาณ 30–40 วันด้วยปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟทจํานวน 12–22 กิโลกรมั ต่อไร่ ป๋ยุ แอมโมเนียมคลอไรด(์ 25%) จํานวน 10–18 กก. ตอ่ ไร่หรือปุ๋ยยูเรีย(45%) จํานวน 6– 10กก. ตอ่ ไร่ อย่างใดอย่างหนึ่ง การทาํ นาหวา่ น (direct sowing rice or broadcast rice culture) การทํานาหว่าน หมายถึง การปลูกข้าวโดยใช้วิธีหว่านเมล็ดพันธ์ุข้าวลงไปบนพื้นที่นาท่ีเตรียมไว้แล้ว โดยไม่ต้องทําการเพาะกล้าก่อนแล้วย้ายกล้าไปปักดําเหมือนการทํานาดํา พื้นที่ท่ีมีการทํานาหว่านในบ้านเรา ส่วนมากนิยมทํากันในบริเวณพ้ืนที่ราบลุ่มที่มีนํ้าท่วมลึก เช่น บริเวณภาคกลางของประเทศโดยเฉพาะพ้ืนที่ท่ีมี การปลูกขา้ วขึ้นนาํ้ กัน เพราะในพน้ื ท่ีดังกล่าวชาวนาจะเริ่มทําการหว่านเมล็ดข้าวต้ังแต่ช่วงระยะท่ีมีความช้ืนใน ดนิ พอเพยี งแกก่ ารงอกในช่วงระยะตน้ ฤดฝู นเพราะข้าวจะสามารถงอกขึ้นมาและต้ังตัวได้ทันก่อนที่ข้าวจะถูกนํ้า ท่วม อย่างไรก็ตามปัจจุบันนี้การทํานาหว่านนิยมทําท้ังในข้าวขึ้นน้ําและข้าวนาสวน สําหรับพ้ืนที่ที่จะทํานา หว่านนั้นจะต้องเป็นพื้นท่ีนาที่มีลักษณะเป็นแปลงใหญ่ติดต่อกันเป็นผืนเดียว และต้องได้ระดับสม่ําเสมอเพื่อ สะดวกในแง่การควบคุมระดับนํ้าไม่ให้วัชพืชเจริญงอกงาม ดังน้ันพื้นท่ีที่ราบสูง เช่น ทางภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงลักษณะของนาแบ่งเป็นกระทงนาขนาดเล็ก และควบคุมน้ําไม่ค่อยได้นั้นไม่เหมาะ สําหรับทํานาหว่าน การทํานาหว่านนี้ในบางประเทศท่ีมีการพัฒนาทางด้านการเกษตรไปมากแล้ว และเป็น ประเทศที่ทําการปลูกข้าวเพื่อส่งเป็นสินค้าออก เช่นประเทศสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย มักนิยมทํากัน เพราะสะดวกในแง่การปฏิบัติเพราะข้ันตอนต่าง ๆ ในการปลูกไม่ยุ่งยากเหมือนการทํานาดํา นอกจากนั้น ลักษณะพื้นที่นาของประเทศเหล่าน้ันเป็นผืนใหญ่ ๆ ในการเตรียมดินและการดูแลรักษาข้าวน้ันมีการใช้
17 เครอ่ื งจักรเครือ่ งมือที่ทันสมยั นอกจากนย้ี งั มีการใชส้ ารเคมใี นการป้องกนั กําจัดวชั พืช วิธกี ารทาํ นาหวา่ นนน้ั แบง่ ออกเปน็ 4 แบบใหญ่ ๆ คอื 1. การทํานาหว่านสาํ รวย วิธีในการปฏิบตั ิคอื เมอ่ื เร่มิ ตน้ ฤดูฝนแล้วก็ทําการและพลิกดนิ และเมอื่ ฝน ตกชกุ กท็ ําการไถแปรเพื่อยอ่ ยดนิ เสร็จแล้วจึงทําการหว่านข้าวลงไปในสภาพเมล็ด และเม่ือฝนตกลงมาข้าวก็จะ งอกข้ึนมา การทํานาหว่านสํารวยน้ีไม่ต้องใช้แรงงานมากเหมือนกับการทํานาดํา แต่ผลผลิตต่อไร่ท่ีได้ต่ํา ทั้งน้ี เพราะว่าการงอกของข้าวไม่สมํ่าเสมอทําให้ต้นข้าวที่ข้ึนมามีประปราย จํานวนต้นข้าวต่อพ้ืนท่ีน้อยเกินไป อีก อยา่ งกจ็ ะมปี ัญหาเรื่องการแข่งขันของวัชพืชเพราะวชั พชื สามารถงอกข้ึนมาพร้อมกบั ขา้ ว 2. การทํานาหว่านแบบหว่านไถกลบหรือหว่านคราดกลบ มักจะทํากันในบริเวณพื้นที่ท่ีมีความช้ืน ค่อนข้างสูง แต่ยังไม่ถึงกับมีน้ําขังแฉะ การทํานาหว่านแบบน้ีโดยทําการไถเสร็จแล้วก็หว่านข้าวแห้งลงไปเลย แล้วทําการไถกลบหรือคราดกลบวิธีการทํานาหว่านแบบน้ี มักจะทํากันเมื่อฤดูกาลทํานาล่าช้าไป เนื่องจากฝน มาช้า ถา้ จะทาํ นาดาํ กจ็ ะไม่ทนั การ การทาํ นาแบบนี้มีโอกาสเส่ียงมาก 3. การทํานาหว่านแบบหว่านหลังมูลไถ มักจะทํากันในสภาพที่มีฝนตกมากเกินไปดินเปียกแฉะ และ จําเป็นจะต้องหว่านข้าวในเวลาน้ัน เม่ือทําการไถเสร็จก็หว่านเมล็ดข้าวแห้งลงไปเลย โดยใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ ประมาณ 15-20 กโิ ลกรัมต่อไร่เมอื่ หว่านเสร็จแลว้ ก็ไมต่ อ้ งทาํ การคราดกลบหรือไถกลวิธีการทาํ นาแบบไถกลบ อกี วิธีการทํานาแบบน้ีไมค่ อ่ ยได้ผลดีเพราะจะมีปัญหาของวัชพืชมาก ถ้าเกิดฝนแล้งตามมาเมล็ดข้าวท่ีงอกขึ้น มาแล้วอาจตายไป หรือถกู นก หนทู าํ ลาย 4. การทํานาหว่านนํ้าตม หรือหว่านข้าวงอก เป็นการทํานาหว่านในพื้นที่ที่ทํานาดําหรือนาสวนท่ัว ๆ ไป แต่ได้รับการปรับพื้นท่ีให้ได้ระดับดีแล้วและเป็นแปลงใหญ่พอสมควร การเตรียมดินก็ทําลักษณะเดียวกับ การเตรียมดินสําหรับการทํานาดํา อัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ประมาณ 5 - 7 กิโลกรัม ต่อไร่ ในการเตรียมดินก็มีการ ไถดะ ไถแปร แล้วคราดเก็บเอาวัชพืชออกให้หมดพร้อมกับทําการปรับระดับผิวหน้าดินให้เรียบสมํ่าเสมอ เสร็จ แล้วให้ขังนํ้าไว้พอท่วมผิวดิน จากนั้นก็ทิ้งไว้ปล่อยให้วัชพืชงอกข้ึนมา (ทิ้งไว้ประมาณ 5 - 7 วัน) จากน้ันก็ทํา การคราดอีกคร้ังหน่ึง ขณะที่คราดต้องมีน้ําขังในนาเพ่ือให้ต้นวัชพืชอ่อน ๆ ท่ีหลุดขึ้นมาลอยอยู่ในนํ้าจากน้ันก็ ทําการตักหรือช้อนเอา วัชพืชข้ึนมา เม่ือทําการช้อนวัชพืชออกหมดแล้วก็ระบายนํ้าออกให้หมดให้เหลือเพียง เล็กน้อยที่ผิวดิน เมื่อเตรียมดินเสร็จแล้วก็ทําการหว่านเมล็ดข้าวท่ีผ่านการแช่และหุ้มมาแล้ว (เมล็ดข้าวที่งอก แลว้ ) และถ้าต้องการใสป่ ุย๋ รองพ้นื ที่ ให้ทาํ การหวา่ นปยุ๋ ลงไปก่อนที่จะหวา่ นเมลด็ ขา้ ว หลังจากนั้นประมาณ 5 - 7 วัน ข้าวก็จะเจริญมีรากงอกจากผิวดินและเริ่มมีการตั้งตัวของต้นกล้า จากนั้นให้ปล่อยน้ําเข้าแปลงให้มีความ ลึกประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ในช่วงนี้ถ้าต้นกล้าข้าวมีการเจริญเติบโตข้ึนเขียวท่ัวแปลงและมีพัฒนาการถึง ระยะทมี่ ีใบจรงิ 2 ใบ ถ้าต้องการหวา่ นสารเคมคี ุมวัชพชื จะงอกข้ึนมา โดยเฉพาะเมอ่ื ไม่ได้หว่านสารเคมีคุมหญ้า ระดับน้ําในนาควรรักษาให้อยู่ระดับ 7 - 10 เซนติเมตรก็พอแล้ว ถ้าระดับนํ้าสูงเกินไปจะทําให้ข้าวมีการยืดตัว สูงขึ้นซึ่งเป็นผลใหต้ ามระดบั น้ํา ซึ่งเปน็ ผลใหต้ น้ ขา้ วออ่ นแอลม้ ง่าย และเมื่อข้าว มีอายุได้ประมาณ 20 - 30 วัน ก็ทําการหว่านปุ๋ยลงไปเพื่อเร่งการเจริญเติบโตและการแตกกอของข้าวในช่วงระยะก่อนที่ข้าวจะเริ่มสร้างรวง อ่อน ๆ (ประมาณ 40 วัน) ก่อนออกรวงควรทําการระบายน้ําออกจากนาเพื่อให้รากได้รับอากาศและปล่อยนํ้า เข้านาใหม่และทําการหว่านปุ๋ยแต่งหน้าอีกคร้ังหน่ึง การทํานาหว่านนํ้าตมน้ีเป็นวิธีท่ีบางประเทศ เช่น ออสเตรเลีย และอเมริกาปฏิบัติกันอยู่เพราะพบว่าให้ผลผลิตสูง เปลืองเมล็ดพันธ์ุน้อย ข้ันตอนในการปลูกไม่ ยุ่งยาก ดังน้ันในพื้นท่ีท่ีมีปัญหาเร่ืองการทํานาดําไม่ทันการตามกําหนดเวลา ถ้าเปลี่ยนมาทํานาหว่านน้ํา ตมจะให้ผลดีกว่า ในปัจจุบันในหลาย ๆ พ้ืนท่ีได้มีการเปลี่ยนจากการทํานาดํามาทํานาหว่านนํ้าตม แม้กระท่ัง การทาํ นาปรงั ก็พบว่าทาํ แบบหวา่ นนา้ํ ตมกใ็ ห้ผลดีเหมอื นกนั
18 การปลกู ขา้ วไร่ (upland rice or hill rice culture) การปลกู ข้าวไรน่ นั้ มลี กั ษณะของการปลูก การปฏิบตั แิ ละการดูแลรักษาเหมือนกับการปลูกพืชไร่อื่น ๆ เป็นการปลูกข้าวท่ีมีลักษณะแตกต่างไปจากการทํานาดําหรือนาหว่านเพราะตลอดระยะเวลาของการ เจริญเติบโต ของข้าวไร่ ไม่จําเป็นต้องมีการขังนํ้าในพ้ืนที่ เพียงแต่ให้ดินมีความชื้นเพียงพอต่อการปลูกพืชไร่ ทัว่ ไป ก็สามารทําการปลูกข้าวไรไ่ ด้แล้ว ฤดูกาลปลูกข้าวไร่ การปลูกขา้ วไรน่ ัน้ ต้องอาศัยความชื้นจากนํ้าฝนท่ีตกลงมา ดังน้ันฤดูกาลปลูกจึงอยู่ ในฤดูฝนน่ันเอง ส่วนใหญ่แล้วมักจะทําการปลูกในช่วงต้นฤดูฝน ในเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมิถุนายน ขึ้นอยู่ กับสภาพพื้นท่ีและการเร่ิมต้นของฤดูฝนในพื้นท่ีนั้น ๆ จากการศึกษาของ จักรี เส้นทอง และคณะ (2527) พบว่าในสภาพการปลูกท่ีสถานีทดลองดอยหนองหอย อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ (ความสูง 850 เมตร จา กระระดับนํ้าทะเล) นั้น พบว่าข้าวไร่จะให้ผลผลิตสูงสุดถ้าปลูกในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม ถึงต้นเดือน มิถนุ ายน การปลูกในชว่ งก่อนระยะเวลาดังกล่าวผลผลิตจะนอ้ ยลง เน่อื งจากปรมิ าณความชื้นในชว่ งแรก ๆ ของ การเจริญเติบโตไมพ่ อเพียง สําหรับการปลูกที่ล่าช้าไปจากต้นเดือนมิถุนายนนั้น พบว่าผลผลิตลดลงเพราะข้าวที่ปลูกเวลาดังกล่าว ไปออกรวงในชว่ งต้นเดอื นพฤศจกิ ายน ซ่งึ มอี ณุ หภมู ิตอนกลางคืนต่าํ ทาํ ใหเ้ กดิ การเปน็ หมนั ในดอกขา้ วมากขน้ึ สําหรับวันปลูกที่เหมาะสมของข้าวไร่ในสภาพพ้ืนท่ีดอนไม่สูงจากระดับน้ําทะเลมากนัก การปลูกช่วง เดอื นกรกฎาคม จะใหผ้ ลดีกว่าการปลกู ก่อนชว่ งเวลาดงั กล่าว เพราะในชว่ งแรก ๆ ของการเจริญเติบโตของข้าว จะไดร้ ับความชนื้ ในดนิ ท่ีดกี วา่ ในการกําหนดวันปลูกของข้าวไร่แต่ละท้องถ่ินน้ันควรจะต้องพิจารณาช่วงวัย ข้างเคียงด้วยเพ่ือให้ข้าว ที่ปลกู ออกรวงในช่วงเวลาใกล้เคยี งกนั ซึ่งจะช่วยลดปญั หาการทาํ ลายของนกและหนใู นช่วงท่ีขา้ วสุกแก่ พันธ์ุข้าวไร่ โดยท่ัว ๆ ไปแล้ว ข้าวไร่ท่ีเกษตรกรใช้ปลูกกันอยู่ในปัจจุบันเป็นพันธุ์พ้ืนเมืองด้ังเดิม ท่ี ปลูกกันมานานแล้วและพันธุ์ต่าง ๆ เหล่าน้ีก็แตกต่างกันไปตามท้องถิ่นต่าง ๆ พันธุ์ข้าวไร่พวกนี้ จัดอยู่กลุ่ม indica มีลักษณะท่ัว ๆไปคือ รวงใหญ่แน่น เมล็ดต่อรวงมาก การแตกกอน้อย ลักษณะลําต้นค่อนข้างสูง และ ผลผลิตตา่ํ นอกจากนีย้ งั ไมค่ ่อยตอบสนองต่อป๋ยุ ในแง่ผลผลิต ถ้าปลูกในสภาพที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์สูง หรือ ถ้าหากใส่ปุ๋ย ในอัตราท่ีสูง ๆ โดยเฉพาะปุ๋ยไนโตรเจน จะมีลักษณะเจริญทางลําต้นและใบมาก หรือท่ีเรียกว่า ลักษณะเฝือใบ และมักจะมีการหักล้ม พันธุ์ข้าวไร่ที่ปลูกกันอยู่ในปัจจุบันทางภาคเหนือของประเทศส่วนใหญ่ แล้วเป็นพันธ์ทุ ี่ตอบสนองตอ่ อณุ หภูมแิ ละช่วงแสงในแง่การออกดอก ตารางแสดงรายชอื่ ขา้ วไร่ทรี่ ฐั บาลกาํ ลังสง่ เสรมิ ลําดับที่ ชื่อพนั ธุข์ า้ ว อายหุ รือ ประเภทข้าว ผลผลิต ขนาดเมลด็ ข้าวกล้อง หมายเหตุ 1 ซวิ แมจ่ นั วนั เกบ็ เก่ยี ว ขา้ วเหนียว (ประมาณ) กxนxหนา (มม.) ประมาณ กก./ไร่ สามารถหงุ ตม้ ได้ทงั้ 2.20 x 7.31 x 2.20 สองแบบ คอื 140 - 150 วนั 450 น่ึงและหงุ 2 เจา้ ฮ่อ 150 วนั ขา้ วเจ้าเหนยี ว 550 2.77 x 7.19 x 1.96 3 อาร์-258 120 – 140 วัน ข้าวเหนียว 400 -500 3.20 x 6.95 x 2.55 4 นํ้ารู 135 – 145 วัน ข้าวเจา้ 228.9 3.11 x 9.39 x 2.18 เป็นพันธุส์ ําหรบั ทสี่ งู 5 โมโตซา่ 130 – 140 วัน ขา้ วเจ้า 307.9 2.66 x 7.01 x 1.88 1,200 – 1,500 เมตร จากระดบั นํ้าทะเล
19 การเลอื กพนื้ ที่และการเตรียมดนิ ในพื้นที่ที่เปน็ หุบเขาน้ันในการเลือกพนื้ ทป่ี ลกู ข้าวไร่นัน้ ควรเลอื กที่ที่ ไมถ่ กู บังแสงโดยตน้ ไมใ้ หญ่ ไมค่ วรเลอื กท่ีบังแสงและควรเปน็ บรเิ วณทางดา้ นทิศตะวนั ออกหรือตะวันตกเฉียงใต้ เพราะจะทําให้ข้าวได้รับแสงอย่างเต็มท่ี ไม่ควรใช้พ้ืนที่ท่ีมีความลาดชันสูง เพราะจะเกิดปัญหาการชะล้าง พังทลายของดินได้ง่าย ซ่ึงจะเป็นผลให้ดินเส่ือมความอุดมสมบูรณ์เร็วขึ้น ทําให้เกิดการบุกเบิกพื้นท่ีใหม่เพิ่มข้ึน อีก อย่างไรก็ตามโดยท่ัว ๆ ไปแล้วในการเลือกพื้นท่ีปลูกข้าวไร่ของชาวเขาท้ังหลายมักจะมีข้อจํากัด เพราะ ชาวเขาสว่ นใหญ่ชอบอาศยั ตามทีส่ งู ๆ และสภาพพน้ื ท่ีมกั สูงชันอยูแ่ ลว้ การเตรียมเมล็ดพันธุ์ เมล็ดพันธ์ุข้าวไร่ท่ีจะใช้ปลูกน้ัน ควรเป็นเมล็ดที่สมบูรณ์ปราศจากเช้ือโรคท่ีติด มากับเมล็ด ถ้าเป็นเมล็ดพันธ์ุที่เก็บไว้ทําพันธ์ุเอง ควรคัดเมล็ดจากรวงท่ีดี ๆ ตรงตามพันธุ์และควรเก็บรักษาไว้ อย่างดี ถ้าต้องการซ้ือเมล็ดพันธุ์ควรซ้ือจากหน่วยงานราชการท่ีรับผิดชอบ เมล็ดพันธุ์ท่ีได้มาต้องทําความ สะอาดโดยคัดเมล็ดลีบและเมล็ดเสียทิ้ง และควรทําการทดสอบความงอกเพื่อจะได้กะปริมาณที่จะปลูกได้พอดี เมลด็ พันธทุ์ ่ีจะปลูกควรคลกุ เมล็ดด้วยสารป้องกันกาํ จัดเชอื้ ราพวกแคปแทนหรือไดแทนเอ็ม 45 ในอตั รา 2 กรัม ต่อเมล็ดข้าว 7 กิโลกรัมเพ่ือป้องกันกําจัดโรคราต่าง ๆ ที่ติดมากับเมล็ด ในการคลุกเมล็ดพันธ์ุด้วยสารเคมี ป้องกันกําจัดเช้ือรานั้น เพื่อให้มีประสิทธิภาพต้องคลุกเมล็ดพันธ์ุก่อนการปลูกประมาณ 2 สัปดาห์ สําหรับใน บริเวณท่ีมีปัญหาการทําลายของมดและปลวกก็ควรคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารเคมี ป้องกันกําจัดแมลงพวกอลา มอนในอัตราประมาณ 10 กรมั ต่อ เมลด็ ขา้ ว 3 กิโลกรัม วิธีการปลูก วิธกี ารปลูกขา้ วไร่ท่ใี หผ้ ลดมี อี ยู่ 2 วิธีคอื 1. วิธีการปลูกหรือหยอดแบบเป็นหลุม เป็นวิธีที่ใช้ได้ผลดีและนิยมทํากันมาก เพราะสะดวกในแง่การ ปฏบิ ตั ิ การดแู ลรักษาตลอดจนการเก็บเกี่ยว วิธีการปลูกวิธีนี้โดยใช้ไม้ท่ีมีปลายแหลมกระทุ้งเจาะลงไปในดินให้ ลึก ประมาณ 3 - 5 เซนติเมตรใช้ระยะระหว่างแถวและระยะระหว่างหลุม 25 เซนติเมตร เช่นเดียวกับระยะ ปลูกทีใ่ ช้กบั การปลกู ข้าวนาดาํ จากน้ันกห็ ยอดเมลด็ ประมาณหลมุ ละ 5 - 6 เมล็ดแล้วใช้ดินกลบตอนกลบ ตอน กลบเมล็ดระวังอย่าให้ดินแน่นจนเกินไป วิธีปลูกวิธีนี้ใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 6 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากระยะ ปลูกดงั กลา่ วแล้วสําหรับในพ้นื ท่ที ค่ี วามอดุ มสมบรู ณ์ตํา่ เช่นพ้ืนท่ีบนเขานัน้ ทางกรมวิชาการเกษตรได้แนะนําให้ ใชร้ ะยะระหวา่ งแถว 30 เซนติเมตร และระยะระหว่างหลุม 10 เซนติเมตรกพ็ บวา่ ใหผ้ ลดเี ช่นกัน 2. วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว วิธีการนี้เป็นวิธีการท่ีพบว่าให้ผลดีเช่นกัน แต่ในทางปฏิบัติค่อนข้าง ยากเพราะการประมาณอัตราเมล็ดพันธุ์ท่ีจะโรยลงไปค่อนข้างลําบากต้องอาศัยความชํานาญ วิธีการนี้โดยทํา การเปิดร่องท่ีจะปลูกก่อนโดยใช้ระยะระหว่างแถวหรือระหว่างร่อง 25 เซนติเมตรโดยใช้อัตราเมล็ดพันธ์ุ ประมาณ 8 กิโลกรมั ต่อไร่ สาํ หรบั วิธกี ารปลูกโดยการหวา่ นเมลด็ ไมค่ วรปฏิบัติกันเพราะความงอกไม่สม่ําเสมอ การปฏบิ ตั ิดแู ล รักษายาก การปอ้ งกนั กาํ จัดวชั พชื หลงั จากที่ขา้ วไรง่ อกไดป้ ระมาณ 15 - 20 วัน ถา้ มีวชั พชื ขน้ึ มากในแปลงกท็ าํ การกําจดั โดยการดายหญ้า พร้อมกับทาํ การพรวนดินไปด้วย และเมื่อข้าวไร่อายุได้ราว ๆ 40 - 45 วัน ก็ควรทํา การดายหญ้าและพรวนดินอีกครั้งหน่ึง ในการกําจัดวัชพืชแต่ละคร้ังต้องทําการเก็บเศษวัชพืชต่าง ๆ ออกจาก แปลง ไม่ควรทิ้งกองไว้ในแปลงเพราะวัชพืชบางชนิดอาจจะกลับข้ึนมาอีกเมื่อฝนตกลงมา อย่างไรก็ตามในเรื่อง การป้องกันกําจัดวัชพืชนี้ถ้ามีการเตรียมดินดีและหลังจากเตรียมดินเสร็จแล้วสามารถทําการปลูกได้ทันที กอ็ าจจะไมม่ ปี ญั หาเร่ืองวัชพชื มากนกั อาจจะทาํ การดายหญา้ เพียงคร้งั เดียวก็พอแล้ว ในการป้องกันกําจัดวัชพืชในแปลงข้าวไร่นั้น นอกจากการใช้วิธีกลแล้วยังสามารถทําการป้องกันกําจัด โดยใช้สารเคมีได้ด้วยสารเคมีท่ีผลดีคือสารเคมีป้องกันกําจัดวัชพืชประเภทพ่นก่อนพืชงอก (pre-emergence herbicide)พวก butachlor (ชื่อการค้าว่ามาเช๊ตเต้) ในอัตรา 600-800 ซี.ซี. ผสมนํ้า 80 ลิตรต่อไร่ โดยฉีดพ่น ให้ท่วั ผวิ หนา้ ดนิ ทนั ทหี ลงั ปลกู และไมใ่ หเ้ กนิ 3 วัน ประสิทธิภาพในการควบคมุ วชั พชื ของสารเคมีพวกน้ีจะดีเม่อื ดนิ มีความชมุ่ ช้นื พอสมควร
20 สําหรับในกรณีท่ีพบว่าวัชพืชงอกข้ึนมาบ้างแล้วในแปลงขณะปลูกให้ใช้สารเคมีป้องกันกําจัดวัชพืช พาราควอท (กรัมม๊อกโซน) ผสมลงไปในอัตรา 240 - 320 ซี.ซี.ต่อไร่ เพ่ือช่วยกําจัดวัชพืชท่ีงอกขึ้นมาแล้ว การใช้ สารเคมีป้องกันกําจัดวัชพืชพวก butachlor นั้น ส่วนใหญ่แล้วมักจะใช้ควบคู่กับการดายหญ้าครั้งท่ี 2 หรือถ้าไม่มี วัชพืชขึ้นมามากในแปลงจนอยู่ในระดับท่ีจะทําความเสียหายแก่ข้าวไร่ได้ก็อาจจะไม่ต้องดายหญ้า อีกคร้ัง สาํ หรบั สารเคมปี อ้ งกนั กาํ จัดวชั พชื ประเภทพ่นหลังพชื งอก (post-emergenceherbicide) พวกโปรพาเอส หรือช่ือสามัญว่า 2,4-D, ethylester + propanil น้ันการใช้ต้องระมัดเพราะถ้าใช้ไม่ถูกจังหวะเวลาแล้วมักจะ ทําให้เกิดผลเสียหาย โดยทาํ ให้ต้นขา้ วชะงกั การเจริญเติบโต การใส่ปุ๋ย ในพ้ืนที่ท่ีใช้ทําการเพาะปลูกพืชมานานแล้วดินมักจะมีความเสื่อมโทรม ทําให้ผลผลิตของ พชื ทปี่ ลูกลงไปลดนอ้ ยถอยลง ซง่ึ มีความจําเปน็ ท่ีจะต้องปรับปรงุ บํารุงดนิ ซ่งึ มวี ิธีการหลายรปู แบบได้แก่ 1. การปลูกข้าวไรห่ มนุ เวียนกับพืชตระกูลถ่วั บํารงุ ดนิ ตา่ ง ๆ 2. การใสป่ ยุ๋ บํารงุ ดิน ซ่ึงรูปของปยุ๋ ทสี่ ามารถใช้ไดม้ หี ลายรูปแบบ ไดแ้ ก่ 2.1 ปยุ๋ คอก (manure) 2.2 ปยุ๋ หมัก (compost) 2.3 ปยุ๋ พืชสด (green manure 2.4 ป๋ยุ เคมี การเก็บเกี่ยวข้าวไร่ เม่ือถึงระยะท่ีรวงข้าวไร่สุกแก่แล้ว ซึ่งมีลักษณะที่ใช้พิจารณาก็เช่นเดียวกับ ลักษณะของข้าวนาดํา ต้องรีบทําการเก็บเก่ียวทันทีเพราะข้าวไร่ท่ัว ๆไป เมล็ดมักจะร่วงง่าย ถ้าเก็บเกี่ยวล่าช้า ทําให้ผลผลิตเสียหาย นอกจากนี้อาจจะถูกนกหนูทําลายอีกด้วย การเก็บเกี่ยวใช้เคียวเกี่ยวเช่นเดียวกับข้าวนา ดํา เม่ือเก็บเก่ียวเสร็จแล้วก็ตากไว้บนตอซังประมาณ 3-5 แดด จากนั้นก็ทําการนวดซึ่งมีอยู่หลายวิธี เช่น นวด บนลานนวดบนเสอ่ื นวดในคุ นวดโดยวิธีเหยียบ เมือ่ นวดเสรจ็ แลว้ ก็ทําความสะอาดโดยการฝัดเอาเมล็ดข้าวลีบ และสิ่งเจือปนต่าง ๆ ท้ิง จากน้ันถ้าเมล็ดมีความชื้นสูงอยู่ก็ทําการตากอีก 1-2 แดด จากน้ัน ก็นําข้าวไปเก็บใน ยงุ้ ฉาง วัชพชื ในนาขา้ ว วัชพชื ทัว่ ๆ ไป เท่าท่พี บในนาขา้ วมีมากมายหลายชนดิ วชั พืชทที่ าํ ความเสยี หายแก่ข้าวได้แก่ 1. หญา้ ดอกแดง 2. หญา้ ปล้อง 3. กกสามเหล่ียม 4. ผักตบชวา 5. หญา้ ไซ ฯลฯ หญ้าปลอ้ ง ผกั ตบชวา กกสามเหลีย่ ม การกาํ จัด 1. กําจัดโดยถอนทิง้ ควรทาํ อย่างน้อย 2 คร้ัง 2. การใชย้ าปราบวชั พชื การป้องกันกําจัดโรคและศตั รขู า้ ว 1. วชั พืชกําจดั โดยวธิ ีถอนทาํ ได้ 2 คร้ัง หลังจากปักดาํ แล้ว 15–20 วัน และหลังจากถอนคร้ังแรก 15– 20 วัน ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับวัชพืชที่มีในท้องถ่ิน ไม่ควรกําจัดวัชพืชหลังจากที่ข้าวออกรวงแล้ว การกําจัดวัชพืชในนา อาจใช้ ยาปราบวัชพืชกไ็ ด้ แต่ผู้ใช้ตอ้ งมีความรู้และมคี วามละเอยี ดประณตี เพยี งพอ 2. โรค โรคขา้ วมีหลายชนดิ อาจแบง่ ออกไดค้ ือ ก. โรคท่ีเกิดจากเช้ือราได้แก่โรคไหม้ ทําให้ใบแห้งตาย คอรวงเน่า เมล็ดลีบ โรคถอดฝักดาบ มอง เห็นได้ชัดหลังปักดําประมาณ 4-5 วัน ต้นเหลืองซีด และสูงกว่าต้นอื่นมากแล้งแห้งตาย ต้นที่แสดงอาการจะไม่ ออกรวง
21 ข. โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย ได้แก่ โรคขอบใบแห้ง เกิดในระยะแตกกอและออกรวงใบข้าวเป็นแผล ชา้ํ เริม่ จากขอบและปลายใบ การใสป่ ยุ๋ ไนโตรเจนในอตั ราสงู เกินไปจะทาํ ให้เกิดโรคได้ง่าย ค. โรคท่ีเกิดจากเชื้อวิสลาโรคใบสีส้ม แพร่กระจากโรคโดยเพล้ียจักจ่ัน ต้นข้าวเป็นได้ตั้งแต่กล้าถึง ระยะออกรวง ถ้าเป็นระยะแตกกออาจจะเสียหายมากที่สุด ใบอ่อนจะเป็นรอยด่าง เปลี่ยนเป็นสีเหลืองใบล่าง จะตกต่ําลง การออกดอกช้าและมเี มลด็ น้อย เมลด็ อาจเปลีย่ นเป็นสดี าํ นา้ํ หนักเมลด็ เบา 3. แมลง แมลงมีมากมายท่ีรู้จักกันดี ได้แก่ เพลี้ยไฟ หนอนกระทู้กล้า แมลงบัว หนอนกอ หนอน ม้วนใบ หนอนกระท้คู อรวง แมลงสิงห์ เพลีย้ จกั๊ จน่ั เพล้ยี แป้ง ด้วงงวง ต๊กั แตน ฯลฯ 4. ปูและหนูนา หลังจากปักดําปูจะกัดกินต้นข้าวส่วนหนูจะทําลายเมล็ดข้าวในนา ระยะต้นข้าวออก รวง จะกําจัดได้โดยใช้ยาเบ่ือใช้กับดักการทําลายโรคและแมลงศัตรูข้าวต่าง ๆ จะเร่ิมตั้งแต่อยู่ในระยะกล้า จนกระท่ัง ออกรวง เพื่อท่ีจะลดความเสียหายจากการทําลายของโรคและแมลงจึงควรศึกษารายละเอียดการ ทําลายและการ กําจัดหม่ันดูแลแปลงข้าวเป็นประจําตลอดเวลา หากพบก็รีบดําเนินการป้องกันกําจัดโดยด่วน หากสงสัยวิธีป้องกันขอให้ไปหารือกับเกษตรตําบล เกษตรอําเภอ เกษตรจังหวัด หน่วยป้องกันศัตรูพืชใน ท้องถิ่น ศัตรพู ชื โรคใบขดี โปร่งแสง ระยะข้าวแตกกอเต็มที่ ปลายใบจะเห็นเป็นทางหรือรอยขีด ต่อไปปลายงดการใส่ ปุ๋ย โรคใบไหม้ ทําความเสียหายให้แก่ต้นข้าวกล้ามากที่สุด ใบของข้าวกล้าไหม้แห้งเป็นสีน้ําตาล ใช้ยา ฉดี ถอนออก ฝังหรือเผา ไม่ควรใส่ป๋ยุ N มากเกนิ ไป โรคใบจุดสีน้ําตาล ใบข้าวจะมีแผลเป็นวงกลมเล็ก ๆ สีนํ้าตาล กระจายอยู่ทั่วไปควรใช้ยาเซราแซน คลุกเมล็ดก่อนหว่าน ใส่ปุ๋ยโปแตสเซี่ยมคลอไรด์ 10 กก. ต่อไร่ เพลี้ยไฟตัวแก่มีสีดําเล็กมาก ใช้ปากดูดนํ้าเลี้ยง จากใบข้าว ทําให้ใบข้าวแห้งเหี่ยวและตาย ใช้ยาฉีดดีดีที 25 % ยามาลาไซออน4 % ยาดิลดริน 0.04 % ฉีด หนอนกระทู้กล้า แมลงชนิดน้ีจะทําลายข้าว กล้าในระยะท่ีเป็นตัวหนอน กัดกินต้นกล้า เกิดจากผีเส้ือหนอน กระทู้ จะมีสเี ทาแถบดา้ นข้างท้ังสองจะมสี ีเหลือง ออกหากินกลางคนื โรคลาํ ต้นเนา่ ตน้ ขา้ ว กาบใบเนา่ จากระดับนํา้ ลงไปถึงโคน 1. ใช้ยาเซราแซนฉีด 2. ลดปุ๋ย 3. ทําลายวชั พืช โรคถอดฝักดาบ ต้นและใบจะเขียวเล็กผิดปกติข้าวจะสูงชะลูดอย่างรวดเร็ว ข้าวออกดอกรวงข้าว จะลบี และตายกอ่ นเกย่ี ว 1. ใชย้ าเซราแซนฉดี 2. ถอนทง้ิ 3. กาํ จดั วัชพชื โรคใบดอกกฐิน ครั้งแรกจะเหน็ กลุ่มกอ้ นเสน้ ใบสีเหลืองสม้ อยูร่ ะหว่างเปลอื กขา้ วตอ่ มาจะมกี าํ มะหยี่ 1. ใช้ยาฉดี ตก๊ั แตน ตั๊กแตนจะกัดกนิ ต้นขา้ วให้เสยี หายอย่างแรง ใช้เหยื่อยาพิษผสมวางไว้ตามบริเวณ ท่ีมีต๊ักแตน ใช้ยาเคมีประเภทถูกตัวตาย พ่น เช่น ยาท๊อกซาฟีน ยาเอ็นคริน ด้วงงวง ด้วงงวงจะเจาะเมล็ดข้าว ทําใหข้ ้าวเสยี คณุ ภาพ ใชย้ าฉดี ดีดีที 25% อัตรา 1 : 400 ปูนาปูนาทาํ ความเสียหาย ขุดรูตามคันนาทําให้ชํารุด และทาํ อนั ตรายแก่ตน้ ขา้ ว 2. ใชย้ า ดดี ีที 50 % คลุกขา้ วสกุ เปน็ เหย่อื ลอ่
3. ใช้มอื จับทําลาย 22 4. ใช้ยา ปิเอช ซี 6% ใชห้ ว่าน หนูนา หนจู ะกดั กนิ พชื ผลในนาและยงุ้ ฉาง กาํ จั 5. ใชย้ าประเภทออกฤทธิช์ า้ เช่น คาคูมิน หรอื วอร์ฟานนิ ผสมกับเหยื่อนาํ ไปวาง 6. ใช้ยาออกฤทธิ์เรว็ ถา้ หนมู ีมากเชน่ ซงิ คฟ์ อสไฟดห์ รือใช้ยาไนแก๊ส1-2คร้งั เพลี้ยจ๊กั จ่ันม2ี ชนิดสี เทาและสขี าวทําลายตน้ ขา้ วโดยดูดนา้ํ เล้ียงทาํ ให้ขา้ วเหย่ี วแห้งแคระแกรน 7. ใช้ไฟล่อเอาน้าํ ใสอ่ า่ งจะมาเลน่ ไฟจะตกลงไปในอ่างนํ้าให้ทาํ ลายเสีย 8. ใชย้ าเคมีฉีด ก. ยาดดี ีที 25% อตั รา 1 ตอ่ 600 ข. ยาออลดรนิ 24 % อตั รา 1 ต่อ 600 ค. ยาเอนดริน 19.2 % อตั รา 1 ตอ่ 400 เพลยี้ แป้ง เปน็ แมลงตวั เล็ก ๆ มลี ะอองสขี าว ปกคลุมท่ัวร่าง โดยดูดน้าํ เลีย้ งที่กากใบ ลาํ ตน้ ขาว 1. รักษาระดบั นํ้าในนาอยา่ ให้แหง้ 2. ฉดี นา้ํ ยามาลาไชออน0.04 % อัตรา 50 ลิตรตอ่ 1 ไรใ่ ช้ยาออลดรนิ 25% อตั รา 1 ต่อ 600 บวั่ อาศยั กนิ อย่สู ่วนล่างของตน้ ขา้ วตรงท่ีงอก ขา้ วอาจไมม่ รี วง ใชย้ าเคมจี าํ กัด 1. ยาเซวนิ 84 % ชนดิ ผง 25 กรัมตอ่ น้าํ 1 ปบี ฉดี 2. ยาเอน็ ดรนิ 19.5 % อัตรา 1 ต่อ 400 ฉดี แมลงสงิ ห์ ตวั ออ่ นและตวั แกจ่ ะเจาะดูดกนิ นํา้ เลยี้ งจากเมลด็ ข้าว และคอรวงขา้ ว 1. ใชส้ วงิ จับตวั อ่อน และตวั แกม่ าทําลาย 2. ใชย้ า ดีดที ี 25 % อตั รา 1 ต่อ 400 การเก็บเกี่ยว ควรเก็บเกี่ยวเม่ือรวงข้าวมีสีพลับพลึง คือ สีเหลืองมากกว่าสีเขียว เพราะจะทําให้เมล็ดข้าวดี ท่ีสุดอาจจะ เกบ็ เก่ียวโดยเคร่ืองจักรกล เคยี ว ส่วนมากมกั จะเกบ็ เกี่ยวโดยเคียวเทา่ นั้น วิธีเกีย่ ว 1. เ ก่ี ย ว พั น กํ า คื อ เ ก่ี ย ว ใ ห้ ไ ด้ เ ป็ น ฟ่ อ น ๆ ใ ห ญ่ พอประมาณ แลว้ เอาตอซงั มามดั เปน็ ฟ่อน ๆ วางไว้ตามตอข้าว 2. เกี่ยววางราย คือ เก่ียวแล้ววางไว้บนพ้ืนนาหรือวางไว้บนตอซัง ข้าว ตากข้าวใหแ้ หง้ 3-4 วัน ใช้ตอกหรือต้นข้าวมัดเป็นฟ่อน ๆ เสร็จแล้วไป เกบ็ ไว้ในลาน การตากข้าว เมอ่ื เกยี่ วแลว้ จะตอ้ งท้ิงตากแดดประมาณ 3-4 แดด แล้วขนมาเก็บ ไว้ในลาน ควรกองไว้ให้เป็นระเบียบ การเตรียมลานนวดข้าว การเลือกที่ทําลานนวดข้าว โดยมากจะเลือกท่ีสูง ๆ เพื่อกันน้ําขังเวลาฝนตกและมีต้นไม้ใหญ่เพื่อ อาศัยร่มเงาบงั แสงแดดตอนกลางวัน วธิ ีทาํ ลานนวดข้าว 1. การทําลานดิน บริเวณลานจะต้องสะอาดต้องดายหญ้าหรือวัชพืชอ่ืนออกหมด ให้มีความกว้างยาว 8 x 8 เมตร หรือตามความต้องการ ใช้มูลวัวหรือมูลควายผสมกับนํ้าให้เหลวลาดไปให้ท่ัว ใช้ไม้กวาดปาดหน้า แบบ เทปนู ซีเมนต์ ใหร้ าบเรยี บเสมอกนั ตากแดดไวป้ ระมาณ 2 - 3 วัน ก็จะแห้ง ใชท้ าํ ลานข้าวได้
23 2. ถ้าไม่ต้องการจะทําลานดิน ให้ใช้ใยสังเคราะห์ (ตาข่ายไนล่อน) ตัดให้มีความยาวประมาณ 8 เมตร ทาํ เป็นลานนวดขา้ วเคลอ่ื นทห่ี รอื ไมเ่ คลือ่ นท่ี ใชน้ วดข้าวไดต้ ามตอ้ งการ ลานชนิดนี้ตอ้ งใช้แรงคน วธิ นี วดขา้ ว การนวดขา้ ว หมายถึง การเอาเมล็ดข้าวออกจากรวงมหี ลายวิธี 1. ใช้วธิ ฟี าดฟ่อนข้าวในภาชนะ เชน่ กระชใุ หญ่ ๆ หรอื ใช้ฟาดในลานดนิ ลานใยสงั เคราะห์ 2. ใช้คนยาํ่ ใช้เสอื่ ลําแพนปูแล้วเทา้ ย่ํา ใช้กบั ขา้ วจํานวนนอ้ ย 3. ใชว้ ัว ควายยํ่า โดยยา่ํ วนเวียนไปมาจนกวา่ เมล็ดข้าวจะหลดุ ออกหมด 4. ใช้เคร่ืองทนุ่ แรง เชน่ เครอ่ื งนวดข้าว การตากและการทําความสะอาดเมลด็ ขา้ ว เมื่อนวดข้าวเสร็จ ก็ตากเมล็ดไว้บนลาน แล้วตากสัก3 แดด หรือตากไว้จนเมล็ดข้าวแห้งดีแล้วจึงฝัด เพ่อื แยกเอาเศษฟางหรอื สิ่งเจือปนออกจากเมลด็ ข้าว การทําความสะอาดข้าวมหี ลายวิธี 1. โดยการสาดขา้ ว ใช้พล่วั ไมส้ าดเมลด็ ข้าวในกองข้ึนไป หรือใช้กระบุงตักสาดเป็นกอง ๆโดยอาศัยลม ช่วยแล้วใชพ้ ดั ใหญ่ ๆ พดั เอาเศษฟาง ขา้ วลบี ใบข้าวออกจากกองขา้ ว 2. ถา้ มขี า้ วจาํ นวนนอ้ ยใช้กระด้งฝัดออก 3. ใช้เคร่ืองสีฝัด ถ้าต้องการให้ข้าวสะอาดและได้ราคาดี ควรฝัดด้วยสีฝัด เมื่อฝัดข้าวสะอาด เมื่อฝัด ข้าวสะอาดดีแล้ว อาจจะจําหน่ายข้าวเปลือกท่ีลานเลย หรือนําข้าวเปลือกเก็บไว้ในยุ้งฉาง เพื่อรอให้ราคาดี เสยี ก่อนจึงจําหน่ายกไ็ ด้ การเกบ็ รักษา • เมล็ดข้าวท่ีนวดฝัดทําความสะอาดแล้วควรตากให้มีความชื้นประมาณ14%จึงนําเข้าเก็บในยุ้ง ฉาง ฉางท่ดี ีควรมลี ักษณะดังต่อไปนี้ • อยใู่ นสภาพที่มีอากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก การใช้ลวดตาข่ายกัน้ ให้มรี ่องระบายอากาศกลางยุ้งฉางจะ ชว่ ยใหก้ ารถ่ายเทอากาศดีย่งิ ข้นึ คณุ ภาพเมล็ดขา้ วจะคงสภาพดอี ยู่นาน • อยใู่ กล้บรเิ วณบา้ นและตดิ ถนน สามารถขนสง่ ไดส้ ะดวก • เมล็ดข้าวท่ีจะเก็บไว้ทําพันธุ์ ต้องแยกจากเมล็ดข้าวบริโภค โดยอาจบรรจุกระสอบ มีป้ายบอกวัน บรรจุและช่ือพนั ธุ์แยกไว้ส่วนใดสว่ นหนงึ่ ในยุ้งฉาง เพื่อสะดวกในการขนยา้ ยไปปลกู • กอ่ นนําขา้ วเขา้ เก็บรักษา ควรตรวจสภาพยุ้งฉางทุกครั้ง ทั้งเร่ืองวามะอาดและสภาพของยุ้งฉาง ซ่ึง อาจมีร่องรอยของหนูกัดแทะจนทําให้นกสามารถรอดเข้าไปจิกกินข้าวได้ รูหรือร่องต่าง ๆ ที่ปิดไม่สนิทเหล่านี้ ต้องได้รบั การซ่อมแซมใหเ้ รียบรอ้ ยกอ่ น
24 กจิ กรรมทา้ ยบท บทท่ี 2 ความสําคัญ ประโยชน์ และประเภทของข้าว 1. ขา้ วมีความสําคญั ในวิถีชีวติ ของชาวนาอย่างไร อธบิ าย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. ข้าวแบง่ ได้ 3 ประเภท และแตล่ ะประเภทมอี ายุการเกบ็ เกยี่ ว แตกตา่ งอยา่ งไร 2.1 ขา้ วพันธุเ์ บา ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2.2 ขา้ วพันธ์กุ ลาง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2.3 ขา้ วพนั ธหุ์ นัก ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. เมลด็ ข้าวแบง่ ตามรูปร่างได้ 4 ขนาด อะไรบา้ ง อธบิ าย 3.1 ขา้ วเมล็ดสน้ั ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
25 3.2 เมลด็ ข้าวยาวปานกลาง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3.3 เมล็ดขา้ วยาว ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3.4 เมลด็ ขา้ วยาวมาก ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. การทาํ นาแบง่ ได้ 4 ประเภท อะไรบา้ ง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. การเลือกทาํ เลการทําแปลง ตกกลา้ ควรเลอื กแบบใดบ้าง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
26 บทท่ี 3 การจัดการตลาด __________________________________________________________________
27 แผนการเรียนรปู้ ระจาํ บท บทท่ี 3 การจดั การตลาด สาระสาํ คญั ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติที่ดี เกี่ยวกับการจัดการตลาด ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั 1. อธิบายหลกั การจัดการตลาดตั้งแตก่ ารวางแผนการผลติ จนถงึ การจดั จาํ หนา่ ย ลกั ษณะการบรรจุ ภัณฑ์และการจดั ทําบัญชีเบื้องตน้ ได้ 2. วิเคราะหแ์ นวโนม้ การลงทุนและกาํ หนดราคาขายผลผลิตได้อยา่ งรอบคอบ 3. มีแนวทางการจัดการทุนของตนเองได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา 1. การจดั การตลาด 2. การวางแผนการผลิต 3. การกาํ หนดราคาขาย 4. การคิดราคาทุน 5. การบรรจุหีบหอ่ 6. ประเภทบรรจุภัณฑ์ 7. ลักษณะที่ดขี องบรรจภุ ณั ฑ์ 8. การจัดทําบัญชีเบื้องตน้ กจิ กรรมการเรยี น 1. ศึกษาเอกสารการสอนบทท่ี 3 2. ปฏิบัติกจิ กรรมตามที่ได้รับมอบหมายในเอกสารการสอน 3. ทําแบบฝกึ หดั ท้ายบท ส่ือการสอน 1. เอกสารการสอนบทท3่ี 2. แบบฝกึ หัดทา้ ยบท 3. สื่อ CD 4. สือ่ บคุ คล (ผเู้ ชย่ี วชาญด้านขา้ ว) ประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลตนเองจากการทาํ แบบฝึกหดั ท้ายบท 2. ประเมนิ ผลจากการทํารายงาน 3. ประเมนิ ผลจากการฝกึ ปฏิบตั ิ 4. ประเมินผลจากการสอบปลายภาคเรียน
28 บทท่ี 3 การจัดการการตลาด การจัดการการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้านธุรกิจ ซ่ึงจะต้องมีการวางแผนการผลิต กําหนดราคา การจัดจําหน่าย ตลอดจนการดําเนินกิจการทุกอย่างเพื่อสนองความต้องการ และบริการให้แก่ผู้ ซอื้ หรือผูบ้ ริโภคพอใจ ทงั้ ในเร่ืองราคาและบรกิ าร ซ่ึงแยกกล่าวไดด้ ังน้ี 1. การวางแผนการผลิต ก่อนท่จี ะตดั สินใจดาํ เนนิ ธุรกจิ การทําผลิตภัณฑ์กระดาษสา จะตอ้ งคํานงึ ถึงสง่ิ ตอ่ ไปน้ี คือ 1. ทุน ถา้ ไมม่ ีทนุ เป็นของตนเองตอ้ งอาศยั แหลง่ เงินกู้ จะต้องพจิ ารณาว่าแหล่งเงินกู้น้ันมาจากไหน ถ้า กู้ จากเอกชนกต็ อ้ งเสยี ดอกเบ้ยี แพงกว่าสถาบนั การเงิน ถ้าเสยี ดอกเบ้ียแพงจะค้มุ กบั การลงทุนหรอื ไม่ 2. แรงงาน ถ้าสามารถใช้แรงงานในครอบครวั ไดก้ จ็ ะสามารถลดรายจา่ ยลงได้ 3. วัตถุดบิ สามารถหาไดง้ า่ ยในทอ้ งถิ่นหรอื ไม่ หากไมม่ ใี นทอ้ งถิ่นจะมีปญั หาเร่ืองราคาและการ ขนส่งหรือไม่ 4. การจัดการ หมายถึง การจัดการด้านตลาด การจัดจําหน่าย ก่อนอ่ืนต้องคํานึงถึงกลุ่มเป้าหมาย ที่ จะนาํ ผลิตภณั ฑ์ไปจําหน่ายการกําหนดราคาขาย ราคาต้นทุน กําไร และการลงบัญชีเบื้องต้น สิ่งเหล่าน้ีจําเป็น อยา่ งยิ่งในการประกอบธุรกิจ 2. การกําหนดราคาขาย เมื่อทําการผลิตผลิตภัณฑ์กระดาษสาขึน้ มาเพ่อื การจาํ หน่าย สงิ่ แรกท่ีตอ้ งทาํ คอื การกําหนดราคา ขายท่ีผู้ซ้ือสามารถซื้อได้ในราคาไม่แพงจนเกินไป และผู้ขายก็พอใจท่ีจะขายเพราะได้กําไรตามท่ีต้องการ การ กาํ หนดราคาขายทําได้ดงั น้ี 1. ติดตามความต้องการของลูกค้า เป็นผู้กําหนดราคาขาย ถ้าลูกค้ามีความต้องการและสนใจมากก็ จะ สามารถตัง้ ราคาได้สงู 2. ต้ังราคาขายโดยบวกราคาต้นทุนกับกําไรท่ีต้องการก็จะเป็นราคาขาย ในกรณีเช่นน้ีจะต้องรู้ราคา ต้นทุนมาก่อนจึงจะสามารถบวกกําไรลงไปได้ การต้ังราคาขายน้ี จะมีผลต่อปริมาณการขาย ถ้าตั้งราคาขายไม่ แพง หรือต่ํากว่ากว่าราคาตลาดก็สามารถขายได้จํานวนมาก ผลท่ีได้รับคือ ได้กําไรเพิ่มมากขึ้นด้วยการกําหนด ราคาขายมีหลายแบบ แต่ส่ิงท่ีสําคัญคือ ต้องคํานึงถึงราคาท่ีสูงท่ีสุดท่ีผู้ซื้อสามารถซื้อได้และราคาต่ําสุดที่จะได้ เงนิ ทนุ คืน สรุป หลกั เกณฑใ์ นการกาํ หนดราคาขาย มีดงั นี้ 1. ไดผ้ ลตอบแทนจากการลงทนุ ตามเป้าหมาย 2. เพอ่ื รกั ษาเสถียรภาพด้านราคาไม่ถกู หรือแพงจนเกินไป 3. เพื่อรักษาหรือปรับปรุงส่วนแบ่งของการตลาด กล่าวคือ ต้ังราคาขายส่งถูกกว่าราคาขายปลีก เพ่อื ให้ผูร้ บั ซอื้ ไปจําหน่ายปลีกจะได้บวกกาํ ไรไดด้ ้วย 4. เพอื่ แขง่ ขันหรอื ป้องกนั ค่แู ข่งขนั หรอื ผ้ผู ลติ รายอนื่ 5. เพ่ือผลกําไรสงู สุด การกําหนดราคาขาย มีหลักสําคัญ คือ ราคาต้นทุน + กําไรที่ต้องการ ดังน้ันจึงจําเป็นต้องศึกษา เรื่อง ราวการคดิ ราคาต้นทนุ ให้เขา้ ใจกอ่ น 3. การคิดราคาตน้ ทนุ การคดิ ราคาตน้ ทุน หมายถงึ การคิดคาํ นวณราคาวตั ถดุ ิบท่ีใช้ในการผลิต มีค่าแรงค่าใช้จ่ายในการผลิต ประกอบดว้ ย ค่าเชา่ สถานที่ คา่ ไฟฟา้ ค่าขนส่ง ฯลฯ การคดิ ราคาตน้ ทนุ มีประโยชน์ คือ 1) สามารถตงั้ ราคาขายไดโ้ ดยรูว้ ่าจะไดก้ าํ ไรเทา่ ไร 2) สามารถรู้ว่ารายการใดทีก่ อ่ ให้เกิดต้นทนุ สูง หากตอ้ งการกําไรมากกส็ ามารถลดตน้ ทนุ นั้น ๆ ลงได้ 3) รู้ถงึ การลดต้นทนุ ในการผลิตแล้วนําไปปรบั ปรุง และวางแผนการผลิตเพม่ิ ขนึ้ ได้
29 ต้นทนุ การผลิตมี 2 อย่าง คอื 1. ต้นทุนทางตรง หมายถึง ตน้ ทุนในการซือ้ วัตถดุ บิ รวมท้งั ค่าขนส่ง 2. ต้นทุนทางอ้อม หมายถึง ต้นทุนที่จ่ายเป็นค่าบริการต่าง ๆ เช่น ค่าแรงงาน ค่าไฟฟ้า ค่าเช้ือเพลิง ท้ังน้ี ให้คิดเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับการผลิตโดยตรง แล้วนําต้นทุนทั้งสองอย่างมาคิดรวมกันก็จะได้เป็นราคา ตน้ ทนุ รวม สรปุ การกําหนดราคาขาย จะตอ้ งคํานงึ ถึง 1. ตน้ ทนุ ทางตรง + ต้นทนุ ทางออ้ ม คือ ต้นทนุ รวม 2. การหากําไรทเี่ หมาะสม ทาํ ได้โดยเพมิ่ ต้นทุนรวมข้นึ อีก 20-30% ตัวอย่าง ต้นทนุ รวมในการทาํ ดอกไมจ้ ากกระดาษสา 500 บาทบวกกาํ ไร 30% ของ 500 จะได้ = 150 บาท ฉะนน้ั ราคาขาย คือ ตน้ ทุน + กําไร คอื 500 + 150 เท่ากับ 650 บาท โดยท่ัวไปร้านค้าปลีกจะกําหนดราคาขาย โดยการบวกกําไรท่ีต้องการเข้ากับราคาต้นทุนการผลิต สินค้านั้น ๆ แต่บางรายก็กําหนดราคาสูงสําหรับการผลิตระยะเร่ิมแรกเพราะความต้องการของตลาดค่อนข้าง สูงในระยะเวลาอันสั้น การเปล่ียนแปลงราคาขายอาจมีผลให้ยอดลดหรือเพ่ิมข้ึนแล้วแต่ภาวะแวดล้อม จึงต้อง คํานึงถงึ เช่นเดียวกัน ดงั นัน้ จึงสามารถคิดราคาขายได้ง่าย ๆ ดงั นี้ ราคาขาย = ราคาทุน (ต้นทนุ + ค่าแรง) + กาํ ไรท่ตี อ้ งการ การผลิตและการจําหน่าย 1. ประเภทของการจดั จําหนา่ ย มี 2 แบบ คือ 1) การจําหน่ายแบบส้ัน คือ การนําสินค้าจากผู้ผลิตสู่ร้านค้าปลีกหรือร้านค้าย่อยถึงผู้ซื้อหรือผู้บริโภค โดยตรง 2) การจัดจําหน่ายแบบยาว คือ การนําสินค้าจากผู้ผลิต (บ้าน) ถึงร้านค้าขายส่งแล้วร้านค้าขายส่ง จําหนา่ ยต่อไปยังรา้ นคา้ ขายปลีก รา้ นค้าขายปลกี จาํ หน่ายต่อไปยังผู้บรโิ ภค สรปุ การทาํ ให้สนิ ค้าทผ่ี ลิตข้ึนสามารถขายได้จาํ นวนมาก มวี ธิ ดี ําเนนิ การไดห้ ลายรูปแบบ คอื 1. จากผผู้ ลิต ถึง รา้ นขายสง่ ถงึ ร้านขายปลกี ถึง ผู้ซอื้ หรอื ผบู้ ริโภค 2. จากผ้ผู ลติ ผา่ น นายหน้า ถึง ร้านคา้ ปลีก ถงึ ลกู คา้ 3. จากผู้ผ่านายหน้าลิตลูกค้า (ผู้บริโภค) โดยตรง โดยระบบการขายฝากและสร้างภาพพจน์ของ สนิ ค้า จงู ใจผ้ซู ื้อดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เป็นตน้ นอกจากนี้ ยงั มวี ธิ กี ารสง่ เสรมิ การจําหนา่ ยทไี่ ด้ผลอกี 2 ประการ คอื 1. การใหข้ ้อมลู จงู ใจผ้ซู อื้ และภาพพจน์ของสินค้าทผี่ ูซ้ อื้ ต้องการ 2. ภาพพจนข์ องสินค้าทผ่ี ู้ซอ้ื ตอ้ งการ และพอใจทาํ ใหส้ ินค้าน้นั มคี า่ และมีราคาในตวั เองมากกว่า วสั ดุบรรจภุ ัณฑท์ ่ีเหมาะสม 2. คุณภาพและมาตรฐานของสินคา้ จะต้องผลติ ใหต้ รงกบั ความต้องการและรสนิยมของกลมุ่ เป้าหมายทง้ั ในด้านรปู แบบสีสันและ ประโยชนใ์ ชส้ อย 3. การโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์ การทําการค้าจําเป็นอยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งมีการโฆษณาประชาสัมพนั ธเ์ พือ่ ใหผ้ ู้ซ้อื รู้จักสินค้า สอื่ ท่ใี ชใ้ น การนี้อาจจะเป็นหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร ใบปลิว หรือแผ่นพับแนะนําสินค้าหรืออาจจะทําเป็นแคต ตาลอ็ ก ตัวอย่างสนิ ค้า ป้ายโฆษณา นทิ รรศการออกรา้ นแสดงสนิ ค้า ตลอดจนโฆษณาผา่ นส่ือวิทยุและโทรทศั น์
30 การบรรจหุ ีบห่อ การบรรจุภัณฑ์ หมายถึง รูปแบบวัสดุภายนอกที่ห่อหุ้มผลิตภัณฑ์ภายในให้ปลอดภัย สะดวกต่อการ ขนสง่ เอ้อื อาํ นวยให้เกิดประโยชน์ทางการค้าของผู้ผลิต/ผู้จําหน่ายและการนําไปใช้ของผู้บริโภค ขึ้นอยู่กับสีสัน ขนาด สิ่งเหล่านี้ดูเหมือนจะเป็นรายละเอียดปลีกย่อย แต่จริง ๆ แล้วเป็นสิ่งท่ีสําคัญและมีผลต่อการซื้อของ ผู้บริโภคค่อนขา้ งมาก ซ่ึงในปจั จุบันนี้การทําธุรกิจทจี่ ะต้องคาํ นึงถึงผูบ้ ริโภคเปน็ อนั ดับแรก เน่ืองจากมีการแข่งขันกันทางธุรกิจสูง ถ้าหากไม่มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ดูสวยงามแล้วส่วนแบ่ง การตลาดก็จะถูกแบ่งไปอย่างแน่นอน ซ่ึงแตกต่างกับการทําธุรกิจเมื่อสมัย 20 – 30 ปี ท่ีผ่านมา จะเห็นว่าใน แต่ละปีอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์มีมูลค่า 5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐของมูลค่าโดยรวมของโลก ทั้งนี้เนื่องจากว่า สินค้าที่มีคุณภาพมีบรรจุภัณฑ์ท่ีสวยงาม จะทําให้สินค้ามีคุณค่าเพิ่มขึ้นนอกจากจะจําหน่ายได้มากขึ้นแล้วยังมี รายได้เพิ่มขึ้นจากการยกระดบั ราคา สรา้ งมูลคา่ เพิ่มแก่ผลติ ภณั ฑ์ ประเภทของบรรจุภณั ฑ์ บรรจุภัณฑ์มีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้าและความต้องการของลูกค้า ตลาดบรรจุภัณฑ์ แบ่งออกตามวสั ดหุ ลกั ท่ใี ช้ดงั นี้ 1. บรรจภุ ณั ฑท์ ีท่ าํ ดว้ ยกระดาษประมาณ 36% 2. บรรจภุ ณั ฑ์ท่ที าํ ดว้ ยพลาสติก 24% 3. บรรจภุ ณั ฑ์ที่ทาํ ด้วยโลหะ 20% 4. บรรจุภณั ฑท์ ่ีทําดว้ ยแกว้ 10% ลกั ษณะที่ดขี องบรรจุภณั ฑ์ ดา้ นผผู้ ลิต/ผู้จําหนา่ ย 1. สะดวกต่อการจัดเกบ็ และการรกั ษา 2. สะดวกต่อการจัดส่งและการเคล่ือนยา้ ย 3. สะดวกต่อการแยกประเภทและจัดหมวดหมู่ 4. เปน็ สอ่ื เผยแพรโ่ ฆษณาตวั ผลติ ภัณฑ์ 5. ยกระดับราคา สร้างมลู คา่ เพิ่มแก่ผลติ ภัณฑ์ 6. ชว่ ยดงึ ดดู ความสนใจแกล่ ูกคา้ 7. ไมเ่ ป็นพษิ ต่อส่ิงแวดล้อม ดา้ นผู้บรโิ ภค/ลกู คา้ 1. พกพาเคลอื่ นย้ายสะดวก 2. สามารถรักษาผลติ ภณั ฑ์ใหม้ อี ายกุ ารใช้งานไดม้ ากขึ้น 3. ชว่ ยใหท้ ราบรายละเอยี ดแหลง่ ทีม่ าของผลติ ภัณฑ์ 4. ช่วยสรา้ งความภูมิใจในการซ้ือ 5. สามารถแปรรูปประยกุ ตใ์ ช้งานอ่นื ได้ บรรจุภัณฑใ์ นอนาคต 1. มตี รารบั รองคณุ ภาพสนิ ค้า เช่นตรา Q 2. มีเร่ืองราวทน่ี า่ สนใจบนบรรจภุ ัณฑ์ 3. แสดงคณุ ภาพสินคา้ ในระบบดจิ ิตอลหรอื e-packaging
31 บทบาทของกรมการขา้ วต่อการบรรจภุ ัณฑข์ ้าว กรมการข้าว โดยสาํ นักพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ขา้ ว ทั้งในตลาดเฉพาะ (Niche Market) และตลาดท่ัวไป โดย เน้นความต้องการของผู้ผลิตและผู้บริโภค ดังนั้นเพ่ือให้งานบรรจุภัณฑ์ ได้ขยายตัวมากยิ่งขึ้น จึงได้ดําเนินการ จัดทําต้นแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพ่ิมมูลค่าและเป็นการจุดประกายให้ผู้ประกอบการได้เป็นแนวทางในการนํา รปู แบบไปใชพ้ ฒั นาและประยุกตใ์ ช้เพอ่ื เพมิ่ รายได้ให้สูงขึ้นโดยมีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านอุตสาหกรรม ขนาดย่อย นกั ศึกษาผ้สู นใจ บคุ คลทว่ั ไปและภาคเอกชน การทาํ บญั ชเี งนิ สดเบ้ืองตน้ การทาํ บญั ชี คือการทาํ บนั ทกึ รายการซ้อื – ขายทกุ อยา่ งในการดาํ เนนิ ธุรกจิ ทสี่ ามารถคิดเป็นตัวเงินได้ ไวเ้ ปน็ หลักฐานโดยบันทึกรายการรับไว้ด้านซ้ายมือรายการจ่ายไว้ขวามือเหตุผลท่ีว่าทําไมต้องทําบัญชีเงินสด ก็ เพ่ือควบคุมการรับ – จ่ายเงินของกิจการให้อยู่ในระบบ เพ่ือรู้ยอดรายรับ – รายจ่าย และหากําไรเบ้ืองต้นโดย การทําบญั ชีเงนิ สดประจาํ เดอื นทุก ๆ เดือน และเพ่อื ทราบผลความเจรญิ ก้าวหนา้ ของกิจการโดยวิธีการทําบัญชี เงนิ สด ง่าย ๆ ดังน้ี การจดั ทําบญั ชี ต้นปีงบประมาณ 1. จดั เตรยี มสมดุ บัญชีแยกประเภทเลม่ ใหม่ เพอื่ ใช้บันทกึ บญั ชปี ีปจั จบุ นั 2. ยกยอดคงเหลือจากงบทดลองหลงั ปดิ บญั ชปี กี อ่ นมาต้ังยอดในสมดุ บัญชแี ยกประเภททเ่ี กี่ยวขอ้ ง 3. ตรวจทานตัวเลขทย่ี กยอดใหถ้ ูกต้องตรงกนั ระหว่างปีก่อนและปีปัจจบุ นั 4. เตรยี มบนั ทึกความเคลื่อนไหวทางบัญชตี ามเอกสารใบสาํ คญั ท่พี ึงไดร้ ับในแต่ละวัน การจดั ทําบญั ชปี ระจาํ วนั บันทึกรายการเคล่อื นไหวทางบญั ชีตามเอกสารใบสาํ คัญทไี่ ด้รบั ในแตล่ ะวนั โดย - บันทกึ รายการรับร้เู จา้ หนี้ ใบสาํ คญั คา้ งจ่าย ตามเอกสารใบสําคญั ทม่ี กี ารขอเบกิ ในแตล่ ะวนั - บนั ทึกบญั ชกี ารรับเงินจากธนาคารตามใบแจ้งเครดติ ของกรมบญั ชีกลาง - บันทึกบัญชีด้วยเอกสารใบสาํ คญั ดา้ นรบั เงินและจ่ายเงินทพ่ี งึ ได้รบั จากฝ่ายการเงินในแต่ละวัน - ปดิ บญั ชปี ระจําวนั ในสมุดรายวนั ดา้ นรบั ด้านจ่าย ดา้ นทวั่ ไป และต้องตรวจสอบยอดดลุ เดบิต เครดติ ของแต่ละดา้ นใหเ้ ท่ากนั - ผา่ นรายการเงินสดและเงนิ ฝากธนาคารเข้าบัญชแี ยกประเภทท่ัวไปทกุ วนั - ปิดบัญชีแยกประเภทเงนิ สดและธนาคารทกุ วนั - ยนื ยนั ยอดเงินสดคงเหลอื กบั ฝา่ ยการเงนิ เพ่ือใหย้ อดเงนิ สดตามสมุดบัญชแี ยกประเภทท่ัวไปเทา่ กบั เงนิ สดคงเหลือตามรายงานเงินสดคงเหลอื ประจาํ วนั ของฝ่ายการเงนิ - สง่ เอกสารการลงบญั ชีดา้ นรบั ด้านจ่าย ใหค้ ณะกรรมการตรวจสอบประจําวนั - ใบสาํ คญั ที่ผา่ นการตรวจสอบแล้วสง่ ใหเ้ จ้าหน้าทจี่ ดั ทาํ ทะเบียนคุมบันทึกรายการทีเ่ ก่ยี วข้อง
32 การจัดทาํ บญั ชแี ละรายงานเมือ่ สนิ้ เดอื น 1. เมื่อสิน้ เดอื นตอ้ งปดิ ยอดเงินคงเหลือในสมุดบญั ชีแยกประเภททว่ั ไปทกุ บัญชแี ละปิดยอดเงินคงเหลือ ในทะเบียนคุมทกุ ทะเบยี น 2. ตอ้ งตรวจสอบยอดเงนิ คงเหลอื ในบัญชแี ยกประเภทท่วั ไปกับทะเบยี นคุมทุกทะเบียนทีเ่ กย่ี วข้องตรงกนั 3. จดั ทําและส่งพิมพร์ ายงานการเงินประจําเดือนใหแ้ ก่ - งบทดลองประจาํ เดือน - รายงานรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่ายประจําเดือน - รายงานรายได้แผ่นดนิ ประจาํ เดอื น - รายงานลูกหนีเ้ งนิ ยมื ราชการประจําเดอื น - รายงานลูกหนี้เงินบาํ รงุ ประจําเดอื น - รายงานฐานะเงนิ ทดรองราชการประจําเดอื น - รายงานการรบั – จ่ายเงินนอกประจาํ เดอื น - งบประมาณประเภทเงินฝาก (แบบ 102) 4. รวบรวมรายงานทไี่ ดร้ บั จากฝ่ายงบประมาณ ไดแ้ ก่ - รายงานฐานะเงินงบประมาณ - รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายปีกอ่ น 5. แบบรายงานของฝ่ายงบประมาณรวมกบั รายงานของฝ่ายบัญชี 6. จดั ทําและพมิ พห์ นังสอื ถงึ อธบิ ดกี รมบัญชีกลางผู้ว่าการตรวจเงินแผน่ ดนิ เพ่อื สง่ รายงานประจาํ เดอื น 7. เสนออธบิ ดีกรมอนามยั หรือผ้ทู ีไ่ ด้รบั มอบหมายลงนามในหนงั สอื 8. เจา้ หนา้ ทสี่ ารบญั ของฝ่ายจัดส่งรายงานการเงินให้ฝ่ายบริหารฯ ของกองคลังดําเนินการส่งให้กรมบัญชี กลาง , คตง. 9. สําเนารายงานการเงนิ ประจาํ เดอื นให้หนว่ ยตรวจสอบภายใน 10. เกบ็ รวบรวมสาํ เนารายงานการเงิน การจดั ทําบัญชแี ละรายงานเมื่อส้นิ ปงี บประมาณ 1. จัดทําหนังสือถึงหน่วยงานส่วนกลาง (กองต่าง ๆ ) กําหนดเวลา 1 – 2 เดือนในการจัดส่งข้อมูลเพื่อให้ การรายงานการเงนิ ประจาํ ปีทันตามทร่ี ะเบียบกําหนด ขอ้ มลู ท่ีต้องประกอบการทํารายงานได้แก่ - วัสดุคงเหลอื ประจาํ ปี - สินทรพั ยท์ ่มี ที ้ังส้ิน - ค่าเสือ่ มราคาสนิ ทรพั ย์ - คา่ เสือ่ มราคมสะสมสนิ ทรัพย์ 2. จัดทําหนังสือเร่งรัดให้หน่วยงานในภูมิภาคส่งรายงานการเงินประจําปีพร้อมหมายเหตุประกอบงบ การเงนิ 3. ปรบั ปรุงรายการบัญชขี องส่วนกลาง ไดแ้ ก่ - บัญชีรายได้แผน่ ดนิ - บญั ชวี สั ดุคงเหลอื - บญั ชีสินทรพั ย์ (อาคาร,ครภุ ัณฑ,์ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์) - บญั ชคี ่าใช้จา่ ยค้างจา่ ย (ค่าสาธารณปู โภค,ลกู หน้เี งินยมื ราชการ) - บัญชเี งนิ กนั ไวจ้ ่ายเหลื่อมปงี บประมาณ - บญั ชีรายได้งบประมาณค้างรับ (เงินกนั ,คา่ สาธารณูปโภค,ใบสําคัญเบกิ เงิน) 4. จัดทํางบทดลองหลังปรับปรุงบัญชี 5. ปดิ บญั ชีรายไดแ้ ละค่าใช้จ่ายประจําปีเข้าบัญชรี ายได้สูง (ต่ํา) กวา่ ค่าใช้จา่ ยสทุ ธิ 6. ปิดบญั ชรี ายไดส้ ูง (ตาํ่ ) กว่าค่าใช้จา่ ยสุทธิเข้าบญั ชรี ายไดส้ ูง (ตํ่า) กว่าค่าใชจ้ ่ายสะสม 7. จดั ทาํ งบทดลองหลังปิดบัญชี 8. จดั ทาํ รายงานประจาํ ปีของส่วนกลาง
33 9. รวบรวมและวิเคราะห์รายงานการเงนิ ประจําปขี องหนว่ ยงานภูมิภาค 10. จดั ทาํ รายงานการเงินประจาํ ปีในภาพรวมของกรมอนามัยและส่งพิมพ์ ไดแ้ ก่ - งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันที่ 30 กนั ยายน - งบแสดงผลการดาํ เนินงานทางการเงินสาํ หรบั รอบระยะเวลาบญั ชีสน้ิ สดุ วันท่ี 30 กันยายน - หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน - งบกระแสเงนิ สด 11. จัดทําและส่งพิมพ์หนังสือถึงอธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเพื่อส่งรายงานการเงิน ประจําปี 12. นาํ เสนออธบิ ดีกรมอนามัยลงนามในหนงั สือตามลําดับขนั้ 13. เจ้าหน้าที่สารบัญของฝ่ายบัญชีส่งรายงานการเงินประจําให้ฝ่ายบริหารท่ัวไป กองคลัง ดาํ เนนิ การจัดส่งใหก้ รมบญั ชีกลาง คตง. 14. สําเนารายงานการเงนิ ประจําปีใหห้ นว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง 15. เกบ็ รวบรวมสําเนารายงานการเงนิ ประจาํ ปี
34 กิจกรรมทา้ ยบท บทท่ี 3 การทาํ บัญชเี งนิ สดเบือ้ งตน้ 1. ให้นกั ศึกษาคน้ ควา้ การทาํ บญั ชรี ับ - จา่ ย ประเภทตา่ ง ๆ แลว้ บนั ทกึ ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. ให้นกั ศกึ ษาอธบิ ายถึงการทาํ บัญชตี ้นทุนการผลติ ของการทาํ นา ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. ให้นกั ศกึ ษาอธิบายถึงการทําบัญชีรบั -จา่ ย ในครัวเรอื น ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. ใบเสรจ็ คือใบแสดงถึงอะไร อธบิ าย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. ใบสง่ั ของคือใบอะไร อธบิ าย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
35 บทที่ 4 การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม _______________________________________________________________________
36 แผนการเรยี นรปู้ ระจําบท บทที่ 4 การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม สาระสาํ คญั ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคตทิ ่ีดี ตอ่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวัง 1. อธิบายวธิ ีการอนรุ กั ษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มได้ 2. วิเคราะห์ทางการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม และใช้อย่างประหยัด 3. มแี นวทางการจัดการพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มของชมุ ชน ขอบขา่ ยเน้อื หา การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม กิจกรรมการเรียน 1. ศกึ ษาเอกสารการสอนบทท่ี 4 2. ปฏิบตั ิกจิ กรรมตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมายในเอกสารการสอน 3. ทําแบบฝึกหัดท้ายบท สอ่ื การสอน 1. เอกสารการสอนบทท4ี่ 2. แบบฝกึ หดั ท้ายบท 3. สือ่ CD 4. สอ่ื บุคคล 5. พนั ธข์ุ า้ วชนิดต่าง ๆ ประเมินผล 1. ประเมินผลตนเองจากการทาํ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 2. ประเมินผลจากการทํารายงาน 3. ประเมินผลจากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ 4. ประเมนิ ผลจากการสอบปลายภาคเรยี น
37 บทท่ี 4 การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อยา่ งฉลาด โดยใช้ใหน้ อ้ ย เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ โดยคาํ นึงถงึ ระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนาน และก่อให้เกิด ผลเสียหายต่อส่ิงแวดล้อมน้อยท่ีสุด รวมทั้งต้องมีการกระจายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างทั่วถึง อย่างไรก็ ตามในสภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความเสื่อมโทรมมากขึ้น ดังนั้นการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมจึงมคี วามหมายรวมไปถึงการพฒั นาคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มด้วย การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมสามารถกระทาํ ได้หลายวธิ ี ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ดังน้ี 1. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมโดยทางตรง ซึ่งปฏิบัติได้ในระดับองค์กร และ ระดับประเทศ ทีส่ ําคญั คอื 1) การใช้อย่างประหยัด คือ การใช้เท่าท่ีมีความจําเป็น เพื่อให้มีทรัพยากรไว้ใช้ได้นาประโยชน์ อยา่ งคุ้มคา่ มากทีส่ ดุ 2) การนํากลับมาใช้ซาํ้ อกี สง่ิ ของบางอย่างเม่อื มีการใชแ้ ลว้ ครัง้ หนงึ่ สามารถท่ีจะนาํ มาใชซ้ ้าํ ได้ อีก เช่นถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถที่จะนํามาใช้ได้ใหม่โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ เช่นการนํา กระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่าง ๆ เพื่อทําเป็นกระดาษแข็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นการลดปริมาณการใช้ ทรัพยากรและการทําลายสงิ่ แวดลอ้ มได้ 3) การบรู ณซ่อมแซม ส่ิงของบางอย่างเมื่อใช้เป็นเวลานานอาจเกิดการชํารุดได้ เพราะฉะนั้นถ้า มีการบูรณะซ่อมแซม ทําให้สามารถยดื อายกุ ารใช้งานต่อไปไดอ้ กี 4) การบาํ บดั และการฟื้นฟู เป็นวิธีการทจ่ี ะชว่ ยลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรด้วยการ บําบัดก่อนเช่น การบําบัดน้ําเสียจากบ้านเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งนํ้า สาธารณะ ส่วนการฟ้ืนฟูเป็นการรื้อฟื้นธรรมชาติให้กลับสู่สภาพเดิม เช่นการปลูกป่าชายเลน เพื่อฟื้นฟูความ สมดลุ ของปา่ ชายเลนให้กลบั มาอดุ มสมบรู ณ์ เป็นตน้ 5) การใชส้ ิ่งอนื่ ทดแทน เปน็ วิธกี ารทจ่ี ะชว่ ยให้มีการใชท้ รัพยากรธรรมชาติน้อยลง และไม่ทําลาย สิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ใบตองแทนโฟม การใช้พลังงานแสงแดดแทนแร่เชื้อเพลิง การใชป้ ุ๋ยชวี ภาพแทนป๋ยุ เคมี เป็นต้น 6) การเฝา้ ระวงั ดูแลและป้องกนั เปน็ วธิ กี ารท่ีจะไมใ่ ห้ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มถกู ทาํ ลายเชน่ การเฝ้าระวงั การทิ้งขยะ สิง่ ปฏกิ ูลลงแม่น้าํ คคู ลอง การจัดทาํ แนวป้องกันไฟปา่ เป็นต้น 2. การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มโดยทางออ้ ม สามารถทาํ ได้หลายวิธดี ังน้ี 1) การพัฒนาคุณภาพประชาชน โดยสนับสนุนการศึกษาด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมที่ถูกต้องตามหลักวิชา ซึ่งสามารถทําได้ทุกระดับอายุ ทั้งในระบบโรงเรียนและ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ และนอกระบบโรงเรียนผ่านส่ือสารมวลชนต่าง ๆ เพ่ือให้ประชาชนเกิดความตระหนัก ถงึ ความสําคัญและจาํ เป็นในการอนรุ กั ษ์ เกิดความรักความหวงแหน และให้ความรว่ มมืออย่างจริงจัง 2) การใช้มาตรการทางสังคมและกฎหมาย การจัดตั้งกลุ่ม ชุมชน ชมรม สมาคม เพ่ือการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ตลอดจนการให้ความร่วมมือท้ังทางด้านพลังกาย พลังใจ พลงั ความคิด ด้วยจิตสํานึกในความมีคุณค่าของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรที่มีต่อตัวเรา เช่น กลุ่มชมรมอนุรักษ์ ทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของนักเรียน นักศึกษา ในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ มูลนิธิ ค้มุ ครองสตั วป์ า่ และพรรณพืชแห่งประเทศไทย มลู นิธิสืบ นาคะเสถียร มูลนธิ โิ ลกสีเขียว เป็นต้น
38 3) สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนในทอ้ งถนิ่ ได้มสี ว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ ช่วยกนั ดูแลรกั ษาใหค้ งสภาพ เดิมไม่ให้เกิดความเส่ือมโทรม เพื่อประโยชน์ในการดํารงชีวิตในท้องถ่ินของตน การประสานงานเพื่อสร้าง ความร้คู วามเขา้ ใจ และความตระหนักระหว่างหน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินกับประชาชน ให้มี บทบาทหน้าที่ ในการปกป้อง คุ้มครอง ฟนื้ ฟกู ารใชท้ รัพยากรอย่างคุม้ คา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ 4) ส่งเสริมการศึกษาวิจัย ค้นหาวิธีการและพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการกับ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่นการใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศมา จัดการวางแผน พัฒนา การพัฒนาอุปกรณ์เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ให้มีการประหยัดพลังงานมากข้ึน การค้นคว้าวิจัย วธิ กี ารจัดการ การ ปรับปรงุ พฒั นาสง่ิ แวดลอ้ มให้มีประสิทธิภาพและย่งั ยนื เปน็ ตน้ 5) การกาํ หนดนโยบายและวางแนวทางของรัฐบาล ในการอนรุ ักษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดล้อม ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพ่ือเป็นหลักการให้หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐเกี่ยวข้องยึดถือและนําไป ปฏิบัติ รวมท้ังการ เผยแพร่ข่าวสารด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ทั้งทางตรงและ ทางออ้ ม ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources) หมายถึง สิ่งที่ปรากฏอยู่ตามธรรมชาติหรือส่ิงที่ขึ้นเอง อํานวย ประโยชน์แก่มนุษย์และธรรมชาติด้วยกันเอง (ทวีทองสว่างและทัศนีย์ทองสว่าง,2523:4) ถ้าส่ิงน้ันยัง ไม่ใหป้ ระโยชนต์ ่อมนุษย์ ก็ไมถ่ อื ว่าเปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติ (เกษม จนั ทรแ์ กว้ ,2525:4) ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติมักจะมองในแง่ท่ีว่า เป็นส่ิงอํานวยประโยชน์แก่มนุษย์ท้ังทางตรง และทางอ้อม หากไม่ได้ให้ประโยชน์อะไรเลยก็คงไม่ใช่ทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นจึงมีการจัดประเภท ทรัพยากรธรรมชาติไว้หลายประเภทด้วยกัน เช่น ดิน น้ํา ป่าไม้ สัตว์ป่า แร่ธาตุ ฯลฯ ซ่ึงเป็นทรัพยากรท่ีเป็น แหลง่ พลงั งานสาํ คญั ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การแบ่งประเภทของทรัพยากรธรรมชาติมีการแบ่งกันหลายลักษณะ แต่ในทีนี้แบ่งโดยใช้เกณฑ์ของ การนํามาใช้ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังน้ี 1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น (Inexhaustible natural resources) เป็น ทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดข้ึนก่อนท่ีจะมีมนุษย์ เม่ือมีมนุษย์เกิดข้ึนมาสิ่งเหล่านี้ก็มีความจําเป็นต่อการดํารงชีวิต ของมนษุ ย์ จําแนกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1 ประเภทท่ีคงสภาพเดิมไม่เปลี่ยนแปลง (Immutuable) ได้แก่ พลังงานจากดวงอาทิตย์ ลม อากาศ ฝนุ่ แม้กาลเวลาจะผา่ นไปนานเทา่ ใดกต็ ามสง่ิ เหล่าน้ีกย็ งั คงมไี มเ่ ปลย่ี นแปลง 1.2 ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Mutuable) การเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นเน่ืองมาจากการใช้ ประโยชน์ อย่างผิดวิธีเช่นการใช้ท่ีดิน การใช้นําโดยวิธีการท่ีไม่ถูกต้อง ทําให้เกิดการเปล่ียนแปลงทั้งทางด้าน กายภาและด้านคุณภาพ 2. ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วทดแทนได้ (renewable natural resources) เป็น ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้ไปแล้วสามารถเกิดข้ึนทดแทนได้ ซึ่งอาจจะเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับชนิดของ ทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ัน ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วทดแทนได้ เช่น พืช ป่าไม้ สัตว์ป่า มนุษย์ ความ สมบรู ณ์ของดนิ คุณภาพของนํ้า และทศั นียภาพทสี่ วยงาม เป็นตน้ 3. ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนํามาใช้ใหม่ได้ (Recycleable natural resources) เป็น ทรัพยากรธรรมชาติจําพวกแร่ธาตุที่นํามาใช้แล้วสามารถนําไปแปรรูปให้กลับไปสู่สภาพเดิมได้ แล้วนํากลับมา ใชใ้ หมอ่ กี (อูแ่ ก้ว ประกอบไวยกจิ เวอร์,2525:208) เช่น แร่โลหะ แร่อโลหะ ได้แก่ เหล็ก ทองแดง อะลูมิเนียม แกว้ ฯลฯ
39 4. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นไป (Exhausting natural resources) เป็น ทรัพยากรธรรมชาติทีนํามาใช้แล้วจะหมดไปจากโลกนี้ หรือสามารถเกิดข้ึนทดแทนได้ แต่ต้องใช้เวลายาวนาน มาก ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทนี้ ได้แก่ นา้ํ มันปโิ ตรเลียม กา๊ ซธรรมชาติ และถ่านหิน เปน็ ต้น ความสาํ คัญและผลกระทบของทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ คี วามสําคญั ต่อมนษุ ยม์ ากมายหลายดา้ น ดงั นี้ 1. การดํารงชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติเป็นต้นกําเนิดของปัจจัย 4 ในการดํารงชีวิตของมนุษย์พบว่า มนุษย์จะต้องพง่ึ พาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสนองความต้องการทางด้านปัจจัยส่ี คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่ อาศัย และยารักษาโรค - อาหาร ทีม่ นษุ ย์บริโภคแรกเรม่ิ สว่ นหนง่ึ ได้จากทรัพยากรธรรมชาตเิ ช่น เผอื ก มัน ปลาน้ําจืดและ ปลาน้ําเคม็ เป็นต้น - เคร่ืองนุ่งห่ม แรกเริ่มมนุษย์ประดิษฐ์เครื่องนุ่งห่มจากทรัพยากรธรรมชาติ เช่น จากฝ้าย ป่าน ลนิ ิน ขนสตั ว์ ฯลฯ ทมี่ ีอยตู่ ามธรรมชาติ ต่อมาเม่ือจํานวนประชากรเพิ่มข้ึน ความต้องการเครื่องนุ่งห่มก็เพิ่มข้ึน ด้วย จึงจําเป็นต้องปลูกหรอื เล้ียงสตั ว์ เพ่อื การทาํ เครือ่ งนุ่งหม่ เอง และในทีส่ ุดกท็ ําเปน็ อุตสาหกรรม - ท่ีอยู่อาศัย การสร้างท่ีอยู่อาศัยของชนเผ่าต่าง ๆ จะพยายามหาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ใน ท้องถิ่นมาเป็นองค์ประกอบหลักในการก่อสร้างที่อยู่อาศัยข้ึนมา ตัวอย่างเช่น ในเขตทะเลทรายที่แห้งแล้งบ้าน ทสี่ ร้างขึน้ ในเขตภูเขาจะทาํ ดว้ ยดินเหนยี ว แตถ่ า้ เปน็ บรเิ วณทแ่ี หง้ แล้งและไรพ้ ชื พรรณธรรมชาติ บา้ นที่สร้างขึ้น อาจจะเป็นอุโมงค์เข้าไปตามหน้าผา บ้านคนไทยในชนบทสร้างด้วยไม้ ไม้ไผ่ หลังคามุงด้วยจากหรือหญ้าเป็น ต้น - ยารักษาโรค ตั้งแต่สมัยโบราณ มนุษย์รู้จักนําพืชสมุนไพรมาใช้ในการรักษาโรค เช่น คนไทยใช้ ฟ้าทะลายโจรรกั ษาโรคหวดั หอบ หืด หวั ไพล ขมน้ิ นํา้ ผ้งึ ใชบ้ ํารุงผิว 2. การต้ังถ่ินฐานและการประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยพื้นฐาน ในการต้ังประกอบ อาชพี ของมนุษย์ เช่น แถบลุ่มแม่นํ้าหรือชายฝั่งทะเลท่ีอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชและสัตว์ จะมีประชาชน ต้ังถิ่นฐาน และประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรมประมง เปน็ ตน้ 3. การพฒั นาทางเศรษฐกจิ จําเปน็ ตอ้ งใช้ทรัพยากรธรรมชาติ 4. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การประดิษฐ์เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ เครื่องจักร เครื่องผ่อนแรงต้อง อาศยั ทรัพยากรธรรมชาติ 5. การรกั ษาสมดุลธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาตเิ ป็นปัจจยั ในการรกั ษาสมดุลธรรมชาติ สาเหตทุ ่ีมนษุ ยล์ าํ ลายสิง่ แวดลอ้ มมหี ลายสาเหตดุ ังนี้ 1. การเพิ่มของประชากร การเพ่ิมของประชากรโลก เป็นไปอย่างรวดเร็ว เน่ืองจากความเจริญ ทางด้านการแพทย์ ช่วยลดอัตราการตาย โดยการเพ่ิมประชากรน้ี ก่อให้เกิดการบริโภคทรัพยากรมากขึ้น มี ของเสียมากขึน้ 2. พฤติกรรมการบริโภค อันเน่ืองมาจากต้องการให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น มีความสุขสบายมากขึ้น มี การนําใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง มีขยะและของเสียมากข้ึน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและตัว มนุษยเ์ อง 3. ความโลภของมนุษย์ โดยนาํ ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมมาใช้เพื่อให้ตนเองมีความร่ํารวย มีความสะดวกสบาย มีความเห็นแก่ตัว ขาดสติย้ังคิดถึงสิ่งแวดล้อมอันจะเป็นผลส่งให้เกิดปัญหา สิ่งแวดล้อม ทีม่ ากระทบต่อมนษุ ย์เองในที่สดุ 4. ความไม่รู้ ส่ิงท่ีทําให้มนุษย์ขาดการรู้เท่าทัน บนรากฐานแห่งความจริง อย่างลึกซ้ึงในสิ่งแวดล้อม และธรรมชาติ ส่งผลให้มนุษย์ขาดสติในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ มีพฤติกรรมการบริโภค อันเป็นการ ทําลายส่ิงแวดล้อม โดยขาดการคาดการณ์ผลที่จะเกิดตามมา จะส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและนําไปสู่ ความเสยี หาย ท้ังตนเองและธรรมชาติ
40 แนวทางการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ว (Exponential) ทําให้มีการนําทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้สนองความ ตอ้ งการ ในการดํารงชีวติ มากยิง่ ขนึ้ ทงั้ ทางดา้ นปริมาณและคุณภาพ ซ่งึ บางคร้ังเกินความจําเป็น จนทําให้ระบบ นิเวศต่าง ๆ เสียสมดุล ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่างเสื่อมโทรม ร่อยหรอหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงจนไม่ สามารถเอื้อประโยชน์ได้เช่นเดิม จึงความจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาวิธีการหรือมาตรการในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม และมีเหตุผลเพียงพอ ทั้งนี้รวมไปถึงการควบคุมขนาดประชากรโลกให้มี ความเหมาะสมกับทรัพยากรของโลก ขณะเดียวกันก็ต้องอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมควบคู่ไปด้วยในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ตามหัวข้อท่ี 3.1.3 น้ัน ควรเน้นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ 1 และ 2 โดยมีมาตรการท่ี ทําให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ตลอดไปทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ส่วนทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ 3และ 4 ควรใช้กนั อยา่ งประหยดั และเหมาะสม ทรัพยากรธรรมชาติทีใ่ ช้แล้วหมดสน้ิ ไปควรใชอ้ ยา่ งประหยดั ที่สดุ แนวทางการพฒั นาทรพั ยากรมนุษยเ์ พ่อื สงิ่ แวดล้อมควรมดี งั นี้ 1. การให้การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม โดยเน้นให้ผู้เรียนได้รู้จักธรรมชาติท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์อย่าง แทจ้ ริง โดยให้มีการศกึ ษาถงึ นเิ วศวิทยาและความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และส่ิงแวดล้อม เพื่อให้มีความรู้จริงใน การดํารงชีวิต ให้ผสมกลมกลืนกับธรรมชาติที่อยู่โดยรอบ ได้มุ่งสอนโดยยึดหลักศาสนา โดยสอนให้คนมีชีวิต ความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย ไม่ทําลายชีวิตอื่น ๆ ท่ีอยู่ในธรรมชาติด้วยกัน พิจารณาถึงความเป็นไปตาม ธรรมชาติท่ีเป็นอยู่ ยอมรับความเป็นจริงของธรรมชาติ และยอมรับความจริงนั้นโดยไม่ฝืนธรรมชาติ ใช้ ประโยชน์จากธรรมชาตอิ ยา่ งสิน้ เปลอื งนอ้ ยที่สุด ทําให้เกิดทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณภาพเป็นท่ีต้องการของสังคม และประเทศชาติในการพัฒนา 2. การสร้างจิตสํานึกแห่งการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม เป็นการทําให้บุคคลเห็นคุณค่าและตระหนักใน ส่ิงแวดล้อมและธรรมชาติ รวมท้ังผลกระทบจากการทํากิจกรรมท่ีส่งผลต่อส่ิงแวดล้อม สร้างความรู้สึก รับผิดชอบ ต่อปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างส่ิงแวดล้อมและการพัฒนาการสร้างจิตสํานึก โดยการให้การศึกษา เก่ียวกับส่ิงแวดล้อม จะเป็นพื้นฐานในการพัฒนาจิตใจของบุคคลและยังมีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลให้มีการ เปลี่ยนแปลง การดําเนนิ ชีวติ ได้อย่างเหมาะสม สอดคลอ้ งกลมกลนื กบั ธรรมชาติ 3. การส่งเสริมให้มีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมโดยให้เอื้อต่อสิ่งแวดล้อม ดํารงชีวิตโดยสอดคล้องกับ ธรรมชาติ ซ่ึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอ้ือต่อส่ิงแวดล้อมนี้จะเป็นสิ่งท่ีเกิดตามมาจากการให้การศึกษาและ การสร้างจิตสํานกึ ทาํ ให้มกี ารดํารงชีวติ โดยไม่เบยี ดเบียนธรรมชาติ ความหมายและความสาํ คัญของการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources conservation) หมายถึง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติด้วยวิธีการฉลาดเหมาะสม โดยใช้อย่างประหยัดให้เกิดประโยชน์และเกิดคุณค่ามากท่ีสุด รวมท้ังการปรับปรุงของเสียให้นํากลับมาใช้ใหม่ เพื่อให้เกิดการสูญเสียน้อยที่สุด (ทวีทองสว่างและทัศนีย์ทอง สว่าง,2523:1) การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาดให้เป็น ประโยชน์ต่อมหาชนมากท่ีสุด และใช้เป็นเวลานานท่ีสุด ทั้งนี้ต้องให้สูญเสียทรัพยากรธรรมชาติโดยเปล่า ประโยชนน์ ้อยที่สุด และจะต้องกระจายการใช้ประโยชน์โดยทว่ั ถึงกนั ดว้ ย (สรุ ภโี รจน์อารยานนท์,2526:9) จากความหมายดังกล่าวของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จะมีลักษณะของการจัดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติแต่ละประเภทอย่างฉลาด ทรัพยากรธรรมชาติชนิดใดหายาก หรือลดจํานวนน้อยลงถ้า นํามาใช้ประโยชน์อาจทําให้เกิดผลเสียหายได้ ในสภาพน้ีจะต้องนําหลักของการสงวนมาใช้และในการใช้อย่าง ประหยัดและพยายามเพิ่มปริมาณให้เพียงพอก่อนท่ีจะนําไปใช้ในอนาคตสิ่งที่สําคัญคือควรหาวิธีการท่ีจะทําให้ ทรพั ยากรธรรมชาติไว้ใช้ตลอดไป
41 หลกั การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ ในการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้เหมาะสมและได้รับประโยชน์สูงสุควรคํานึงถึงหลัก ตอ่ ไปนี้ 1. การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ต้องคํานึงถึงทรัพยากรธรรมชาติอื่นควบคู่กันไป เพราะทรพั ยากรธรรมชาตติ า่ งก็มีความเกี่ยวข้องสมั พันธแ์ ละส่งผลต่อกันอยา่ งแยกไมไ่ ด้ 2. การวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาด ต้องเชื่อมโยงกับการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และคุณภาพชีวิตอย่างกลมกลืน ตลอดจนรักษาไว้ซ่ึงความสมดุลของระบบนิเวศควบคู่กัน ไป 3. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ต้องร่วมมือกันทุกฝ่ายท้ังประชาชนในเมือง ในชนบทและผู้บริหาร ทุกคนควรตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมตลอดเวลา โดยเร่ิมต้นท่ีตนเองและท้องถิ่น ของตน รว่ มมือกนั ท้ังภายในประเทศและท้งั โลก 4. ความสําเร็จของการพัฒนาประเทศ ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์และความปลอดภัยของ ทรพั ยากรธรรมชาติ ดังนั้นการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ จึงเป็นการทาํ ลายมรดกและอนาคตของชาตดิ ้วย 5. ประเทศมหาอํานาจท่ีเจริญทางด้านอุตสาหกรรม มีความต้องการทรัพยากรธรรมชาติเป็นจํานวน มากเพ่ือใช้ป้อนโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศของตน ดังนั้นประเทศที่กําลังพัฒนาทั้งหลาย จึงต้องช่วยกัน ป้องกนั การแสวงหาผลประโยชนข์ องประเทศมหาอํานาจ 6. มนุษยส์ ามารถนําเทคโนโลยตี า่ งๆมาชว่ ยในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติไดแ้ ตก่ ารจดั การนัน้ ไม ควรมุ่งเพยี งเพื่อการอยูด่ กี ินดเี ทา่ นั้นต้องคํานงึ ถึงผลดีทางด้านจติ ใจด้วย 7. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในส่ิงแวดล้อมแต่ละแห่งนั้น จําเป็นต้องมีความรู้ในการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติท่ีจะให้ประโยชน์แก่มนุษย์ทุกแง่ทุกมุมท้ังข้อดีและข้อเสียโดยคํานึงถึงการสูญเปล่าอันเกิด จากการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติด้วย 8. รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตทิ จ่ี ําเปน็ และหายากด้วยความระมดั ระวังพร้อมทงั้ ประโยชนแ์ ละการทําให้ สภาพที่เพ่ิมทั้งทางด้านกายภาพและเศรษฐกิจเท่าท่ีทําได้ รวมทั้งจะต้องตระหนักเสมอว่า การใช้ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี ากเกนิ ไปจะไมเ่ ปน็ การปลอดภัยต่อส่งิ แวดลอ้ ม 9. ต้องรักษาทรัพยากรท่ีทดแทนได้โดยให้มีอัตราการผลิตเท่ากับอัตราการใช้หรืออัตราการเกิดเท่ากับ อัตราการตายเป้นอยา่ งนอ้ ย 10. หาทางปรับปรุงวิธีการใหม่ ๆ ในการผลิตและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ อกี ท้งั พยายามค้นควา้ สิ่งใหม่มาใชท้ ดแทน 11. ให้การศกึ ษาเพ่ือให้ประชาชนเข้าใจถงึ ความสําคัญในการรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ วธิ กี ารในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ มดี งั นี้ 1. การถนอม เป็นการรักษาทรพั ยากรธรรมชาตทิ ง้ั ปรมิ าณและคณุ ภาพให้มอี ยู่นานท่ีสุด โดยพยายาม ใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้มีประสิทธิภาพ เช่น การเลือกจับปลาที่มีขนาดโตมาใช้ในการบริโภค ไม่จับปลาที่มี ขนาดเล็กเกนิ ไปเพอื่ ใหป้ ลาเหล่าน้นั ได้มโี อกาสโตขน้ึ มาแทนปลาทีถ่ กู จับไปบรโิ ภคแลว้ 2. การบูรณะซ่อมแซม เป็นการบุรณะซ่อมแซมทรัพยากรธรรมชาติท่ีเกิดความเสียหายให้เดิมหรือ เกอื บเท่าเดิม บางคร้งั อาจเรียกวา่ พฒั นากไ็ ด้ เช่นปา่ ไม้ถูกทําลายหมดไป ควรมกี ารปลูกปา่ ขึ้นมาทดแทน จะทํา ให้มีพ้ืนที่บริเวณน้ันกลบั คนื เปน็ ปา่ ไม้อกี ครงั้ หนง่ึ 3. การปรับปรุงและการใช้อย่างมปี ระสิทธิภาพ เชน่ การนาํ แร่โลหะประเภทต่าง ๆ มาถลุงแล้วนําไป สร้างเคร่อื งจักรกล เครอื่ งยนต์ หรืออุปกรณ์ตา่ ง ๆ ซ่ึงจะให้ประโยชน์แก่มนษุ ยเ์ รามากย่ิงขึ้น 4. การนํามาใช้ใหม่เป็นการนําทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วมาใช้ใหม่ เช่น เศษเหล็ก สามารถนํา กลบั มาหลอมแล้วแปรสภาพสําหรบั การใช้ประโยชน์ใหมไ่ ด้ 5. การใช้สิ่งอ่ืนทดแทน เป็นการนําเอาทรัพยากรอย่างอื่นท่ีมีมากกว่าหรือหาง่ายกว่ามาใช้ทดแทน ทรัพยากรธรรมชาติที่หายาก หรือกําลังขาดแคลน เช่น นําพลาสติกมาใช้แทนโลหะในบางส่วนของเครื่องจักร หรือยานพาหนะ
42 6. การสํารวจหาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเตรียมไว้ใช้ประโยชน์ในอนาคต เช่น การสํารวจ แหล่งนํ้ามันในอ่าวไทยทําให้ค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติเป็นจํานวนมาก สามารถนํามาใช้ประโยชน์ท้ังในระยะ สัน้ และในระยะยาว อีกทง้ั ชว่ ยลดปริมาณการนําเขา้ ก๊าซธรรมชาติจากตา่ งประเทศ 7. การประดิษฐ์ของเทยี มขึ้นมาใช้ เพือ่ หลกี เล่ียงหรือลดปริมาณในการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติชนิดอ่ืน ๆทนี่ ิยมใชก้ นั ของเทยี มท่ผี ลติ ข้นึ มา เชน่ ยางเทียม ผา้ เทยี ม และผ้าไหมเทียม เป็นตน้ 8. การเผยแพร่ความรู้เป็นการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม เพอ่ื ท่ีจะได้รับความร่วมมืออย่างเต็มที่และรัฐควรมีบทบาทในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ้ ม โดยการวางแผนจดั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอยา่ งรัดกมุ 9. การจัดตั้งสมาคม เปน็ การจดั ต้งั สมาคมหรอื ชมรมในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ ม การอนุรักษ์ทรพั ยากรนํา้ ดังได้กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า น้ํามีความสําคัญและมีประโยชน์มากมายมหาศาลเราจึงควรช่วยกัน อนรุ ักษท์ รัพยากรนํ้าดังน้ี 1. การใช้นํ้าอย่างประหยัด นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายเก่ียวกับค่านํ้าลงได้แล้ว ยังทําใหป้ ริมาณน้ํา เสยี ที่จะทง้ิ ลงแหลง่ น้ําลดลงและปอ้ งกนั การขาดแคลนน้ําไดด้ ้วย 2. การสงวนน้าํ ไว้ใช้ ในบางฤดหู รอื ในสภาวะทีม่ ีนาํ้ มากเหลือใช้ ควรมีการเก็บน้ําไว้ใช้ เช่นการทําบ่อ เก็บน้ํา การสร้างโอ่งน้ํา การขุดลอกแหล่งนํ้า รวมท้ังการสร้างอ่างเก็บนํ้าไว้ใช้เพ่ือการเกษตร และพลังงานแล้ว ยงั ช่วยป้องกนั การเกดิ อุทกภยั ปอ้ งกนั การไหลชะล้างหนา้ ดินที่อดุ มสมบรู ณ์และใชเ้ ปน็ ทพี่ กั ผอ่ นหย่อนใจ 3. การพัฒนาแหล่งน้ํา ในบางพ้ืนท่ีขาดแคลนนํ้า จําเป็นท่ีจะต้องหาแหล่งนํ้าเพิ่มเติม เพื่อให้มีน้ําไว้ ใช้ท้ังในครัวเรือนและในการเกษตรได้อย่างเพียงพอ ปัจจุบันการนําน้ําบาดาลข้ึนมาใช้กําลังแพร่หลายมากแต่ อาจมีปัญหาเรื่องแผ่นดินทรุด เช่นในบริเวณกรุงเทพฯ ทําให้เกิดดินทรุดได้จึงควรมีมาตรการกําหนดว่าเขตใด ควรใชน้ ้าํ ใต้ดินได้มากนอ้ ยเพียงใด 4. การป้องกันน้ําเสีย การไม่ทิ้งขยะส่ิงปฏิกูลและสารพิษลงในแหล่งนํ้า น้ําเสียที่เกิดจากโรงงาน อุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบําบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้ํา การวางท่อระบายนํ้า จากบ้านเรือน การวางฝงั การกอ่ สร้างโดยไม่ให้นํา้ สกปรกไหลลงสูแ่ มน่ าํ้ ลาํ คลอง 5. การนําน้ําเสียกลับไปใช้ น้ําท่ีไม่สามารถใช้ได้ในกิจการหนึ่ง เช่น น้ําท้ิงจากการล้างภาชนะ อาหารสามารถนาํ ไปรดต้นไม้ โรงงานบางแหง่ อาจนําน้ําทิ้งมาทาํ ให้สะอาดแล้วนาํ กลับมาใชใ้ หม่ การอนุรักษท์ รัพยากรดนิ ปญั หาท่เี กิดข้นึ จากการพังทลายหรือการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของหน้าดินน้ัน จะทําให้เกิดปัญหา อื่น ๆ ติดตามมาเช่น ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ทําให้เกษตรต้องซ้ือปุ๋ยเคมีมาบํารุงดินเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล ตะกอนดินที่ถูกชะล้างทําให้แม่นํ้าและปากแม่น้ําตื้นเขิน ต้องขุดลอกใช้เงินเป็นจํานวนมากอเราจึงควรป้องกัน ไมใ่ ห้ดนิ พังทลายหรอื เส่อื มโทรม ซ่ึงสามารถทาํ ไดโ้ ดยการอนุรักษ์ดินดังนี้ 1. การใช้ดินอย่างถูกต้องเหมาะสมการปลูกพืชควรคํานึงถึงชนิดของพืชที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของ ดิน การปลูกพืชและการไถพรวนตามแนวระดบั เพ่อื ปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน 2. การปรับปรงุ บํารงุ ดนิ การเพิม่ ธาตอุ าหารให้แก่ดนิ เช่น การใส่ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก การปลกู พชื ตระกูลถ่วั การใสป่ นู ขาวในดินท่ีเป็นกรด การแกไ้ ขพน้ื ท่ดี นิ เคม็ ด้วยการระบายน้าํ เขา้ ที่ดิน เป็นตน้ 3. การป้องกนั การเส่ือมโทรมของดินไดแ้ ก่ การปลกู พืชคลุมดนิ การปลูกพชื หมุนเวยี น การปลูกพืช บัง ลม การไถพรวนตามแนวระดับ การทําคันดินป้องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมท้ังการไม่เผาป่าหรือการทําไร่ เล่ือนลอย 4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายนํ้าในดินที่มีน้ําเข้าออก การจัดส่งนํ้าเข้าสู่ท่ีดินและการใช้วัสดุ เชน่ หญ้าหรอื ฟางคลุมหน้าดินจะชว่ ยใหด้ นิ มคี วามอุดมสมบูรณ์
43 การกาํ หนดราคาจําหน่ายและการจาํ หน่าย 1. การคิดต้นทุนในการผลิต ได้แก่ คิดพันธุ์ข้าว ปุ๋ย ยา แรงงาน เช่น ค่าไถ ตกกล้า ปักดํา ดูแลรักษา เกบ็ เกี่ยว 2. จาํ นวนผลผลิตทไ่ี ด้ และจดั ลาํ ดับคุณภาพของขา้ วเปลอื ก 3. ราคาข้าวเปลือกในตลาดทว่ั ไป 4. แหล่งรบั ซื้อ เชน่ สหกรณ์ โรงสีตา่ ง ๆ
44 กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 4 การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 1. ใหอ้ ธิบายถึงการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มมาพอเขา้ ใจ ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. ใหอ้ ธบิ ายถึงการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ างตรงและทางออ้ มในความแตกตา่ งกันอย่างไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. ปัจจยั 4 อย่างของมนษุ ยเ์ รามีอะไรบา้ ง อธิบาย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. มนุษยเ์ ราสมัยโบราณจะตั้งถ่ินฐานอยู่ทีใ่ ด เขาจะสงั เกตอะไรเป็นเบ้อื งตน้ ก่อนตัดสินใจตงั้ ถน่ิ ฐาน ใหอ้ ธิบาย ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. วธิ กี ารอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตมิ กี ี่ขอ้ อะไรบา้ ง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
Search